The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค11002 ประถม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค11002 ประถม

วิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค11002 ประถม

หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม

รายวชิ า ศาสนาและหน้าทีพลเมอื ง

(สค )

ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั พืนฐาน
พุทธศกั ราช

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

สาํ นกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

ห้ามจาํ หน่าย

หนงั สือเรียนเล่มนีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพอื การศกึ ษาตลอดชีวติ สาํ หรับประชาชน
ลิขสิทธิเป็นของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลาํ ดบั ที /

หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม )

รายวชิ า ศาสนาและหน้าทพี ลเมอื ง (สค

ระดับประถมศึกษา

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ลิขสิทธิเป็นของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ที /

คํานํา

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา
หนังสือเรียนชุดใหมน้ีข้ึน เพ่ือสําหรับใชในการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม
จริยธรรม มีสติปญญา และศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิต
อยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใชใน
การศึกษาดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมท้ังทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบ
ความรูใหกับผูเรียน และไดมีการปรับเพ่ิมเติมเน้ือหาเกี่ยวกับ การมีสวนรวมในการปองกันและ
ปราบปรามการทุจรติ เพอื่ ใหสอดคลองกับนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ นน้ั

ขณะน้ี คณะกรรมการรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) มนี โยบายในการปลกุ จติ สํานึกให
คนไทยมีความรักชาติ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย เสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม คานิยมใน
การอยรู ว มกันอยางสามัคคี ปรองดอง สมานฉนั ท สาํ นกั งานสาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศยั จึงไดมกี ารดําเนนิ การปรับเพม่ิ ตวั ชีว้ ัดของหลักสูตร และเน้ือหาหนังสือเรียน
ใหสอดคลองตามนโยบายดงั กลาว โดยเพิ่มเนื้อหาเก่ียวกับคุณธรรมและคานิยมในการอยูรวมกัน
อยางปรองดอง สมานฉนั ท เพอ่ื ใหสถานศกึ ษานําไปใชใ นการจดั การเรยี นการสอนใหกับนักศึกษา
กศน. ตอ ไป

ทง้ั นี้ สํานกั งานสาํ นกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดรับ
ความรวมมือทด่ี จี ากผูทรงคุณวุฒิ และผเู ก่ียวขอ งหลายทานท่ีคนควาและเรียบเรียงเน้ือหาสาระจาก
สื่อตาง ๆ เพื่อใหไดสื่อท่ีสอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชนตอผูเรียนท่ีอยูนอกระบบ
อยางแทจริง ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานท่ีไดให
ความรวมมอื ดว ยดี ไว ณ โอกาสน้ี

สาํ นกั งาน กศน.
กนั ยายน 2557

สารบัญ หนา

คํานํา 1
คาํ แนะนําการใชหนังสือเรยี น 2
โครงสรางรายวิชา 3
บทท่ี 1 ศาสนา 7
11
เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของศาสนา ความสาํ คญั ของศาสนา 12
เรื่องที่ 2 ประวตั ศิ าสดา 15
เรื่องท่ี 3 หลกั ธรรมของศาสนาตา ง ๆ 18
เรื่องที่ 4 การปฏบิ ัติตนตามศาสนาตา ง ๆ 19
เรื่องที่ 5 บุคคลตัวอยา งทใี่ ชห ลกั ธรรมในการดําเนนิ ชวี ิต 20
เรื่องที่ 6 การอยรู ว มกันของคนไทยทตี่ า งศาสนา 21
บทที่ 2 วฒั นธรรมประเพณี 22
เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของวัฒนธรรมประเพณี 23
เรอ่ื งที่ 2 วฒั นธรรมประเพณีทส่ี าํ คัญของทองถน่ิ และของประเทศ 25
เรือ่ งท่ี 3 การอนุรักษ สบื สานวฒั นธรรมประเพณไี ทย 26
เร่อื งที่ 4 คานยิ มที่พงึ ประสงคข องไทยและของทอ งถน่ิ 29
เรอ่ื งท่ี 5 การประพฤตปิ ฏบิ ัติตนตามคา นยิ มที่พึงประสงค 31
บทท่ี 3 หนาทพ่ี ลเมืองไทย 42
เรื่องท่ี 1 การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 45
เรื่องที่ 2 สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ และหนาทข่ี องพลเมอื ง 47
50
ในวถิ ีประชาธิปไตย 52
เรือ่ งที่ 3 คุณธรรมและคานยิ มพน้ื ฐานในการอยรู วมกัน

อยา งปรองดองสมานฉนั ท
เรอ่ื งที่ 4 รฐั ธรรมนูญ
เรื่องท่ี 5 ความรเู บอ้ื งตนเกยี่ วกบั กฎหมาย
เรื่องที่ 6 กฎหมายท่ีเกีย่ วของกบั ตนเองและครอบครวั
เรอ่ื งที่ 7 กฎหมายทเี่ กีย่ วขอ งกบั ชุมชน
เรื่องที่ 8 กฎหมายอน่ื ๆ

สารบัญ (ตอ ) หนา

เรอ่ื งที่ 9 การปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมายและการรักษาสทิ ธิ เสรภี าพ 55
ของคนในกรอบของกฎหมาย 58
79
เรอื่ งที่ 10 การมีสวนรว มของประชาชนในการปอ งกันและปราบปราม 80
การทจุ รติ 82

แนวเฉลยทายบท
บรรณานกุ รม
คณะผจู ดั ทํา

คาํ แนะนําในการใชหนงั สอื เรียน

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ า ศาสนาและหนา ท่ีพลเมือง ระดับประถมศึกษา
เปนหนงั สือเรียนทีจ่ ัดทําขึ้นสําหรบั ผเู รยี นทเ่ี ปนนักศึกษานอกระบบ

ในการศกึ ษาหนังสือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา ศาสนาและหนาทีพ่ ลเมือง ผูเรียน
ควรปฏิบัตดิ ังนี้

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในขัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังและ
ขอบขายเน้ือหา

2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด
แลว ตรวจสอบกับแนวตอบกจิ กรรมที่กําหนด ถา ผเู รยี นตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทาํ ความเขา ใจ
ในเนอื้ หานัน้ ๆ ใหม ใหเ ขา ใจกอนทีจ่ ะศึกษาเร่อื งตอไป

3. ปฏิบัติกจิ กรรมทายเรอ่ื งของแตล ะเร่อื ง เพื่อเปนการสรปุ ความรู ความเขาใจของเนื้อหา
ในเร่ืองน้ัน ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหาแตละเรื่อง ผูเรียนสามารถนําไป
ตรวจสอบกบั ครู และเพ่ือน ๆ ทีร่ วมเรยี นในรายวิชา และระดับเดยี วกันได

4. หนงั สอื เรียนเลม น้ีมี 3 บท คอื
บทท่ี 1 ศาสนา
บทท่ี 2 วฒั นธรรมประเพณี
บทที่ 3 หนา ทพ่ี ลเมอื งไทย

โครงสรา งรายวชิ าศาสนาและหนาที่พลเมอื ง
(สค11002)

ระดบั ประถมศึกษา

สาระสาํ คญั

เปน สาระทเ่ี ก่ยี วกบั ความหมายความสําคญั ของ ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี พุทธประวัติ
การปฏิบัติตนตามหลักศาสนา บุคคลตัวอยางที่ใชหลักธรรมทางศาสนา บุคคลตัวอยางที่ใช
หลกั ธรรมทางศาสนาในการดําเนนิ ชวี ติ การแกปญ หาความแตกแยก ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณี
ตาง ๆ ในชุมชน รวมถงึ ประชาธปิ ไตย สิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาท่ีของพลเมืองในวิถีประชาธิปไตย
การมีสวนรวมในการปฏิบัติตนตามกฎหมาย ปญหาและสถานการณการเมืองที่เกิดขึ้นในชุมชน
กฎหมายท่ีเกย่ี วของตาง ๆ เชน กฎหมายแรงงานและสวสั ดิการ กฎหมายวาดวยสิทธเิ ด็กและสตรี

ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั

1. อธบิ ายประวตั ิ หลักคําสอน และการปฏบิ ตั ติ ามหลกั ศาสนาท่ีตนนับถือ
2. เหน็ ความสาํ คญั ของวัฒนธรรม ประเพณีและมสี วนรว มในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม

ประเพณีทองถิน่
3. ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี
4. ยอมรบั และปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคม ท่ีมีความหลากหลาย

ทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี มคี ุณธรรม และคานิยมพ้ืนฐานในการอยรู วมกนั อยา ง
ปรองดองสมานฉนั ท
5. บอกสิทธเิ สรีภาพ บทบาทและหนาที่ตามกฎหมายของการเปนพลเมืองดีตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมขุ
6. เห็นคุณคา ของการปฏบิ ัติตนเปน พลเมอื งดตี ามกฎหมาย
7. มีสว นรว มในการปกครองสวนทองถ่นิ ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปน ประมขุ
8. วิเคราะหการแกปญหาการทุจริต และมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม
การทุจรติ

ขอบขายเนื้อหา

บทที่ 1 ศาสนา
บทท่ี 2 วฒั นธรรมประเพณี
บทท่ี 3 หนา ท่พี ลเมืองไทย

สาระสําคญั บทที
ศาสนา

เปน สาระสําคัญทเ่ี กีย่ วขอ งกบั ความหมาย ความสําคญั ของศาสนา อธิบายถึงศาสนาในประเทศไทย
คอื ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ - ฮินดู มีรายละเอียดเกี่ยวของกับประวัติ
ศาสดา หลกั ธรรม การปฏบิ ตั ติ น บุคคลตวั อยา งทใ่ี ชห ลกั ธรรมในการดําเนินชีวิตและการอยูรวมกันของ
คนไทยทต่ี างศาสนา

ผลการเรียนรู้ทคี าดหวงั

1. มีความรู ความเขา ใจเกี่ยวกบั ความหมาย ความสําคัญของศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี
ในประเทศไทย

2. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับพุทธประวตั ิ และประวตั ศิ าสดาของศาสนาตา ง ๆ
3. มคี วามรู ความเขา ใจในหลกั ธรรม และการปฏบิ ตั ธิ รรมแตล ะศาสนา
4. ตระหนกั ถงึ คณุ คา และเหน็ ความสาํ คัญในการนาํ หลักธรรมมาใชในการดํารงชวี ติ
5. สามารถอยูร วมกับบุคคลทต่ี า งความเชอ่ื ทางศาสนาในสังคมไดอยางสันตสิ ุข

ขอบข่ายเนือหา

เรือ่ งท่ี 1 ความหมายของศาสนา ความสําคัญของศาสนา
เรอ่ื งที่ 2 ประวัติศาสดา
เร่อื งที่ 3 หลักธรรมของศาสนาตาง ๆ
เรื่องท่ี 4 การปฏบิ ัติตนตามศาสนาตาง ๆ
เรื่องท่ี 5 บคุ คลตวั อยา งทใ่ี ชห ลกั ธรรมในการดําเนินชวี ิต
เร่ืองที่ 6 การอยรู วมกันของคนไทยทตี่ า งศาสนา

1

เรืองที ความหมายของศาสนา ความสําคญั ของศาสนา

ความหมายของศาสนา
“ศาสนา” คือ ลัทธคิ วามเช่ือในหลักการ กรรมวิธี การปฏิบัติตนเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายสูงสุด

ในชีวิตที่ศาสดาของแตล ะศาสนาสัง่ สอนหรือบัญญัติไว
สาเหตุการเกิดศาสนา ประการแรก เกิดจากความกลัวของมนุษย เนื่องจากมนุษยไมมีความรู

ความเขา ใจ ปรากฏการณท างธรรมชาติ ภยั พบิ ัตติ า ง ๆ มนุษยคิดวาสิง่ เหลา น้เี กดิ จากอํานาจของวิญญาณ
และสิ่งศักด์ิสิทธ์ิดลบันดาลใหเปนไป มนุษยจึงแสวงหาวิธีภักดี ออนนอมใหอยูใตอํานาจดวย
การแสดงออกตา ง ๆ นานา เชน การเคารพบูชา การเซนสังเวย การทําทุกรกิริยา เพ่ือใหสิ่งศักด์ิสิทธิ์เห็นใจ
ประการต่อมา เกิดจาก การคน หาความจรงิ ของธรรมชาติ โลกและชีวิต โดยไมหวังพึ่งพิงอํานาจศักด์ิสิทธ์ิใด ๆ
เมอ่ื คน หาความจรงิ พบแลว จึงนํามาประกาศศาสนา เพ่ือใหช าวโลกรตู าม คอื พระพุทธเจา เปน ตน

องค์ประกอบของศาสนา มอี ยู่ ประการ คอื
1. มศี าสดา คือ ผูกอ ตง้ั ศาสนา เรมิ่ ตน คดิ คําสอน (หลักธรรม) เปน คนแรก
2. มคี าํ สอน คมั ภีร คือ คาํ สอน (หลักธรรม) ของศาสนา
3. มนี กั บวช หรอื ผูส ืบทอดศาสนา เปน ผูปฏิบตั ิตนตามคําสอนของศาสนา
4. มศี าสนสถาน คือ สถานทีป่ ระกอบพิธกี รรมทางศาสนา เชน โบสถ วหิ าร สุเหรา
5. มีสัญลักษณ คือ เครื่องหมายแสดงทางศาสนา ศาสนพิธี หรือพิธีกรรมทางศาสนา เชน
ไมก างเขน

ประเภทของศาสนา จาํ แนกเป็ น ประเภท คอื
1. เอกเทวนิยม เช่อื ในพระเจาองคเดียว เชน ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาครสิ ต เปนตน
2. พหุเทวนยิ ม เชอ่ื ในพระเจา หลายองค เชน ศาสนาฮนิ ดู ศาสนาชนิ โต เปน ตน
3. สัพพัตถเทวนิยม เชอ่ื วา พระเจา สิงสถติ อยูในทุก ๆ แหง เชน ศาสนาพราหมณ
บางลทั ธิ เปนตน
4. อเทวนยิ ม ไมเชอื่ วา พระเจาเปนผูสรา งโลก เชน ศาสนาพุทธ ศาสนาเซน เปน ตน

ศาสนาทุกศาสนามีจุดปลายทางเดียวกัน คือ ตองการใหทุกคนเปนคนดี อยูรวมกันโดยสันติ
สังคมมคี วามสงบสขุ

ความสําคญั ของศาสนา พอสรปุ ได 7 ประการ คือ
1. เปนทยี่ ึดเหนี่ยวทางจิตใจ ชว ยใหม นษุ ยเกิดความมั่นใจในการดํารงชีวิต และชวยใหรูสึก
ปลอดภยั
2. ชวยสรา งความสามคั คีในหมูมนุษย ชวยใหมนุษยร วมมือกนั แกไขปญหาตาง ๆ ตลอดจน
รวมมอื กนั สรางสรรคส ่งิ ท่ีเปน ประโยชนตอศาสนาและชวี ติ
3. เปนเครื่องมือขัดเกลาสมาชิกในสังคมใหสมาชิกยึดมั่น เชื่อถือ ปฏิบัติตนเปนคนดีตาม
คําสอน กลวั บาปทเ่ี กดิ จากความประพฤตไิ มดีตาง ๆ

2

4. ชวยพัฒนาและยกระดับจิตใจการกระทําของมนุษยใหสูงข้ึน คือชวยใหมนุษยเสียสละ
และอดทน อดกล้ันย่งิ ขึ้น ทาํ ความดีมากยงิ่ ขนึ้ เปนตน

5. เปนบอเกิดแหงศาสตร ความรูดานศิลปะ ขนบธรรมเนียม ประเพณีตาง ๆ มีกําเนิดจาก
ศาสนา

6. ชวยใหม นษุ ยมีอสิ ระ คาํ สอนของศาสนาเสนอแนวทางท่ีมนุษยสามารถฝกตนใหพนจาก
กิเลสมีอิสระจากกเิ ลสทั้งปวง

7. เปน สญั ลักษณ แสดงถงึ ความดีงาม แสดงพลังสามคั คี ความเปนน้าํ หน่ึงใจเดยี วกนั ของคน
ทนี่ ับถอื ศาสนาตา ง ๆ ในแตล ะศาสนา

เรืองที ประวตั ศิ าสดา

พุทธประวตั ิ
ศาสนาพทุ ธ เปนศาสนาประเภทอเทวนยิ ม คอื ไมเ ชอ่ื วามพี ระเจา สรางโลก สรางมนุษย กําหนด

โชคชะตามนุษย แตเช่ือวาทุกอยางเกิดมาไดเพราะมีเหตุ ทุกอยางตองอาศัยกัน เปนเหตุเปนปจจัย
ซึ่งกันและกัน จะมีเพียงอยางใดอยางหนึ่งมิได ศาสนาพุทธ เปนศาสนาใหญศาสนาหน่ึงของโลก เปน
ศาสนาประจาํ ชาตขิ องประเทศไทย

ศาสนาพุทธเกดิ ในชมพทู วีป ปจ จุบนั เปนพ้ืนท่ขี องประเทศอนิ เดีย เนปาล ภูฏาน ปากีสถาน และ
บงั กลาเทศ รวมกัน

ศาสดาของศาสนาพทุ ธ คือ พระพทุ ธเจา ทรงมพี ระนามเดมิ วา เจาชายสิทธัตถะ กําเนิดในตระกูล
กษัตริยในยุคที่ศาสนาฮินดูเจริญรุงเรืองในชมพูทวีป พระองคประสูติ ณ ลุมพินีวัน แควนสักกะ
เมืองกบิลพสั ดุ (ปจจุบนั คอื เมืองรมุ มนิ เด ประเทศเนปาล) ทรงประสตู ใิ นวันศุกรขึน้ 15 ค่ํา เดือน 6 ปจอ
กอนพุทธศักราช 80 ป เม่ือประสูติได 7 วัน พระราชมารดา คือ พระนางสิริมหามายา จึงสิ้นพระชนม
พระราชบดิ าของพระองค คอื พระเจา สุทโธทนะ จงึ ใหพ ระเจานา คือ พระนางประชาบดีโคตมี เปนผูเลี้ยงดู
พระเจาสุทโธทนะไดเชญิ พราหมณมาทํานายลักษณะพระโอรส พราหมณไดพยากรณพระราชกุมารวา
“ถาออกบวชจะไดเปนศาสดาเอกของโลก ถาทรงเปนฆราวาสจะไดเปนพระจักรพรรดิ” ดังนั้น
พระเจาสุทโธทนะจึงปรารถนาจะใหเจาชายสิทธัตถะเพลิดเพลินในความสุขทางโลก เพ่ือจะไดให
เจาชายสิทธัตถะเปน พระจกั รพรรดิ พระราชบดิ าทรงสรางปราสาทท่ีงดงาม 3 หลัง ใหประทับแตละฤดู
และใหศึกษาเลา เรยี นศิลปวิทยากบั สํานักอาจารยว ศิ วามติ ร พระองคทรงอภิเษกสมรสกับพระนางพิมพา
ถึงแมพระราชบิดาจะหาสิ่งอํานวยความสุข ความสะดวกสบายใหพระองค แตเจาชายสิทธัตถะก็มิได
เพลิดเพลินกับความสุขทางโลก เม่ือพระองคเสด็จออกนอกพระราชวัง พระองคทอดพระเนตรเห็น
การเกดิ การแก การเจบ็ การตาย เปนความทุกข พระองคทรงครุนคดิ แสวงหาทางใหมนุษยพนทุกข และ
เหน็ วา การหนที กุ ขใ นโลกดวยการบรรพชา

3

ดังน้ัน พระองคจึงเสด็จออกจากวังในวันท่ีพระนางพิมพาประสูติพระโอรส คือ เจาชายราหุล
พระองคท รงราํ พึงวา “หวงเกดิ แลวหนอ” เม่อื พระองคเสดจ็ ผา นทรงพบเหน็ นางสนมนอนระเกะระกะอยู
เปนภาพที่ไมนา ดู ไมสวยงาม ลว นนา ปลงสงั เวช พระองคจ ึงเสด็จออกบวชพรอ มกับคนรบั ใชช่อื นายฉันนะ
ทรงขมี่ าชือ่ กณั ฐกะ จากน้นั ใหน ายฉนั นะกลบั ไป แลวพระองคท รงปลงผม ถือเพศบรรพชิต และแสวงหา
อาจารยจ ากสาํ นักตาง ๆ เพือ่ ส่ังสอนใหพระองคบรรลธุ รรมท่ที ําใหสัตวโลกพน จากความทุกข ทรงศึกษาท่ี
สาํ นักอาฬารดาบส และอุทกดาบส ฝกฝนทางจิตจนได ฌานสมาบัติ 8 ซ่ึงเนนโยคะวิธี ทรงเห็นวาไมใช
ทางพนทุกขท่ีแทจริง ดังนั้น ตอมาพระองคทรงใชวิธีการทรมานตนเองดวยการบําเพ็ญทุกรกิริยา คือ
อดอาหาร และทรมานตนดวยวิธีตาง ๆ จนรางกายซูบผอม ทรงพบวา ทางนี้มิใชพนทุกข จึงหันมา
เดินสายกลาง และเสวยพระกระยาหารตามเดิม แลวหันมาบําเพ็ญเพียรทางจิตคนหาสัจธรรม และทรง
คนพบสัจธรรมในวันเพ็ญ เดือนวิสาขะ คือ วันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 ประกา กอนพระพุทธศักราช 45 ป
ทรงมีพระชนมายุ 45 พรรษา

ดังน้ัน ในการแสวงหาทางบรรลุธรรมของพระองคน้ันเปรียบเสมือนพิณ 3 สาย ถาขึงสายพิณ
ตงึ เกนิ ไปสายพณิ กจ็ ะขาด ถาขึงสายหยอนเกินไป เสียงจะไมไ พเราะ ตองขึงสายพิณพอดี จึงจะดีดแลวมี
เสียงไพเราะ เชนเดียวกับมนษุ ย หากเพลิดเพลินในโลกียสุขเหมือนสายพิณที่หยอนยาน และถาตึงเขมงวด
ในการปฏิบัติดวยการทรมานตนเองรางกายจะทนทานไมไหวเหมือนสายพิณที่ขึงตึง ดังน้ัน จึงควร
เดินสายกลาง เชนเดยี วกับสายพณิ ท่ีขึงพอดี

สัจธรรมที่พระองคตรัสรู คือ ทรงคนพบปุปเพนิวาสานุสติญาณ คือ อดีตชาติของพระองค
ทรงคนพบจตุ ูปปาตญาณ คอื การกาํ เนิดของสตั วโลก และอาสวกั ขยญาณ คือ การกําจัดกิเลสใหหมดสิ้นไป
เพือ่ จะปฏบิ ัตติ นใหพ นทกุ ขไ มตองเวียนวา ยตายเกดิ คือ อริยสัจส่ี เปนความจรงิ อันประเสรฐิ ซง่ึ เปน หัวใจ
สาํ คญั ของพระพทุ ธศาสนา คอื

ทุกข คือ ปญ หาทงั้ หลายที่เกิดขึน้ ในชวี ติ ไดแ ก ความไมส บายกาย ความไมส บายใจ
สมุทยั คอื สาเหตแุ หง ปญหาทเ่ี กิดขนึ้ ในชวี ิต
นโิ รธ คอื ความจรงิ วา ดว ยการดับทกุ ข การละตน เหตขุ องความทกุ ข
มรรค คือ ความจรงิ วา ดวยแนวทางแหงความดับทุกข
หลังจากตรัสรูแลวพระองคไดเสด็จไปเทศนาธรรมแกปญจวัคคียท้ัง 5 คือ พระโกณฑัญญะ
พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอสั สชิ ซึ่งติดตามดูแลพระองคชวงที่แสวงหาธรรมและ
บําเพญ็ ทกุ รกริ ยิ า เมือ่ พระองคเ ลิกบาํ เพญ็ ทกุ รกริ ยิ า จึงคิดวา พระองคทอถอย ไมบ าํ เพ็ญเพียรจึงพากันหนีไป
ท่ีปาอิสิปตนมฤคทายวัน เมื่อพระองคเทศนาธรรม คือ ธัมมจักกัปวัตนสูตร ซึ่งแสดงถึงขอปฏิบัติ
ทางสายกลาง คอื มรรค 8 ซึง่ เปน ขอ ปฏบิ ัติใหพ นจากความทกุ ข คอื
1. สัมมาทฏิ ฐิ ปญญาเห็นชอบ
2. สัมมาสงั กัปปะ ความดํารชิ อบ
3. สมั มาวาจา วาจาชอบ
4. สมั มากัมมนั ตะ การงานชอบ
5. สัมมาอาชวี ะ ความเล้ยี งชพี ชอบ

4

6. สมั มาวายามะ ความเพยี รชอบ
7. สมั มาสติ ความระลกึ ชอบ
8. สมั มาสมาธิ การตั้งจติ ชอบ
โกณฑญั ญะไดด วงตาเห็นธรรมเปน คนแรก และปญจวคั คยี ทง้ั หมดจงึ บวชเปน ภิกษุ จึงถือวาเกิด
พทุ ธศาสนาครบสมบรู ณ คอื พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปน ไตรสรณคมณ ซ่งึ เปนท่ีเคารพของชาวพุทธ
ตอ มาพระองคทรงเผยแพรศ าสนาอยู 45 ป และปรนิ พิ พานท่เี มืองกสุ ินาราในวนั เพญ็ เดือน 6 วันเดยี วกับท่ี
พระองคทรงประสตู ิ ตรัสรู และปรนิ ิพพาน เรยี กวา เปน วันวสิ าขบูชา เปนวนั สาํ คญั ของชาวพทุ ธ

ประวตั พิ ระนบีมูฮัมหมัด

ศาสนาอิสลามเปน ศาสนา 1 ใน 3 ศาสนาสําคญั ของโลก ในประเทศไทยจํานวนผูนับถือศาสนา
อิสลามในประเทศไทย มีจํานวนมากเปนลําดับที่ 2 ศาสนาอิสลามกําเนิดในประเทศซาอุดีอาระเบีย
เมื่อ พ.ศ. 1113 คําวา อสิ ลาม มาจากคําวา อัสลามะ แปลวา การออนนอมถอ มตนตอพระอลั เลาะหเจาอยา ง
สิ้นเชงิ ผูนบั ถืออสิ ลาม เรยี กวา มสุ ลิม หรอื อิสลามิกชน

ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ พระนบีมูฮัมหมัด เปนผูใหกําเนิดศาสนาอิสลาม ทานเกิดท่ี
เมืองเมกกะ (มักกะ) ประเทศซาอุดีอาระเบีย บิดาช่ืออับดุลเลาะห มารดาชื่อ อามีนะห ในตระกูลฮาซิม
เผากุเรซ บิดาสิ้นชีวิตกอนพระนบีมูฮัมหมัดเกิด มารดาสิ้นชีวิตเม่ือทานมีอายุได 6 ขวบ จึงอยูใน
ความอุปการะของปูและลุง ตามลําดับ ทานไดแตงงานกับหญิงหมาย ชื่อ คอดียะ เปนเจาของกิจการคา
มีบตุ รธิดา รวม 7 คน (ชาย 3 คน หญงิ 4 คน)

เม่ือทา นอายไุ ด 40 ป ทา นไดข ้นึ ไปหาความวิเวกท่ถี า้ํ ฮเิ ราะห บนภเู ขานรู ิ เทพยิมรออิลท่ีเปนบริวาร
ของพระอัลเลาะหเ จา ไดลงมาบอกวา พระอัลเลาะหไ ดแ ตง ต้ังใหทา นเปนศาสดาเผยแผศาสนาอิสลามของ
พระองค ทานจึงเปนพระนบี หรือ เปนศาสนทูต หรือ ตัวแทนของพระเจาบนพื้นพิภพ เมื่อ พ.ศ. 1153
ขณะท่ที า นมีอายุได 40 ป โดยใชสถานท่ปี ระดษิ ฐานหนิ กาบะห เปนที่ประกาศสัจธรรม ระหวางการเผยแผ
ศาสนาอสิ ลาม ทา นตอ งตอสูกับฝายปรปกษจนไดรับชัยชนะ ประกาศศาสนาอยู 23 ป ทานถึงแกกรรม
เม่ืออายุได 63 ป

นักบวช หรือ ผูสืบทอดศาสนา ผูปฏิบัติตามคําสอนของศาสนา และสืบตอศาสนาอิสลาม เชน
อิหมา ม ผูนําศาสนา และอิสลามมิกชน ศาสนสถาน คือ สถานท่ปี ระกอบศาสนกจิ ของผูนับถอื ศาสนาอสิ ลาม
ไดแ ก สุเหรา หรอื มสั ยดิ ซ่งึ เปน สถานที่ทจ่ี ัดไวเ พอื่ การละหมาด สัญลักษณข องศาสนาอิสลาม เน่ืองจาก
ศาสนาอิสลามสอนใหมีพระเจาองคเดียว และสอนไมใหเคารพบูชาสัญลักษณหรือรูปเคารพใด ๆ
รูปพระจันทรคร่ึงเส้ียว และมีดาว 5 แฉกอยูตรงกลาง ที่พบตามสุเหราท่ัวไปนั้นไมใชสัญลักษณทาง
ศาสนา แตเปน เครอื่ งหมายของอาณาจกั รออตโตมานเตอรก ทีร่ งุ เรอื งมากในอดตี ตัง้ แตศตวรรษท่ี 15 – 20
ท่ีประเทศมุสลิมสวนใหญตกอยูในอํานาจของอาณาจักรน้ี ชนชาวอิสลามจึงถือเอาเครื่องหมายนั้นเปน
สัญลักษณของตนและชนชาติมุสลิมสืบมา และกลายเปนสัญลักษณของผูนับถือศาสนาอิสลามไปโดย
ปริยาย

5

ประวตั พิ ระเยซู

คริสตศ าสนา เปนศาสนา 1 ใน 3 ศาสนาสาํ คัญของโลก ในประเทศไทยมีจํานวนผูนับถือคริสต
ศาสนามากเปน อันดับ 3 ศาสนาครสิ ตพัฒนามาจากศาสนายูดาย คําวา “คริสต” มีรากศัพท มาจากภาษา
โรมัน และภาษากรีก ท่ีแปลมาจาก เมสสอิ าห ในภาษาฮนิ ดู แปลวา ผปู ลดเปลอื้ งความทุกข

พระเยซู เปนผูใหกําเนิดศาสนาคริสต ทานเกิดที่หมูบานนาซาเรท แควนกาลิลี หางจาก
นครเยรูซาเลม็ ประมาณ 55 ไมล มารดาของพระเยซชู ่ือ มาเรีย หรอื มารีย บิดาชื่อโยเซฟ อาชพี ชางไม

ตามประวัตมิ าเรยี มารดาของพระเยซนู น้ั ตั้งครรภมากอ นขณะที่โยเซฟยังเปนคูหมั้น รอนถึงเทวทูตของ
พระเจา คอื พระยะโฮวาห หรือ ยาหเ วห ตอ งมาเขาฝน บอกโยเซฟใหรูวาบตุ รในครรภข องมาเรียเปนบุตร
ของพระเจา คือ พระยะโฮวาห หรือ ยาหเวห เปนผูมีบุญมากใหตั้งชื่อวา พระเยซู ตอไปคนผูนี้จะชวย
ไถบาปใหช าวยิวรอดพนจากความทกุ ขทัง้ ปวง โยเซฟปฏิบตั ิตามคาํ ของทตู แหง พระเจา จึงรับมาเรียมาอยู
ดว ยกันโดยมิไดสมสกู นั เยย่ี งสามีภรรยา พระเยซูไดรับการเล้ียงดูมาอยางดี มีความรูภาษากรีกแตกฉาน
ศึกษาพระคัมภีรเกา ไดมอบตัวเปนศิษยของโยฮัน ผูแตกฉานในคัมภีรของยิว เมื่อทานเติบโตมาเปน
ผูใหญ มนี สิ ยั ใฝสงบอยูในวิเวก ใฝใจทางศาสนา เมอ่ื ทานอายุได 30 ป ไดรับศีลลางบาปจากจอหน โดย
เยซูอาบนา้ํ ลางบาปท่ีแมน า้ํ จอรแ ดน ตง้ั แตน ้ันมาถือวา พระเยซู ไดสําเร็จรูปธรรมสูงสุดในศาสนาคริสต
เปนศาสดาบําเพ็ญพรต อดอาหาร และพิจารณาธรรมอยูในปาสงัด ถึง 40 วัน จากนั้นจึงออกประกาศ
ศาสนา ทา นเผยแพรศ าสนาอยู 3 ป มีผูนับถือพระเยซูมากขึ้น จนเปนเหตุใหพวกปุโรหิต พวกธรรมาจารย
และพวกฟาริซี เกลียดชัง ขณะท่ีพระเยซูพรอมสาวก 12 คน กําลังรับประทานอาหารม้ือคํ่าสุดทาย
พวกทหารโรมันก็จูโจมเขาจับพระเยซู และใหขอหาเปนกบฏตอซีซาร จักรพรรดิโรมัน ต้ังตนเปน
พระเมสสิอาห และถูกตัดสินใหลงโทษประหารชวี ิต โดยการตรึงไมกางเขนไว จนสน้ิ พระชนม หลังจากนั้น
3 วัน พระองคไ ดเสดจ็ กลับคนื ชพี และเสดจ็ ขน้ึ สวรรค

นกั บวชและผูส บื ทอดศาสนา ผูส บื ทอดคริสตศาสนา คือ สาวก พระบาทหลวง หมอสอนศาสนา
และครสิ ตศาสนกิ ชน ผูเลอ่ื มใสคริสตศ าสนา ศาสนสถานทใ่ี ชใ นการประกอบกิจกรรมสําคัญ คือ โบสถ
และวิหาร สัญลกั ษณท่แี สดงความเปน คริสตศ าสนิกชนทุกนิกายใชเ ครื่องหมายกางเขนเหมือนกัน เพราะ
แสดงถงึ ความเสยี สละท่ยี ิง่ ใหญ และเปน นิรันดรของพระองค

ประวตั ศิ าสนาพราหมณ์ - ฮินดู

เปนศาสนาท่ีมีผูนับถือจํานวนมากในโลกเชนกัน สําหรับในประเทศไทยมีผูนับถือจํานวนนอยท่ีสุด
แตอยางไรก็ตามวัฒนธรรมประเพณีไทยหลายอยางท่ีสืบทอดมาถึงปจจุบันมีการนําศาสนาพราหมณ
มาปะปนอยคู อ นขางมาก เชน พระราชพธิ ีจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ

ศาสนาพราหมณ - ฮินดู เปนศาสนาประเภทพหเุ ทวนยิ ม เชื่อในเทพหลายองค คือ พระอิศวรเปน
ผสู รางโลก นอกจากนั้นยังมพี ระนารายณ พระพรหม พระอมุ า พระพฆิ เณศ ซึ่งทําหนา ทใี่ หกบั โลกตาง ๆ กนั
ศาสนาพราหมณ - ฮินดู ไมมศี าสดา ผูสืบทอดศาสนาพราหมณ ไดแก พราหมณ นักบวช มีหนาที่ศึกษา
คมั ภรี รายเวท เปน ผนู ําสวดมนต และประกอบพิธกี รรมตาง ๆ ทางศาสนา รวมทั้งผศู รัทธาเลือ่ มใสศาสนา

6

พราหมณ - ฮินดู สถานทใ่ี ชป ระกอบพิธีกรรมทางศาสนา ไดแก โบสถ สัญลักษณของศาสนาพราหมณ
ใชอ กั ษรเทวนาครี ีท่ีเขยี นวา“โอม” ซ่งึ หมายถงึ เทพเจาทงั้ 3 ทสี่ าํ คญั มากคอื พระพรหม เปน ผูส รางโลกตา ง ๆ
พระวิษณุเปนผูคุมครองโลกตาง ๆ นอกจากน้ี ยังนิยมสรางเครื่องหมายแนวนอน 3 เสน ไวท่ีหนาผาก
เหนือคิว้ ซึง่ หมายถงึ ทนี่ ่ังของสีหะ คอื มหาเทพทตี่ นนับถอื

เรืองที หลักธรรมของศาสนาต่าง ๆ

หลกั ธรรมของศาสนาพุทธ
ตามที่กลา วมาแลววา ศาสนธรรม เปนองคป ระกอบท่ีสําคัญของศาสนา คําสอนของสัมมาสัมพุทธเจา

เรยี กวา พระธรรม
พระธรรมในศาสนาพุทธ กําหนดไวในพระไตรปฎก มีอยู 3 ตะกรา กลาวคือ คําสอนของ

พระพุทธเจา ในอดตี จารกึ ไวในสมุดขอย และใบลาน แยกไว 3 หมวดหมู คอื
1. พระสุตตันตปฎก เปนคัมภีรที่รวบรวมคําสอนของพระพุทธเจาในโอกาสตาง ๆ มีชาดก

ประกอบ เชน สุภมิตตชาดก ที่ 5 โทษของการไมรูประมาณ ความสรุปวา เม่ือพระพุทธเจาประทับอยู
ณ พระวิหารเชตะวัน ทรงปรารภถึงภิกษุรูปหน่ึงท่ีมรณภาพ เพราะฉันมากเกินไปจนอาหารไมยอย
พระพทุ ธเจา จึงตรสั วา แมใ นกาลกอนภกิ ษุนีก้ ็ตายเพราะบรโิ ภคมาก

2. พระวินัยปฎก เปนธรรมที่เก่ียวกับระเบียบกฎเกณฑความประพฤติของพระสงฆ ซ่ึง
พระพุทธเจากําหนดไวมีท้ังหมด 227 ขอ พระพุทธเจาจะทรงกําหนดขึ้นเมื่อมีเหตุการณท่ีพระสงฆ
ไมค วรประพฤติปฏบิ ัติ

3. พระอภิธรรมปฎ กรวบรวมคมั ภรี ท ี่รวบรวมเก่ียวกบั หลักธรรมหรือขอธรรมลวน ๆ คาํ ส่ังสอนวา
เปนพระสูตรตาง ๆ ของพระพุทธเจา ตัวอยาง คือ ธัมมจักกัปวัตนสูตร ซึ่งกลาวถึง มรรค 8 ซ่ึงเปนทาง
ปฏบิ ตั ใิ หไ กลจากกเิ ลส

พระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาเปนตัวแทนพระพุทธเจาที่ปรินิพานไปแลว เม่ือถึงคราวท่ี
ศาสนาพทุ ธเกดิ ปญหา มคี วามเส่ือมลง เนอ่ื งจากพุทธบริษทั คือ ภกิ ษุ ภกิ ษุณี อุบาสก อบุ าสิกา ไมปฏบิ ัติตาม
คําสง่ั สอนของพระพุทธเจา จะมกี ารนําพระไตรปฎกมาสงั คายนา มีการตรวจสอบชําระใหถูกตอง วัดใน
สมัยเกา เกบ็ พระไตรปฎ กท่จี ารึกไวในใบลาน สมุดขอยเก็บไวที่ศาลาธรรมท่ีต้ังอยูกลางน้ํา เพื่อปองกัน
มอด ปลวก กดั กินทําลาย

อยา งไรก็ตาม ชาวพทุ ธควรศกึ ษาธรรมะเพื่อเขาใจ และนํามาประพฤติปฏิบัติใหถูกตองที่สําคัญ ๆ
คือ

โอวาทปาตโิ มกข์ พระพทุ ธองคท รงประกาศหัวใจของศาสนาพุทธในวันมาฆบูชา เปนวันข้ึน 15 ค่ํา
เดอื น 3 ซ่ึงเปน วันมหัศจรรย คอื พระสงฆ 1,250 รูป ลวนเปนพระอรหันต มาประชุมโดยมิไดนัดหมาย
พระสงฆเหลา น้ีลวนเปนผูที่พระพุทธเจาโปรดประทานบวชใหดวยพระองคเอง ดวยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา
และเปนวันที่พระจันทรเสวยฤกษเต็มดวง พระพุทธเจาทรงประกาศหัวใจของศาสนาพุทธไวใน
โอวาทปาฏิโมกข มีอยู 3 ขอ คอื

7

1. การไมทําบาปอกุศลท้ังปวง คือ ไมท ําชว่ั
2. การทําบญุ กุศล คือใหทาํ ความดี
3. การทาํ จิตใหผองใสไกลจากความเศรา หมองของกิเลส
เบญจศีล ศลี 5 เปนขอ พ้ืนฐานท่ีสาํ คัญสาํ หรับการปฏบิ ตั ิตนของชาวพุทธ คอื
1. ละเวน การฆาสงั หาร ไมประทษุ รา ยตอ ชีวติ และรางกาย
2. ละเวน การลักขโมย เบยี ดบัง แยงชงิ ไมป ระทษุ รายตอทรพั ยสินผูอ่นื
3. ละเวนการประพฤติผิดในกาม ไมประทุษรายตอของรักของหวงแหน อันเปนการทําลาย

เกยี รตภิ มู แิ ละจติ ใจของผูอนื่ เชน บตุ ร ภริยา ญาติมติ ร
4. ละเวนจากการพดู เท็จโกหกหลอกลวง พดู เพอ เจอไรสาระ พูดคําหยาบคาย
5. เวน จากสุราเมรัย ไมเสพเคร่ืองดองของมึนเมา สิ่งเสพติด อันเปนเหตุใหเกิดความประมาท

มัวเมา กอ ความเสียหายผดิ พลาด เพราะขาดสติ อนั เปน เหตใุ หเกดิ อบุ ัตเิ หตุ แมอยา งนอ ยก็เปน
ผคู ุกคามตอ ความรสู ึกมน่ั คงปลอดภัยของผูเขา รว มสงั คม
เบญจธรรม ประการ เปนหลกั ธรรมท่ีคนทว่ั ไปควรปฏิบัติ มี 5 ประการ ดังนี้
1. เมตตา, กรุณา – ซ่ึงเปนธรรมะคูกนั และสนับสนนุ ศีลห้า - ขอ แรก (ฆา สตั ว – เบยี ดเบยี น)
2. สัมมาอาชวี ะ - คแู ละสนบั สนนุ ศลี ขอสอง (ลกั ทรัพย ฉอโกง)
3. กามสงั วร หมายถึง การสํารวมระวงั ในความตองการ - คูก ับศลี ขอ สาม (การขม เหงน้ําใจกนั )
4. สจั จะ ความจรงิ ใจ - คกู บั ศลี ขอ สี่ (โกหก)
5. สติ สมั ปชญั ญะ - คกู บั ศลี ขอหา (ทาํ ใหต นเองขาดสต)ิ
พรหมวหิ าร เปน หลักธรรมประจําใจเพื่อใหตนดํารงชีวิตไดอยางประเสริฐและบริสุทธ์ิ เฉกเชน
พรหม ประกอบดวยหลกั ปฏิบตั ิ 4 ประการ คอื
1. เมตตา ความปรารถนาอยากใหผ อู นื่ มคี วามสุข
2. กรณุ า ความปรารถนาอยากใหผ ูอ ่นื พนทกุ ข
3. มทุ ติ า ความยนิ ดที ่ผี ูอนื่ มีความสขุ ในทางทเี่ ปน กุศล
4. อุเบกขา การวางจิตเปนกลาง การมีเมตตา กรุณา มุทิตา เปนสิ่งที่ดี แตถาตนไมสามารถ
ชวยเหลือผูน้ันได จิตตนจะเปนทุกข ดังน้ัน ตนจึงควรวางอุเบกขาทําใจใหเปนกลาง และ
พิจารณาวา สัตวโลกยอมเปนไปตามกรรมที่ไดเคยกระทําไว จะดีหรือช่ัวก็ตาม กรรมน้ัน
ยอ มสง ผลอยางยตุ ธิ รรมตามที่เขาผูนัน้ ไดเ คยกระทําไว
ฆราวาสธรรม ประกอบดวย 2 คํา “ฆราวาส” แปลวา ผูดําเนินชีวิตในทางโลก, ผูครองเรือน
และ “ธรรม” แปลวา ความถกู ตอ ง, ความดงี าม, นสิ ัยท่ีดงี าม, คณุ สมบัต,ิ ขอปฏิบัติ
ฆราวาสธรรม แปลวา คุณสมบัติของผูประสบความสําเร็จในการดําเนินชีวิตทางโลก
ประกอบดวยธรรมะ 4 ประการ คือ

8

1. สจั จะ แปลวา จริง ตรง แท
2. ทมะ แปลวา ฝกตน ขมจติ และรักษาใจ
3. ขนั ติ แปลวา อดทน
4. จาคะ แปลวา เสยี สละ

หลักธรรมของศาสนาอสิ ลาม

หลักธรรมของศาสนาอิสลาม จารึกไวในคัมภีรอัลกุรอาน ซึ่งในอดีตถูกจารึกไวในหนังสัตว
กระดูกสตั ว หลักปฏบิ ตั ขิ องศาสนาอสิ ลาม 5 ประการ คือ

1. ตองปฏิญาณตนวาจะไมมีพระเจาองคอ่ืนนอกจากพระอัลเลาะห โดยมีพระนบีมูฮัมหมัด เปน
ศาสนทูตรบั คําสอนของพระองคม าเผยแผใหช าวมุสลิม

2. ตองนมัสการพระอัลเลาะห เพอ่ื สรรเสรญิ ขอพรตอ พระองควันละ 5 คร้ัง ในเวลาใกล
พระอาทิตยข้ึน บาย เย็น พลบค่ํา และกลางคืน

3. ปหนง่ึ ตองถือศีลอด (อัศศิยาบา) เปนเวลา 1 เดอื น โดยงดการบริโภคอาหาร นา้ํ ดื่ม ตัง้ แต
พระอาทติ ยข้นึ จนพระอาทิตยต ก

4. ตองบริจาคทาน (ซะกาต) เพอ่ื พัฒนาและชาํ ระจิตใหส ะอาดหมดจด บริสทุ ธ์ิยิง่ ข้ึน
5. ในชวงชีวิตหน่ึงควรไปประกอบพิธีฮัจญ คือ เดินทางไปประกอบศาสนกิจท่ีมัสยิดไบดุลเลาะห

ณ เมืองเมกกะ อยา งนอ ย 1 ครัง้
หลกั คําสอนของศาสนาอิสลามเปน เร่ืองศรัทธา คือ ความเช่ือเปนเรื่องสําคัญท่ีสุด มุสลิมทุกคน
จะตองเชอื่ และไมร ะแวงสงสัย ดังน้ี
1. เช่ือวาพระอัลเลาะหมจี ริง มุสลมิ ทกุ คนตองเชื่อวา พระเจามีองคเดยี ว คอื พระอัลเลาะห
2. เชอ่ื ในเทพบริวาร หรอื เทวทูตของพระอลั เลาะห เพื่อชักนําไปสหู นทางทดี่ งี าม
3. เชือ่ วาคัมภรี อ ัลกรุ อานเปน คมั ภรี ทีส่ มบรู ณท ส่ี ุด
4. เชอ่ื ในตวั แทนพระอัลเลาะหห รือศาสนฑูต เปนผนู าํ คําสอนมาเผยแพร
5. เชอ่ื ในวันส้นิ โลก เมอ่ื พระอัลเลาะหทรงสรา งโลกไดก ต็ อ งทาํ ลายโลกได
6. เช่อื ในกฎกําหนดสภาวะของพระอัลเลาะห กลาวคือ ทุกอยางเกิดข้ึนโดยพระอัลเลาะหและ

ดําเนินไปตามประสงคของพระองค
สําหรับหลักคําสอนท่ัวไปของศาสนาอิสลามนั้น สอนใหดําเนินชีวิตปฏิบัติตนตอกันของสังคม
เปนไปดวยความสงบสุข เชน สอนใหม นุษยม คี วามเมตตากรุณาตอกัน สอนใหมีความกตัญูกตเวทีตอ
บดิ า มารดา สอนใหส มรสหามหยา รา ง และประพฤตผิ ดิ ประเพณีสอนไมใ หดมื่ สรุ าเมรยั และยาเสพติดตา ง ๆ
สอนไมใ หกินดอกเบี้ย รับสินบน ใหสินบน กักตุนสินคา และทุจริตคดโกงตาง ๆ สอนหลักการคบหา
สมาคม สอนไมใ หฆ าลูกและตนเอง สอนไมใหถือส่ิงอันทัดเทียมพระอัลเลาะห สอนไมใหแตงงานกับ
คนตา งศาสนา สอนใหเหน็ ความสาํ คญั ของเจตนา สอนถึงการกระทาํ ท่ีทาํ ดไี ดดี ทําชัว่ ไดชั่ว สอนใหเห็น
ความสาํ คัญของความประพฤติ และสอนใหน ึกถงึ สงิ่ ตองหามมใิ หนาํ มาบรโิ ภค ฯลฯ เปน ตน

9

หลกั ธรรมของศาสนาคริสต์

พระธรรมคําสอนของศาสดาจะปรากฏในพระคริสตคัมภีร คัมภีรไบเบิล ผูนับถือคริสตศาสนา
ทกุ คนตองยดึ ม่ันในหลักปฏบิ ตั ิสําคญั ของคริสตศ าสนา เรยี กวา บญั ญตั ิ 10 ประการ คอื

1. จงนมสั การพระเจาเพยี งองคเ ดยี ว อยาเคารพรูปบชู าอน่ื
2. อยาออกนามพระเจาอยา งพรอย ๆ โดยไมสมเหตุสมผล
3. จงไปวดั วนั พระอนั เปนวนั ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ
4. จงเคารพนับถือบิดา
5. จงอยาฆาคน
6. จงอยาทาํ ลามก
7. จงอยา ลกั ขโมย
8. จงอยา พูดเท็จ หรือนนิ ทาผอู ่ืน
9. จงอยาปลงใจในความอลุ ามก
10. จงอยา มักไดใ นทรพั ยของเขา
หลกั คําสอนของศาสนาครสิ ต ทส่ี รุปสาํ คญั มา 2 ขอ คอื
1. จงรกั พระเจาอยา งสุดจิตสดุ ใจ
2. จงรกั เพอ่ื นบา น (เพอื่ นมนุษย) เหมอื นรักตัวเอง
และหลกั คําสอนของพระเยซูสวนใหญจะอยูบนพื้นฐานบัญญตั ิ 10 ประการ และอธิบายเพิ่มเติม
หรืออนุรักษคําสอนเดิมไว เชน สอนใหมีเมตตากรุณาตอกัน สอนใหรักกันระหวางพ่ีนอง สอนใหทํา
ความดี สอนใหเห็นแกบุญทรัพยมากกวาสินทรัพย สอนใหแสวงหาคุณธรรมย่ิงกวาสิ่งอื่น สอนหลัก
การคบหาซ่ึงกันและกัน สอนใหตอตานความอยุติธรรม สอนเรื่องจิตใจวาเปนรากฐานแหงความดี
ความชัว่ สอนถงึ ความกรณุ าของพระเจา สอนถงึ ความขดั แยงกนั ระหวางพระเจากบั เงนิ สอนใหรักษาศีล
รักษาธรรม สอนวธิ ไี ปสวรรค สอนเร่อื งความสุขจากการทําใจใหอ สิ ระ ฯลฯ เปน ตน

หลักธรรมของศาสนาพราหมณ์ - ฮนิ ดู

ศาสนาพราหมณ - ฮินดู เชื่อวา พระพรหมเปนเทพเจาสูงสุด เปนผูสรางโลกและสรรพสิ่ง
ตลอดจนกาํ หนดโชคชะตาชวี ิตของคนและสัตว เพราะฉะน้ัน วถิ ชี ีวิตแตละคนจึงเปนไปตามพรหมลิขิต
แตละคนก็อาจเปล่ยี นวถิ ชี ีวิตไดหากทาํ ใหพระพรหมเห็นใจ และโปรดปรานโดยการบวงสรวงออนวอนและ
ทําความดีตอพระองค หากตายไปก็จะไปเกิดในสุคตภิ ูมิ และหากโปรดปรานที่สุดก็จะไปอยูกับพระองค
ชัว่ นิจนิรนั ดร ชาวฮนิ ดูเชื่อวาวิญญาณเปน อมตะ จงึ ไมต ายไปตามรา งกาย ทวี่ าตายนนั้ เปนเพยี งวญิ ญาณออก
จากรา งกายเทา นัน้

คําสอนเฉพาะเปนคําสอนเฉพาะกลุมแตละวรรณะ แตละหนาที่ ตัวอยางคําสอนท่ัวไป เชน
สอนใหมนุษยม คี วามเมตตากรุณาตอกนั สอนใหมสี ันติ สอนถึงหนาท่ี และส่ิงที่มนุษยควรปฏิบัติตอกัน
สอนใหมขี ันติ สอนวธิ ีหาความสขุ และรูเทาทันความจริง สอนเรื่องความเปนอมตะของวิญญาณ หนาที่
บิดามารดามีตอ บุตรธิดา หนาที่ครอู าจารยตอ ศษิ ย หนา ทขี่ องบุตรธิดา และศษิ ย ท่ีมตี อ พอ แม ครู อาจารย

10

หนาท่สี ามตี อภรรยา หนา ทีภ่ รรยาตอ สามี หนาทน่ี ายตอ บาว หนาท่รี าชาตอราษฎร ธรรมและวรรณะทั้ง 4
คือ ธรรมและหนาที่ของพราหมณ ธรรมและหนาที่ของศูทร แตอยางไรก็ตาม มีกฎเกณฑหามแตงงาน
ระหวางคนตางวรรณะ เพราะเม่ือลูกออกมาเปนจัณฑาล ซึ่งถือวาเปนผูท่ีเปนบุคคลท่ีเปนเสนียดไมเปนที่
ตองการของสังคม

เรืองที การปฏบิ ัตติ นตามศาสนาต่าง ๆ

ศาสนาทุกศาสนามีคําสอนที่มุงใหคนในสังคมประพฤติดี เพื่อใหครอบครัว ชุมชน สังคม
ศาสนกิ ชน ทุกศาสนาพึงมีหนา ทตี่ องประพฤติปฏิบตั ิ คือ

หนาทขี่ องพทุ ธศาสนิกชน คือ พุทธบริษัท 4 ไดแก อุบาสก อุบาสิกา ภิกษุ ภิกษุณี โดยอุบาสก
อบุ าสิกา ทําหนา ทป่ี ฏบิ ัติตามหลกั ธรรมพระพทุ ธศาสนา และทะนบุ ํารงุ พระพุทธศาสนา

การปฏิบัติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ตามท่ีไดกลาวมาแลว คือ การรักษาศีล 5 และ
พัฒนาขึน้ ไปสูก ารรกั ษาศีล 8 หรืออุโบสถศีล ซึง่ เปน ศีลของอบุ าสก อุบาสกิ า

1. เวน จากการฆา สัตว
2. เวนจากการลกั สง่ิ ของทผี่ ูอ่ืนมิไดใ ห
3. เวน จากการประพฤตผิ ิดพรหมจรรย
4. เวนจากการพดู ปด พูดสอเสยี ด พูดคําหยาบ พูดเพอเจอ
5. เวน จากการดืม่ สุราเมรัย อนั เปนท่ีตัง้ แหงความประมาท
6. เวนจากการบรโิ ภคอาหารในยามวกิ าล (หลังเที่ยงถึงวนั ใหม)
7. เวนจากการฟอนรํา ขับรอง ประโคมดนตรี และประดับรางกายดวยดอกไม ของหอม

เครอ่ื งประดบั เครือ่ งทา เครอ่ื งยอ ม
8. เวน จากการน่ังนอนเหนอื เตยี งตั่งทีเ่ ทาสงู เกนิ ภายในมนี ุนหรอื สําลี
จากนั้นเม่ือมีพื้นฐานศีล 5 ศีล 8 แลวควรพัฒนาข้ึนไปสูการปฏิบัติธรรม ทําสมาธิ วิปสสนา
เจริญปญญาใหรูแจงเพ่ือหาทางดับทุกข การเจริญปญญา เพ่ือใหพิจารณาเห็นหลักธรรมแทจริงของ
ศาสนาพุทธ ซ่ึงเปนไปตามพระไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แปลวา สรรพส่ิงในโลกไมเท่ียง
ลว นเปนทกุ ข และไมม ตี ัวตน และทุกสิง่ ในโลกจะมสี ภาวะเกดิ ขึน้ ตง้ั อยู และดับไป
เมื่อการประพฤติปฏิบตั ิถงึ ทีส่ ดุ แลว ผนู น้ั จะเขา สูพระนิพพานเปนผูบริสุทธิ์ปราศจากกิเลส ไมมี
การเวยี นวายตายเกิดอีก
หนาท่ีสําคัญประการตอมา คือ การทะนุบํารุงและสืบทอดพระพุทธศาสนา คือ ทําหนาท่ี
ทะนบุ าํ รุงรกั ษาศาสนวัตถุ คอื พระพุทธรปู วดั วาอาราม ทด่ี ิน สิง่ กอสรางทางพุทธศาสนา ใหเปนสมบัติ
ของศาสนา และใชเบญจธรรมในการเปน ทพี่ ่ึงพาจติ ใจ และไหวพระสวดมนต ทําบญุ ตักบาตร เลี้ยงพระ
ประพฤติตามศาสนพธิ ีใหถกู ตอ งตามหลกั ศาสนาพุทธ และตองประพฤติตนเปนตัวอยางที่ดี เผยแผคําสอน
ใหบ ุตรธิดา บุคคลในครอบครัว สนบั สนนุ ใหบตุ รธดิ าบวชเรยี นในศาสนาพทุ ธเพื่อสบื ทอดพระพทุ ธศาสนา
ใหม ัน่ คงสถาพรสืบตอไป

11

สําหรับภิกษุ ภิกษุณี น้ัน ทําหนาท่ีศึกษารักษาพระธรรม และนํามาประพฤติปฏิบัติใหถูกตอง
นอกจากน้ันยังตองทําหนาที่เผยแผคําสอนของพระพุทธเจา อีกทั้งชวยกันทะนุบํารุง ศาสนวัตถุ
พระพุทธรูป วัดวาอาราม ส่ิงกอสรางทางศาสนาพุทธตาง ๆ ใหเปนถาวรวัตถุเปนที่พึ่งพิง รวมท้ัง
การประกอบศาสนพธิ ขี องชาวพุทธใหถ ูกหลักตามวฒั นธรรม ประเพณีที่ดีงามของชาวพุทธท่ีสืบทอดมา
จากบรรพบรุ ุษ

เชนเดียวกันกับหนา ท่ขี องอสิ ลามิกชน ครสิ เตียน และผูท ีน่ ับถือศาสนาฮินดู ลวนมีหนาที่ปฏิบัติ
ตามหลักธรรมคาํ สอนของศาสนาของตน ชวยกันเผยแผคําสอน หลักธรรม และรักษาศาสนวัตถุ ตลอดจน
รักษาขนบธรรมเนยี ม พธิ กี ารของศาสนาใหถูกตอ ง และท่สี าํ คัญ คือ การชวยกันสืบทอดศาสนาใหคงอยู
โดยชว ยกนั ทะนุบาํ รุงสถาบนั หลักทางศาสนาของตนใหสามารถทําหนา ทีไ่ ดส มบูรณ สงผลใหคนในสังคม
มีความสุขสงบตลอดไป

เรืองที บุคคลตวั อย่างทีใช้หลกั ธรรมในการดาํ เนินชีวติ

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช พระมหากษัตรยิ ไทยทรงเปน บุคคลตวั อยางท่ี
ใชห ลักธรรมในการดําเนินชีวิต พระองคทรงเปนพุทธมามกะ และทรงเปนองคอัครศาสนูปถัมภกของ
ศาสนาทกุ ศาสนาในประเทศไทย

พระองคทรงแสดงใหเห็นถึงพระเมตตา และพระมหากรุณาธิคุณในการบําบัดทุกข บํารุงสุข
ใหแกพสกนิกรทั้งแผนดิน ใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดี ทรงมีความละเอียดรอบคอบและทรงคิดคนหา
แนวทางการพฒั นา เพอ่ื มงุ ประโยชนแ กป ระชาชนสูงสุดพสกนิกรควรยึดเปนแบบอยางในการเจริญรอย
ตามเบ้ืองพระยุคลบาท นํามาปฏบิ ัติตนเพื่อใหเกิดผลตอตนเอง สังคม และประเทศชาติตลอดไป

หลักการทรงงานของพระองคท ส่ี ามารถรวบรวมไดมดี ังตอ ไปนี้ คือ
1. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็ นระบบ การที่พระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง จะทรงศกึ ษาขอมูล
รายละเอยี ดอยางเปน ระบบ ทง้ั จากขอ มูลเบื้องตน จากเอกสารแผนที่ สอบถามจากเจาหนาที่ นักวิชาการ
และราษฎรในพ้ืนที่ เพอื่ ใหไ ดร ายละเอียดทถี่ กู ตอง
2. ระเบิดจากข้างใน พระองคทรงมุงเนนเร่ืองการพัฒนาตน ทรงตรัสวาตองระเบิดจากขางใน
หมายความวา ตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนท่ีเราเขาไปพัฒนาใหเกิดสภาพพรอมที่จะรับ
การพัฒนาเสยี กอ น แลว จึงคอยออกมาสูสงั คมภายนอก ไมใ ชก ารนาํ ความเจริญมาจากภายนอกเขาไปหา
ชมุ ชน
3. แก้ปัญหาทีจุดเลก็ พระองคทรงมองเห็นปญหาในภาพรวมกอนเสมอ แตการแกปญหาของ
พระองคจะเรม่ิ ทจ่ี ดุ เล็ก ๆ
4. ทําตามลาํ ดับขันตอน ในการทรงงานพระองคจ ะเรมิ่ ตนจากสงิ่ ทจ่ี ําเปน ทีส่ ุดของประชาชนกอน
ไดแก สาธารณสุข เม่ือมีรางกายสมบูรณแข็งแรงแลวก็จะสามารถทําประโยชนดานอื่น ๆ ตอไปได
ตอจากนน้ั ก็จะเปนเรอื่ งสาธารณปู โภคพ้นื ฐาน และส่ิงจําเปนในการประกอบอาชีพ เชน ถนน แหลงนํ้า
เพื่อการเกษตร การอปุ โภคบรโิ ภค ที่เอื้อประโยชนต อประชาชนโดยไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึง

12

การใชความรูทางวิชาการ และเทคโนโลยีทเ่ี รยี บงาย เนนการปรับใชภ มู ปิ ญญาทองถน่ิ ท่ีราษฎรสามารถนําไป
ปฏิบตั ิได และเกิดประโยชนสงู สุดดงั พระบรมราโชวาท

5. ภูมสิ ังคม การพฒั นาใด ๆ ตองคํานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นวาเปนอยางไร และ
สังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแตละทองถิ่น มีความ
แตกตางกนั

6. องค์รวม ทรงมีวิธีการคิดอยางองครวม คือ การมองอยางครบวงจร ในการพระราชทาน
พระราชดําริเกี่ยวกับโครงการหน่ึง น้ัน จะทรงมองเหตุการณที่จะเกิดขึ้น และแนวทางแกไขอยาง
เชอ่ื มโยง ดงั เชน กรณี “ทฤษฎีใหม” ที่พระราชทานแกปวงชนชาวไทย เปนแนวทางในการประกอบอาชีพ
แนวทางหนึ่งที่พระองคทรงมองอยางองครวม ต้ังแตการถือครองท่ีดินโดยเฉล่ียของประชาชนไทย
ประมาณ 10 – 15 ไร การบริหารจัดการที่ดนิ และแหลง นํา้ อันเปนปจจัยพ้ืนฐานที่สําคัญในการประกอบ
อาชีพ เมอ่ื มีนา้ํ ในการทําเกษตรแลวจะสงผลใหผลผลิตดีข้ึน หากมีผลผลิตเพิ่มมากข้ึนเกษตรกรจะตอง
รจู กั วิธีการจัดการและการตลาด รวมถึงการรวมกลุมรวมพลังชุมชนใหมีความเขมแข็ง เพื่อพรอมที่จะ
ออกสกู ารเปล่ยี นแปลงของสงั คมภายนอกไดอยา งครบวงจร

7. ไม่ตดิ ตํารา การพัฒนาตามแนวพระราชดําริ เปนการพัฒนาท่ีรอมชอมกับสภาพธรรมชาติ
สง่ิ แวดลอมและสภาพสังคมจิตวิทยาแหงชุมชน คือ ไมติดตํารา ไมผูกมัดกับวิชาการและเทคโนโลยีท่ี
ไมเ หมาะสมกบั สภาพชีวติ ทแี่ ทจรงิ ของคนไทย

8. ประหยดั เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด พระองคทรงประหยดั หลอดยาสีพระทนตน้นั พระองค
ทรงใชอยางคุมคา ในปหน่ึงพระองคเบิกดินสอ 12 แทง ทรงใชเดือนละแทง ใชกระทั่งกุด ในการ
แกป ญ หาใหแ กป ญหาดว ยความเรียบงายและประหยัด ราษฎรสามารถทําไดเอง ดังพระราชดํารัสความ
ตอนหน่งึ วา ใหป ลูกปาโดยไมตองปลูกโดยปลอ ยใหข ้ึนเองจะไดป ระหยัดงบประมาณ

9. ทําให้ง่าย พระองคทรงมีพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการคิดคนดัดแปลง
ปรับปรงุ และแกไขพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดําริ ทรงใชกฎแหงธรรมชาติเปนแนวทาง ตัวอยาง
การปลูกหญา แฝก เปน หญา คลมุ ดนิ เพ่อื ปองกนั การพังทลายของหนา ดนิ เปน ตน

10. การมสี ่วนร่วม พระองคท รงเปน นักประชาธิปไตย จงึ ทรงนําประชาพจิ ารณมาใชในการบริหาร
ดังพระราชดํารัสตอนหน่ึงวา ...สําคัญที่สุดตองหัดทําใจใหกวางหนักแนน รูจักรับฟงความคิดเห็น
แมก ระท่ังการวพิ ากษวจิ ารณจ ากผูอ่นื อยางฉลาด เพราะการรจู กั รบั ฟงอยา งฉลาดนัน้ แทจรงิ คอื การระดม
สติปญญาและประสบการณอันหลากหลายมาอํานวยการปฏิบัติ บริหารงาน ใหประสบความสําเร็จท่ี
สมบรู ณ นั้นเอง...

11. ประโยชน์ส่ วนรวม ในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ และการพระราชทานพระราชดําริ
พระองคท รงราํ ลึกถึงประโยชนส ว นรวมเปน หลักสําคัญ

12. บริหารรวมทีจุดเดียว เปนรูปแบบการบริหารแรงงานแบบเบ็ดเสร็จที่เกิดข้ึนเปนคร้ังแรก
โดยทรงใหศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เปนตนแบบในการบริการรวมที่จุดเดียว
เพือ่ ประโยชนตอ ประชาชนทจ่ี ะมาขอใชบ รกิ ารจะประหยัดเวลาและคา ใชจ าย โดยจะมีหนวยงานราชการ
ตา ง ๆ มารว มดาํ เนินการ และใหบรกิ ารแกป ระชาชน ณ ที่แหง เดียว

13

13. ทรงใช้ธรรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ หากเราตองการแกไขธรรมชาติ จะตองใชธ รรมชาติชวยเหลอื
เชน การแกไขปญหาปาเสื่อมโทรม ไดพระราชทานพระราชดําริการปลูกปาโดยไมตองปลูก ปลอยให
ธรรมชาติชวยฟน ฟธู รรมชาติ

14. ใช้อธรรมปราบอธรรม ทรงนําความเจริญ กฎเกณฑข องธรรมชาตมิ าเปน หลักการ แนวปฏิบตั ิ
ท่สี าํ คัญในการแกป ญหาและปรับปรุงเปลยี่ นแปลงสภาวะท่ีไมป กตเิ ขาสรู ะบบท่ีเปน ปกติ เชน การนํานํา้ ดี
ขบั ไลนา้ํ เสีย หรือเจือจางนา้ํ เสียใหกลับเปน นาํ้ ดี การบําบัดน้ําเนาเสยี โดยใชผ ักตบชวา ซงึ่ มตี ามธรรมชาติ
ดดู ซมึ ส่ิงสกปรกปนเปอ นในน้าํ ดังพระราชดํารัสวา “ใชอ ธรรม ปราบอธรรม”

15. ปลูกป่ าในใจคน ปญหาการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติใหกลับคืนมาจะตองปลูกจิตสํานึกใน
การรกั ผนื ปา ใหแ กคนเสยี กอ น ดังพระราชดํารัสความตอนหน่ึงวา “...เจาหนาที่ปาไมควรจะปลูกตนไม
ลงในใจคนเสียกอน แลวคนเหลา นัน้ ก็จะพากนั ปลกู ตนไมลงบนแผนดนิ และรักษาตนไมดว ยตนเอง...”

16. ขาดทุนคอื กาํ ไร หลักการ คือ “...ขาดทนุ คือกาํ ไร Our loss is our gain… การเสีย คือ การได
ประเทศชาตกิ จ็ ะกา วหนา และการทคี่ นอยดู มี ีสุข น้นั เปนการนับท่ีเปนมูลคาประเมินไมได...” หลักการ
คือ การใหแ ละการเสียสละ สง ผลใหม ีผลกําไร คอื ความอยดู มี ีสขุ ของราษฎร

17. การพึงตนเอง พระองคทรงมีพระราชดํารัสความตอนหน่ึงวา “...การชวยเหลือสนับสนุน
ประชาชนในการประกอบอาชพี และตงั้ ตัวใหม คี วามพอกินพอใชกอนอื่นเปนส่ิงสําคัญย่ิงยวด เพราะผูมี
อาชีพและฐานะเพยี งพอท่จี ะพึง่ พาตนเองได ยอมสามารถสรา งความเจรญิ ในระดบั สงู ขัน้ ตอไป...”

18. พออย่พู อกนิ การที่พระองคท รงเสด็จไปเยี่ยมประชาชนทรงเขาพระทัยปญหาอยางลึกซึ้งถึง
เหตุผลมากมายที่ใหราษฎรอยูในวงจรแหงทุกขเข็ญ จากน้ันจึงพระราชทานความชวยเหลือใหราษฎร
มชี ีวิตอยใู นขนั้ พออยูพอกินกอน แลวจึงคอยขยบั ขยายใหมีสมรรถนะท่กี าวหนา ตอ ไป

19. เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ปรัชญาท่พี ระองคมีพระราชดาํ รสั ช้แี นะแนวทางแหงการดําเนินชีวิต
โดยยึดถือหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมท้ังความจําเปนท่ีจะตองมีระบบภูมิคุมกันที่ดี
พอสมควร

20. ความซือสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน พระองคมีพระราชดํารัสวา “...ผูท่ีมีความสุจริตและ
บริสุทธิ์ใจ แมจะมีความรูนอยก็ยอมทําประโยชนใหแกสวนรวมไดมากกวาผูมีความรูมาก แตไมมี
ความสุจรติ ไมมีความบรสิ ุทธใิ์ จ...”

21. ทาํ งานอย่างมสี ุข พระองคทรงตรัสวา “...ทํางานกบั ฉนั ฉนั ไมม อี ะไรจะให นอกจากความสขุ
รว มกันในการทําประโยชนใหก ับผูอื่น...”

22. ความเพยี ร : พระมหาชนก จากพระราชนิพนธพระมหาชนก ซ่ึงเปนตัวอยางของผูมีความ
เพียรพยายาม แมจะไมเห็นฝงก็ยังวายนํ้าตอไป เชนเดียวกับพระองคที่ทรงริเร่ิมทําโครงการตาง ๆ
ในระยะแรกที่ไมมีความพรอมในการทํางานมากนัก ทรงใชพระราชทรัพยสวนพระองคมุงมั่นพัฒนา
บานเมืองใหเ กิดความรม เยน็ เปน สุข

14

23. รู้ รัก สามคั คี พระองคทรงมีพระราชดํารสั คาํ สามคาํ นี้ ใหน าํ ไปใชไดท ุกยุคทกุ สมยั
รู้ คือ การลงมือทําสงิ่ ใดโดยรูถงึ ปจจัยทั้งหมด รูถงึ ปญ หา และรถู ึงวิธกี ารแกปญ หา
รัก คือ ความรกั เมอื่ รูแ จง จะตอ งรักการพจิ ารณาท่ีจะเขาไปลงมอื ปฏบิ ัติแกไขปญ หาอืน่ ๆ
สามัคคี คือ การคํานึงเสมอวาเราทํางานคนเดียวไมได ตองทํางานรวมมือรวมใจ เปนองคกร

เปนหมูคณะ จึงมีพลงั เขาไปแกป ญ หาใหล ุลว งไปไดดวยดี

เรืองที การอยู่ร่วมกันของคนไทยทีต่างศาสนา

ศาสนามปี ระโยชน คอื ชว ยใหทุกคนในสังคมอยูดว ยกันอยา งสงบสุขและมีสันติ มีความรักใคร
สามัคคีปรองดองกนั ซ่งึ เปน พ้นื ฐานสําคัญท่ีสง ผลใหตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม มคี วามเปนอันหนึ่ง
อนั เดียวกนั ทาํ ใหเกดิ ความสามารถนาํ พาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม เจริญรุดหนาไป อยางไรก็ตาม
หากชุมชน สังคมมีขอปฏิบัติทางศาสนาเดียวกัน มีวัฒนธรรมประเพณีเหมือนกัน สังคมนั้นจะมี
ความกลมเกลียวกัน เม่ือศึกษาประวัติศาสนาสังคมไทยต้ังแตสมัยอดีตจนถึงปจจุบัน ปญหาแตกแยก
ทางสังคม เนอื่ งจากสาเหตเุ พราะศาสนาแตกตางกนั นัน้ ไมเคยปรากฏข้ึนในประเทศไทย

แตภาวะปจ จบุ ันสังคมไทยเกดิ ปญ หาความแตกแยก ไมสามัคคีกัน โดยระบุวาสาเหตุเปนเพราะ
ความเช่อื ทางศาสนานัน้ เมอ่ื วิเคราะหส าเหตแุ ละสบื สาวเหตุการณแ ลว ความเช่ือทางศาสนาไมใชสาเหตุ
ทั้งนี้ เพราะศาสนาลวนมีกฎเกณฑของศีลที่ไมใหมนุษยเบียดเบียนรังแกกัน ดังน้ัน สังคมไทยตั้งแต
สโุ ขทยั เปน พุทธศาสนา ฮนิ ดู อยูรว มกนั อยา งผสมกลมกลืน คําสอนของพุทธศาสนาปรากฏในศาสนาฮินดู
และพธิ กี รรมศาสนาฮนิ ดู ปรากฏอยูใ นสังคมไทยพทุ ธ โดยอยูรวมกันอยางลงตัว เชน ประเพณีลอยกระทง
ตอมาในสมยั อยธุ ยาไทยคาขายกับจีน ฝร่ังชาติตาง ๆ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ โดยมีขุนนางฝร่ัง คือ
เจาพระยาวิชชาเยนทร เปนคริสเตียน ตั้งรกรากอยูในไทย และยังคงนับถือศาสนาคริสตอยู ตอมา
สมยั รตั นโกสินทร รัชกาลที่ 4 ของเราทานศึกษาวัฒนธรรมตะวันตก และเม่ือถึงรัชกาลที่ 5 มีการติดตอ
กับตางประเทศนําวัฒนธรรมตะวันตกมาใชปรับปรุงประเทศ และไมทําใหศาสนาเส่ือมถอย พระองค
ทานใชหลักศาสนา เพื่อใหชาติคงอยูดวยการเสียสละดินแดนสวนนอย เพื่อรักษาดินแดนสวนใหญไว
สงผลใหร กั ษาชาติบานเมอื งใหค งอยูไมเ สยี เอกราช

กลาวโดยสรปุ สงั คมไทยแมมีศาสนาหลากหลายในชุมชน สังคม คนไทยท่ีตางศาสนายึดหลัก
ประนีประนอม เคารพซงึ่ กนั และกนั เขาใจวถิ ีชีวิตท่แี ตกตางกนั ทาํ ใหอยูรวมกนั ไดอยา งมคี วามสุข เราจะ
เห็นภาพของสังคมไทยท่ัวไปท่ีคนไทยมุสลิม คนคริสเตียน คนไทยพุทธ ไทยฮินดู ติดตอคาขาย
ประกอบกจิ ศาสนา ใชชีวติ ครอบครัวทต่ี างศาสนาอยรู วมกันในสังคมไทยอยางปกติสุขในโรงเรียนและ
สถาบนั การศึกษาระดับสงู มบี ตุ รหลานคนไทยตางศาสนาอยรู ว มกนั ศกึ ษาหาความรูโ ดยไมม ปี ญหาใด ๆ

เมอื่ เกดิ ปญ หาความขัดแยง แตกแยกของคนในสังคม ต้ังแตครอบครัว ชุมชนใด ๆ ในประเทศไทย
และความแตกแยกน้ันทวีความรุนแรงยิ่งข้ึน ครอบครัว ชุมชน ทุกแหงย่ิงจะตองนําหลักคุณธรรม
จริยธรรมมาแกไขปญหา เพ่ือลดความขัดแยงที่รุนแรง สถาบันองคกรทางศาสนา และทุกคนจะตอง
รวมมือกันในการนําสนั ติภาพกลบั คนื มาสสู ังคม ชมุ ชนอยางรวดเรว็

15

กรณีตวั อยา งจากพทุ ธประวตั ิ การแกป ญหาความแตกแยกในสงั คมโดยสันตวิ ธิ ี
คร้ังหนึ่งเหลากษัตริยศากยวงศ พระญาติฝายพุทธบิดา และเหลากษัตริยโกลิยวงศ พระญาติ
ฝา ยพทุ ธมารดา ทะเลาะวิวาทกันเร่ือง แยงน้ําโรหิณี เน่ืองจากฝนแลง นํ้าไมเพียงพอ การทะเลาะวิวาท
ลุกลามไปจนเกอื บกลายเปนศึกใหญ พระสัมมาสัมพุทธเจา ทรงทราบเหตุดวยพระญาณ จึงเสด็จไปหาม
สงคราม โดยตรสั ใหเ หน็ ถงึ ความไมสมควรท่กี ษัตริยต องมาฆาฟนกนั ดวยสาเหตเุ พียงแคการแยง น้ําเขานา
และตรัสเตือนสติวาระหวางน้ํากับพี่นอง อะไรสําคัญย่ิงกวากัน ทั้งสองฝายจึงไดสติคืนดีกัน และขอ
พระราชทานอภัยโทษตอ เบือ้ งพระพกั ตรพ ระพทุ ธองค

กจิ กรรมที ให้ผ้เู รียนเลอื กคาํ ตอบทีถูกต้อง

1. ศาสนาพุทธเปน ศาสนาประเภทใด

ก. เอกเทวนิยม ข. พหุเทวนิยม
ค. สัพพตั ถเทวนยิ ม ง. อเทวนิยม

2. ศาสดาหมายถึงอะไร

ก. ผปู ฏบิ ัติตามคําสอนของศาสนา ข. ผนู ับถอื ศาสนา
ค. ผคู น พบศาสนาและนาํ คาํ สอนมา ง. สาวกของศาสนา

เผยแผ

3. สมั มาสมาธอิ ยใู นธรรมะหมวดใด

ก. มรรค 8 ข. อรยิ สัจ 4
ค. ฆราวาสธรรม ง. พรหมวหิ าร 4

4. คาํ สอนศาสนาใดที่เนนใหม นุษยม คี วามรกั ตอกนั

ก. ศาสนาพุทธ ข. ศาสนาครสิ ต
ค. ศาสนาอสิ ลาม ง. ศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดู

5. มัสยดิ เปน ศาสนสถานของศาสนาใด

ก. ศาสนาพุทธ ข. ศาสนาคริสต
ค. ศาสนาอสิ ลาม ง. ศาสนาพราหมณ – ฮินดู

6. การแกไขปญหาความขัดแยง ในสงั คม วธิ ใี ดเปน วธิ ีท่ีดที สี่ ดุ

ก. ใชห ลกั ธรรมทางศาสนา ข. ใชหลกั กฎหมาย
ค. ใชห ลักการเจรจา ง. ใชคณะกรรมการ

16

7. สังคมที่มีความเจริญกาวหนาทางวัตถุเปนสังคมวัตถุนิยม ประชาชนควรมีคานิยมใดจึงจะ
เหมาะสม
ก. รรู ักสามคั คี ข. ประหยัดและนิยมไทย
ค. ใชชวี ิตเรยี บงา ย ง. มีระเบยี บวินัย

8. เมกกะ คอื เมอื งสําคัญของศาสนาใด ข. ศาสนาอิสลาม
ก. ศาสนาพทุ ธ ง. ศาสนาพราหมณ – ฮินดู
ค. ศาสนาครสิ ต
ข. ศาสนาอสิ ลาม
9. การถือศลี อดเปนขอ ปฏิบตั ขิ องศาสนาใด
ก. ศาสนาพทุ ธ
ค. ศาสนาคริสต ง. ศาสนาพราหมณ – ฮินดู

10. ศาสนาใดทีน่ ับถือเทพเจาหลายองค ข. ศาสนาอิสลาม
ก. ศาสนาพุทธ ง. ศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดู
ค. ศาสนาครสิ ต

กิจกรรมที ให้ผ้เู รียนศึกษากรณตี วั อย่างทเี กดิ จริงในหนังสือพมิ พ์ทีแสดงถงึ การไม่ใช้หลกั คาํ สอนของ

ศาสนาในการดาํ รงชีวติ แล้วนํามาแลกเปลยี นเรียนรู้กนั ในชันเรียน

17

สาระสําคญั บทที
วัฒนธรรมประเพณี

เปน สาระสําคญั ทเี่ กยี่ วกบั วฒั นธรรมประเพณใี นชมุ ชนทองถ่นิ ภาคตาง ๆ ของประเทศไทย ภาษา
การแตง กาย ฯลฯ ของภาคตา ง ๆ ประเพณีของแตละชุมชนทอ งถิ่น ภาค เชน แหเ ทยี นพรรษา บุญเดือนสิบ
ลอยกระทง ประเพณีว่ิงควาย ย่ีเปง การอนุรักษและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีของภาคตาง ๆ การ
ประพฤติปฏิบัติตน เพื่อการอนุรักษและสืบสานวัฒนธรรมประเพณี คานิยมที่พึงประสงคของชุมชน
สงั คมไทย การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นตามคานิยมของชมุ ชน สังคมไทยทีพ่ งึ ประสงค

ผลการเรียนรู้ทีคาดหวงั

1. มีความรู ความเขาใจในวัฒนธรรมประเพณีของชมุ ชน ทองถิ่น และของประเทศ
2. ตระหนักถึงความสําคญั ของวัฒนธรรมประเพณขี องของชมุ ชน ทอ งถน่ิ และของประเทศ
3. มีสวนรว มในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมประเพณขี องทอ งถน่ิ
4. นาํ คา นยิ มที่พงึ ประสงคข องสังคม ชุมชนมาประพฤติปฏิบตั ิจนเปน นิสัย

ขอบข่ายเนือหา

เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของวฒั นธรรมประเพณี
เรือ่ งท่ี 2 วฒั นธรรม ประเพณีท่ีสาํ คัญของทอ งถนิ่ และของประเทศ
เร่อื งท่ี 3 การอนรุ กั ษสืบสานวัฒนธรรมของประเพณีไทย
เรอ่ื งท่ี 4 คานยิ มทพ่ี งึ ประสงคข องไทยและของทอ งถน่ิ
เร่ืองท่ี 5 การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นตามคานยิ มทีพ่ ึงประสงค

18

เรืองที ความหมาย ความสําคญั ของวฒั นธรรม ประเพณี

. ความหมายความสําคญั
วฒั นธรรม คือ มรดกแหง สงั คมที่มนษุ ยไ ดส รางสรรคข้ึน และไดรับการถายทอดกันมาจาก

อดีตสูปจจุบัน เปนผลผลิตท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงามท้ังดานวัตถุและท่ีไมใชวัตถุ เชน อุดมการณ
คานิยม ประเพณี ศีลธรรม กฎหมาย และศาสนา เปน ตน

พระราชบัญญตั วิ ัฒนธรรมแหงชาติ พทุ ธศกั ราช 2485 กลาววา วัฒนธรรม หมายถึง ลักษณะ
ท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติ และ
ศลี ธรรมอันดงี ามของประชาชน

สรุปไดว า วฒั นธรรม หมายถึง วิธกี ารดาํ รงชีวติ ของมนษุ ยที่แสดงถึงความเจริญงอกงามใน
การอยูรว มกัน เปน การสรา งสรรคของมนุษยทีแ่ สดงออกในลักษณะวัตถแุ ละไมใชวัตถุ แลวถายทอดสืบ
ตอกันมา

ความสาํ คัญของวัฒนธรรม มีอยู 5 ประการ คือ
1. วฒั นธรรม ชวยใหมนษุ ยส ะดวกสบายข้ึน ชว ยแกปญ หาและสนองความตองการตาง ๆ
ของมนุษย สามารถเอาชนะธรรมชาติได เพราะสรา งวัฒนธรรมข้ึนมาชวย
2. วัฒนธรรม ทาํ ใหสมาชิกในสังคมมีความเปนอนั หนงึ่ อันเดียวกันมคี วามสามัคคกี ัน
3. วัฒนธรรม แสดงถงึ เอกลักษณของชาติ ชาตทิ มี่ วี ฒั นธรรมสงู ยอ มไดรับการยกยองและ
เปนหลกั ประกนั ความมั่นคงของชาติ
4. วัฒนธรรม กําหนดพฤติกรรมของคนในสังคม ชวยใหคนในสังคมอยูรวมกันอยาง
สนั ติสุข
5. วฒั นธรรม ทาํ ใหประเทศชาติมคี วามเจรญิ รงุ เรอื ง
. ความหมายความสําคญั ของประเพณี
ประเพณี หมายถงึ แบบความประพฤตทิ ี่คนสวนรวมถือเปนธรรมเนียมหรือระเบียบแบบแผน
และปฏบิ ตั สิ ืบตอ กันมาชา นาน จนเกิดเปนแบบอยางความคิดหรือการกระทําที่ไดสืบตอกันมา และยังมี
อิทธพิ ลอยูในปจจุบัน ซึง่ อยใู นรูปแบบของ จารตี ประเพณี ขนบประเพณี และขนบธรรมเนยี มประเพณี
จารีตประเพณี คือ ประเพณที ่ีเกีย่ วขอ งกับศีลธรรมและจติ ใจ เชน การตอบแทนบุญคุณบิดา
มารดา บพุ การี การเลีย้ งดูเม่อื ทา นแกเ ฒา การเคารพเชอื่ ฟงครู อาจารย การนับถือบรรพบรุ ษุ
ขนบประเพณี คอื ประเพณีที่ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิกนั อยทู ่ัวไปมาอยางเปนระเบียบ บังคับใหคน
ในสังคมนั้น ๆ ยดึ ถอื และปฏิบตั ติ าม เชน กฎหมาย กฎระเบียบ และขอ บังคบั ตา ง ๆ และมีขนบประเพณีที่
คนในสังคมไมต องปฏบิ ตั ิตามเสมอไป เชน ประเพณกี ารโกนจุก เปน ตน
ธรรมเนียมประเพณี คือ ประเพณีที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติระหวางบุคคลที่สังคมยอมรับ
เชน การทักทาย การไหว การเดนิ กิริยามารยาท เปน ตน

19

นอกจากนย้ี งั มีประเพณีทางศาสนา เชน วนั โกน วันพระ ประเพณีเกี่ยวกบั การเกิด การตาย
การโกนผมไฟ ประเพณเี ก่ยี วกับครอบครัว เชน การปลกู เรือน ประเพณเี กีย่ วกับเทศกาลตา ง ๆ เชน ตรุษไทย
วนั สงกรานต วนั ลอยกระทง และแตละภาค แตละทอ งถิน่ มีประเพณีแตกตา งกนั ออกไป

ความสาํ คัญของประเพณี มอี ยู 5 ประเภท คือ
1. เปนเคร่อื งบอกความเจรญิ ของชาตินน้ั ๆ ชาตทิ ีเ่ จริญในปจจบุ ันมปี ระเพณีตาง ๆ
ทีแ่ สดงถงึ ความเจริญกาวหนา
2. ประเพณีสวนมากสืบคน ความเปน มาของประเพณนี นั้ ๆ ตัง้ แตอดีตเชื่อมโยงถึงปจจุบัน
ประเพณีจงึ สามารถใชเ ปน แนวทางในการศึกษาประวัตศิ าสตรไดเ ปน อยา งดี
3. ประเพณที ําใหค นในสังคมเกิดความภาคภูมิใจในความดีงามของเผา และชาติบานเมือง
ตนเอง
4. ประเพณที ําใหค นในสังคมไดท าํ กจิ กรรมรว มกัน อันเปนการดาํ รงความรักสามัคคี ทําให
คนในเผา ชมุ ชน ภาค และเปนชาติมีความมน่ั คงสืบตอ กนั มา
5. ประเพณเี ปน สัญลกั ษณท ี่สาํ คัญ ซ่ึงแสดงออกความเปนเผา ชุมชน ภาค เปนชาติ

เรืองที วฒั นธรรมประเพณีทีสําคญั ของท้องถนิ และของประเทศ

. วฒั นธรรมทสี ําคญั
วัฒนธรรมทสี่ าํ คญั ของทอ งถน่ิ และของประเทศทีแ่ สดงออกถึงความเปนไทยท่สี ําคัญตาง ๆ

คือ ภาษา การแตงกาย อาหาร และมารยาท
ภาษา ภาษาท่ีใชส่ือสารกันในสังคม มี 2 ลักษณะ คือ ภาษาทางกาย และภาษาทางวาจา

ในเผา ในชุมชน ภาค จะมีภาษาถ่ิน สําเนียงถิ่น กิริยาอาการแสดงออกของทองถิ่น และจะมีภาษากิริยา
อาการ คนไทยจะใชภาษาไทยกลาง ซ่ึงเปน ภาพรวมของประเทศ ดังนนั้ วัฒนธรรมทางภาษา จะบงบอก
ท่มี าของกําเนดิ ซึ่งควรจะเปนความภูมใิ จในตัวตน ไมเปนสง่ิ เชย นาอาย หรือลาสมยั ในการแสดงออกทาง
ภาษาถ่ิน ภาษาไทยกลางของคนไทย

การแตงกาย การแตงกายของคนในสังคมไทยในปจจุบันไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรม
ตะวนั ตกในชวี ติ ประจําวันคนไทยจึงแตงตัวแบบสากลตอเมื่อมีงานบุญ ประเพณีตาง ๆ หรือในโอกาส
สําคญั ๆ จงึ นําการแตงกายประจําถิ่นที่แสดงออกมาเปน เผา ชมุ ชน และภาค อยางไรก็ตาม เรายังเห็นคน
รุน เกา รุนพอ แม ปู ยา ตา ยาย ในทอ งถนิ่ บางแหง ยงั คงมีวัฒนธรรมการแตงกายท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ
ใหเ ราเห็นไดในชวี ติ ประจําวนั

อาหาร เน่ืองจากการติดตอสื่อสารของโลกปจจุบันเปนโลกไรพรมแดน เราจึงสามารถ
รบั ประทานอาหารไทยท่รี านในเมอื งลอสแองแจลิส เมอื งฮอ งกงไดดวย วฒั นธรรมทางอาหารการกินของ
คนไทยในทอ งถน่ิ และไทยยังคงสืบตอตงั้ แตอ ดีตมาจนถงึ ปจ จบุ นั เพราะสภาวะแวดลอมทางภูมิศาสตร
ทรัพยากรตาง ๆ สงผลใหวัตถุดิบท่ีใชในการประกอบอาหารทองถิ่นไทย ยังคงมีอยูและนํามาใชใน
การประกอบอาหาร การกนิ ไดต ลอดมา แตอ าหารบางชนิดเรมิ่ สูญหายไป เด็กไทยปจจุบันเร่ิมจะไมรูจัก

20

คุน เคยอาหารบางชนิด เชน ขนมกง ซ่งึ ประเพณีแตงงานภาคกลาง ในอดีตจะมีขนมกง เปนขนมทําจาก
ถั่วทองปนเปน รูปวงกลม มซี เ่ี หมือนลอเกวยี น เพ่ือใหช วี ิตแตงงานราบรืน่ กา วไปขา งหนา เปน ตน

มารยาท มารยาทของคนไทยท่ีอาศัยอยูเปนเผา ชุมชน ภาค ตลอดจนไทยกลางไดรับการ
สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ แตเมื่อกลาวโดยรวมแลวมารยาทไทยนั้นท่ัวโลกยอมรับวามีความงดงาม
ออนชอย การไหว การกราบ บงบอกถึงความเปนชาติที่มีวัฒนธรรมอันดีงาม ทําใหคนตางประเทศ
ประทับใจ สงผลใหอ ตุ สาหกรรมการทอ งเที่ยวเจริญกา วหนา

เรืองที การอนุรักษ์สืบสานวฒั นธรรมประเพณีไทย

3.1 ความสําคญั ในการอนุรักษ์สืบสานวฒั นธรรมประเพณไี ทย
การอนุรักษสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย เปนสิ่งสําคัญที่คนไทยทุกคนพึงตระหนักถึง

หนาท่ีที่ทุกคนพึงกระทํา ท้ังน้ี เพราะวัฒนธรรมประเพณีประจําชาติและทองถ่ิน จัดเปนส่ิงที่มีคุณคา
ควรแกการอนุรักษ โดยเฉพาะอยางย่ิงขนบธรรมเนียมประเพณี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาษา
วรรณกรรมตา ง ๆ ซึง่ ไดบ รรจุ และส่ังสมความรู ความหมาย คุณคาท่ีมีมาตั้งแตอดีตใหคนไทยปจจุบัน
ไดเ รยี นรู เพอื่ รจู กั ตนเองและมีความภูมิใจในความเปนชาติไทย และส่ิงเหลานี้จะสูญหายหากขาดการ
เอาใจใสในการอนุรกั ษ และสง เสริมในทางทีถ่ กู ท่ีควร

3.2 แนวทางในการอนุรักษ์วฒั นธรรมประเพณขี องไทย
1. ศึกษา คนควา วิจัย วัฒนธรรม ประเพณีไทย และทองถิ่นที่ยังไมไดรวบรวมศึกษาไว

เพื่อใหมีความรูความเขาใจถองแท ทําใหเกิดความรูสึกยอมรับในคุณคา จะไดหวงแหน ภูมิใจ และ
เผยแพรใหเ กดิ ประโยชนต อไป

2. สรางความเขาใจใหคนไทยทุกคนเขาใจ ปรับเปล่ียน ตอบสนองวัฒนธรรมประเพณีอ่ืน ๆ
จากภายนอกอยางเหมาะสม

3. ขยายขอบเขตเรือ่ งการอนรุ ักษ วฒั นธรรม ประเพณีไทยใหคนไทยทกุ คนเห็น เปนหนาท่ี
สาํ คญั ทีจ่ ะตองรวมกันทะนุบํารุงรกั ษาท้งั ดวยกาํ ลังกาย และกําลงั ทุนทรัพย

4. สงเสริมการแลกเปลยี่ นเรียนรูวฒั นธรรมประเพณีระหวางเผา ชุมชน ภาค เพื่อส่ือสารสราง
ความสัมพันธระหวา งกนั

5. ชว ยกนั จดั ทาํ ระบบขอมลู สารสนเทศทางวัฒนธรรมประเพณี เพื่อใชเปนฐานความรูของ
สังคม เพอ่ื ใชในการประชาสมั พนั ธและสงผลถงึ ภาวะอตุ สาหกรรมท่เี กยี่ วของที่สําคัญ คือ อุตสาหกรรม
ทอ งเทยี่ วเชงิ อนรุ ักษจะสง ผลตอเศรษฐกจิ ของชาติโดยรวม

21

เรืองที ค่านิยมทีพงึ ประสงค์ของไทยและของท้องถนิ

2.1 คานยิ มที่พึงประสงคของไทย
ในเมื่อคานิยมเปนส่ิงที่กําหนดความเช่ือ ซ่ึงสงผลถึงพฤติกรรมของคนในสังคมแลว

การกาํ หนดคานิยมทีพ่ ึงประสงคของทองถิ่นและของไทย จึงควรท่ีคนในสังคมไทยทั้งในทองถ่ินจนถึง
ระดบั ชาติ

อยางไรก็ตาม มีผูแจกแจงคานิยมของสังคมไทยไวดังนี้ คือ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ
ไดตรัสวา คานยิ มของสงั คมไทยมี 3 ประการ คอื

1. รักความเปน ไทย
2. คนไทยไมชอบการเบยี ดเบียนและหาเรื่องกับคนอืน่
3. การรจู ักประสานประโยชน รูจ ักการประนปี ระนอม โอนออนผอนตาม ทําใหเมืองไทย
ไมต กเปนอาณานิคมของประเทศใด
ศาสตราจารย ประเสริฐ แยมกลิม่ ฟุง จาํ แนกคานิยมของคนไทย ไวดงั น้ี
1. ความรกั อิสรภาพหรือความเปนไทย
2. ย้ําความเปนตัวของตวั เอง
3. ความมักนอ ย
4. ยาํ้ หาความสุขจากชวี ิต สง ผลใหเกิด คําวา “สยามเมืองยิ้ม”
5. เคารพ เชอ่ื ฟง อํานาจ โดยชอบธรรม คนไทยเคารพผอู าวโุ ส
6. ชอบความโออา มใี จนกั เลง กลา ได กลา เสยี บรโิ ภคนิยม
7. มีนาํ้ ใจเออ้ื เฟอเผอ่ื แผ คนไทยมลี กั ษณะเปน มติ รกับคนทุกคน
ในปจ จุบันสงั คมไทยมปี ญหา คนขาดคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ปญหาเรื่องเพศ เรือ่ งความรุนแรง
และอบายมขุ ในป 2549 กระทรวงศกึ ษาธิการ จงึ กาํ หนดลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เปน 8 คุณภาพพื้นฐาน
เพ่ือเปนรากฐานในการพัฒนาเด็กและเยาวชนใหเ ปนคนดี สงผลใหส ังคมไทยเปนสงั คมทีด่ ี คือ
1. ขยนั คือ ตัง้ ใจเพียรพยายามทําหนา ทีก่ ารงานอยา งตอ เน่ือง สม่าํ เสมอ อดทน
2. ประหยัด คือ รูจักเก็บออมถนอมใชทรัพยสินแตพอควรพอประมาณใหเกิดประโยชน
คมุ คา ไมฟมุ เฟอย ฟงุ เฟอ
3. ซอ่ื สัตย คือ ประพฤติตรงไมเอนเอยี ง ไมมีเลหเ หลยี่ ม มีความจริงใจ ปราศจากความรูสึก
ลําเอียง หรืออคติ
4. มีวินัย คอื ยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ขอบังคับ และขอปฏิบัติ มีท้ังวินัยในตนเองและ
วนิ ัยตอ สังคม
5. สุภาพ คือ เรียบรอย ออ นโยน ละมนุ ละมอ มมีกิริยามารยาทที่งาม มสี ัมมาคารวะ
6. สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมองท้ังกาย ใจ และสภาพแวดลอมความผองใสเปนที่
เจรญิ ตา ทาํ ใหเกดิ ความสบายใจแกผ พู บเห็น

22

7. สามัคคี คือ ความพรอมเพียงกัน ความกลมเกลียว ความปรองดองกัน รวมใจกัน
ปฏิบัติงานบรรลุผลตามที่ตองการเกิดการงานอยางสรางสรรค ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไมเอารัด-
เอาเปรียบกัน เปนการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกตางหลากหลาย ความคิด เชื้อชาติ หรือ
อาจเรียกอีกอยา งวา ความสมานฉันท

8. มีน้ําใจ คอื มคี วามจริงใจ ไมเห็นแกตวั และเรื่องของตัวเอง แตเห็นอกเห็นใจ เห็นคุณคา
ในเพ่ือนมนุษย มีความเออื้ อาทรเอาใจใสใหค วามสนใจในความตองการ ความจําเปน ความทุกขสุขของ
ผอู น่ื และพรอมท่ีจะใหความชว ยเหลือเกื้อกูลกันและกัน

. ค่านยิ มท้องถิน
คานิยมของทองถ่ิน จะบงบอกลักษณะนิสัยเดนของคนในทองถ่ิน เชน คนภาคเหนือ

มมี ารยาทออ นโยน พูดจาออนหวาน คนภาคใตมีความรักใครพวกพองตาง ๆ เหลานี้สามารถศึกษาไดจาก
ลักษณะของคนในชมุ ชน วถิ ชี ีวิตการแสดงออก สถาบันทางการศกึ ษา ศาสนา และครอบครัวมีสวนสาํ คญั
ในการสรา งเสริมคา นยิ มใหม ๆ ใหเกดิ ขึน้ ในครอบครวั ชุมชน สงั คม

เรืองที การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามค่านิยมทพี งึ ประสงค์

การประพฤติปฏิบัติตนตามคานิยมที่พึงประสงค นั้น เปนส่ิงที่ควรกระทําทุกคนจึงเปนพลัง
สําคญั สงผลใหป ระเทศชาติพฒั นาไปอยา งย่งั ยนื หรืออาจกลาววา หากสังคมใดมีแตความเจริญทางวัตถุ
แตข าดความเจรญิ ดา นจติ ใจ สงั คมนั้นจะพัฒนาอยางไมยงั่ ยืน ซงึ่ ความเจริญทางดานจิตใจ นั้น นอกจาก
คนในสังคมจะตองประพฤติปฏิบัติดีตามหลักธรรมศาสนาแลว ควรสรางเสริมคานิยมที่ดีใหเกิดข้ึนกับ
คนในชาตโิ ดยพรอ มเพียงกันอีกดว ย ตัวอยางเชน คา นยิ มความประหยัด การสรางนิสัยประหยัดพลังงาน
น้ํามนั ของคนในชาติ ไมใ ชท ําเฉพาะผูมรี ายไดน อย ผทู ม่ี ฐี านะรา่ํ รวยสามารถใชน้ํามันอยางสุรุยสุรายได
เพราะชาติน้ีมเี งินมากมายใชชว่ั ลูกชั่วหลานไมหมด ผูมีฐานะรํ่ารวยจะตองมีนิสัยประหยัดพลังงานดวย
เปน ตน และแมวา นํ้ามันมีราคาถูกลงทกุ คนในชาติควรประหยัดตอ ไปใหเ ปน นิสัย

กิจกรรมที ให้ผ้เู รียนเลอื กคาํ ตอบทถี ูกต้อง ข. การแตงกาย
ง. ถูกทุกขอ
1. ขอ ใดคือวฒั นธรรม ข. การแตง งาน
ก. อาหาร ง. การถือศีล 8
ค. ภาษาพูด

2. ขอใดคือประเพณี
ก. การพูดทักทาย
ค. การรบั ประทานขา ว

23

3. ประเพณีวง่ิ ควายอยใู นจังหวดั ใด

ก. ชยั นาท ข. อางทอง
ค. ชลบรุ ี ง. สมุทรปราการ

4. ประเทศไทยไดร บั อิทธิพลวัฒนธรรมประเพณีจากท่ีใด

ก. อารยธรรมตะวนั ตก ข. อารยธรรมจนี
ค. อารยธรรมอินเดยี ง. ถกู ทุกขอ

5. การตอบแทนบญุ คุณ บิดา มารดา บุพการี จัดเปนอะไร

ก. ประเพณี ข. จารตี ประเพณี
ค. ขนบประเพณี ง. ธรรมเนียมประเพณี

6. ภาษาไทยไดร บั อิทธพิ ลจากภาษาอะไรบาง

ก. ภาษาบาลี - สนั สกฤต ข. ภาษาองั กฤษ
ค. ภาษาจีน ง. ถูกทุกขอ

7. ประเพณีใดท่มี ีทกุ ภาคของประเทศไทย ข. แขง เรอื
ก. สงกรานต ง. สารทเดือน 10
ค. ว่งิ ควาย

8. ประเพณีจรดพระนังคัลแรกนาขวญั ไดร ับอทิ ธิพลจากศาสนาใด
ก. ศาสนาพทุ ธ ข. ศาสนาครสิ ต
ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดู
9. วฒั นธรรม ประเพณมี ีความสาํ คัญตออตุ สาหกรรมใด

ก. กฬี า ข. การทอ งเท่ยี ว
ค. พาณชิ ยกรรม ง. นนั ทนาการ
10. ในความเปนชาติแตล ะชาตมิ คี วามแตกตา งในดา นใด
ก. วัฒนธรรมประเพณี ข. ภาษา
ค. ศลิ ปะ ง. เชอื้ ชาติ

กิจกรรมที ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าวัฒนธรรมประเพณีในชุมชนของตนเองแล้วนํามา

แลกเปลยี นเรียนรู้กนั

24

บทที่ 3
หนาทพี่ ลเมอื งไทย

สาระสําคญั

เปนสาระท่เี กีย่ วกบั ความหมายของประชาธิปไตย สิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาที่ของพลเมืองใน
วถิ ปี ระชาธิปไตย การมีสว นรว มในการปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย มคี ณุ ธรรมและคานิยมพื้นฐานในการอยู
รวมกนั อยางปรองดองสมานฉันท ปญหา และสถานการณการเมืองการปกครองที่เปนกรณีตัวอยางท่ี
เกดิ ขึน้ ในชมุ ชน กฎหมายที่เกี่ยวของกับตนเองและครอบครวั กฎหมายท่ีเก่ยี วขอ งกับชุมชน กฎหมายอ่ืน ๆ
เชน กฎหมายแรงงานและสวสั ดิการ กฎหมายวาดวยสทิ ธิเด็กและสตรี และการมสี วนรว มของประชาชน
ในการปองกันและปราบปรามการทุจริต

ผลการเรยี นรคู าดหวงั

1. รแู ละเขาใจในเรือ่ ง สิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาท่ี และคุณคาของความเปนพลเมืองดี
ตามแนวทางประชาธิปไตย

2. ตระหนักในคุณคาของการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยและมี
คุณธรรม คานิยมพ้นื ฐานในการอยูร วมกนั อยา งปรองดองสมานฉันท

3. แยกแยะปญหา และสถานการณก ารเมืองการปกครองที่เกดิ ข้นึ ในชุมชน
4. รูแ ละเขาใจสาระท่ัวไปเกย่ี วกับกฎหมาย
5. นําความรกู ฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติไปใช
ในชีวิตประจําวนั ได
6. เห็นคุณคา และประโยชนข องการปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย
7. มีจติ สาํ นึกในการปอ งกันปญหาการทุจริต

ขอบขา ยเน้ือหา

เร่ืองที่ 1 การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
เร่อื งที่ 2 สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนา ที่ของพลเมอื งในวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
เรื่องท่ี 3 คณุ ธรรมและคา นยิ มพน้ื ฐานในการอยรู วมกันอยา งปรองดองสมานฉันท
เร่อื งที่ 4 รัฐธรรมนูญ
เรื่องท่ี 5 ความรูเ บอื้ งตนเกยี่ วกับกฎหมาย
เรื่องท่ี 6 กฎหมายท่เี กีย่ วขอ งกับตนเองและครอบครวั
เรื่องท่ี 7 กฎหมายท่เี กี่ยวกบั ชุมชน
เร่อื งที่ 8 กฎหมายอ่นื ๆ
เรอ่ื งที่ 9 การปฏบิ ัตติ นตามกฎหมายและการรกั ษาสิทธเิ สรีภาพของตนในกรอบของกฎหมาย
เรื่องที่ 10 การมสี วนรว มในการปองกันและปราบปรามการทจุ ริต

25

เรืองที การปกครองระบอบประชาธิปไตย

1.1 ความหมายของประชาธปิ ไตย
ประชาธปิ ไตย เปนรปู แบบการปกครองในประเทศ มาจากคํา 2 คาํ ดังนี้
“ประชา” หมายถึง ประชาชนท่ีเปนพลเมอื งของประเทศ
“อธปิ ไตย” หมายถงึ อํานาจสูงสดุ ในการปกครองประเทศ
ดังนัน้ ประชาธิปไตย จงึ หมายถึง ประชาชนปกครองหรือการปกครองโดยประชาชน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของประชาธิปไตยไววา

“ระบอบการปกครองที่ถอื มติของปวงชนเปนใหญ หรอื การถอื เสยี งขางมากเปน ใหญ”
และศาสตราจารย ดร.กมลทองธรรมชาติ ใหค วามหมายวา “ประชาธิปไตย เปนการปกครองของ

ประชาชน โดยประชาชนเพ่อื ประชาชน”
สรุป ประชาธปิ ไตย หมายถงึ การท่ีประชาชนหรือพลเมอื งของประเทศมอี าํ นาจและมีสว นรว ม

ในการกาํ หนดนโยบายในการปกครองประเทศ โดยคาํ นงึ ถึงประโยชนข องประชาชนสวนรวมเปนหลัก
. หลกั การสําคญั ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
1. หลักอาํ นาจอธิปไตยเปนของปวงชน หมายถงึ ประชาชนเปน เจาของอํานาจสูงสุดในการ

ปกครองประเทศ
2. หลักความเสมอภาค ประชาชนทกุ คนมคี วามเทา เทยี มกันภายใตกฎหมาย ความเทาเทียมกัน

ทางการเมอื ง
3. หลักสิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ี ไดแก การที่ประชาชนมีอํานาจอันชอบธรรมในการเปน

เจาของทรัพยสิน มีอิสระในการกระทําในขอบเขตของกฎหมาย และมีแนวทางปฏิบัติตนท่ีเปนอิสระ
ภายใตขอบเขตของกฎหมาย

4. หลักนิติธรรม การปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีหลักกฎหมายเปนกฎเกณฑและ
กติกาของประเทศ คือ การที่ประชาชนใชกฎหมายเปน หลักในการทาํ งาน เพื่อการอยรู ว มกนั อยางสนั ติสุข
และเกิดความยตุ ธิ รรมในสงั คม

5. หลักการยอมรับเสยี งขางมาก คือ การท่ีประชาชนในรัฐใชมติของประชาชนสวนใหญเปน
หลักในการทาํ งาน

6. หลักการใชเหตุผล คือ การที่ประชาชนใชหลักเหตุผลเปนหลักในการหาขอสรุปเพ่ือ
ทํางานรวมกันหรอื การอยรู วมกนั

7. หลกั การประนีประนอม คอื การทีป่ ระชาชนไมใชความรุนแรงในการแกไ ขปญหา แตใช
การตกลงรวมกันในการขจัดขอ ขดั แยง ที่ไมเ หน็ ดว ย

8. หลกั ความยินยอม คอื การที่ประชาชนใชวิจารณญาณในการตัดสินใจ เปนตัวของตัวเอง
โดยปราศจากการบังคบั มีความเห็นตรงกัน จึงตดั สนิ ใจผานตัวแทนของประชาชนในการดําเนินงานทาง
การเมอื งและการปกครอง

26

. ลกั ษณะของสังคมประชาธิปไตย
ในสังคมประชาธิปไตย ประชาชนจะปฏิบตั ิตอ กัน ดังนี้
1. การเคารพในสทิ ธแิ ละเสรีภาพของบุคคล ตามขอบเขตท่บี ัญญัติไวในกฎหมาย
2. การใชหลักเหตผุ ลในการตัดสินปญ หา ขอขัดแยง
3. การเคารพในกฎกติกาของสังคม เพ่ือความสงบสุขและความเปนระเบียบเรียบรอย

ในสังคม
4. การมสี วนรว มในกจิ กรรมของสว นรวมและสังคม
5. การมีนํ้าใจเปนประชาธิปไตยยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน และเห็นแกประโยชน

สวนรวมมากกวาสวนตน
6. การยึดมั่นในหลกั ความยุติธรรม และการปฏิบัติตอกันอยางเสมอภาคเทาเทียมกันของ

สมาชกิ ทกุ คนในสงั คม
. คุณลกั ษณะทีสําคญั ของสมาชิกในสังคมประชาธปิ ไตย
1. มีความยึดมั่นในอุดมการณป ระชาธปิ ไตย
2. มกี ารรจู กั ใชเหตุผล และรับฟง ความคดิ เหน็ ของผอู ่ืน ซ่ึงมเี หตผุ ลและมกี ารประนีประนอมกัน

ในทางความคดิ
3. เคารพในสทิ ธิและการตดั สนิ ใจของผอู นื่
4. มีความเสียสละ และเห็นแกป ระโยชนข องสว นรวมมากกวา สวนตน
5. สามารถทาํ งานรวมกับผูอ่ืน
6. ใชเ สียงขา งมากโดยไมละเมิดสิทธิเสียงขางนอย
7. ยึดถอื หลักความเสมอภาค และเทา เทียมกันของสมาชิก
8. ปฏบิ ตั ติ นตามกฎขอบงั คับของสงั คม
9. ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศลี ธรรม ยึดมน่ั ในวฒั นธรรม ประเพณี
10. รูจ ักแกป ญ หาโดยสนั ตวิ ิธี

. ความสําคญั ของการปฏิบัตติ นเป็ นพลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย
1. ทาํ ใหส งั คมและประเทศชาติมีการพฒั นาไปอยางมั่นคง
2. เกดิ ความรกั และความสามัคคใี นหมคู ณะ
3. สังคมมคี วามเปน ระเบยี บ สงบเรียบรอ ย
4. สมาชกิ ทุกคนไดรับสิทธิ หนาที่ เสรีภาพ จากกฎหมายเทาเทียมกันเกิดความเปนธรรมใน

สงั คม
5. สมาชิกในสังคมมคี วามเอ้ือเฟอเผือ่ แผแ ละมนี ้าํ ใจตอ กนั

2. วถิ ีประชาธิปไตย
สังคมประชาธิปไตยท่ีสมบูรณ เปนสังคมท่ีปลูกฝงความเปนประชาธิปไตยใหแกประชาชน

ท้ังในแงค วามคดิ อดุ มการณ และวิธกี ารดาํ เนนิ ชีวติ ตั้งแตเดก็ เปน ตน ไป

27

โดยในชีวิตประจําวันของบุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคม จะดําเนินไปอยางสงบสุขได
เม่ือทุกคนท่ีเปนสมาชิกเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของการใชคุณลักษณะประชาธิปไตยเปน
แนวทางในการดําเนนิ ชีวติ ดงั น้ี

. ประชาธิปไตยในครอบครัว
ประชาธิปไตยในครอบครัวจะเริ่มไดก็ตอเมื่อพอแมคิดและประพฤติปฏิบัติตอกันตอลูก ๆ

และตอบุคคลอ่นื อยา งเปนประชาธิปไตย ในการดําเนนิ ชีวิตประจาํ วันทุก ๆ ดา น ไดแ ก
1. การแสดงความคดิ เหน็ อยางมเี หตผุ ล
2. การรบั ฟง ความคดิ เห็นของผูอ นื่
3. การตัดสนิ ใจโดยใชเหตุผลมากกวา อารมณ
4. การแกป ญหาโดยใชเหตผุ ล
5. การลงมติโดยใชเ สยี งสว นใหญ
6. การเคารพกฎระเบยี บของครอบครัว
7. การกลา แสดงความคดิ เห็นตอสว นรวม
8. การยอมรับเม่ือผอู น่ื มีเหตุผลทดี่ ีกวา ตนเอง

. ประชาธิปไตยในชุมชน ท้องถิน
วิถีชีวิตประชาธิปไตยในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ภายในชุมชน เปนการรวมกลุมของ

บคุ คลภายในชุมชน สมาชกิ ในชมุ ชนตอ งมคี ุณลกั ษณะประชาธิปไตยทส่ี ําคญั คือ
1. การเคารพในระเบยี บ กฎหมายของทองถิ่น และกฎหมายบานเมอื ง
2. การมสี วนรวมในการพัฒนาชุมชนและทองถ่ิน
3. การยอมรับฟง ความคิดเห็นของผอู ่นื
4. การตัดสนิ ใจในสวนรวมโดยใชก ารลงมตเิ สยี งสวนใหญ
5. การตัดสนิ ใจโดยใชว ิธีการลงมติเสียงสวนใหญ
6. การแสดงความคดิ เห็นอยางมีเหตผุ ลตอ ชมุ ชน
7. การรวมกันวางแผนในการทาํ งานเปน กลุมหรือตัวแทนของกลมุ

ในการดําเนินชีวิตของกลุมคนในรูปแบบตาง ๆ เชน สมาคมแมบานผูผลิตสมุนไพรบานหวยใต
สหกรณออมทรัพยบานแตง สมาคมศิษยเกา โรงเรียน มูลนิธิตาง ๆ ในการดําเนินชีวิตในกลุมสมาชิก
ควรมีคุณลกั ษณะของประชาธปิ ไตย ไดแก

1. เคารพในกฎระเบียบขอ บังคบั ของกลมุ หรอื องคกร
2. มบี ทบาทในการแสดงความคิดเห็นอยางมเี หตผุ ล
3. ยอมรับฟงความคิดเห็นของทุกคนที่ดีกวา โดยไมใชอารมณ อดทนตอความขัดแยงที่

เกดิ ข้นึ
4. ยอมรับในเหตุผลทีด่ กี วา
5. การทํางานโดยใชว ิธกี ารประชมุ วางแผน และแกป ญ หารว มกัน
6. การลงมตขิ องกลมุ หรอื องคกรโดยใชการลงมติเสียงขางมาก

28

เรืองที สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าทีของพลเมืองในวถิ ีประชาธิปไตย

1. ความหมาย ความสําคญั
1.1 สถานภาพ
สถานภาพ หมายถึง ฐานะหรือเกียรติภูมิของบุคคลที่อยูในสังคม เปนตําแหนงของ

บุคคลหน่งึ ท่ไี ดร ับความนบั ถอื จากสาธารณชน
สถานภาพเปนสิง่ ที่สงั คมกาํ หนดขึ้น เปนสิ่งกาํ หนดเฉพาะตัวบคุ คลทีท่ าํ ใหแตกตางจาก

ผูอืน่
สถานภาพ แบง เปน 2 ประเภท คือ
1. สถานภาพท่ีตดิ ตัวมาต้ังแตกาํ เนดิ ไดแก
 สถานภาพทางวงศาคณาญาติ เชน เปนลกู หลาน พน่ี อ ง ฯลฯ
 สถานภาพทางเพศ เชน เพศหญงิ เพศชาย
 สถานภาพทางอายุ เชน เด็ก วัยรุน ผูใหญ
 สถานภาพเชอื้ ชาติ เชน คนไทย คนองั กฤษ
 สถานภาพทางถ่นิ กําเนดิ คนในภาคเหนอื คนในภาคใต
 สถานภาพทางชนชั้นในสังคม เชน เชื้อพระวงศ คหบดี หรือชนชั้นตาง ๆ
ในกลุมชนท่นี ับถอื ศาสนาฮินดู เชน ชนช้ันพราหมณ ฯลฯ
2. สถานภาพที่ไดมาภายหลัง หมายถึง สถานภาพที่ไดมาจากแสวงหาหรือไดมาจาก
ความสามารถของตนเอง ไดแ ก
 สถานภาพทางการศึกษา เชน จบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก
 สถานภาพทางอาชพี เชน เปน ครู เปน หมอ เปนนักการเมอื ง
 สถานภาพทางการเมือง เชน เปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เปนนายกรัฐมนตรี
เปน รฐั มนตรี
 สถานภาพทางการสมรส เชน โสด สมรส หมาย

1.2 บทบาท
บทบาท หมายถึง การทาํ หนา ทต่ี ามสถานภาพที่สังคมกําหนด เชน นายเอกมีสถานภาพ

เปนพอ ตองดําเนินบทบาทในการใหการอบรมเลี้ยงดู สั่งสอนบุตรใหเปนคนดี สงเสียบุตรใหไดรับ
การศกึ ษาทส่ี มควรตามวัย สวนนายโทมีสถานภาพเปนบุตรที่ตองดําเนินบทบาทเช่ือฟงคําสั่งสอนของ
บิดามารดา ตงั้ ใจหมน่ั เพียรในการศกึ ษา ชว ยเหลือบิดามารดาในการทํางานบา นตามควรแกวยั

1.3 สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที
“สิทธิ” หมายถึง อํานาจหรือผลประโยชนอันชอบธรรมของบุคคลท่ีมีกฎหมายให

ความคุมครอง เชน สิทธใิ นการนบั ถอื ศาสนา การประกอบอาชพี การไดรับการศกึ ษา ฯลฯ
“เสรีภาพ” หมายถึง ความมีอิสระในการกระทําของบุคคล ซึ่งการกระทํานั้นจะตองไม

ขดั ตอกฎหมาย เชน การแตงกาย การแสดงความคิดเห็น

29

“หนา ท่”ี หมายถึง ภาระหรอื ความรับผดิ ชอบท่ีบุคคลจะตองปฏิบัตติ ามกฎหมาย
สิทธิเสรภี าพ เปนรากฐานสาํ คญั ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย การที่จะรูวา
การปกครองของประเทศใดมีความเปนประชาธิปไตยไดมากนอยเพียงใด ตองดูที่สิทธิเสรีภาพของ
ประชาชนในประเทศน้ัน ๆ เปนสําคัญ ถาประชาชนมีสิทธิเสรีภาพมาก ความเปนประชาธิปไตยของ
ประเทศน้ันก็มมี าก หากสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนถูกจํากัดหรือลิดรอนโดยผูมีอํานาจในการปกครอง
ประชาธปิ ไตยกจ็ ะมีไมได ดวยเหตุนี้กฎหมายรัฐธรรมนูญของไทยทุกฉบับ จึงไดบัญญัติคุมครองสิทธิ
เสรภี าพของประชาชนไวอ ยางแจง ชดั
สวนหนาท่ี น้ัน เปนกรอบหรือมาตรฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ทั้งน้ีก็เพราะวา การปกครองระบอบประชาธิปไตย นั้น ตองอาศัยกฎหมายเปนหลักในการดําเนินการ
หากประชาชนไมร จู ักหนา ท่ขี องตน ไมป ฏิบตั ิตามกฎหมายระบอบประชาธิปไตยกจ็ ะดํารงอยูต อ ไปไมไ ด
ดังน้ัน สิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ี จึงมีความสําคัญอยางย่ิงในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยซึง่ ขาดเสยี มไิ ดเ ดด็ ขาด
1.4 ความสําคญั ของสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที
1. การที่รัฐไดบัญญัติ สิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ี ของบุคคลในรัฐธรรมนูญ ทําให
ประชาชนไดร ับความคมุ ครอง และปฏิบัตอิ ยา งเทาเทยี มเสมอภาค และยุติธรรม
2. บุคคลทุกคนจะตองรบั ทราบ และพงึ ปฏบิ ตั ิตามขอบเขตสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ท่ีได
บญั ญตั ใิ ชในรฐั ธรรมนูญ
3. การใชอ าํ นาจรัฐจะตอ งคํานงึ ถึงสทิ ธิ เสรภี าพของประชาชน
4. ท้ังรัฐและประชาชนพึงปฏิบัติตามหนาที่ที่บัญญัติใชในรัฐธรรมนูญอยางเครงครัด
ยอมกอใหเกดิ ความสงบรมเย็นผาสกุ ในชาติ
5. หนาท่ขี องประชาชนในระบอบประชาธิปไตย ไดแ ก

5.1 หนาท่ีในการรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมขุ

5.2 หนาท่ใี นการปอ งกนั ประเทศ ไดแ ก การชว ยสอดสองดูแลและแจงใหเจาหนาท่ี
บานเมืองทราบถึงภยั ทีจ่ ะเกดิ ข้ึนแกป ระเทศชาติ เชน การแจงขอมูลเก่ียวกับการคายาเสพติด การสมัคร
เปนอาสาสมคั รรักษาดินแดน เปนตน

5.3 หนาที่ในการรับราชการทหารตามกฎหมาย โดยชายไทยทุกคนเม่ืออายุ 20 ป
บริบูรณ จะตองไปตรวจเขารับการเกณฑทหารประจําการ เปนเวลา 2 ป เพื่อเปนกําลังสําคัญเม่ือเกิดภาวะ
สงคราม

5.4 หนา ท่ีในการปฏบิ ตั ติ นตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด ทง้ั นเ้ี พ่อื ความเปนระเบียบเรียบรอย
ทาํ ใหส ังคมมคี วามสงบสขุ และสมาชิกในสงั คมอยรู ว มกนั ไดอยา งสันตสิ ขุ

5.5 หนาที่ในการเสียภาษีอากรตามท่ีกฎหมายกําหนด เพื่อรัฐจะไดมีรายไดเพื่อ
นํามาใชจ ายภายในประเทศ รวมทั้งจดั สวัสดิการตา ง ๆ ใหก บั ประชาชน และชุมชนในประเทศ

30

5.6 หนาท่ีในการรับการศึกษาภาคบังคับตามเง่ือนไข และวิธีการที่กฎหมายกําหนด
เพอ่ื ชวยใหม ีคุณภาพทด่ี ี และเปนกาํ ลงั ใจในการพฒั นาประเทศตอไป

5.7 หนาท่ีในการชวยเหลือราชการตามกฎหมายกําหนด เพื่อประโยชนสวนตนและ
สวนรวม

5.8 หนาท่ีในการใชสิทธิเลือกต้ังโดยสุจริต ในการเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
เขาไปทําหนาทบ่ี รหิ ารประเทศ เปนการจรรโลงการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยใหย ง่ั ยนื สบื ไป

เรื่องท่ี 3 คณุ ธรรมและคานิยมพนื้ ฐานในการอยูรวมกนั อยางปรองดองสมานฉนั ท

ความหมายของ คณุ ธรรม คา นยิ ม และ ความสมานฉันท
คณุ ธรรม คือ ความดีงามท่ีถูกปลูกฝงข้ึนในจิตใจ มีจิตสํานึกท่ีดี ความละอาย และเกรงกลัวใน

การที่จะประพฤติช่ัว ถึงแมวาคุณธรรมจะเปนเร่ืองภายในจิตใจ แตสามารถสะทอนออกมาไดทาง
พฤตกิ รรม เชน ความซื่อสตั ย ความกตัญกู ตเวที ความมรี ะเบยี บวนิ ยั เปน ตน

ความปรองดอง หมายถงึ ออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไมแกงแยงกัน ตกลงกันดวยความ
ไกลเ กล่ยี ตกลงกันดวยไมตรีจิต (พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554)

คานิยม คือ ความคิด พฤติกรรมและส่ิงอ่ืนที่คนในสังคมหน่ึงเห็นวา มีคุณคา จึงยอมรับมา
ปฏิบัติและหวงแหนไวระยะหนึ่ง คานิยมมักเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยและความคิดเห็นของคนใน
สงั คม

ความสมานฉนั ท แปลตามศพั ท คอื ความพอใจรว มกนั ความเห็นพองตอ งกนั มคี วามตองการที่
จะทาํ การอยางใดอยางหนึ่งตรงกัน หรือเสมอเหมือนกัน ซึ่งความสมานฉันทจะเปนตัวลดความขัดแยง
และนาํ ไปสูค วามสามัคคี

ประชาชนชาวไทยพรอมใจกันเฝา รบั เสดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
เสด็จออกมหาสมาคม ณ สีหบญั ชร พระที่นัง่ อนันตสมาคม
เมอื่ วนั ท่ี 9 มถิ นุ ายน 2549

31

จากภาพ เปนความพรอมเพรียงกนั ของพสกนกิ รชาวไทยและชาวตางประเทศท่ีรวมใจกันสวมเส้ือ
สเี หลอื ง รวมกันโบกธงชาติ และธงพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พรอมกับเปลงเสียงถวายพระพร เปนการแสดงใหเห็นถึงความสมานฉันทของพสกนิกรชาวไทยและ
ชาวตางประเทศ ภาพเหตุการณเหลาน้ีสรางความแปลกใจใหกับสื่อตางประเทศเปนอยางมาก จนทําให
สาํ นกั ขา วหลายสาํ นกั ตองเสนอขาวเกยี่ วกับงานพระราชพิธคี รั้งนเ้ี พม่ิ เติม เพอ่ื อธิบายถงึ เหตุผลท่ีปวงชน
ชาวไทยถวายความจงรักภักดแี ละเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั รยิ มากมายขนาดนี้

ชาวตางชาติแสดงออกถึงความรัก และเทิดทูน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

แตในทางกลับกนั ในชว งป พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2557 ทงั้ ชาวไทยและชาวตา งชาตติ างรูถงึ ความขดั แยง
ทางดานการเมืองในประเทศไทย เหตุการณเหลานี้สงผลตอเศรษฐกิจ สังคม โดยเฉพาะธุรกิจดาน
การทองเท่ยี ว และยังสงผลกระทบตอสภาพจติ ใจของคนไทยอีกดว ย

จากเหตกุ ารณท่ีกลาวมา จะเห็นไดวาหากเรามีความสมานฉันทในส่ิงที่ถูกตองดีงาม จะทําให
สงั คมของเรามีความเจริญกาวหนา ความสมานฉันทเปนบอเกิดของความสุข ความสามัคคีของหมูคณะ
เมือ่ มีความสามคั คีของหมูค ณะยอ มทาํ ใหเกดิ พลัง ซง่ึ จะนําไปสูความสาํ เร็จในจุดมุง หมายที่ไดต ัง้ เอาไว

แตความสมานฉนั ททจ่ี ะนําไปสูความสขุ และความเจริญนั้นจะตองเปนไปในทางที่ถูกตองดีงาม
ซง่ึ ตอ งประกอบดวยคณุ ธรรมและที่สาํ คัญยงิ่ คือ การเห็นแกประโยชนสว นรวม หากสมานฉันทแ ตเ ฉพาะ
ในกลมุ พวกของตนเองแลวไปขัดแยงกับกลมุ พวกของคนอื่น แลว ทาํ ใหสว นรวมเสียหาย ลักษณะนี้ถือวา
เปน การสมานฉันทในทางท่ผี ิด

32

ดังนัน้ หากเราตอ งการความสมานฉันทที่ถกู ตอ งดงี ามจะตอ งอาศัยคณุ ธรรมดังตอ ไปนี้

คานยิ มพน้ื ฐานในการอยรู ว มกันอยางสมานฉนั ท 12 ประการ
ขอ 1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 
ขอ 2. ซอื่ สัตย เสยี สละ อดทน
ขอ 3. กตัญตู อ พอ แม ผูป กครอง ครูบาอาจารย
ขอ 4. ใฝห าความรู หมนั่ ศกึ ษาเลาเรยี นท้งั ทางตรงและทางออ ม
ขอ 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอันงดงาม
ขอ 6. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ย หวงั ดีตอผอู ่ืน เผ่อื แผ และแบงปน
ขอ 7. เขา ใจเรียนรกู ารเปนประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุขที่ถูกตอ ง
ขอ 8. มีระเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู อ ยรจู ักเคารพผใู หญ
ขอ 9. มีสติรูตัว รคู ิด รทู าํ รปู ฏบิ ตั ิ ตามพระราชดํารสั ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช
ขอ 10. รูจกั ดาํ รงตนอยโู ดยใชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รูจ ักอดออมไวใชเ ม่อื ยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลือก็แจกจาย
จาํ หนา ย และขยายกิจการ เมื่อมคี วามพรอมโดยมีภูมคิ ุมกนั ทด่ี ี
ขอ 11. มีความเขม แข็งท้งั รางกายและจิตใจ ไมย อมแพต อ อาํ นาจฝายต่ําหรือกิเลส มคี วามละอายเกรงกลัว
ตอ บาปตามหลักของศาสนา
ขอ 12. คํานึงถึงผลประโยชนของสว นรวมและตอชาติมากกวา ผลประโยชนของตนเอง

คานิยมพ้ืนฐานดังกลาวขางตนมีความสําคัญอยางยิ่งท่ีคนไทยจะตองนํามาประพฤติปฏิบัติใน
ชีวติ ประจาํ วันอยูเสมอ และเพ่อื ใหเกิดความเขาใจย่ิงข้ึนจะขอกลาวในรายละเอียดเพมิ่ เติม ดังน้ี

1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนคุณลักษณะที่แสดงถึงรักความเปนชาติไทย
เปนพลเมอื งดีของชาติ มคี วามสามคั คี เหน็ คณุ คา ภูมใิ จ เชิดชูความเปนไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาท่ี
ตนนบั ถือ และแสดงความจงรกั ภักดตี อ สถาบันพระมหากษตั รยิ 

ประชาชนรว มกจิ กรรมจุดเทียนถวายพรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

33

2. ซื่อสัตย เสียสละ อดทน เปนคุณลักษณะท่ีแสดงถึงการยึดม่ันในความถูกตอง ประพฤติตรงตาม
ความเปนจริงตอตนเองและผูอื่น ละความเห็นแกตัว รูจักแบงปนชวยเหลือสังคมและบุคคลท่ีควรให
รจู กั ควบคมุ ตนเองเม่ือประสบกับความยากลาํ บาก และสง่ิ ทีก่ อ ใหเ กดิ ความเสยี หาย
3. กตัญตู อ พอแม ผูปกครอง ครบู าอาจารย เปน คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการรูจักบุญคุณ ปฏิบัติตาม
คําส่ังสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส รักษาช่ือเสียง และตอบแทนบุญคุณของพอแม
ผปู กครอง และครบู าอาจารย

ประชาชนรวมกจิ กรรมแสดงความกตัญูกตเวที
4. ใฝห าความรู หม่ันศึกษาเลาเรียนท้ังทางตรงและทางออม เปนคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ
เพยี รพยายามในการศกึ ษาเลาเรยี น แสวงหาความรู ทั้งทางตรงและทางออม
5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม เปนการปฏิบตั ิสืบทอดอนุรักษวัฒนธรรม และประเพณีไทย
อันดงี ามดว ยความภาคภมู ใิ จเห็นคณุ คา ความสําคัญ
6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย หวังดีตอผูอื่น เผ่ือแผและแบงปน เปนความประพฤติที่ควรละเวน และ
ความประพฤตทิ ีค่ วรปฏิบัตติ าม
7. เขาใจเรียนรูการเปนประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขท่ีถูกตอง คือ มีความรู
ความเขาใจ ประพฤติปฏบิ ัตติ นตามสทิ ธแิ ละหนาทข่ี องตนเอง เคารพสทิ ธแิ ละหนา ทข่ี องผอู นื่ ใชเสรีภาพ
ดวยความรบั ผิดชอบภายใตขอบเขตของกฎหมายตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรง
เปนประมขุ
8. มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจ ักการเคารพผูใหญ เปนคุณลกั ษณะท่ีแสดงออกถึงการปฏิบัติ
ตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอบังคับ และกฎหมาย มีความเคารพและนอบนอมตอผใู หญ
9.มีสติรูตวั รูค ิด รทู ํา รปู ฏิบตั ิ ตามพระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
เปนการประพฤติปฏบิ ตั ิตนอยางมสี ตริ ตู ัว รูค ดิ รูทํา อยา งรอบคอบถูกตอง เหมาะสม และนอ มนําพระราชดํารัส
ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาปฏิบัตใิ นชวี ิตประจําวัน

34

10.รจู ักดาํ รงตนอยโู ดยใชห ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช รจู ักอดออมไวใ ชเ มอ่ื ยามจาํ เปน มไี วพ อกินพอใช ถาเหลอื ก็แจกจา ย
จําหนา ย และขยายกิจการเมอ่ื มคี วามพรอ ม สามารถดาํ เนนิ ชวี ิตอยางพอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ ุม กนั
ในตัวทด่ี ี มีความรู มีคณุ ธรรม และปรับตวั เพือ่ อยูในสังคมไดอยางมีความสุข
11. มคี วามเขม แขง็ ทัง้ รา งกายและจติ ใจ ไมย อมแพต ออํานาจฝา ยต่ําหรอื กิเลส มคี วามละอายเกรงกลวั ตอ
บาปตามหลักของศาสนา เปน การปฏิบตั ติ นใหม รี า งกายสมบรู ณ แข็งแรง ปราศจากโรคภยั และมีจิตใจท่ี
เขม แขง็ ไมกระทําความช่วั ใด ๆ ยึดมัน่ ในการทาํ ความดตี ามหลักของศาสนา
12. คาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนข องสว นรวมและตอชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง ใหความรวมมือใน
กจิ กรรมทเี่ ปนประโยชนตอสวนรวม และประเทศชาติ เสยี สละประโยชนสวนตน เพ่ือรักษาประโยชนของ
สว นรวม

ประชาชนรวมกิจกรรมปลูกปาชุมชน

35

กจิ กรรม
1. ใหผเู รียนวเิ คราะหค วามสาํ คัญหรอื ความจําเปน ของการนาํ คุณธรรม คานยิ ม ไปปฏิบตั เิ พ่ือการอยู
รว มกนั อยางปรองดองสมานฉนั ท
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. ในฐานะที่ผูเรียนเปนบุคคลในสังคม ผูเรียนคิดวาจะปฏิบัติตนตามคานิยมพ้ืนฐาน 12 ประการ
อยางไรจงึ จะไดช่ือวา เปนพลเมืองดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

36

การนาํ คณุ ธรรมไปใชในชีวิตประจาํ วนั เพอ่ื แกปญหาความขัดแยง และสรางความสมานฉนั ท
คุณธรรม : ความมรี ะเบียบวนิ ัย

กรณศี กึ ษาท่ี 1 : การเขาควิ รบั บรกิ าร

หมูบา นหนองผกั บงุ เปนหมูบา นหนงึ่ ทีโ่ ดนนาํ้ ทวมหนักคราวนํา้ ทว มใหญข องประเทศที่ผานมา
ชาวบานบางคนถูกน้ําทวมบานจนมิดหลังคาบาน จึงตองอพยพไปพักอาศัยช่ัวคราวที่วัดหนองผักบุงท่ี
พอจะอาศยั อยไู ด จงึ มีผูค นมาอยรู วมกันพอสมควร นาํ้ ทว มอยูน าน ความเดือดรอนเร่ืองกินเรื่องอยูก็มาก
เปนทวีคณู แตค นไทยท่ีไมป ระสบอทุ กภยั กไ็ มแลง นํ้าใจเดินทางมาชวยเหลือนําขาวสารอาหารแหงและ
อปุ กรณเ คร่อื งใชมาบรจิ าค

คราวหน่งึ เจา อาวาสประกาศวาไดรับขา ววา จะมผี ูใจบุญนาํ ของมาแจกชาวบานรขู า วกม็ ารอรับกนั
แนนวัด ในขณะท่ีกําลังเขาคิวรับถุงยังชีพก็เกิดเหตุการณไมคาดฝน มีชาย 2 คน กําลังชกตอยกัน
เจาอาวาสจงึ บอกใหย ตุ ิ และซักถามไดค วามวา เกิดการตอวากันเรอ่ื งมาทีหลังแลวมาแซงควิ คนทถ่ี ูกตอ วา
ก็ไมพอใจ และท้ังสองคนเปนชาวบานคนละหมูบานกันดวย จึงโมโหและชกตอยกันข้ึน เจาอาวาส
จึงเตือนสติใหท้ังสองคนระงับอารมณ และสอนใหทุกคนรูจักการอดทนในการรอรับบริการ เพราะมี
คนจาํ นวนมาก ทุกคนเดือดรอนเหมือนกัน ท้ังนี้ก็เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอย เคารพสิทธิของผูอ่ืน
จงึ ตองรจู ักการเขา ควิ ตามลาํ ดับกอ นหลงั ถา ทกุ คนทําไดเชน นี้ ปญหาความขัดแยง กจ็ ะไมเ กิดข้ึน พวกเรา
ในหมูบา นหรือชมุ ชนไหนกต็ ามก็จะอยรู ว มกันไดอ ยา งเรียบรอ ย ปกตสิ ุข

37

กิจกรรม : ใหผ ูเรียนอา นกรณีศกึ ษาแลว รวมกันอภิปรายแลกเปลีย่ นเรียนรตู ามประเดน็ ดังน้ี
1. ผูเรยี นคดิ วา กรณีศกึ ษานจ้ี ะกอใหเกดิ ปญ หาและความขดั แยง ไดอ ยางไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. ผูเรียนคิดวา คานิยมพ้ืนฐาน 12 ประการ ท่ีจะชวยแกปญหาและความขัดแยง คือคานิยม
เรื่องอะไร และแกปญ หาไดอ ยางไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

38

กรณศี ึกษาท่ี 2 : เห็นความสําคญั ของประโยชนส ว นรวม
การบุกรกุ ที่ดนิ ขอบเขตรวั้

เหตุเกิดข้นึ ในชุมชนแหง หนึง่ ทคี่ นในชุมชนเกิดความขัดแยงในเร่ือง การใชกระบวนการ
ยึดสทิ ธเิ์ ปน หลกั เรือ่ งมีอยวู า รัว้ บา นของนายสงบ ไดร ุกลํ้าเขาไปในพ้นื ที่บานของนายสมชาย เพราะถือวา
บิดาของนายสงบมาจบั จองพนื้ ท่ีกอน ในขณะทีน่ ายสมชายรับรูวาท่ีดินน้ีไมมีโฉนด บุคคลอ่ืนในชุมชน
สามารถเขาถือครองสิทธิ์ เปนเหตุใหทั้งสองทะเลาะวิวาทกัน การจัดการความขัดแยงหรือลดปญหา
ดังกลา วที่เกดิ ขน้ึ คนในชมุ ชนสามารถมสี ว นรว มในการแกไ ขความขดั แยง โดยใชวธิ กี ารเจรจาไกลเกลย่ี
มีคนกลางท่ีคูป ญ หาทั้งสองนับถือและใหการยอมรับ ซึ่งวิธีการนี้เปนการจัดการความขัดแยงโดยเช่ือม
ความสัมพนั ธระหวา งสองครอบครวั และการท่ีท้ังสองเปนคนที่มีถ่ินฐานอยูภูมิภาคเดียวกัน วัฒนธรรม
เดียวกนั การมบี ดิ าของนายสงบและนายสมชาย มารว มเจรจา ทําใหง ายตอการเจรจา หาจดุ ยืนของทง้ั สองฝาย
แลวคํานึงถึงผลประโยชนรวม ผลสุดทายของการเจรจานายสงบยอมรื้อถอนเขตรั้วออกจากที่ดินของ
นายสมชาย เพื่อใหเปนหลักฐานในการตกลงเจรจา ท้ังสองฝายตองทําสัญญาประนีประนอมยอมความ
หลงั จากขอตกลง และเปน ไปตามหลกั กฎหมายเก่ยี วของ โดยสรุป กระบวนการจัดการความขัดแยงขางตน
หลัก คอื ตอ งมุง เนน ความสัมพนั ธ และพยายามทําใหคูกรณีเกิดความพึงพอใจ ดวยเหตุน้ี วิธีการจัดการ
ความขดั แยงเบอ้ื งตนในชมุ ชน จงึ ใชรปู แบบการเจรจาไกลเกล่ยี โดยคนกลาง อํานวยความสะดวกในการ
สนทนาและใหค ําปรึกษาหาทางออก เพอ่ื อยูร วมกันอยางสนั ติสามัคคีปรองดอง

39

กจิ กรรม : ใหผูเรียนอา นกรณศี กึ ษาแลว รว มกนั อภิปรายแลกเปลย่ี นเรยี นรูตามประเด็น ดังน้ี
1. ผเู รียนคดิ วา กรณีศกึ ษาเร่ืองการบุกรกุ ที่ดนิ ขอบเขตร้วั นจ้ี ะกอใหเกดิ ปญ หาและ
ความขดั แยงไดอ ยา งไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
2. ผูเรียนคิดวา คานิยมพื้นฐาน 12 ประการ ที่จะชวยแกปญหาและความขัดแยง คือคานิยม
เรอ่ื งอะไร และแกป ญ หาไดอ ยางไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

40

กระบวนการแกป ญ หาและสถานการณก ารเมอื งการปกครองที่เกดิ ขน้ึ ในชุมชน
กรณีศึกษา เหตเุ กดิ ทโ่ี นนดอนตา

เหตเุ กดิ ท่โี นนดอนตา
“บา นโนนดอนตา” เปน ชุมชนหมูบา นเล็ก ๆ ในชนบทท่ีไมหางไกลจากท่วี า การอาํ เภอมากนัก
ชมุ ชนบา นโนนดอนตาเคยอยกู นั เหมือนพี่นอ ง สงบและรมเยน็ เอ้ือเฟอ เผื่อแผก นั ชว ยเหลือเกือ้ กูลกนั
และรวมแรงรวมใจในกิจการของสว นรวม แตกย็ งั ขาดสาธารณปู โภคข้ันพ้ืนฐานและส่ิงจําเปนตาง ๆ
อยมู าก เชน ถนน สะพาน แหลงนา้ํ สถานีอนามยั ศนู ยพฒั นาเดก็ เลก็
ตอ มาเมื่อทางราชการใหมกี ารเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาองคการบรหิ ารสว นตาํ บลและนายกองคก าร
บริหารสวนตําบลข้ึนตามหลกั การประชาธิปไตยและหลักการกระจายอาํ นาจ เพ่ือใหชาวบา นไดมีสวน
ในการบริหารจดั การกจิ การตาง ๆ ของตาํ บล เพือ่ ใหต รงกบั ความตองการท่ีแทจริงของคนในทองถ่ิน
สะดวกรวดเร็ว แทนท่ีจะตองรอนโยบายและงบประมาณจากสวนกลาง อีกทั้งยังเปนการสรางวิถี
สะดวกจากองคการบริหารสว นตาํ บลมากกวา เดิม
แตดว ยความท่ีชาวบา นยังไมค ุนเคยกับการเลือกตั้งทองถ่นิ ผูสมัครรับเลือกต้ังใชวิธีการหาเสียง
แขง ขนั กนั หาเสียงกับชาวบาน ซึ่งสวนใหญก็เปนญาตมิ ติ รกนั แทบท้งั น้นั การท่ีตางฝายตางสนับสนนุ
ผสู มคั รทตี่ นช่ืนชอบมากกวา กลบั กลายเปน การเห็นตาง มีการอภปิ รายถกเถียง จนนําไปสูการขัดแยง
ทะเลาะวิวาท แบงฝก แบงฝา ยกนั ทําใหบานโนนดอนตาท่ีเคยมคี วามรกั สามัคคี
กลับกลายเปนความสับสน วุนวาย แตกแยกสามัคคีกนั ไมสงบรมเยน็ ดงั ท่ีเปนมา
หรอื การพัฒนาและความเจรญิ ของหมบู า นจะตอ งแลกดวยความสงบรมเย็นของคนบานโนนดอนตา
จําเปนเพยี งใดท่ชี าวบานโนนดอนตาจะตองเลอื กเพยี งอยางใดอยางหนึ่งเทา นน้ั หรือ

41

กิจกรรม : ประเดน็ การอภปิ ราย
1. ปญหาทเี่ กิดขนึ้ ในชุมชนโนนดอนตาคืออะไรขนึ้ ปญหาน้ีมีสาเหตมุ าจากอะไร
2. ถาทานเปนชาวชมุ ชนโนนดอนตา ทา นคดิ วา ปญหานใี้ ครควรมีบทบาทใน

การแกป ญ หาและควรแกป ญหานอ้ี ยา งไร
3. ทานคิดวา คุณธรรมสาํ คัญทน่ี าํ มาประยุกตใชใ นการแกปญ หาของชุมชนโนนดอนตา คอื อะไร

เพราะเหตุใด
……………………………..

เรืองที รัฐธรรมนูญ

รฐั ธรรมนญู เปนกฎหมายสูงสดุ หรอื เปนกฎหมายหลักของประเทศท่ีออกโดยฝายนิติบัญญัติ คือ
รฐั สภา อนั ประกอบดวยตัวแทนของประชาชน ดังนน้ั รัฐธรรมนญู จึงเปนกฎหมายท่ีประชาชนสวนใหญ
ใหความเห็นชอบ

ความสําคญั
รัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายท่ีสําคัญท่ีสุด เปนเสมือนกฎเกณฑหรือกติกาท่ีประชาชนในสังคม
ยอมรับใหเปนหลักในการปกครอง และการบริหารประเทศ ซ่ึงการออกกฎหมายใด ๆ ยอมตอง
ดําเนินการภายในกรอบของบทบญั ญัตใิ นรัฐธรรมนูญ กฎหมายใดที่ขัดแยงตอ รฐั ธรรมนูญจะไมสามารถ
ใชบงั คบั ได
สาเหตทุ มี รี ัฐธรรมนูญในประเทศไทย
สาเหตุที่สําคัญมาจากการท่ีประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองจากระบอบ
สมบูรณาญาสทิ ธิราชยเ ปน ระบอบประชาธปิ ไตย ซ่ึงเริม่ มีแนวคิดตงั้ แตรชั กาลท่ี 6 โดยกลุมบุคคลท่ีเรียก
ตนเองวา “คณะราษฎร” ประกอบดวย ขาราชการ ทหาร พลเรือน ไดเขาถึงอํานาจการปกครอง
พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว จึงไดทรงลงพระปรมาภิไธย ในรางรัฐธรรมนูญการปกครอง
แผนดินฉบับชั่วคราวที่คณะราษฎรไดเตรียมไว นับวาเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย เมื่อวันท่ี
10 ธ.ค. 2475 ถือไดวาประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย
มาเปน การปกครองระบอบประชาธิปไตย นับแตน นั้ มา
จนถึงปจจุบันไดมีการเปลี่ยนแปลงแกไข และประกาศใชรัฐธรรมนูญการปกครองหลายฉบับ
เพอ่ื ใหเ หมาะสม สอดคลองกบั สภาวการณบา นเมอื งท่ีผนั แปรเปลี่ยนในแตละยุคสมัย โดยมีสาระสําคัญ
เหมือนกัน คือ ยึดมั่นในหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
จะมีเน้ือหาแตกตางกันก็เพ่ือใหเหมาะสมกับสถานการณของบานเมืองในขณะน้ัน ประเทศไทย
มีรัฐธรรมนูญมาแลว จํานวน 18 ฉบับ และปจจุบนั ใชร ัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550

42


Click to View FlipBook Version