ศนู ย์เรยี นรูว้ ฒั นธรรมเกษตรล้านนา
Lanna Agricultural Heritage Learning Center (LAHLeC)
ประวตั คิ วามเปน็ มา
ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา ได้เร่ิมก่อต้ังข้ึนเม่ือวันท่ี
21 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ซึ่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ให้ความส�ำคัญกับการท�ำ
การเกษตรและเป็นอัตลักษณ์ของสถาบัน จึงได้จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ฯ เพื่อ
เป็นฐานการเรียนรู้ที่ใช้ในการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีของคนล้านนา
เป็นสถานที่ให้บริการทางด้านการฝึกอบรม สาธิตการท�ำการเกษตรแบบ
ธรรมชาติและการท�ำเกษตรอินทรีย์ ด้านการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม
พน้ื บา้ นลา้ นนา การจำ� ลองกลมุ่ บา้ นลา้ นนาและวถิ ชี วี ติ ของคนลา้ นนา การจดั
นทิ รรศการการถา่ ยทอดองคค์ วามรดู้ า้ นเกษตรลา้ นนา การไถนาโดยใชค้ วาย
วัฒนธรรมการปลูกข้าว การปลูกผักสวนครัวหลังบ้านและริมร้ัวบ้าน การ
เลี้ยงสัตว์อินทรีย์ เช่น ไก่หลุม หมูหลุม เป็นต้น การน้อมน�ำแนวคิดเกษตร
ทฤษฎีใหม่และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ เพ่ือถ่ายทอด
องค์ความรู้ต่างๆ ให้แก่ นักเรียน นักศึกษา เยาวชน เกษตรกร และผู้ท่ีสนใจ
ในการเขา้ ศกึ ษาดงู าน สาธติ และฝกึ อบรม และยงั สนบั สนนุ การเรยี นการสอน
รายวิชา ผษ101 เกษตรเพ่ือชีวิต ให้กับนักศึกษาชั้นปีท่ี 1 ของมหาวิทยาลัย
แม่โจ้ และการลงปฏบิ ตั ิงานฟารม์ ของนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้
วตั ถปุ ระสงค์
1. เป็นแหล่งศึกษาความรู้แห่งใหม่ท่ีสามารถบูรณาการด้าน
ศลิ ปวัฒนธรรมและอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
2. เพื่อสนบั สนุนการเรยี นการสอนรายวชิ า ผษ101 เกษตรเพ่ือชวี ติ
3. เป็นสถานที่ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านการท�ำการเกษตรแบบ
ธรรมชาตติ ามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง
การถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณขี องคนลา้ นนา
1. พธิ กี รรมแฮกนา ได้แก่ พธิ แี ฮกนาน้อย พธิ ีแฮกนาใหญ่
2. พธิ สี ู่ขวญั ข้าว ไดแ้ ก่ พธิ แี ฮกเกยี่ วขา้ ว
3. พิธมี ดั มือควาย หรอื พธิ ีสขู่ วัญควาย
4. การใชแ้ รงงานสตั วใ์ นการไถนา
5. การจัดแสดงหย่อมบ้านล้านนา และอุปกรณ์การด�ำรงชีวิตของ
คนล้านนา
การถ่ายทอดหลักสูตร “การท�ำเกษตรแบบธรรมชาติ ตามแนวทาง
เศรษฐกจิ พอเพยี ง”
โดยการนำ� วสั ดทุ อ้ งถนิ่ มาใชใ้ นการทำ� การเกษตร เนน้ การใชจ้ ลุ นิ ทรยี ์
ทอ้ งถน่ิ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นกระบวนการผลติ การปลกู พชื ผกั การเลย้ี งสตั ว์ และ
การดูแลสงิ่ แวดล้อม โดยมหี ลกั สำ� คญั ดงั น้ี
การใช้ประโยชน์ ช่วยย่อยสลาย ปรับความเป็นกรด-ด่าง ท�ำให้
ดินสามารถปล่อยแร่ธาตุได้ดี ท�ำให้ดินมีออกซิเจนไหลเวียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ท�ำให้พืชต้านทานโรค ลดต้นทุนการผลิต เพ่ิมผลผลิต
ก�ำจัดกล่นิ เหมน็ และกำ� จดั มลภาวะ
ศนู ยเ์ รียนรูว้ ฒั นธรรมเกษตรลา้ นนา 3
การผลิตเช้ือราขาว (IMO1) ท�ำได้ 3 อย่าง โดยใช้ข้าวหุง
ใสก่ ระบะไม้ ปดิ ดว้ ยกระดาษนำ� ไปวางไวใ้ ตต้ น้ ไผ่ 4-5 วนั แลว้ ผสมคลกุ เคลา้
กับน�ำ้ ตาลทรายแบ่งใสก่ ระปกุ ปิดฝา เกบ็ ไวใ้ นห้องน�้ำ
4 ศูนย์เรยี นร้วู ัฒนธรรมเกษตรลา้ นนา
การท�ำหวั เช้อื ราขาว (IMO2)
1) เตรียมของแห้ง ได้แก่ แกลบกลาง 30 กก. และมูลสัตว์แห้ง
30 กก.
2) เตรียมของเปียก คือ น�้ำหมักจุลินทรีย์ 7 ชนิดอย่างละ 2 ช้อน
กบั เชื้อราขาว 2 ชอ้ น นำ้� ตาลทรายแดง 2 ชอ้ น ผสมนำ้� 10 ลติ ร ท�ำ 3 ชุด
3) เตรยี มอปุ กรณ์ ไดแ้ ก่ พลวั่ คราด บวั รดนำ้� ฟางแหง้ 1 มดั ไมก้ วาด
ทางมะพร้าว และพลาสติกขนาด 2x3 เมตร
4) วธิ ีทำ�
- ท�ำในร่ม น�ำของแห้งมาผสมให้เข้ากันโดยใช้คราดสับไปมา
2 ครง้ั แลว้ ขน้ึ แปลงเปน็ สี่เหล่ยี มผืนผ้าหนา 1 ฝ่ามือ
- ราดด้วยน�้ำหมักผสมน้�ำแล้วใช้คราดสับไปมา 3 คร้ัง
(ราดแลว้ สบั )
- แบ่งกองออกเป็น 3 ส่วนเอาส่วน 2 ข้างขึ้นกองบนส่วนกลาง
สูงไม่เกิน 70 ซม. เอาน้�ำหมักน�้ำที่เหลือราดให้ทั่ว ให้ได้ความช้ืน 60% แล้ว
ใช้ฟางแห้งคลุมด้านบน 1 ฝ่ามือ คลุมด้วยพลาสติก ทับด้วยของหนักรอบ
ทงั้ 4 ดา้ น ทง้ิ ไว้ 8-10 วนั เปดิ แลว้ สบั ดว้ ยคราด นำ� ไปใช้ หรอื ตกั ใสก่ ระสอบ
2 ใน 3 มดั วางเกบ็ ไว้บนดินในร่ม
5) น�ำไปใชก้ บั พืชยงั ไม่ได้ ต้องทำ� เป็น IMO3
6) ใชก้ �ำจดั มลภาวะ กำ� จัดขยะ ก�ำจัดกลิ่นเหม็น (ใสพ่ ้นื คอกสัตว)์
ศนู ย์เรียนร้วู ฒั นธรรมเกษตรล้านนา 5
6 ศนู ยเ์ รยี นรวู้ ฒั นธรรมเกษตรลา้ นนา
การท�ำหัวเชื้อขยาย (IMO3) น�ำหัวเชื้อราขาว 1 กระสอบมาขยาย
โดยการท�ำเช่นเดยี วกับการตอ่ หวั เชอ้ื ราขาว (IMO2)
** ใช้ประโยชน์ในการท�ำเป็นปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยธรรมชาติ ใช้ร่วมกับ
นำ้� หมกั จุลนิ ทรยี ์ 7 ชนิด โดยการราดหรอื พน่
ศนู ยเ์ รียนรูว้ ัฒนธรรมเกษตรลา้ นนา 7
การผลิตน�้ำหมักจุลนิ ทรีย์ 3 ประเภท 7 ชนิด
ประเภทท่ี 1 จากพชื (พชื สีเขยี ว ผลไม้สกุ พืชสมนุ ไพร)
- น้�ำหมักจุลินทรีย์จากพืชสีเขียวและสด เลือกเอาส่วนยอดดีที่สุด
เช่น ผักบุ้ง หน่อไม้ หน่อกล้วย ควรเก็บในตอนเช้า ก่อนตะวันขึ้น เลือกเอา
ส่วนท่ีเขียวสุด ห้ามล้างน�้ำน�ำมาหั่นเป็นชิ้นขนาด 2-4 ซม. หมักกับ
นำ้� ทรายแดง และเกลอื ในอตั ราสว่ น 7:3:1 เปน็ เวลา 8-10 วนั (โดยใหอ้ ยใู่ นรม่ )
- น้�ำหมักจุลินทรีย์จากผลไม้สุก ใช้ผลไม้สุกอย่าง 3 ชนิดรวมกัน
(หา้ มลา้ งนำ้� ) เชน่ กลว้ ยนำ�้ วา้ มะละกอ มะมว่ ง ฟกั ทอง หนั่ ผลไมส้ กุ เปน็ ชนิ้
ขนาด 2-4 ซม. หมกั กบั นำ้� ตาลทรายแดง ในอตั ราสว่ น 1:1 เปน็ เวลา 8-10 วนั
8 ศูนย์เรียนรวู้ ฒั นธรรมเกษตรลา้ นนา
- น�้ำหมักจุลินทรีย์จากพืชสมุนไพร (เหล้ายาดอง) ใช้พืชสมุนไพร
อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ชะเอม โสมตังกุย อบเชย กระชายด�ำ ขิง ข่า
ตะไคร้ กระเทียม มะแขว่น ไพล ฯลฯ โดยห่ันวัสดุ ขนาด 2-4 ซม. หมักกับ
น�้ำตาลทรายแดง
ประเภทที่ 2 จากนำ้� ซาวขา้ ว (นมสด เปลอื กไข ่ ถา่ นกระดกู สตั ว)์
- น�้ำหมักจุลินทรีย์จากนมสดกับน้�ำซาวข้าว ได้นมเปรี้ยว หรือ
แลคโตบาซลิ ลสั ใชน้ มสด 6 กก. หมกั กบั นำ้� ซาวขา้ ว 10 ลติ ร และนำ�้ ซาวขา้ ว
หมกั ร�ำออ่ น 1 ขวด (หมกั กอ่ น 4-5 วัน) เปน็ เวลา 8 -10 วัน
ศนู ย์เรยี นร้วู ฒั นธรรมเกษตรลา้ นนา 9
- น้�ำหมักจุลินทรีย์จากเปลือกไข่กับน�้ำซาวข้าว ได้แคลเซียม
ใช้เปลือกไข่ตากแหง้ 1 กก. หมักกบั นำ้� ซาวขา้ ว 10 ลติ ร เปน็ เวลา 8-10 วัน
ขอ้ ควรพิจารณา
ควรเป็นน�้ำซาวข้าวจากการแช่ข้าวเหนียว 1 คืน หรือใช้น้�ำมะพร้าว
เปลอื กไข่ตอ้ งน�ำไปตากทงิ้ ไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 3 วนั (ฉีกเปน็ ช้นิ เลก็ ๆ แตไ่ มเ่ ปน็ ผง)
- นำ�้ หมกั จลุ นิ ทรยี จ์ ากถา่ นกระดกู สตั วก์ บั นำ�้ ซาวขา้ ว ไดฟ้ อสฟอรสั
ใช้ถ่านกระดูกสัตว์ 1 กก. หมักกับน�้ำซาวข้าว 10 ลิตร เป็นเวลา 8-10 วัน
โดยเกบ็ ไว้ในทร่ี ่ม
ข้อควรปฏบิ ตั ิ
1. น�ำกระดูกไปต้มให้ไขมันออกใหห้ มด
2. น�ำไปตากใหแ้ หง้ สนทิ
3. น�ำไปเผาไฟจนสีแดง แล้วน�ำไปจุ่มน้�ำและน�ำไปตากให้แห้งสนิท
(ทุบให้ได้ 2-4 ซม.)
10 ศนู ยเ์ รียนรู้วฒั นธรรมเกษตรลา้ นนา
ประเภทท่ี 3 จากสตั ว์ (เศษกุ้ง หอย ป ู ปลา ไสเ้ ดือน รกหม)ู
- น�้ำหมักจุลินทรีย์จากสัตว์ ได้โปรตีน ใช้เศษกุ้ง หอย ปู ปลา
ไสเ้ ดอื น รกหมู อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ หมกั กบั นำ้� ตาลทรายแดง ในอตั ราสว่ น 1:1
เปน็ เวลา 15 วนั
ข้อควรปฏบิ ัติ
1. หา้ มลา้ งน�ำ้
2. ใชไ้ มห้ ม่ันคนบอ่ ยๆ วันละ 1-2 ครัง้
3. ควรนำ� ไปใชภ้ ายใน 45 วนั
ศูนย์เรยี นรู้วฒั นธรรมเกษตรลา้ นนา 11
การผลิตน้�ำหมักจุลินทรีย์ป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชและสัตว์ (โดยใช้
สมุนไพรพื้นบ้าน)
1. วัสดทุ ีใ่ ช้ (อย่างใดอยา่ งหนงึ่ )
- สาบเสือ ใบยูคา ใบสะเดา ใบยาสูบ ไหลแดง(โล่ติ้น) หนอนตายหยาก
ตะไคร้หอม บอระเพ็ด กระเทยี ม พรกิ ขหี้ นู ดีปลี ฯลฯ
2. วสั ดุที่ใช้หมกั
2.1 ภาชนะปากกวา้ ง
2.2 นำ้� ตาลทรายแดง
2.3 กระดาษและเชือก
3. อัตรา
- พืช 7 กก. : น�้ำตาลทรายแดง 3 กก.
4. วิธที �ำ หรือ หมกั
4.1 ห่ันวสั ดุ ขนาด 2-4 เซนตเิ มตร
4.2 แบ่งน�ำ้ ตาลออกเป็น 2 ส่วนเทา่ ๆ กนั
4.3 เอานำ�้ ตาลทรายสว่ นที่ 1 คลุกกับวสั ดุ (คลุกเบาๆ)
4.4 นำ� ไปบรรจใุ นภาชนะ (ปากกวา้ ง) เตมิ น�ำ้ 7 กก.
4.5 เอาของหนกั ทบั ทิง้ ไว้ 1 คืน
4.6 เอาของหนักออก
4.7 นำ� น้ำ� ตาลทรายสว่ นที่ 2 โรยหนา้ ให้ทั่วเอาของหนักขึ้นทับ
4.8 เอากระดาษปดิ มัดเชอื ก
4.9 ทงิ้ ไว้ 8-10 วนั (โดยใหอ้ ยู่ในร่ม)
12 ศนู ย์เรยี นรูว้ ฒั นธรรมเกษตรลา้ นนา
5. ขอ้ บ่งใช้
5.1 พ่นศตั รูพชื 3-4 ช้อน ต่อนำ้� 10 ลิตร
5.2 พ่นศัตรูสตั ว ์ 3-4 ช้อน ต่อน้ำ� 10 ลติ ร
5.3 พ่นวชั พชื 7-10 ชอ้ น ตอ่ นำ�้ 10 ลติ ร
การผลิตอาหารสัตว์
แบ่งออกเป็น 2 สว่ น
สว่ นผสมท่ี 1 การหมักวัตถดุ ิบ (ตน้ กล้วย ผักสด ฯลฯ)
1.1 สูตร (50:2:0.5) 50 กโิ ลกรมั = ตน้ กล้วย ผกั สด ฯลฯ
2 กิโลกรัม = นำ�้ ตาลทรายแดง
0.5 กิโลกรมั = เกลอื ทะเล (เมด็ )
1.2 วธิ ที �ำ
(1) หน่ั ต้นกล้วยหรือผักสดขนาด 2-4 ซม. รวม 50 กก.
(2) ในกรณีใช้ถังพลาสติก ปริมาตร 30 แกลลอน (หมักได้ 50 กก.)
แบง่ ถงั ออกเปน็ 4 สว่ น ถา้ เป็นถงุ พลาสตกิ แบ่งออกเปน็ 2 ส่วน
ศูนยเ์ รียนรวู้ ัฒนธรรมเกษตรลา้ นนา 13
สว่ นท่ี 4 (ปดิ ฝาให้สนทิ )
ชนั้ ท่ี 4 ทำ� เชน่ เดยี วกบั ชั้นที่ 3
ส่วนที่ 3 ชัน้ ท่ี 3 ทำ� เชน่ เดยี วกบั ชนั้ ที่ 2
ส่วนท่ี 2 ชั้นที่ 2 ทำ� เช่นเดยี วกับชั้นที่ 1
สว่ นที่ 1 ช้ันที่ 1 ต้นกล้วยหรือผกั 12.5 กก.
- ขน้ึ เหยยี บให้แนน่
- โรยเกลือ 1 กำ� มอื
- โรยน�้ำตาลทราย 0.5 กก.
1.3 ท้ิงไว้ 4-5 วนั สามารถนำ� ไปให้ช้าง ม้า แพะ แกะ วัว ควายกินได้
1.4 ทิง้ ไว้ 8-12 วัน น�ำไปใหห้ มูและสัตว์อนื่ ๆ กิน (ยกเวน้ สัตว์กินสัตว)์
ส่วนผสมท่ี 2 การผสมอาหารใหส้ ัตวก์ นิ
2.1 อัตราส่วน
(1) แกลบกลาง 30 กโิ ลกรมั
(2) ดินแดง 8 กโิ ลกรมั
(3) มูลสตั ว์แหง้ (ถ้ามีมูลหมูเล็กยิง่ ด)ี หรือข้ีวัว 8 กโิ ลกรมั
(4) กระดกู ปน่ /เปลือกไขป่ ่นหรอื เปลอื กหอยป่น 1.5 กโิ ลกรมั
(5) กากถัว่ เหลืองป่น หรอื ใบกระถนิ หรอื กากถั่วงอก 5 กโิ ลกรมั
(6) ปลาป่น หรือขป้ี ลา หรอื เนอ้ื หอยป่น 1.5 กโิ ลกรมั
(7) ขา้ วโพดปน่ หรือปลายข้าว หรือมันต่างๆ ปน่ 13 กโิ ลกรมั
รวม 67 กโิ ลกรมั
14 ศูนยเ์ รียนร้วู ัฒนธรรมเกษตรลา้ นนา
(8) อาหารหมกั 50 กโิ ลกรมั
(9) น�้ำหมกั จลุ นิ ทรีย ์ 7 ชนดิ
รวม 117 กโิ ลกรมั
2.2 การผสม
(1) ผสมอาหารแห้ง คลุกเคล้าเข้าดว้ ยกนั 2 รอบ
(2) น�ำส่วนที่ 1 (การหมักวัตถุดิบ) มาเทไว้บนกอง ราดด้วยน้�ำหมัก
จุลินทรีย์ 7 ชนิดๆ ละ 2 ช้อนผสมน�้ำ 10 ลิตร ราดบนกอง ผสมคลุกเคล้า
เขา้ ด้วยกัน ไป-กลบั 2 รอบ นำ� ไปให้สตั วก์ นิ ไดเ้ ลย
2.3 วธิ เี ก็บ
(1) กองไว้บนดนิ คลุมดว้ ยผ้าหรือวัสดอุ ืน่ ทมี่ ีอากาศผา่ นได้
(2) ใส่ถงุ ปุย๋ หรอื ถงุ อาหารสัตว์ ทมี่ ีอากาศผา่ นได้
(3) เก็บไว้ในท่รี ่มบนดิน
การสร้างคอกหมู
หลกั การ
1. อาคารตั้งขวางตะวัน เพอื่ ให้แสงแดดสอ่ งเข้าถึงทั้งเช้าและบา่ ย
2. สร้างบนพนื้ ที่ดอนหรอื ลมุ่ กไ็ ด้ แตอ่ ยา่ ให้น้�ำทว่ มขงั
3. สิง่ สำ� คญั จะต้องขดุ หลมุ
4. อากาศตอ้ งถ่ายเทสะดวก
5. การเลีย้ งแบบธรรมชาตจิ ะไมม่ ีกลิ่นเหมน็
6. ไม่มีแมลงวนั รบกวน
ศนู ยเ์ รียนรู้วฒั นธรรมเกษตรล้านนา 15
ขนาดความกว้าง ยาว ของคอก
1. ขึ้นอยู่กับจำ� นวนของสตั ว์ทีเ่ ราจะเล้ยี ง
2. ขน้ึ อย่กู บั งบประมาณ
3. ขึ้นอยกู่ ับขนาดของพ้ืนท่ที ีม่ ี
4. ถ้าจะเลี้ยงหมู 10-12 ตัว ควรจะมีขนาด 3 x 6 เมตร
5. ถ้าจะเลี้ยงหมู 5-7 ตัว ควรจะมีขนาด 2 x 4 เมตร
วสั ดุทใี่ ช้
- ใชไ้ ดห้ ลายรปู แบบ
การสร้างคอกสตั ว์อื่นๆ
1. ไก่ นกกระทา กระต่าย หลุมลึก 30 เซนติเมตร ท�ำช้นั เดียว
2. เป็ด ววั แพะ หลมุ ลกึ 70 เซนตเิ มตร ทำ� ช้นั เดียว
3. หมู หลุมลึก 90 เซนติเมตร ทำ� 2 ช้นั
การทำ� พ้นื คอกหมู
ไม้กั้นคอก อิฐบลอ็ ก 2 กอ้ น ไมก้ ้นั คอก
ระดบั ดิน ระดบั ดนิ
ขุดลึก 40 ซม. บ่า 20 ซม.
90-100 ซม.
ขดุ ลกึ 50 ซม.
16 ศูนยเ์ รียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
การสร้างคอกหมู
1. ตอ้ งสร้างคอกก่อน
2. ขดุ หลุมลกึ จากระดับดินลงไปลกึ 40 ซม.
3. กอ่ อิฐบลอ็ ก 2 ก้อน ให้รอบทั้ง 4 ด้าน
4. ทำ� บ่าจากอิฐบลอ็ กเข้าไปด้านใน 20 ซม.
5. ขดุ หลมุ จากบา่ ลงไปลึก 50 ซม.
6. แบ่งหลุมออกเปน็ 2 ส่วน
6.1 ส่วนท่ี 1 อยูด่ ้านลา่ ง ลึก 45 เซนตเิ มตร
6.2 ส่วนที่ 2 อยู่ดา้ นบน ลกึ 45 เซนตเิ มตร
การผสมวัสดุใสใ่ นหลุม N-P-K ธาตรุ อง 3 ธาตุ
(โดยธรรมชาต)ิ (เอน็ -พี-เค) ธาตุเสริม 7 ธาตุ
6. นำ�้ หมักจุลนิ ทรีย์ 7 ชนิด ใส่แกลบแกท่ ้งั หมดหรือเช่นเดยี วกับสว่ นท่ี 1 สว่ นท่ี 2
5. หัวเช้ือราขาว (เหยียบใหแ้ น่น) 5. หวั เชอ้ื ราขาว
4. มูลสัตว์แห้ง 4. มลู สัตวแ์ ห้ง
3. เกลือ 3. เกลอื ทะเล
2. ถา่ นละเอียด 2. ถ่านละเอยี ด
1. ดนิ แดง
6. ราดด้วยน้�ำหมักจุลินทรีย์ 7 1. ดินแดง
ชนิดๆ ละ 2 ช้อน + น้�ำตาลทรายแดง
2 ชอ้ น ผสมน้ำ� 10 ลิตร ราดใหโ้ ชก
ส่วนท่ี 1 เศษวัสดแุ หง้ ทางการเกษตร ใบไมแ้ ห้ง
ฟางสบั เศษทเ่ี หลอื จากเพาะเหด็ หญา้
หรอื ขยะท่ีย่อยสลายได้ ขี้เล่อื ย
ขแ้ี กลบ (เหยยี บใหแ้ นน่ )
ศนู ยเ์ รียนรูว้ ฒั นธรรมเกษตรล้านนา 17
การให้อาหารและน�ำ้
1. การใหอ้ าหาร
1.1 ใช้อาหารหมักจากต้นกล้วย หรือ พืชผัก สูตร 50:2:0.5
(เป็นส่วนที่ 1)
1.2 ใชว้ สั ดุ ประกอบดว้ ยแกลบกลาง ดนิ แดง มลู สตั วแ์ หง้ รำ� ออ่ น กระดกู
ป่น ข้าวโพดปน่ ปลาป่น กากถั่วเหลืองปน่ (เปน็ สว่ นที่ 2)
1.3 น�ำ 1.1 และ 1.2 มาผสมคลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กัน ไป-กลับ 2 ครงั้
1.4 วธิ ีการเก็บอาหารท่ีผสมแลว้
(1) ในกรณีผสมบนดินให้กองบนพ้ืนดินเป็นรูปภูเขาปลายแหลม
ใชผ้ ้าหรอื ถุงอาหารสัตว์ทีอ่ ากาศผา่ นไดค้ ลมุ ใหท้ ว่ั กอง
(2) ในกรณีผสมบนซีเมนให้ใส่ถุงที่มีอากาศผ่านได้ ต้ังไว้ใน
ทร่ี ่มบนดนิ
2. การให้นำ�้ (ใช้น�้ำหมกั จุลินทรยี ์ 7 ชนดิ อย่างละ 2 ชอ้ น ต่อนำ้� 10 ลิตร)
2.1 ผสมจุลินทรีย์ที่หมัก เช่น จากพืชสีเขียว ผลไม้สุก กุ้ง หอย ปู ปลา รก
หมู ไส้เดอื น อตั ราส่วน 2 ชอ้ น ต่อน้ำ� 10 ลิตร
2.2 ผสมฮอร์โมนพชื สมุนไพร (เหลา้ ยาดอง) 1 ช้อนลงในนำ้�
2.3 ผสมจลุ ินทรีย์แลคโตบาซิลลัส อัตรา 2 ชอ้ น ตอ่ น�้ำ 10 ลติ ร
3. หมัน่ ตรวจดู อยา่ ใหน้ ำ�้ สกปรก และอย่าใหข้ าดน�้ำ
4. หากมกี ารลา้ งทใ่ี หน้ ำ�้ สตั ว์ ควรเอานำ�้ สาดลงบนพนื้ คอก จะทำ� ใหจ้ ลุ นิ ทรยี ์
ลงไปชว่ ยระงับกล่ิน และเชอ้ื ราขาวท�ำงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
หมายเหตุ : พ้ืนคอกควรโรยด้วยหัวเชื้อราขาวแล้วราดด้วยจุลินทรีย์ 7 ชนิด
(ชนิดละ 2 ช้อน) ผลมน�้ำตาลทรายแดง 2 ช้อน ต่อน�้ำ 10 ลิตร
ใส่-ราด-พ่น 3-5-7 วันต่อเดือน
กรณไี ก่ (เล้ียงตงั้ แตอ่ ายุ 1 วนั )
เดอื นที่ 1 ใหอ้ าหารไกเ่ นอ้ื ระยะแรก 100%
เดือนท่ี 2 ให้อาหารไก่เน้ือระยะสอง 1 อาทิตย์ อีก 1 อาทิตย์ใช้
อาหารสุกรเล็ก 50% ผสมอาหารผสมเอง 50% หลังจากน้ันให้อาหารผสม
เอง 100%
18 ศูนย์เรียนรวู้ ฒั นธรรมเกษตรล้านนา
รายละเอยี ดการใหอ้ าหารหมู (ระยะ 5 เดอื น)
1. เดอื นที่ 1 ให้อาหารหย่านม (หมนู ม)
2. เดือนท่ี 2 ให้อาหารหมูเล็ก ให้กิน 2 อาทิตย์ อีก 2 อาทิตย์ เอาอาหาร
หมักผสมอยา่ งละ 50% (อาหารหมูเลก็ 50% อาหารหมัก 50%)
3. เดอื นท่ี 3 อาหารหมกั 100%
4. เดือนท่ี 4 อาหารหมัก 100%
5. เดือนท่ี 5 อาหารหมกั 100%
หมายเหตุ : การเลอื กลูกหมคู วรเป็น 3 สายเลือด (ลาร์จไวท์ + ดูรอ็ ค + แลนด์เรช)
ค�ำนำ�
การขยายพนั ธพ์ุ ชื โดยวธิ กี ารเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอ่ื นน้ั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารจะ
ให้ความส�ำคัญในการย้ายต้นกล้าพืชออกจากขวดไปปลูกในสภาพแวดล้อม
ภายนอกเท่ากับการขยายพันธุ์พืชในห้องปฏิบัติการ เพราะหากขยายพันธุ์
ในห้องปฏิบัติการได้ แต่น�ำพืชออกปลูกไม่ได้ หรือออกปลูกแล้วมีเปอร์เซ็นต์
รอดตายน้อย จะท�ำให้ต้นทุนในการผลิตพืชชนิดน้ันๆ สูงหรือประสบความ
ลม้ เหลวได้ ดงั นั้นในการยา้ ยต้นกล้าพชื ออกจากขวดเพื่อนำ� ไปปลกู ในสภาพ
แวดลอ้ มภายนอก จงึ ตอ้ งหาวธิ กี ารตา่ งๆ เพอ่ื ใหพ้ ชื แขง็ แรง และมเี ปอรเ์ ซน็ ต์
การรอดตายสูงสุด ซึ่งวิธีการดังกล่าวน้ี ดังน้ันห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อพืช งานปรับปรุงและขยายพันธุ์พืชและสัตว์ กองบริหารงานบริการ
วชิ าการ ส�ำนักวิจัยและสง่ เสรมิ วิชาการการเกษตร จึงได้รวบรวมองคค์ วามรู้
จากประสบการณ์โดยตรง และประสบความส�ำเร็จในการน�ำต้นกล้าพืชที่ได้
จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือออกปลูกสู่โรงเรือน มาจัดท�ำเป็นรูปเล่ม เพื่อเป็น
แนวทางนำ� ไปใชใ้ นการปฏิบัติงานส�ำหรับผทู้ ีส่ นใจได้เป็นอย่างดี
คณะผู้จัดทำ�