The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาศิลปะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hathairat phatchoo, 2019-07-15 11:10:49

หลักสูตรสถานศึกษาศิลปะ

หลักสูตรสถานศึกษาศิลปะ



วสิ ยั ทศั น์

วิสยั ทศั น์กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล เป็นคนดีมีคุณธรรมบนพ้ืนฐานของ
ความเป็นไทย ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ ดัดแปลงจนิ ตนาการ มสี ุนทรียภาพและเห็น
คุณค่าทางศิลปวฒั นธรรมไทยและสากล สืบสานภูมปัญญาไทย ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

หลักการ

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม)
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มีหลักการทส่ี าคญั ดงั น้ี

๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น
เป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็น
ไทยควบคูก่ ับความเปน็ สากล

๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมคี ณุ ภาพ

๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้
สอดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถิ่น

๔. เป็นหลักสตู รการศึกษาที่มีโครงสร้างยดื หยุ่นทง้ั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรยี นรู้
๕. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม)
พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และ
ประกอบอาชีพ จงึ กาหนดเปน็ จดุ หมายเพื่อให้เกดิ กับผเู้ รยี น เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดงั นี้

๑. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มวี ินัยและปฏิบตั ิตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒. มีความรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชวี ติ
๓. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มสี ุขนิสัย และรกั การออกกาลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจติ สานึกในความเปน็ พลเมืองไทย และพลโลก ยดึ ม่ันในวิถีชวี ิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ
๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนรุ ักษ์ และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต
สาธารณะท่มี งุ่ ทาประโยชน์และสร้างส่งิ ท่ดี ีงามในสังคม และอยูร่ ่วมกนั ในสังคมอย่างมีความสุข



สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม)
พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซึ่งการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุ
มาตรฐานการเรยี นรู้ทก่ี าหนดนั้น จะช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดังนี้

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้

ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความร้สู ึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณอ์ นั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทงั้ การเจรจาตอ่ รองเพือ่ ขจดั และลด
ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลอื กใชว้ ธิ กี ารส่ือสารท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมตี ่อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด

อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างสรรค์องค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพอื่ การตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่

เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรมู้ าใช้ในการ
ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาและมีการตดั สนิ ใจท่มี ีประสทิ ธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้
ต่อตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆไปใช้ใน

ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรอู้ ย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยูร่ ่วมกนั ในสังคมด้วย
การสรา้ งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหวา่ งบคุ คล การจัดการปัญหาและความขัดแยง้ ต่างๆอยา่ งเหมาะสม การ
ปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงค์ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้าน

ตา่ งๆและมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรียนรู้ การสอ่ื สาร
การทางาน การแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมคี ุณธรรม

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม)
พุทธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่อื ให้สามารถอยรู่ ว่ มกับผอู้ ่ืนในสังคมได้
อยา่ งมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและ
พลโลก ดังน้ี

๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒. ซ่ือสตั ยส์ จุ ริต
๓. มีวนิ ัย
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง



๖. มงุ่ ม่ันในการทางาน
๗. รกั ความเป็นไทย

๘. มจี ติ สาธารณะ



สาระท่ี ๑ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ศ ๑.๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

มาตรฐาน ศ ๑.๒ ทัศนศลิ ป์
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
สาระท่ี ๒ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ
มาตรฐาน ศ ๒.๑ อย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
มาตรฐาน ศ ๒.๒ งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและ
สากล
สาระท่ี ๓
มาตรฐาน ศ ๓.๑ ดนตรี
เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
มาตรฐาน ศ ๓.๒ ดนตรี ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ ต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน
ชวี ติ ประจาวัน
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
ดนตรีท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ภมู ิปญั ญาไทยและสากล

นาฏศลิ ป์
เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
คณุ ค่าทางนาฏศลิ ป์ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดอยา่ งอิสระ ชน่ื ชม และประยุกตใ์ ช้
ในชวี ติ ประจาวนั
เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม เหน็ คุณคา่ ของ
นาฏศลิ ป์ท่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ภมู ิปัญญาไทยและสากล



กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ทาไมต้องเรยี นศลิ ปะ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มีจินตนาการทางศิลปะ ช่ืนชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซ่ึงมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์
กิจกรรมทางศิลปะชว่ ยพฒั นาผเู้ รียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการนาไปสูก่ าร
พัฒนาส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อม่ันในตนเอง อันเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบ
อาชพี ได้

เรยี นรู้อะไรในศิลปะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิด

ความซาบซ้ึงในคุณค่าของศิลปะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่างๆ ประกอบด้วย
สาระสาคญั คอื

 ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงานทาง
ทัศนศิลป์จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม รวมท้ังสามารถใช้เทคนิค วิธีการของศิลปินใน
การสร้างงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์
ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคุณค่างานศิลปะท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ท้องถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล ชน่ื ชม ประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน

 ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์วจิ ารณ์คุณค่าดนตรี ถา่ ยทอดความร้สู ึก ทางดนตรอี ย่างอสิ ระ ชืน่ ชมและประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน
เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ ดนตรีทเ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สกึ ทมี่ ตี อ่ ดนตรใี นเชงิ สุนทรียะ เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรีกับประเพณี
วัฒนธรรม และเหตกุ ารณใ์ นประวัตศิ าสตร์

 นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองคป์ ระกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์
ใช้ศัพท์เบ้ืองต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่าง
อิสระ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ในชีวิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์
ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล



คุณภาพผเู้ รียน

จบช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

 รู้และเข้าใจเก่ียวกับรูปร่าง รูปทรง และจาแนกทัศนธาตุของสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ
สง่ิ แวดล้อมและงานทศั นศิลป์ มที ักษะพื้นฐานการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสรา้ งงานวาดภาพระบายสี โดยใช้เส้น
รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานป้ัน งานโครงสร้างเคลื่อนไหวอย่างง่าย ๆ ถ่ายทอดความคิด
ความรู้สึกจากเร่ืองราว เหตุการณ์ ชีวิตจริง สร้างงานทัศนศิลป์ตามที่ตนช่ืนชอบ สามารถแสดงเหตุผลและ
วิธกี ารในการปรับปรงุ งานของตนเอง

 รู้และเข้าใจความสาคัญของงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจาวัน ท่ีมาของงานทัศนศิลป์
ในท้องถ่นิ ตลอดจนการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ และวธิ ีการสรา้ งงานทศั นศลิ ป์ในทอ้ งถ่นิ

 รู้และเข้าใจแหล่งกาเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหน้าที่ ความหมาย ความสาคัญ
ของบทเพลงใกลต้ ัวที่ได้ยิน สามารถทอ่ งบทกลอน รอ้ งเพลง เคาะจังหวะ เคลอื่ นไหวร่างกายให้สอดคลอ้ งกับ
บทเพลง อ่าน เขียน และใช้สัญลักษณ์แทนเสยี งและเคาะจังหวะแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั ดนตรี เสียงขับร้อง
ของตนเอง มสี ว่ นรว่ มกับกจิ กรรมดนตรีในชีวิตประจาวนั

 รู้และเข้าใจเอกลักษ ณ์ ของดน ตรีใน ท้ องถิ่น มีความชื่น ชอ บ เห็ น ความสาคัญ
และประโยชน์ของดนตรตี ่อการดาเนนิ ชีวิตของคนในทอ้ งถิน่

 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถแสดงท่าทางประกอบจังหวะเพลงตาม
รูปแบบนาฏศิลป์ มีมารยาทในการชมการแสดง รูห้ น้าที่ของผู้แสดงและผู้ชมรู้ประโยชนข์ องการแสดงนาฏศลิ ป์
ในชีวติ ประจาวัน เขา้ ร่วมกิจกรรมการแสดงทีเ่ หมาะสมกบั วยั

 รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถ่ิน ชื่นชอบและภาคภูมิใจ
ในการละเล่นพื้นบ้าน สามารถเชื่อมโยงส่ิงท่ีพบเห็นในการละเล่นพ้ืนบ้านกับการดารงชีวิตของคนไทย บอก
ลักษณะเด่นและเอกลักษณข์ องนาฏศลิ ปไ์ ทยตลอดจนความสาคญั ของการแสดงนาฏศิลปไ์ ทยได้

จบชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖

 รู้และเข้าใจการใช้ทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์ ถ่ายทอดความคิด อารมณ์ ความรู้สึก สามารถใช้หลักการจัดขนาด สัดส่วนความสมดุล น้าหนัก แสง
เงา ตลอดจนการใช้สีคตู่ รงข้ามท่ีเหมาะสมในการสรา้ งงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ ๓ มิติ เช่น งานสื่อผสม งานวาด
ภาพระบายสี งานปั้น งานพิมพ์ภาพ รวมท้ังสามารถสร้างแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพ่ือถ่ายทอด
ความคิดจินตนาการเป็นเร่ืองราวเก่ียวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ และสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง
งานทัศนศิลป์ท่ีสร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวธิ ีการที่แตกต่างกัน เข้าใจปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์
หลักการลด และเพ่ิมในงานป้ัน การสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตน รู้วิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น
ตลอดจนรแู้ ละเข้าใจคณุ ค่าของงานทัศนศลิ ป์ทม่ี ีผลตอ่ ชวี ติ ของคนในสังคม

 รู้และเข้าใจบทบาทของงานทัศนศิลป์ท่ีสะท้อนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเช่ือ
ความศรทั ธา ในศาสนา และวัฒนธรรมที่มผี ลตอ่ การสร้างงานทัศนศลิ ปใ์ นทอ้ งถิ่น

 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงร้อง เคร่ืองดนตรี และบทบาทหน้าท่ี รู้ถึง
การเคลื่อนที่ขน้ึ ลง ของทานองเพลง องค์ประกอบของดนตรี ศัพท์สังคีตในบทเพลง ประโยค และอารมณข์ อง



บทเพลงท่ีฟัง ร้อง และบรรเลงเครื่องดนตรี ด้นสดอย่างง่าย ใช้และเก็บรักษาเครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี อ่าน
เขียนโน้ตไทยและสากลในรูปแบบต่าง ๆ รู้ลักษณะของผู้ท่ีจะเล่นดนตรีได้ดี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
องค์ประกอบดนตรี ถ่ายทอดความรสู้ ึกของบทเพลงท่ีฟัง สามารถใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมทางนาฏศิลป์และ
การเล่าเร่ือง

 รู้และเข้าใจความสัมพั น ธ์ระห ว่างดน ตรีกั บ วิถีชีวิต ป ระ เพ ณี วัฒ น ธรรมไท ย
และวัฒนธรรมตา่ ง ๆ เรื่องราวดนตรีในประวตั ิศาสตร์ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรี รู้คณุ ค่าดนตรที ี่มาจาก
วฒั นธรรมต่างกนั เหน็ ความสาคัญในการอนุรกั ษ์

 รแู้ ละเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาท่า นาฏยศพั ท์พนื้ ฐาน สรา้ งสรรคก์ าร
เคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป์ และการละครง่าย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถออกแบบ
เครอ่ื งแตง่ กายหรืออุปกรณป์ ระกอบการแสดงง่าย ๆ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์และการละครกบั สิ่ง
ทปี่ ระสบในชีวิตประจาวัน แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยายความร้สู ึกของตนเองท่ีมีต่องาน
นาฏศิลป์

 รู้และเข้าใจความสมั พันธ์และประโยชนข์ องนาฏศิลปแ์ ละการละคร สามารถเปรยี บเทียบการ
แสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยในแต่ละท้องถ่ิน และสิ่งท่ีการแสดงสะท้อนวัฒนธรรมประเพณี เห็นคุณค่าการ
รักษาและสบื ทอดการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย

จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓

 รู้และเข้าใจเร่ืองทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิคที่หลากหลายในการ
สร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพ่ือส่ือความหมายและเร่ืองราวต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ วิเคราะห์
รปู แบบเนื้อหาและประเมินคุณค่างานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อ่นื สามารถเลือกงานทศั นศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่
กาหนดขึ้นอย่างเหมาะสม สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิกในการนาเสนอข้อมูลและมีความรู้
ทักษะที่จาเปน็ ด้านอาชพี ท่เี กีย่ วข้องกนั กบั งานทศั นศิลป์

 รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถ่ิน
แต่ละยุคสมยั เหน็ คุณค่างานทัศนศิลป์ท่ีสะท้อนวัฒนธรรมและสามารถเปรยี บเทียบงานทัศนศิลป์ท่ีมาจากยุค
สมัยและวัฒนธรรมตา่ ง ๆ

 รู้และเข้าใจถึงความแตก ต่างทางด้าน เสียง อ งค์ประก อบ อารมณ์ ความรู้สึก
ของบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง บรรเลงเครือ่ งดนตรี ท้ังเด่ียวและเป็นวงโดยเน้นเทคนิค
การร้องบรรเลงอย่างมีคุณภาพ มีทักษะในการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ตในบันไดเสียงท่ีมี
เคร่ืองหมาย แปลงเสียงเบื้องต้นได้ รู้และเข้าใจถึงปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบของผลงานทางดนตรี องคป์ ระกอบ
ของผลงานด้านดนตรีกับศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลง
สามารถนาเสนอบทเพลงท่ีชื่นชอบไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดง
ดนตรี ร้ถู งึ อาชีพต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับดนตรแี ละบทบาทของดนตรีในธรุ กิจบนั เทงิ เขา้ ใจถึงอทิ ธพิ ลของดนตรีท่ี
มตี อ่ บุคคลและสังคม

 รู้และเข้าใจท่ีมา ความสัมพันธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแต่ละวัฒนธรรม ในยุคสมัย
ต่าง ๆ วเิ คราะห์ปัจจัยทีท่ าให้งานดนตรไี ด้รบั การยอมรับ

 รู้และเข้าใจการใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแปลความและสื่อสาร
ผ่านการแสดง รวมทั้งพัฒนารูปแบบการแสดง สามารถใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพการแสดง



วจิ ารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ โดยใช้ความรู้เร่ืององค์ประกอบทางนาฏศิลป์ร่วมจัดการแสดง นาแนวคิด
ของการแสดงไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวนั

 รู้และเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยุคสมัย ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลง
ของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดง
นาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ รวมทั้งสามารถออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์ เคร่ืองแต่งกายในการแสดง
นาฏศิลปแ์ ละละคร มคี วามเขา้ ใจ ความสาคัญ บทบาทของนาฏศิลป์ และละครในชีวติ ประจาวัน

จบช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖

 รู้และเข้าใจเก่ียวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมาย สามารถใช้ศัพท์
ทางทศั นศิลป์ อธบิ ายจดุ ประสงคแ์ ละเนื้อหาของงานทศั นศิลป์ มที ักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อปุ กรณ์และ
กระบวนการท่ีสูงข้ึนในการสร้างงานทัศนศิลป์ วเิ คราะห์เน้ือหาและแนวคดิ เทคนิควิธีการ การแสดงออกของ
ศลิ ปินท้ังไทยและสากล ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรคง์ านที่เหมาะสมกับโอกาส
สถานท่ี รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมด้วยภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน ตลอดจนประเมินและ
วจิ ารณ์คุณค่างานทัศนศิลปด์ ว้ ยหลักทฤษฎีวจิ ารณ์ศิลปะ

 วเิ คราะห์เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เข้าใจอิทธิพล
ของมรดกทางวัฒนธรรมภมู ิปัญญาระหว่างประเทศที่มีผลต่อการสรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์ในสงั คม

 รู้และเข้าใจรูป แบบ บ ทเพ ลงและวงดน ตรีแต่ละป ระเภ ท และ จาแน ก รูป แบ บ
ของวงดนตรที ้ังไทยและสากล เข้าใจอิทธิพลของวัฒนธรรมต่อการสรา้ งสรรคด์ นตรี เปรียบเทียบอารมณ์และ
ความรสู้ ึกท่ีได้รับจากดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน อ่าน เขียน โนต้ ดนตรีไทยและสากล ในอัตราจงั หวะตา่ ง
ๆ มีทักษะในการร้องเพลงหรือเล่นดนตรีเด่ียวและรวมวงโดยเน้นเทคนิค การแสดงออกและคุณภาพของการ
แสดง สร้างเกณฑ์สาหรับประเมินคุณภาพการประพันธ์การเล่นดนตรีของตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
สามารถนาดนตรไี ประยกุ ต์ใช้ในงานอ่ืน ๆ

 วิเคราะห์ เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเด่นของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรม
ต่าง ๆ เข้าใจบทบาทของดนตรีท่ีสะท้อนแนวความคิดและค่านิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคมของนัก
ดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ สร้างแนวทางและมีสว่ นรว่ มในการส่งเสรมิ และอนรุ ักษ์ดนตรี

 มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์เปน็ คู่และเป็น
หมู่ สร้างสรรค์ละครส้นั ในรูปแบบทีช่ ื่นชอบ สามารถวเิ คราะห์แก่นของการแสดงนาฏศลิ ป์และละครท่ีต้องการ
สอ่ื ความหมายในการแสดง อทิ ธิพลของเครอื่ งแตง่ กาย แสง สี เสียง ฉาก อปุ กรณ์ และสถานทท่ี ่ีมีผลต่อการ
แสดง วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์และละคร พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการประเมินการแสดง และ
สามารถวิเคราะห์ท่าทางการเคลือ่ นไหวของผคู้ นในชวี ติ ประจาวันและนามาประยุกตใ์ ชใ้ นการแสดง

 เข้าใจวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสาคัญ
ในวงการนาฏศิลป์และการละครของประเทศไทยในยุคสมัยตา่ ง ๆ สามารถเปรียบเทยี บการนาการแสดงไปใช้
ในโอกาสต่าง ๆ และเสนอแนวคิดในการอนุรักษน์ าฏศิลปไ์ ทย



สาระท่ี ๑ ทัศนศลิ ป์

มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คณุ ค่า
งานทศั นศลิ ป์ ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคิดตอ่ งานศลิ ปะอยา่ งอิสระ ชืน่ ชม และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั

ตัวชี้วัดช้ันปี ตัวชีว้ ดั ชว่ งชน้ั

ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. บรรยาย ความแตกตา่ ง ๑. อภปิ รายเก่ยี วกบั ๑. บรรยายส่ิงแวดล้อม และ ๑. วเิ คราะหก์ ารใชท้ ัศนธาตุ และ
และความคล้ายคลงึ กันของ ทัศนธาตใุ นด้านรูปแบบและ งานทศั นศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ หลกั การออกแบบ
งานทัศนศลิ ป์และ แนวคดิ ของงานทัศนศลิ ปท์ ี่ ความรู้เร่ืองทศั นธาตุและ
สิ่งแวดล้อมโดยใชค้ วามรู้ เลือกมา หลกั การออกแบบ ในการส่ือความหมาย
เรอ่ื งทัศนธาตุ ๒. บรรยายเกยี่ วกบั ความ
เหมือนและความแตกตา่ ง ๒. ระบุ และบรรยายเทคนิค ในรูปแบบต่าง ๆ
๒. ระบุ และบรรยายหลกั การ ของรปู แบบการใชว้ ัสดุ วธิ ีการของศลิ ปนิ ในการสร้าง
ออกแบบงานทัศนศลิ ป์ โดย อุปกรณ์ในงานทศั นศิลปข์ อง งาน ทัศนศิลป์ ๒. บรรยายจุดประสงค์ และ
เน้นความเป็นเอกภาพความ ศิลปนิ เนอื้ หาของงานทศั นศลิ ป์ โดยใช้
กลมกลืน และความสมดลุ ๓. วาดภาพด้วยเทคนคิ ๓. วิเคราะห์ และบรรยาย ศพั ทท์ างทัศนศลิ ป์
ท่ีหลากหลายในการสอื่ วธิ กี ารใช้ทัศนธาตุ และ
๓. วาดภาพทัศนียภาพ ความหมายและเร่ืองราว หลักการออกแบบในการสรา้ ง ๓. วิเคราะห์การเลือกใช้วสั ดุ
งาน ทศั นศิลปข์ องตนเองใหม้ ี อปุ กรณ์ และเทคนิคของศิลปนิ ใน
แสดงใหเ้ ห็นระยะไกลใกล้ ตา่ ง ๆ คณุ ภาพ การแสดงออกทางทัศนศิลป์
เป็น ๓ มิติ
๔. สร้างเกณฑใ์ นการประเมิน ๔. มีทกั ษะในการสร้างงาน ๔. มที กั ษะและเทคนิค
๔. รวบรวมงานปัน้ หรือ และวิจารณ์งานทศั นศลิ ป์ ทัศนศลิ ป์อยา่ งนอ้ ย ๓
สื่อผสมมาสร้างเปน็ เร่ืองราว ประเภท ในการใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ และ
๓ มิติโดยเน้นความเป็น ๕. นาผลการวิจารณ์ไป กระบวนการท่ีสงู ขน้ึ ในการสรา้ ง
เอกภาพความกลมกลืน และ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพฒั นางาน ๕. มที กั ษะในการผสมผสาน งานทศั นศิลป์
การส่อื ถงึ เร่ืองราวของงาน วัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงาน
๖. วาดภาพแสดง ทศั นศลิ ป์โดยใชห้ ลักการ ๕.สร้างสรรคง์ านทศั นศลิ ป์
๕. ออกแบบรูปภาพ บคุ ลกิ ลกั ษณะของตวั ละคร ออกแบบ ดว้ ยเทคโนโลยตี า่ ง ๆ โดยเน้น
สัญลกั ษณ์ หรอื กราฟกิ อ่นื ๆ หลักการออกแบบและการจัด
ในการนาเสนอความคิดและ ๗. บรรยายวธิ กี ารใช้งาน ๖. สรา้ งงานทศั นศลิ ป์ องค์ประกอบศลิ ป์
ขอ้ มลู ทศั นศลิ ป์ในการโฆษณาเพื่อ
โน้มนา้ วใจ และนาเสนอ ทง้ั ๒ มิติ และ ๓ มิติเพ่ือ ๖. ออกแบบงานทศั นศิลป์ได้
๖.ประเมนิ งานทัศนศิลป์ ตวั อย่าง ถ่ายทอดประสบการณ์ เหมาะกบั โอกาสและสถานที่
และบรรยายถงึ วธิ กี าร
ปรับปรงุ งานของตนเอง และจนิ ตนาการ ๗.วเิ คราะหแ์ ละอธบิ าย
จุดมุ่งหมายของศลิ ปินในการ
และผอู้ ื่นโดยใชเ้ กณฑ์ ๗.สร้างสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ เลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ เทคนคิ และ
สอ่ื ความหมายเป็นเร่อื งราว เน้อื หา เพื่อสร้างสรรคง์ าน
ทก่ี าหนดให้ โดยประยกุ ตใ์ ช้ทศั นธาตุ และ ทัศนศิลป์
หลกั การออกแบบ

๑๐

ตวั ชีว้ ดั ชัน้ ปี ตัวช้วี ัดชว่ งชน้ั

ม. ๑ ม. ๒ ม. ๑ ม. ๒

๘. วเิ คราะหแ์ ละอภิปราย ๘. ประเมนิ และวิจารณง์ าน
รปู แบบ เนอื้ หาและคณุ คา่ ใน ทัศนศลิ ป์ โดยใช้ทฤษฎี

งานทัศนศลิ ปข์ องตนเอง การวจิ ารณศ์ ลิ ปะ
และผูอ้ ืน่ หรือของศิลปนิ
๙. จดั กลมุ่ งานทัศนศลิ ป์
๙. สรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์
เพื่อบรรยาย เหตุการณ์ เพ่อื สะท้อนพฒั นาการและ
ตา่ ง ๆ โดยใชเ้ ทคนคิ ความก้าวหนา้ ของตนเอง

ท่หี ลากหลาย ๑๐. สรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลป์
ไทย สากล โดยศกึ ษาจากแนวคิด

๑๐. ระบุอาชีพท่ีเก่ยี วข้องกับ และวธิ ีการสรา้ งงานของศิลปิน ที่
งานทศั นศิลป์ และทักษะท่ี ตนชน่ื ชอบ

จาเปน็ ในการประกอบอาชพี ๑๑. วาดภาพระบายสีเป็นภาพ
น้นั ๆ ล้อเลยี น หรอื ภาพการ์ตนู เพื่อ

๑๑. เลอื กงานทศั นศิลป์ แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับสภาพ
สงั คมในปจั จุบัน
โดยใชเ้ กณฑ์ทก่ี าหนดขนึ้

อย่างเหมาะสม และนาไปจดั
นิทรรศการ

๑๑

สาระท่ี ๑ ทศั นศิลป์

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทศั นศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่างานทศั นศิลป์ ทเี่ ป็นมรดกทาง
วัฒนธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปัญญาไทย และสากล

ตวั ช้วี ดั ชนั้ ปี ตวั ชี้วดั ช่วงชั้น

ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับ ๑. ระบแุ ละบรรยายเกี่ยวกบั ๑. ศึกษาและอภปิ ราย ๑. วเิ คราะห์ และเปรยี บเทียบงาน
วัฒนธรรม ตา่ ง ๆ ท่ี เกยี่ วกับงานทศั นศิลป์ ทัศนศลิ ป์ในรูปแบบตะวนั ออก
ลักษณะรปู แบบงาน และรูปแบบตะวนั ตก
ทศั นศิลปข์ องชาตแิ ละของ สะท้อนถึงงานทัศนศิลปใ์ น ทส่ี ะทอ้ นคณุ คา่ ของ
ท้องถ่ินตนเอง จากอดตี จนถึง ปัจจุบัน วฒั นธรรม ๒. ระบุงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปนิ
ทมี่ ีชอ่ื เสียง และบรรยายผล ตอบ
ปจั จบุ ัน ๒. บรรยายถงึ การ ๒. เปรียบเทียบความ รับของสังคม
แตกต่างของงานทศั นศลิ ปใ์ น
๒. ระบุ และเปรยี บเทยี บ เปลี่ยนแปลงของงาน แตล่ ะยคุ สมยั ของวัฒนธรรม ๓. อภิปรายเกยี่ วกบั อิทธิพลของ
ทศั นศลิ ปข์ องไทยในแตล่ ะ ไทยและสากล วัฒนธรรมระหว่างประเทศท่ีมีผล
ตอ่ งานทศั นศลิ ป์ในสังคม
งานทศั นศลิ ป์ของภาคตา่ ง ๆ ยคุ สมัยโดยเนน้ ถึงแนวคิด
และเนอ้ื หาของงาน
ในประเทศไทย

๓. เปรยี บเทียบความ ๓. เปรียบเทียบแนวคดิ ใน
แตกต่างของจดุ ประสงค์ การออกแบบงานทศั นศลิ ป์
ท่ีมาจาก วฒั นธรรม ไทย
ในการสรา้ งสรรค์งานทัศน และสากล

ศิลปข์ องวัฒนธรรมไทย

และสากล

๑๒

สาระท่ี ๒ ดนตรี

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอด
ความรู้สึก ความคดิ ตอ่ ดนตรอี ยา่ งอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั

ตัวชวี้ ดั ชั้นปี ตวั ช้วี ดั ชว่ งชั้น

ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. อา่ น เขียน รอ้ ง โนต้ ไทย และ ๑. เปรียบเทยี บการใช้องค์ ๑. เปรยี บเทยี บองคป์ ระกอบที่ ๑. เปรียบเทียบรปู แบบของบท
โนต้ สากล ประกอบดนตรีทมี่ าจาก ใชใ้ นงานดนตรีและงานศลิ ปะ เพลงและวงดนตรแี ต่ละประเภท
๒. เปรียบเทียบเสยี งร้องและ วัฒนธรรมต่างกัน อนื่
๒. จาแนกประเภทและรปู แบบ
เสียงของเครอ่ื งดนตรที ีม่ าจาก ๒. อ่าน เขยี นร้องโน้ตไทยและ ๒. รอ้ งเพลง เลน่ ดนตรีเดย่ี ว ของวงดนตรี ท้ังไทยและสากล
วัฒนธรรมทตี่ า่ ง โน้ต สากลทม่ี เี ครือ่ งหมาย และรวมวง โดยเนน้ เทคนิคการ
แปลงเสียง รอ้ ง การเลน่ การแสดงออก ๓. อธิบายเหตุผลท่ีคนต่าง
กนั ๓. ระบุปัจจยั สาคญั ท่ีมี และคณุ ภาพสยี ง วฒั นธรรมสร้างสรรคง์ านดนตรี
๓. รอ้ งเพลงและใช้เคร่ืองดนตรี อทิ ธิพลต่อการสร้างสรรคง์ าน ๓. แต่งเพลง แตกต่างกัน
บรรเลงประกอบ ดนตรี สั้น ๆ จังหวะ ๔. อ่าน เขยี น โน้ตดนตรไี ทยและ
สากลในอัตราจงั หวะต่าง ๆ
การร้องเพลงดว้ ยบทเพลงท่ี ๔. ร้องเพลง และเล่นดนตรี งา่ ย ๆ ๕. ร้องเพลง หรือเล่นดนตรเี ดยี่ ว
หลาก หลายรปู แบบ เดี่ยว และรวมวง ๔. อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้ และรวมวง โดยเน้นเทคนิคการ
แสดงออก และคณุ ภาพของการ
๔. จัดประเภทของวงดนตรีไทย ๕. บรรยายอารมณ์ของเพลง องคป์ ระกอบดนตรี ในการ แสดง
และวงดนตรีท่มี าจากวฒั นธรรม และความร้สู ึกที่มีต่อบทเพลง สร้างสรรคง์ านดนตรีของตนเอง ๖. สรา้ งเกณฑส์ าหรับประเมนิ
ต่าง ๆ ๕. เปรียบเทยี บความ คุณภาพการประพนั ธ์และการเลน่
๕. แสดงความคดิ เหน็ ทมี่ ตี ่อ ท่ีฟัง แตกต่างระหวา่ งงานดนตรี ดนตรีของตนเองและผ้อู น่ื ได้อย่าง
อารมณ์ของบทเพลงท่ีมคี วามเรว็ ๖. ประเมนิ พัฒนาการ ของตนเองและผอู้ ่นื เหมาะสม
๗. เปรียบเทยี บอารมณ์ และ
ของจงั หวะ และความดัง-เบา ทักษะทางดนตรขี องตนเอง ๖. อธบิ ายเก่ียวกบั อิทธพิ ล
แตกต่างกัน หลังจากการฝกึ ปฏิบตั ิ ของดนตรีทม่ี ตี อ่ บุคคลและ

๖. เปรยี บเทยี บอารมณ์ ๗. ระบุงานอาชพี ต่าง ๆ สงั คม ความรสู้ ึกท่ไี ดร้ บั จากงานดนตรี
ความร้สู ึก ในการฟงั ดนตรี ทเ่ี ก่ียวข้องกับดนตรีและ
แตล่ ะประเภท บทบาทของดนตรใี นธุรกิจ ๗. นาเสนอ หรือจดั การ ทมี่ าจากวัฒนธรรมต่างกนั
๗. นาเสนอตัวอยา่ งเพลงท่ี บนั เทงิ แสดงดนตรีทีเ่ หมาะสม
ตนเองช่ืนชอบ และอภิปราย โดยการบูรณาการกับ ๘. นาดนตรีไปประยกุ ตใ์ ช้

สาระการเรยี นร้อู น่ื ใน ในงานอ่ืน ๆ
กลุม่ ศลิ ปะ

ลกั ษณะเดน่ ท่ีทาให้งานน้นั
น่าช่นื ชม

๘. ใชเ้ กณฑส์ าหรบั ประเมิน
คุณภาพงานดนตรหี รือเพลงท่ี
ฟัง

๙. ใช้และบารุงรกั ษาเคร่อื ง
ดนตรอี ยา่ งระมดั ระวงั และ
รับผิดชอบ

๑๓

สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคา่ ของดนตรีทีเ่ ปน็ มรดกทาง
วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล

ตวั ช้วี ัดช้ันปี ตวั ชว้ี ัดช่วงชนั้

ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. อธบิ ายบทบาท ๑. บรรยายบทบาท และ ๑. บรรยาย ๑. วเิ คราะหร์ ูปแบบของดนตรไี ทย

ความสัมพนั ธ์และอิทธพิ ล อิทธิพลของดนตรใี น ววิ ัฒนาการของ และดนตรีสากลในยคุ สมยั ต่าง ๆ

ของดนตรีท่มี ตี ่อสังคมไทย วฒั นธรรมของประเทศ ด ดนตรแี ต่ละยคุ สมัย ๒. วเิ คราะหส์ ถานะทางสงั คม
ตา่ ง ๆ ของนักดนตรีในวฒั นธรรม
๒. ระบคุ วามหลากหลายของ ๒. อภิปรายลักษณะเด่นท่ีทา ตา่ ง ๆ

องคป์ ระกอบดนตรีใน ๒. บรรยายอิทธิพลของ ให้งานดนตรนี ้ันได้รับการ ๓.เปรยี บเทยี บลักษณะเด่นของ
ดนตรใี นวัฒนธรรมตา่ งๆ
วฒั นธรรมต่างกัน วัฒนธรรม และเหตุการณ์ ยอมรับ

ในประวัตศิ าสตรท์ ี่มีตอ่
รูปแบบของดนตรีใน

ประเทศไทย ๔. อธบิ ายบทบาทของดนตรี

ในการสะท้อนแนวความคดิ

และคา่ นิยมทีเ่ ปลย่ี นไปของ

คน ในสงั คม

๕. นาเสนอแนวทางในการ

ส่งเสรมิ และอนุรกั ษ์ดนตรี

ในฐานะมรดกของชาติ

๑๔

สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณค์ ุณค่านาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอด
ความรสู้ ึก ความคดิ อย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวัน

ตวั ชวี้ ดั ช้ันปี ตัวช้วี ดั ชว่ งชั้น

ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. อธบิ ายอทิ ธิพลของ ๑. อธบิ ายการ บรู ณา ๑. ระบโุ ครงสร้างของ ๑. มที กั ษะในการแสดง
นักแสดงชอ่ื ดงั ทีม่ ีผลตอ่ การ บทละครโดยใช้ศพั ท์ทางการ หลากหลายรปู แบบ
การโนม้ น้าวอารมณห์ รอื ละคร ๒. สร้างสรรค์ละครสนั้
ความคดิ ของ ศิลปะแขนงอน่ื ๆ กับการ
ผู้ชม แสดง
๒. ใชน้ าฏยศพั ท์หรอื ศัพท์
ทางการละครในการแสดง ๒. สรา้ งสรรค์การแสดง ๒. ใชน้ าฏยศัพท์ หรือศพั ท์ ในรูปแบบท่ีช่นื ชอบ
โดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์ ทางการละครที่เหมาะสม
๓. แสดงนาฏศลิ ป์และ และการละคร บรรยายเปรยี บเทยี บการ ๓. ใชค้ วามคิดริเรมิ่ ในการ
การละคร ๓. วิเคราะห์การแสดงของ แสดงอากปั กิรยิ าของผคู้ นใน แสดงนาฏศิลปเ์ ปน็ คู่ และหมู่
ในรปู แบบง่าย ๆ ชวี ติ ประจาวันและในการ ๔. วิจารณก์ ารแสดงตามหลัก
แสดง นาฏศิลปแ์ ละการละคร
๔. ใช้ทกั ษะการทางานเปน็
กลุ่มในกระบวนการผลติ การ ตนเองและผอู้ นื่ โดยใช้ ๓. มที ักษะในการใช้ความคิด ๕. วิเคราะห์แกน่ ของการ
แสดง นาฏยศพั ท์หรือศพั ทท์ าง ในการพฒั นารูปแบบการ แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละการละคร
การละครที่เหมาะสม แสดง ทีต่ ้องการสอ่ื ความหมายใน
๕. ใช้เกณฑ์ ๔. มที กั ษะในการแปลความ การแสดง

ง่าย ๆ ที่กาหนดให้ ในการ ๔. เสนอข้อคิดเห็น ใน และการสอ่ื สารผา่ นการแสดง ๖. บรรยาย และวเิ คราะห์
พิจารณา การปรับปรงุ การแสดง อิทธิพลของเครือ่ งแต่งกาย
๕. วจิ ารณเ์ ปรียบเทยี บงาน แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ์
คณุ ภาพการแสดงทช่ี ม ๕. เชอ่ื มโยงการเรยี นรู้ นาฏศลิ ปท์ มี่ คี วามแตกต่าง และสถานท่ี
ระหว่างนาฏศิลปแ์ ละ กนั โดยใช้ความรู้เรอ่ื ง ที่มีผลตอ่ การแสดง
โดยเนน้ เรอ่ื ง การละคร กบั องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์
สาระการเรียนรู้อื่น ๆ
การใช้เสยี ง ๖. ร่วมจัดงานการแสดง ใน ๗. พฒั นาและใชเ้ กณฑ์
บทบาทหน้าทต่ี ่าง ๆ
การแสดงท่า และการ
เคลอ่ื นไหว การประเมนิ ในการประเมิน
๗. นาเสนอแนวคิดจาก การแสดง

เน้อื เรื่อง ของการแสดง ๘. วเิ คราะห์ทา่ ทาง และ

ที่สามารถนาไปปรับใช้ใน การเคลอื่ นไหวของผ้คู น
ชวี ิตประจาวัน ในชีวิตประจาวันและ

นามาประยุกต์ใชใ้ นการแสดง

๑๕

สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลปท์ เี่ ป็นมรดกทาง
วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภูมิปญั ญาไทยและสากล

ตวั ชว้ี ดั ช้นั ปี ตวั ชี้วดั ชว่ งชัน้

ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖

๑. ระบุปจั จัยที่มีผลตอ่ ๑. เปรยี บเทียบ ๑. ออกแบบ และสรา้ งสรรค์ ๑. เปรยี บเทียบการนาการ
การเปล่ียนแปลงของ ลกั ษณะเฉพาะ อปุ กรณ์ และเครื่องแตง่ กาย แสดงไปใช้ในโอกาสต่าง ๆ
นาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์ ของการแสดงนาฏศลิ ป์จาก เพื่อแสดงนาฏศลิ ป์และการ
พน้ื บา้ น ละครไทย และ วฒั นธรรมต่างๆ ละครทมี่ าจากวฒั นธรรม ๒. อภิปรายบทบาทของ
ละครพ้ืนบ้านฃ ๒. ระบหุ รอื แสดงนาฏศิลป์ ตา่ ง ๆ บุคคลสาคัญในวงการ
๒. บรรยายประเภทของ นาฏศลิ ป์พืน้ บา้ น ละครไทย ๒. อธิบายความสาคญั และ นาฏศิลป์และการละคร
ละครไทย ในแต่ละยุค ละครพนื้ บา้ น หรือมหรสพ บทบาทของนาฏศิลป์และ ของประเทศไทยในยุค
สมัย อื่น ท่ีเคยนิยมกนั ใน การละครในชวี ิตประจาวัน สมัยต่างๆ
อดีต ๓. แสดงความคิดเหน็ ในการ ๓. บรรยายววิ ัฒนาการ
๓. อธบิ ายอิทธพิ ลของ อนรุ ักษ์ ของนาฏศิลปแ์ ละการ
วัฒนธรรมทม่ี ีผลต่อเนื้อหา ละครไทย ต้ังแตอ่ ดีตจนถงึ
ของละคร ปจั จบุ นั

๔. นาเสนอแนวคิดในการ
อนุรักษน์ าฏศลิ ปไ์ ทย

๑๖

รายวชิ าท่ีเปิดสอนในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น
(กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ)

หลักสูตรสถานศึกษา และหลกั สูตรมาตรฐานสากล
ภาคเรยี นท่ี ๑

หน่วย คาบ/ จานวน จานวน

ชั้น รายวชิ า โครงสร้าง การ สปั ดาห์ หอ้ งเรียน คาบ
รายวิชา เรียน รวม

ม.๑ ศ๒๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๑ พนื้ ฐาน ๐.๕ ๑ ๑๑ ๑๑

ม.๑ ศ๒๑๑๐๒ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๑ พน้ื ฐาน ๐.๕ ๑ ๑๑ ๑๑

ม.๒ ศ๒๒๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๓ พื้นฐาน ๐.๕ ๑ ๑๐ ๑๐

ม.๒ ศ๒๒๑๐๒ ดนตรี – นาฏศิลป์ ๓ พื้นฐาน ๐.๕ ๑ ๑๐ ๑๐

ม.๓ ศ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๕ พน้ื ฐาน ๐.๕ ๑ ๑๐ ๑๐

ม.๓ ศ๒๓๑๐๒ ดนตรี – นาฏศิลป์ ๕ พื้นฐาน ๐.๕ ๑ ๑๐ ๑๐

รวมจานวนคาบเรยี นทั้งหมด ๖๒

๑๗

รายวชิ าท่ีเปดิ สอนในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น
(กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ)

หลักสูตรสถานศกึ ษา และหลกั สูตรมาตรฐานสากล
ภาคเรยี นท่ี ๒

หน่วย คาบ/ จานวน จานวน

ชั้น รายวชิ า โครงสร้าง การ สปั ดาห์ หอ้ งเรยี น คาบ
รายวิชา เรียน รวม

ม.๑ ศ๒๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๑ พนื้ ฐาน ๐.๕ ๑ ๑๑ ๑๑

ม.๑ ศ๒๑๑๐๒ ดนตรี – นาฏศิลป์ ๑ พน้ื ฐาน ๐.๕ ๑ ๑๑ ๑๑

ม.๒ ศ๒๒๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๓ พื้นฐาน ๐.๕ ๑ ๑๐ ๑๐

ม.๒ ศ๒๒๑๐๒ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๓ พื้นฐาน ๐.๕ ๑ ๑๐ ๑๐

ม.๓ ศ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๕ พน้ื ฐาน ๐.๕ ๑ ๑๐ ๑๐

ม.๓ ศ๒๓๑๐๒ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๕ พืน้ ฐาน ๐.๕ ๑ ๑๐ ๑๐

รวมจานวนคาบเรยี นทั้งหมด ๖๒

๑๘

โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั นครปฐม
(พระตาหนกั สวนกหุ ลาบมธั ยม)
**********************************

กลมุ่ รายวชิ าพืน้ ฐาน

มธั ยมศึกษาชนั้ ปีท่ี ๑ ช่ือวิชา ระดับช้ัน หน่วยกติ จานวนช่วั โมง
ทศั นศลิ ป์ ๑ ม.๑ ๐.๕ ๒๐
ท่ี รหัสวชิ า ดนตรี – นาฏศิลป์ ๑ ม.๑ ๐.๕ ๒๐
ทศั นศิลป์ ๒ ม.๑ ๐.๕ ๒๐
ภาคเรียนที่ ศ๒๑๑๐๑ ดนตรี – นาฏศิลป์ ๒ ม.๑ ๐.๕ ๒๐
๑ ศ๒๑๑๐๒

ภาคเรยี นที่ ศ๒๑๑๐๓
๒ ศ๒๑๑๐๔

มธั ยมศกึ ษาชนั้ ปที ่ี ๒ ทศั นศลิ ป์ ๓ ม.๒ ๐.๕ ๒๐
ดนตรี – นาฏศิลป์ ๓ ม.๒ ๐.๕ ๒๐
ภาคเรียนที่ ศ๒๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๔ ม.๒ ๐.๕ ๒๐
๑ ศ๒๑๑๐๒ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๔ ม.๒ ๐.๕ ๒๐

ภาคเรยี นท่ี ศ๒๒๑๐๓
๒ ศ๒๑๑๐๔

มธั ยมศกึ ษาชน้ั ปีที่ ๓ ทัศนศิลป์ ๕ ม.๓ ๐.๕ ๒๐
ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๕ ม.๓ ๐.๕ ๒๐
ภาคเรยี นท่ี ศ๒๓๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ ๖ ม.๓ ๐.๕ ๒๐
๑ ศ๒๓๑๐๒ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๖ ม.๓ ๐.๕ ๒๐

ภาคเรยี นที่ ศ๒๓๑๐๓
๒ ศ๒๓๑๐๔

หมายเหตุ (ไม่มีรายวิชาเพม่ิ เตมิ )

๑๙

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั ศ ๒๑๑๐๑ วิชาทัศนศลิ ป์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรียน ๑ ชวั่ โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และส่ิงแวดล้อมโดยใช้ความรู้เร่ือง
ทศั นธาตุ ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพความกลมกลนื และความ
สมดุล วาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็นระยะไกลใกล้ เป็น ๓ มิติ ระบุ และบรรยายเก่ียวกับลักษณะ รูปแบบงาน
ทัศนศิลป์ของชาติและของท้องถิ่นตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระบุ และเปรียบเทียบงาน
ทัศนศลิ ป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย

โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกนั ของทศั นธาตุในงานทศั นศิลป์ และ
ส่ิงแวดล้อม ความเปน็ เอกภาพ ความกลมกลืน ความสมดุล

เพื่อให้ผู้เรียนมีหลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพในลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและ
ท้องถนิ่ ทัศนศิลป์ภาคตา่ ง ๆ ในประเทศไทย

รหัสตวั ช้ีวดั
(ศ ๑.๑ ม.๑/๑), (ศ ๑.๑ ม.๑/๒), (ศ ๑.๑ ม.๑/๓)
(ศ ๑.๒ ม.๑/๑), (ศ ๑.๒ ม.๑/๒)

สรุปรวมตัวชว้ี ดั ทงั้ หมด ๕ ตวั ช้ีวัด

๒๐

คาอธิบายรายวชิ า

รหัส ศ ๒๑๑๐๒ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรียน ๑ ชวั่ โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

ศึกษาการอ่าน และเขยี นโน้ตดนตรีไทย เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียง ของเครื่องดนตรีที่มาจาก
วัฒนธรรมท่ีต่างกัน ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงท่ีหลากหลาย
รูปแบบ จดั ประเภทของวงดนตรีไทย อธบิ ายบทบาทความสมั พนั ธแ์ ละอิทธพิ ลของดนตรที ีม่ ีต่อสงั คมไทย

อธบิ ายอิทธิพลของนักแสดงชื่อดัง ที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชมใช้
นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแสดง ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงของนาฏศิลป์
นาฏศิลป์พ้ืนบ้าน ละครไทยและละครพ้ืนบ้าน บรรยายประเภทของละครไทย ในแต่ละยุคสมัย
ตลอดจนนากระบวนการเรยี นรู้และความรู้ทีไ่ ดไ้ ปใช้ในชีวิตประจาอยา่ งพอเพียง

โดยใช้กระบวนการฝึกฝนและทักษะพ้ืนฐานของนักเรียน ฝึกให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุก
ข้นั ตอน มกี ารทากิจกรรมด้วยการลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ชัน้

เพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในการร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีไทยรวมถึงทักษะทางด้านนาฏยศัพท์หรือ
ศัพท์ท่ใี ช้ทางการละคร

รหัสตัวชี้วัด
ดนตรี
(ศ ๒.๑ ม.๑/๑) , (ศ ๒.๑ ม.๑/๒), (ศ ๒.๑ ม.๑/๓), (ศ ๒.๑ ม.๑/๔)
(ศ ๒.๒ ม.๑/๑)
นาฏศิลป์
(ศ ๓.๑ ม.๑/๑), (ศ ๓.๑ ม.๑/๒)
(ศ ๓.๒ ม.๑/๑)
สรุปรวมตัวชว้ี ัดทง้ั หมด ๘ ตวั ชี้วัด

๒๑

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัส ศ ๒๑๑๐๓ วชิ าทศั นศิลป์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรยี น ๑ ช่ัวโมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษารวบรวมงานปั้นหรือส่ือผสมมาสร้างเป็นเร่ืองราว ๓ มิติโดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน
และการส่ือถึงเร่ืองราวของงาน ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิกอื่นๆ ในการนาเสนอความคิดและ
ข้อมูลและประเมินงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและให้ผู้อ่ืนโดยใช้เกณฑ์ท่ี
กาหนดให้ ระบุและเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย เปรียบเทียบความแตกต่างของ
จุดประสงคใ์ นการสรา้ งสรรค์งานทัศนศิลปข์ องวฒั นธรรมไทยและสากล

โดยใช้กระบวนการฝึกฝนและทักษะพื้นฐานของนักเรียน ฝึกให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุก
ขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยยึดหลักการ
สรา้ งสรรคผ์ ลงานที่อยบู่ นวถิ ีของความพอเพียง

เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรืองานกราฟิก งานป้ันหรืองานสื่อผสม
รวมทั้งการประเมนิ งานทัศนศลิ ป์ ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ ในวฒั นธรรมไทยและสากล

รหสั ตวั ช้ีวัด
(ศ ๑.๑ ม.๑/๔), (ศ ๑.๑ ม.๑/๕), (ศ ๑.๑ ม.๑/๖)
(ศ ๑.๒ ม.๑/๓)

สรปุ รวมตัวชวี้ ดั ทัง้ หมด ๔ ตัวช้ีวัด

๒๒

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั ศ ๒๑๑๐๔ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรยี น ๑ ชวั่ โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

ศกึ ษาแสดงความคดิ เหน็ ที่มีตอ่ อารมณ์ของบทเพลงทม่ี ีเปรียบเทยี บอารมณ์ ความร้สู กึ ในการ
ฟงั ดนตรีแตล่ ะประเภทความเร็วของจงั หวะ และความดงั - เบา แตกต่างกนั นาเสนอตัวอย่างเพลงท่ี
ตนเองช่ืนชอบ และอภิปรายลักษณะเดน่ ที่ทาให้งานนน้ั น่าช่ืนชม ใช้เกณฑส์ าหรับประเมนิ คณุ ภาพ
งานดนตรีหรือเพลงท่ีฟัง ใช้และบารุงรักษาเคร่อื งดนตรอี ย่างระมัดระวงั และรับผิดชอบ ระบุความ
หลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมทีต่ ่างกนั ศึกษานาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่าย ๆ ใช้
ทักษะการทางานเป็นกลุม่ ในกระบวนการผลิตการแสดงใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ที่กาหนดให้ในการพิจารณา
คณุ ภาพการแสดงท่ีชม โดยเน้นเรื่องการใชเ้ สียงการแสดงท่า และการเคลอื่ นไหว บรรยายประเภท
ของละครไทยในแตล่ ะยคุ สมัย

โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน
การเรยี นรทู้ ุกข้ันตอน มกี ารทากจิ กรรมดว้ ยการลงมือปฏิบตั จิ ริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับช้นั มกี าร
ประเมนิ คุณภาพของบทเพลง การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงและการนาเสนอบทเพลงทตี่ นสนใจ และศกึ ษา
ประเภทของละครไทยในแต่ละยคุ สมัย

เพ่ือให้ผ้เู รยี นทกั ษะในการสบื คน้ หาขอ้ มูลดว้ ยตนเอง ตลอดจนนากระบวนการเรยี นรูแ้ ละความรู้ท่ีได้
ไปใช้ในชวี ิตประจาอยา่ งพอเพียง

รหสั ตวั ชี้วัด

ดนตรี

(ศ ๒.๑ ม.๑/๕) , (ศ ๒.๑ ม.๑/๖), (ศ ๒.๑ ม.๑/๗), (ศ ๒.๑ ม.๑/๘), (ศ ๒.๑ ม.๑/๙)

(ศ ๒.๒ ม.๑/๒)

นาฏศลิ ป์

(ศ ๓.๑ ม.๑/๓), (ศ ๓.๑ ม.๑/๔) , (ศ ๓.๑ ม.๑/๕)

(ศ ๓.๒ ม.๑/๒)

สรปุ รวมตัวชวี้ ดั ทง้ั หมด ๑๐ ตัวชี้วัด

๒๓

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั ศ ๒๒๑๐๑ วิชาทัศนศิลป์ ๓ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรยี น ๑ ชวั่ โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกติ

ศึกษาและอภิปรายเก่ียวกับทัศนธาตุในด้านรูปแบบ และแนวคิดของงานทัศนศิลป์ท่ี เลือกมาบรรยาย
เก่ียวกับความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุอุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน วาดภาพ
ด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการส่ือความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับวัฒนธรรมต่าง ๆ ท่ี
สะท้อนถึงงานทัศนศิลป์ในปัจจบุ นั ตามหลกั วิถพี อเพยี ง บรรยายถึงการเปลย่ี นแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทยใน
แต่ละยคุ สมัยโดยเน้นถึงแนวคดิ และเนอ้ื หาของงาน

โดยใช้กระบวนการการจัดเรียนรทู้ ่ีเน้นกระบวนการ โดยให้ผู้เรียนเป็นผคู้ ิดและปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
ผสู้ อนเปน็ ผกู้ ากบั ควบคุมการฝกึ ฝน จนเกิดทักษะและนาไปใชไ้ ด้จรงิ ในชีวิตประจาวัน

เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนตระหนกั ถึงความจาเปน็ ในเร่ืองท่ีตนศึกษา มแี นวคดิ มเี ทคนคิ ทหี่ ลากหลาย

รหสั ตัวช้ีวดั
(ศ ๑.๑ ม.๒/๑), (ศ ๑.๑ ม.๒/๒), (ศ ๑.๑ ม.๒/๓),
(ศ ๑.๒ ม.๒/๑), (ศ ๑.๒ ม.๒/๒)

สรุปรวมตัวช้วี ัดทั้งหมด ๕ ตวั ชี้วัด

๒๔

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัส ศ ๒๒๑๐๒ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรยี น ๑ ชวั่ โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ศกึ ษา เปรยี บเทียบการใช้องค์ประกอบดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมต่างกันอา่ น เขยี นร้องโน้ตไทย และ
โน้ตสากลทม่ี เี คร่อื งหมายแปลงเสยี ง ระบปุ จั จัยสาคัญท่ีมีอทิ ธพิ ลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ร้องเพลง และเล่น
ดนตรเี ดีย่ วและรวมวง บรรยายบทบาท และอิทธพิ ลของดนตรีในวฒั นธรรมของประเทศต่าง ๆ

อธิบายการบูรณาการศิลปะแขนงอ่ืน ๆ กับการแสดง สร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบ
นาฏศลิ ปต์ ามหลักวิถพี อเพียงและการละครวิเคราะหก์ ารแสดงของตนเองและผู้อ่นื โดยใช้นาฏยศัพท์หรอื ศัพท์
ทางการละคร ที่เหมาะสม เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่างๆ ระบุหรือ
แสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์พนื้ บ้าน ละครไทย ละครพนื้ บา้ น หรือมหรสพอ่ืนที่เคยนิยมกันในอดีต

โดยใช้กระบวนการ การจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย ซึ่งอาจเป็นเรื่องหรือปัญหาท่ีเกิดจากการเรียน
แนวทางการแกป้ ัญหา

เพ่ือให้ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการเรยี น ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมกันตดั สินใจ รวมถึงร่วมกันปฏิบัติงาน
และชนื่ ชมผลงานร่วมกัน

รหสั ตวั ชี้วดั

ดนตรี

(ศ ๒.๑ ม.๒/๑), (ศ ๒.๑ ม.๒/๒), (ศ ๒.๑ ม.๒/๓), (ศ ๒.๑ ม.๒/๔), (ศ ๒.๒ ม.๒/๑)

นาฏศิลป์

(ศ ๓.๑ ม.๒/๑) , (ศ ๓.๑ ม.๒/๒) ,(ศ ๓.๑ ม.๒/๓) ,(ศ ๓.๒ ม.๒/๑), (ศ ๓.๒ ม.๒/๒)

สรุปรวมตัวชี้วดั ทง้ั หมด ๑๐ ตัวชว้ี ัด

๒๕

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั ศ ๒๒๑๐๓ วิชาทศั นศลิ ป์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรียน ๑ ชัว่ โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาสร้างเกณฑ์ในการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ นาผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและ
พฒั นางานวาดภาพแสดงบคุ ลกิ ลกั ษณะของตวั ละคร บรรยายวิธีการใชง้ านทัศนศิลปใ์ นการโฆษณาเพอ่ื โน้มนา้ ว
ใจและนาเสนอตัวอย่างประกอบ เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลป์ที่มาจาก วัฒนธรรมไทย
และสากล ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โดยใช้กระบวนการทางานเป็นกลุ่ม เป็นกระบวนการท่ีให้ผู้เรียนได้รับความรู้จากการลงมือปฏิบัติ
ร่วมกนั กลุ่ม จะมีอทิ ธิพลต่อการเรยี นรู้ของสมาชกิ และมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การปฏสิ ัมพันธ์ต่อกัน

เพื่อให้ผู้เรียนร่วมกันสร้างเกณฑ์ในการเรียนรู้ร่มกัน เพ่ือนาไปสู่จุดมุ่งหมายของการเรียน ปรับปรุง
แก้ไขและพฒั นาร่วมกนั

รหัสตวั ช้ีวัด
(ศ ๑.๑ ม.๒/๔) , (ศ ๑.๑ ม.๒/๕), (ศ ๑.๑ ม.๒/๖), (ศ ๑.๑ ม.๒/๗)
(ศ ๑.๒ ม.๒/๓)

สรุปรวมตัวชวี้ ดั ทง้ั หมด ๕ ตัวช้ีวัด

๒๖

คาอธิบายรายวชิ า

รหัส ศ ๒๒๑๐๔ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรยี น ๑ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกติ

ศึกษา บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงท่ีฟัง ประเมิน พัฒนาการทักษะทาง
ดนตรีของตนเอง หลังจากการฝึกปฏิบัติ ระบงุ านอาชีพต่าง ๆ ที่เกีย่ วขอ้ งกับดนตรีและบทบาทของดนตรีใน
ธุรกิจบนั เทิง บรรยายอิทธิพลของวฒั นธรรมและเหตกุ ารณ์ในประวัติศาสตร์ทมี่ ีต่อรปู แบบของดนตรใี นประเทศ
ไทย ตามหลักวถิ พี อเพียง

เสนอขอ้ คดิ เหน็ ในการปรบั ปรุงการแสดง เชอ่ื มโยงการเรียนร้รู ะหวา่ งนาฏศิลป์และการละครกบั สาระ
การเรยี นรอู้ ืน่ ๆอธิบายอิทธิพลของวฒั นธรรมทีม่ ผี ลตอ่ เนือ้ หาของละคร

โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Storyline เรียนรู้แบบบูรณาการภายใต้หัวข้อเดียวกัน ใช้
คาถามหลกั นาผูเ้ รยี นไปสูก่ จิ กรรมท่ีหลากหลายเพอ่ื เสริมสรา้ งให้ผู้เรียน เรียนร้ตู ามสภาพจริง

เพื่อให้ผู้เรียนแสดงออกทางอารมณ์ต่อบทเพลง พัฒนาทักษะทางดนตรี มีความร้ทู ่ีเกี่ยวกับอาชีพที่มี
ดนตรเี ข้ามาเกี่ยวข้อง มแี นวทางในการประกอบธุรกจิ ดนตรี ยอมรบั คาวิพากษ์ วจิ ารณ์ เพ่ือการพฒั นางาน

รหสั ตวั ช้ีวดั

ดนตรี

(ศ ๒.๒ ม.๒/๒), (ศ ๒.๑ ม.๒/๗) , (ศ ๒.๑ ม.๒/๖)

(ศ ๒.๑ ม.๒/๕)
นาฏศลิ ป์
(ศ ๓.๑ ม.๒/๔) , (ศ ๓.๑ ม.๒/๕)

(ศ ๓.๒ ม.๒/๒)

สรุปรวมตัวชว้ี ัดทั้งหมด ๗ ตวั ชี้วดั

๒๗

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั ศ ๒๓๑๐๑ วชิ าทัศนศิลป์ ๕ กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรียน ๑ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

ศึกษาและบรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ท่ีเลือกมาโดยใช้ความรู้เร่ืองทัศนธาตุ และหลักการ
ออกแบบโดยระบุ และบรรยายเทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ วิเคราะห์ และบรรยาย
วิธีการใช้ ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเอง ให้มีคุณภาพมีทักษะในการ
สร้างงานทศั นศลิ ป์อย่างนอ้ ย ๓ ประเภท มที ักษะในการผสมผสานวสั ดุต่าง ๆ ในการสรา้ งงานทศั นศิลป์โดยใช้
หลกั การออกแบบ ศึกษาและอภปิ รายเกย่ี วกับงานทศั นศลิ ป์ ทีส่ ะทอ้ นคุณค่าของวัฒนธรรมตามวิถีพอเพียง

โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ หลกั การออกแบบในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน และการ
ผสมผสานวสั ดุต่างๆในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศลิ ป์

เพอ่ื ให้ผเู้ รียน มีทกั ษะการออกแบบในการสรา้ งงานทศั นศิลปข์ องตนเอง รวมทง้ั วิเคราะห์และบรรยาย
เทคนคิ วธิ กี ารของศลิ ปนิ ในการสร้างสรรค์ผลงานตา่ งๆ ทีส่ ะทอ้ นคณุ คา่ ของวฒั นธรรม

รหสั ตัวช้ีวัด
(ศ ๑.๑ ม.๓/๑), (ศ ๑.๑ ม.๓/๒), (ศ ๑.๑ ม.๓/๓), (ศ ๑.๑ ม.๓/๔), (ศ ๑.๑ ม.๓/๕)
(ศ ๑.๒ ม.๓/๑)

สรุปรวมตัวชวี้ ัดท้ังหมด ๖ ตวั ช้ีวัด

๒๘

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั ศ ๒๓๑๐๒ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๕ กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ

ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรียน ๑ ชัว่ โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

ศึกษา เปรียบเทียบองค์ประกอบท่ีใช้ในงานดนตรแี ละงานศิลปะอ่ืน ร้องเพลง เล่นดนตรีเด่ียว และ
รวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออก และคุณภาพสียงแต่งเพลงส้ัน ๆ จังหวะง่าย ๆอธบิ าย
เหตผุ ลในการเลอื กใชอ้ งค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์ งานดนตรีของตนเองบรรยายววิ ฒั นาการของดนตรี
แต่ละ ยคุ สมยั

ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ศพั ทท์ างการละคร ใชน้ าฏยศัพท์หรอื ศพั ท์ทางการละครท่ีเหมาะสม
บรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกริ ยิ าของผู้คนในชีวิตประจาวนั และในการแสดงมีทกั ษะในการใช้ความคิด
ในการพัฒนารูปแบบการแสดง มีทักษะในการแปลความและ การสื่อสารผ่านการแสดง ออกแบบ และ
สร้างสรรคอ์ ุปกรณ์และเคร่อื งแต่งกาย เพ่ือแสดงนาฏศิลป์และละครท่มี าจากวฒั นธรรมต่าง ๆ

โดยใช้กระบวนการฝึกฝนและทักษะพ้ืนฐานของนักเรียน ในด้านคนตรีและนาฏศิลป์ การร้องเพลง
มีการทากิจกรรมดว้ ยการลงมอื ปฏิบัติจรงิ

เพื่อให้ผู้เรียน มีทักษะในการแสดงนาฏศิลป์และดนตรี รวมถงึ การร้องเพลง โดยเน้นเทคนิคการร้อง
และคุณภาพเสียง รู้วิวัฒนาการของดนตรีและนาฏศิลป์ในแต่ละยุคสมัย รู้จกั โครงสร้างของละคร มีทักษะใน
การใช้ความคดิ ในการพฒั นารปู แบบการแสดง การสอื่ สารผ่านการแสดง ออกแบบและสร้างสรรค์ อปุ กรณ์และ
เครอ่ื งแต่งกายด้วยตนเองโดยยึดหลักวิถพี อเพยี ง

รหัสตัวช้ีวัด

ดนตรี

(ศ ๒.๑ ม.๓/๑), (ศ ๒.๑ ม.๓/๒), (ศ ๒.๑ ม.๓/๓), (ศ ๒.๑ ม.๓/๔)

(ศ ๒.๒ ม.๓/๑)

นาฏศิลป์

(ศ ๓.๑ ม.๓/๑), (ศ ๓.๑ ม.๓/๒), (ศ ๓.๑ ม.๓/๓), (ศ ๓.๑ ม.๓/๔)

(ศ ๓.๒ ม.๓/๑)

สรปุ รวมตัวชวี้ ัดทงั้ หมด ๑๐ ตัวช้วี ัด

๒๙

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั ศ ๒๓๑๐๓ วิชาทศั นศิลป์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรยี น ๑ ช่วั โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกติ

ศึกษาการสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์สื่อความหมายเป็นเร่อื งราว โดยประยุกตใ์ ช้ทศั นธาตุ และหลักการออกแบบ วเิ คราะห์
และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรอื ของศิลปิน สร้างสรรค์งาน
ทศั นศลิ ป์เพ่ือบรรยายเหตุการณ์ตา่ ง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย ระบุอาชพี ท่ีเกี่ยวข้องกับงานทัศนศลิ ป์และ
ทักษะท่ีจาเป็นในการประกอบอาชีพน้ัน ๆ เลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กาหนดขึ้นอย่างเหมาะสม และ
นาไปจดั นทิ รรศการ เปรยี บเทียบความแตกตา่ งของงานทศั นศิลปใ์ นแตล่ ะยคุ สมัยของวฒั นธรรมไทยและสากล

โดยใชก้ ระบวนการมีทกั ษะการสร้างงานทัศนศิลป์ ทงั้ ๒ มิติ และ ๓ มิติ โดยประยกุ ต์ใช้ทัศนธาตแุ ละ
หลักการออกแบบ วิเคราะห์งานทัศศิลป์ของตนเองและผู้อื่น โดยใช้วัสดุจากเศษวัสดุทเ่ี หลือใช้โดยยึดหลักการ
สรา้ งสรรค์ผลงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะการสร้างสรรค์ผลงาน การออกแบบ และบรรยายเหตุการณ์ต่างๆ ผ่านทาง
ผลงานโดยใชเ้ ทคนิคทห่ี ลากหลาย รวมท้งั ทกั ษะท่จี าเปน็ ตอ่ การดารงชีพ

รหสั ตัวช้ีวัด
(ศ ๑.๑ ม.๓/๖), (ศ ๑.๑ ม.๓/๗), (ศ ๑.๑ ม.๓/๘), (ศ ๑.๑ ม.๓/๙), (ศ ๑.๑ ม.๓/๑๐), (ศ ๑.๑ ม.๓/๑๑)
(ศ ๑.๒ ม.๓/๑)

สรุปรวมตัวชวี้ ดั ทั้งหมด ๗ ตัวช้ีวัด

๓๐

คาอธิบายรายวชิ า

รหัส ศ ๒๓๑๐๔ ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรยี น ๑ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต

ศกึ ษาและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อ่ืน อธิบายเกี่ยวกับอิทธพิ ล
ของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม นาเสนอหรอื จัดการแสดงดนตรที ี่เหมาะสมโดยการบูรณาการกับสาระ การ
เรยี นร้อู ่ืนในกลมุ่ ศลิ ปะ อภปิ รายลักษณะเดน่ ท่ีทาใหง้ านดนตรนี ้ันไดร้ ับการยอมรับ

วจิ ารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ทีม่ ีความแตกต่างกันโดยใช้ความรู้เร่ืององค์ประกอบนาฏศิลป์ ร่วม
จัดงานการแสดงในบทบาทหน้าท่ีต่าง ๆ นาเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงท่ีสามารถนาไปปรับใช้ใน
ชีวิตประจาวัน อธิบายความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชีวิตประจาวัน แสดงความ
คิดเห็นในการอนุรักษ์

โดยใช้กระบวนการวเิ คราะห์ความแตกต่างโดยใช้ความรู้เรือ่ งองค์ประกอบของดนตรีและนาฏศิลป์ ใน
การจดั การแสดง และสามารถบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ืน่ ๆได้อีกดว้ ย

เพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในการนาเสนอหรือการจัดการแสดงละครทสี่ ามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
โดยยดึ หลกั วถิ ีพอเพียง

รหสั ตวั ชี้วดั
ดนตรี
(ศ ๒.๑ ม.๓/๕), (ศ ๒.๑ ม.๓/๖), (ศ ๒.๑ ม.๓/๗), (ศ ๒.๒ ม.๓/๒)
นาฏศลิ ป์
(ศ ๓.๑ ม.๓/๕), (ศ ๓.๑ ม.๓/๖), (ศ ๓.๑ ม.๓/๗), (ศ ๓.๒ ม.๓/๒), (ศ ๓.๒ ม.๓/๓)
สรุปรวมตัวชว้ี ัดทงั้ หมด ๙ ตวั ช้ีวัด

๓๑

รายวชิ าที่เปิดสอนในระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
(กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ)

หลักสูตรสถานศกึ ษา และหลักสูตรมาตรฐานสากล
ภาคเรียนท่ี ๑

หน่วย คาบ/ จานวน จานวน

ช้นั รายวิชา โครงสร้าง การ สปั ดาห์ ห้องเรียน คาบ
รายวชิ า เรยี น รวม

ม.๔ ศ๓๑๑๐๑ ดนตรี ๑ พ้นื ฐาน ๐.๕ ๑ ๘ ๘

ม.๕ ศ๓๒๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๑ พืน้ ฐาน ๐.๕ ๑ ๘ ๘

ม.๖ ศ๓๓๑๐๑ นาฏศิลป์ ๑ พนื้ ฐาน ๐.๕ ๑ ๘ ๘

รวมจานวนคาบเรยี นทง้ั หมด ๒๔

๓๒

รายวชิ าที่เปิดสอนในระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
(กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ)

หลักสูตรสถานศกึ ษา และหลักสูตรมาตรฐานสากล
ภาคเรียนท่ี ๒

หน่วย คาบ/ จานวน จานวน

ช้นั รายวิชา โครงสร้าง การ สปั ดาห์ ห้องเรียน คาบ
รายวชิ า เรยี น รวม

ม.๔ ศ๓๑๑๐๑ ดนตรี ๒ พ้นื ฐาน ๐.๕ ๑ ๘ ๘

ม.๕ ศ๓๒๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๒ พืน้ ฐาน ๐.๕ ๑ ๘ ๘

ม.๖ ศ๓๓๑๐๑ นาฏศิลป์ ๒ พนื้ ฐาน ๐.๕ ๑ ๘ ๘

รวมจานวนคาบเรยี นทง้ั หมด ๒๔

๓๓

โครงสร้างหลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั นครปฐม
(พระตาหนักสวนกหุ ลาบมธั ยม)
*********************************

กลุม่ รายวชิ าพน้ื ฐาน

มธั ยมศกึ ษาช้นั ปีท่ี ๔ ชอื่ วิชา ระดับชั้น หน่วยกิต จานวนชวั่ โมง
ท่ี รหสั วิชา ศลิ ปะ (ดนตรี ๑) ม.๔ ๐.๕ ๒๐
ศิลปะ (ดนตรี ๒) ม.๔ ๐.๕ ๒๐
ภาคเรยี นท่ี ๑ ศ๓๑๑๐๑
ภาคเรยี นที่ ๒ ศ๓๑๑๐๒

มัธยมศกึ ษาชัน้ ปที ่ี ๕ ชื่อวชิ า ระดับชนั้ หน่วยกิต จานวนชวั่ โมง
ท่ี รหสั วิชา ศลิ ปะ (ทัศนศิลป์ ๑) ม.๕ ๐.๕ ๒๐

ภาคเรยี นท่ี ๑ ศ๓๒๑๐๑ ศลิ ปะ (ทัศนศิลป์ ๒) ม.๕ ๐.๕ ๒๐

ภาคเรยี นท่ี ๒ ศ๓๒๑๐๒

มธั ยมศกึ ษาชั้นปที ี่ ๖ ช่อื วิชา ระดบั ชน้ั หน่วยกติ จานวนชั่วโมง
ท่ี รหัสวชิ า ศลิ ปะ (นาฏศลิ ป์ ๑) ม.๖ ๐.๕ ๒๐

ภาคเรียนที่ ๑ ศ๓๓๑๐๑ ศลิ ปะ (นาฏศิลป์ ๒) ม.๖ ๐.๕ ๒๐

ภาคเรียนท่ี ๒ ศ๓๓๑๐๒

หมายเหตุ (ไม่มรี ายวิชาเพิม่ เตมิ )

๓๔

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั ศ ๓๑๑๐๑ วชิ าศิลปะ (ดนตรี) กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ

ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น ๑ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกติ

ศึกษาเปรยี บเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแต่ละประเภท จาแนกประเภทและรูปแบบของ
วงดนตรีทัง้ ไทยและสากล อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรมสร้างสรรค์งานดนตรแี ตกตา่ งกัน อ่าน เขียน โน้ต
ดนตรีไทยและสากลในอัตราจังหวะต่าง ๆ วิเคราะห์รูปแบบของดนตรีไทยและดนตรีสากลในยุคสมัยต่าง ๆ
วเิ คราะหส์ ถานะทางสังคมของ นกั ดนตรใี นวฒั นธรรมต่าง ๆ

โดยใช้กระบวนการ วิเคราะห์รูปแบบของบทเพลง และวงดนตรีแต่ละประเภท ท้ังวงดนตรีไทยและ
สากล เหตผุ ลที่คนตา่ งวฒั นธรรมสร้างสรรคง์ านดนตรีที่แตกต่างกนั

เพื่อให้ผู้เรียน มีทักษะในการอ่าน เขียน โน้ต ดนตรีไทยและสากล ในลักษณะ รู้วิธีการบรรเลงของวง
ดนตรีแต่ละประเภทแต่ละวัฒนธรรม และสามารถนาไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวันโดยอยู่บนวิถีท่ีพอเพียงได้

รหัสตวั ช้ีวัด
(ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๑), (ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๒), (ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๓), (ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๔)
(ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๑), (ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๒)

สรปุ รวมตัวชวี้ ดั ทั้งหมด ๖ ตวั ช้ีวดั

๓๕

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั ศ ๓๑๑๐๒ วิชาศลิ ปะ (ดนตร)ี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรียน ๑ ชัว่ โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษารอ้ งเพลง หรือเล่นดนตรีเดย่ี วและรวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออก และคณุ ภาพของการแสดง
สร้างเกณฑ์สาหรับประเมินคุณภาพการประพันธ์และการเลน่ ดนตรีของตนเองและผูอ้ ่ืนได้อยา่ งเหมาะสมตามวี
ถีพอเพียง เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึกที่ได้รับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมต่างกัน นาดนตรีไป
ประยุกต์ใช้ในงานอน่ื ๆเปรียบเทียบลกั ษณะเดน่ ของดนตรใี นวัฒนธรรมตา่ งๆ อธบิ ายบทบาทของดนตรีในการ
สะท้อนแนวความคิดและค่านิยม ท่ีเปล่ียนไปของคนในสังคม นาเสนอแนวทางในการส่งเสริมและอนุรักษ์
ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

โดยใช้กระบวนการ ฝึกฝนการร้องและการบรรเลงเพลง ทงั้ ดนตรีไทยและสากล เพ่ือฝึกให้นกั เรียนมี
ความกล้าแสดงออกและสามารถวเิ คราะห์งานดนตรที ่มี าจากวฒั นธรรมท่ีตา่ งกัน รวมท้ังลกั ษณะเด่นของดนตรี
ในวัฒนธรรมน้ันๆ

เพ่ือให้ผู้เรียน มที กั ษะในการร้องและบรรเลงเพลง มีความกลา้ แสดงออก สามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ น
งานอ่ืนๆ สะท้อนแนวทางการส่งเสริมและอนรุ ักษด์ นตรีในฐานะมรดกของชาติ

รหสั ตวั ชี้วดั
(ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๕), (ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๖), (ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๗), (ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๘)
(ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๓), (ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๔), (ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๕)

สรปุ รวมตัวชี้วัดทง้ั หมด ๕ ตัวชี้วัด

๓๖

คาอธิบายรายวชิ า

รหัส ศ ๓๒๑๐๑ วชิ าศลิ ปะ (ทัศนศลิ ป)์ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๕ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น ๑ ช่ัวโมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาวิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุ และ หลักการออกแบบในการส่ือความหมายในรูปแบบต่าง ๆ
บรรยายจดุ ประสงค์และเน้ือหาของงานทัศนศิลป์ โดยใช้ศัพทท์ างทัศนศลิ ป์ วเิ คราะหก์ ารเลือกใช้วัสดอุ ุปกรณ์
และเทคนิคของศิลปินในการแสดงออกทางทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุอุปกรณ์ และ
กระบวนการท่ีสูงข้ึน ในการสร้างงานทัศนศิลป์ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่าง ๆ โดยเน้นหลักการ
ออกแบบและการจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์

ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะกับโอกาสและสถานท่ี โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์และ
อธิบายจุดมุ่งหมาย ของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเน้ือหา เพื่อสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
วิเคราะห์ และเปรียบเทยี บงานทัศนศิลปใ์ นรปู แบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวนั ตก

โดยใช้กระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ สร้างความสัมพันธ์ทางบวกตลอดจนตระหนักในการ
ทางานร่วมกัน

เพื่อให้ผู้เรียนได้ร่วมมือและช่วยเหลือกัน จัดการเรียนรู้โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถต่างกัน
ออกเป็นกลุม่ เล็กๆ มีโครงสร้างทชี่ ัดเจน ทางานรว่ มกันแลกเปลย่ี นความคิดเห็น ช่วยเหลอื กัน รับผดิ ชบรว่ มกัน
เพอื่ เปา้ หมาย

รหสั ตัวชี้วัด

(ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑), (ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๒), (ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๓), (ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๔), (ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๕),
(ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๖), (ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๗), (ศ๑.๒ ม.๔-๖/๑)

สรปุ รวมตัวช้วี ดั ทง้ั หมด ๖ ตวั ชี้วัด

๓๗

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั ศ ๓๒๑๐๒ วิชาศิลปะ (ทัศนศิลป)์ กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ

ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน ๑ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ จัดกลุ่มงานทัศนศิลป์เพื่อ
สะท้อนพัฒนาการและความก้าวหน้าของตนเอง สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากล ตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยศกึ ษาจากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปนิ ทต่ี นชน่ื ชอบ วาดภาพ ระบายสเี ป็นภาพลอ้ เลียน
หรือภาพการ์ตนู เพอ่ื แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพสังคมในปัจจุบัน ระบุงานทัศนศิลป์ของศิลปินท่ีมีชื่อเสียง
และบรรยายผลตอบรับของสังคม อภิปรายเก่ียวกับอิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศท่ีมีผลต่อ งาน
ทัศนศลิ ป์ในสังคม

โดยใช้กระบวนการแบบสาธิต โดยการปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่าง พร้อมกับการบอกอธิบายให้ผู้เรียนได้
เกิดการเรียนรู้

เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการสังเกตการณ์ ปฏิบัติตามขั้นตอนของการสาธิต สร้างผลงานที่มี
เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตัวเอง

รหัสตวั ช้ีวัด
(ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๘), (ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๙) , (ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑๐), (ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑๑)
(ศ๑.๒ ม.๔-๖/๒), (ศ๑.๒ ม.๔-๖/๓)

สรปุ รวมตัวชี้วดั ท้ังหมด ๕ ตัวชี้วัด

๓๘

คาอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ
จานวน ๐.๕ หนว่ ยกิต
รหัส ศ ๓๓๑๐๑ วชิ าศิลปะ (นาฏศิลป)์
ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น ๑ ชว่ั โมง

ศึกษามีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ช่ืนชอบ ใช้ความคิด
ริเร่ิมในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ และหมู่ วิจารณ์การแสดงตามหลักนาฏศิลป์ และการละคร วิเคราะห์แก่น
ของการแสดงนาฏศิลปแ์ ละการละครที่ต้องการสือ่ ความหมาย ในการแสดง เปรียบเทียบการนาการแสดงไปใช้
ในโอกาสต่าง ๆ อภิปรายบทบาทของบุคคลสาคัญ ในวงการนาฏศิลป์และการละครของประเทศไทยในยุคสมัย
ตา่ งๆ ทีบ่ ่งบอกถึงวิถีชวี ิตท่ีพอเพียง

โดยใช้กระบวนการ การทางานเป็นทีม ช่วยกันแสดงความคิดเห็นในการสร้างสรรค์ผลงาน ให้มี
คุณภาพ เพ่ือเปา้ หมายเดยี วกัน โดยแสดงออกผา่ นตวั แทนที่จะเป็นผสู้ ่ือสาร

เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนเพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนมีความกล้าแสดงออกรวมถงึ การยอมรับในความคดิ เห็นของผ้อู ื่น ช่วยเหลือ
กัน รบั ผดิ ชอบรว่ มกนั เพ่ือเป้าหมาย

รหัสตัวช้ีวดั
(ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๑), (ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๒), (ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๓),(ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๔),(ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๕)
(ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๑), (ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๒)

สรุปรวมตัวช้ีวดั ท้ังหมด ๖ ตวั ชี้วัด

๓๙

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัส ศ ๓๓๑๐๒ วิชาศลิ ปะ (นาฏศิลป)์ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น ๑ ช่วั โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกติ

ศึกษาวิเคราะห์บรรยาย และวิเคราะห์ อิทธิพลของ เครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ์ และ
สถานท่ี โดยยึดหลกั วิถีพอเพยี ง ท่ีมีผลตอ่ การแสดง ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผ้คู นในชีวติ ประจาวันและ
นามาประยุกต์ใช้ในการแสดง พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการประเมินการแสดง บรรยายวิวัฒนาการ
ของนาฏศลิ ป์และการละครไทย ตงั้ แตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จุบันนาเสนอแนวคดิ ในการอนุรักษ์ นาฏศลิ ปไ์ ทย

โดยใช้กระบวนการแบ่งกลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถท่ีต่างกัน ออกเป็นกลุ่มเล็กๆ ช่วยกันเพื่อศึกษา
เนอ้ื หาในรายวิชาอย่างละเอียด ตลอดจนการทางานกลุ่มกนั เปน็ ทมี

เพ่ือให้ผู้เรียนตระหนักถึงเรื่องที่ต้องศึกษาและช่วยสืบสานและอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย รวมถึงมีแนว
ทางการวิเคราะห์ทีห่ ลากหลาย

รหสั ตวั ชี้วัด
(ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๖), (ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๗) , (ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๘)
(ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๓), (ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๔)

สรุปรวมตัวชวี้ ัดทง้ั หมด ๕ ตวั ช้ีวดั

๔๐

ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้
๑. วทิ ยาลยั นาฏศิลป์
๒. วิทยาลยั ดรุ ยิ างคศลิ ป์ มหาวิทยาลยั มหิดล
๓. หม่บู า้ นโขน เดอะศาลายา
๔. กาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั ชา่ งทองหลวง (ศาลายา)
๕. พพิ ธิ ภณั ฑ์ศิลปะโบราณช่างสิบหมู่
๖. สถาบันกนั ตนา




Click to View FlipBook Version