The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือวิทย์ป.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teas_sky, 2022-04-26 08:12:17

หนังสือวิทย์ป.3

หนังสือวิทย์ป.3

สื่อการเรวีิยทนยราู้รศาายสวิตชรา์ พื้นฐาน



วัชตีวถิตุแปลระะวัจสำดวุัในน

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
ตเกรรู้ีาวลยุิม่ทมนมยสรูาา้าแตศรละาระกสฐตาตาัรวนรชเ์ีกแร้ีวยาัลดรนะ
เทคโนโลยี

นางสาวกัญญาณัฐ ฝาชัยภูมิ
นักศึกษาปริญญาโท คณะศึกษาศาสตร์

ม ห า วิ ท ย า ลั ย ข อ น แ ก่ น

สารบัญ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วัตถุและวัสดุในชีวิตประจำวัน 7
ทบทวนความรู้เดิมก่อนเรียน 7
บทที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัตถุและวัสดุ 9
9
เรื่องที่ 1 การแยก และการประกอบวัตถุ 10
กิจกรรมที่ 1.1 วัตถุชิ้นใหม่จากวัสดุเดิม 12
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ 12
เรื่องที่ 2.1 การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ 13
กิจกรรมที่ 2.1 การเปลี่ยนแปลงโดยทำให้ร้อนขึ้น หรือเย็นลง

คำ นำ

หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของ รายวิชา การออกแบบ และการพัฒนาหนังสือเรียน
วิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้จัดทำได้จัดทำ
หนังสือ เรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง
วัตถุและวัสดุในชีวิตประจำวัน ขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่มีจุดเน้นเพื่อต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มี ความรู้ความสามารถที่ทัดเทียม
กับนานาชาติ ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ ใช้กระบวนการ สืบ
เสาะหาความรู้และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ผู้
เรียนได้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ โดยภายใน
หนังสือประกอบด้วย ผังมโนทัศน์ ตัวชี้วัด ตารางแสดงความสอดคล้องระหว่างเนื้อหา และ
กิจกรรมในหนังสือเรียนกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ในการจัดทำหนังสือรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์เล่มนี้ ได้รับความอนุเคราะห์ให้คำชี้แนะอย่างดียิ่งจากคณาจารย์ประจำวิชาทุก
ท่าน จึงขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี้ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ ครูและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่จะช่วยให้การจัดการ
ศึกษาด้านวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลหากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทําให้หนังสือ
เล่มนี้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น โปรดแจ้งให้ทราบด้วย จะขอบพระคุณยิ่ง

กัญญาณัฐ ฝาชัยภูมิ

คำ อ ธิ บ า ย
ก า ร ใ ช้ ห นั ง สื อ

หนังสือเล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นหนังสือประกอบการเรียน รายวิชา วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง วัตถุและวัสดุในชีวิตประจำวัน
นักเรียนจะได้ฝึกทักษะจากการทำกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งการสังเกต การสํารวจ การทดลอง การ
สืบคนข้อมูล การอภิปราย การทำงานร่วมกัน ซึ่งเป็นการฝึกให้นักเรียนช่างสังเกต รู้จักตั้งคําถาม
รู้จักคิดหาเหตุผล เพื่อตอบปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ทั้งนี้โดยมีเป้าหมายเพื่อใหันักเรียนได้
เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากที่สุด ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้ครูจึงเป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริม
และสนับสนุนนักเรียนให้รู้จักสืบเสาะหาความรู้จากสื่อ และแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ และเพิ่มเติม
ข้อมูลที่ถูกต้องแก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีทักษะจากการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง

คำ อ ธิ บ า ย
การใช้
ห นั ง สื อ

การใชงานสื่อ QR Code QR Code เปนรหัสหรือภาษาที่ตองใชโปรแกรมอานหรือ
สแกนขอมูลออกมา ซึ่งตองใชงานผานโทรศัพทเคลื่อนที่หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้ง
กลองไว แลวอาน QR Code ผานโปรแกรมตาง ๆ เชน LINE (สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่)
Code Two QR Code Reader (สําหรับคอมพิวเตอร) Camera (สําหรับ ผลิตภัณฑของ
Apple Inc.)
ขั้นตอนการใชงาน ***
1. เปดโปรแกรมสําหรับอาน QR Code
2. เลื่อนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เชน โทรศัพทเคลื่อนที่แท็บเล็ต เพื่อสองรูป QR Code
ไดทั้งรูป
3. เปดไฟลหรือลิงกที่ขึ้นมาหลังจากโปรแกรมไดอาน QR Code **หมายเหตุ อุปกรณที่
ใชอาน QR Code ตองเปด Internet ไวเพื่อดึงขอมูล

ผั ง ม โ น ทั ศ น์
(Concept

map)

เรื่ อง วัตถุและวัสดุใน
ชี วิ ต ป ร ะ จำ วั น

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3

การประกอบ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
วัตถุชิ้ นใหม่ ข อ ง วั ส ดุ
จากชิ้ นส่วนย่อย

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

ตั ว ชี้ วั ด ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ แ ก น ก ล า ง

ว.2.1 ป.3/1 อธิบายว่าวัตถุ • วัตถุอาจทำจากชิ้นส่วนย่อย ๆ ซึ่ง
ประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนย่อย ๆ ซึ่ง แต่ละชิ้น มีลักษณะเหมือนกันมา
ส า ม า ร ถ แ ย ก อ อ ก จ า ก กั น ไ ด้ แ ล ะ ประกอบเข้าด้วยกัน เมื่อแยกชิ้นส่วน
ประกอบกัน เป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้ ย่อย ๆ แต่ละชิ้นของวัตถุออกจากกัน
โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ ส า ม า ร ถ นำ ชิ้ น ส่ ว น เ ห ล่ า นั้ น ม า ป ร ะ ก อ บ
เป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้ เช่น กำแพงบ้านมี
ว.2.1 ป.3/2 อธิบายการ ก้อนอิฐหลาย ๆ ก้อนประกอบเข้าด้วย
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง วั ส ดุ เ มื่ อ ทำ ใ ห้ กัน และสามารถนำก้อนอิฐจากกำแพง
ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง โดยใช้ บ้ า น ม า ป ร ะ ก อ บ เ ป็ น พื้ น ท า ง เ ดิ น ไ ด้
ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ • เมื่อให้ความร้อนหรือทำให้วัสดุร้อน
ขึ้ น แ ล ะ เ มื่ อ ล ด ค ว า ม ร้ อ น ห รื อ ทำ ใ ห้ วั ส ดุ
เย็นลง วัสดุจะเกิดการเปลี่ยนแปลงได้
เช่น สีเปลี่ยน รูปร่างเปลี่ยน

ตารางแสดงความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาและ
กิจกรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3

หน่วยการ ชื่อกิจกรรม เวลา ตัวชี้วัด
เรียนรู้ (ชั่วโมง)

วัตถุและ ทบทวนความรู้ ว.2.1 ป.3/1 อธิบายว่าวัตถุ
วัสดุใน บทที่ 1 การประกอบวัตถุชิ้นใหม่ 1 ประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนย่อย ๆ
ชีวิต จากชิ้นส่วนย่อย
ซึ่งสามารถแยกออกจากกันได้
ประจำวัน -เรื่องที่ 1.1 การแยก และการประกอบวัตถุ 1 และประกอบกัน เป็นวัตถุชิ้น
-กิจกรรมที่ 1.1 วัตถุชิ้นใหม่จากวัสดุเดิม 2 ใหม่ได้โดยใช้หลักฐานเชิง

-ตอบคำถามท้ายบทที่1 1 ประจักษ์







บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

-เรื่องที่ 2.1 ให้รอนขึ้น ทำให้เย็นลง
ว.2.1 ป.3/2 อธิบายการ

-กิจกรรมที่ 2.1 ความรอนและความเย็น มีผล 1 เปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ
ตอ วัสดุอยางไร 2 ทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง
-ตอบคำถามท้ายบทที่2 1 โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์




แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้ายหน่วย 1



รวมจํานวนชั่วโมง 10

ภาพรวมการจัดการเรียนรูประจําหนวยที่ 3
วั ต ถุ แ ล ะ วั ส ดุ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จำ วั น

บท เรื่อง กิจกรรม แนวคิดต่อเนื่อง ตัวชี้วัด

บทที่ 1 การ ทบทวน กิจกรรมที่ 1 วัตถุอาจทําจาก ชิ้น ว 2.1 ป.3/1 อธิบายวัตถุ
ประกอบวัตถุ ควมรู้เดิม ทําวัตถุ ชิ้น สวน ยอ ย ๆ มา ประกอบขึ้น จาก ชิ้น
ชิ้นใหม่จาก ใหมจ ากวัตถุ ประกอบ กันเมื่อ สว นยอ ย ๆ ซึ่ง สามารถ
ชิ้นส่วนย่อย เรื่องที่ 1 ชิ้น เดิมได้ แยกชิ้นสวนแตล ะ แยกออกจากกันได และ
การแยก อย่างไร ชิ้นของ วัตถุนั้นออก ประกอบกันเปน วัตถุ
และการ จากกัน สามารถ นํา ชิ้นใหมไ ด โดยใชหลัก
ประกอบ ชิ้นสว นเหลานั้นมา ฐาน เชิงประจักษ
วัตถุ ประกอบ เปน วัตถุ
ชิ้นใหมได

บทที่ 2 การ เรื่องที่ 2 กิจกรรมที่ 2 เมื่อทําใหว ัสดุรอน ว 2.1 ป.3/2 อธิบายการ
เปลี่ยนแปลง ทำให้รอน ความรอ น ขึ้นหรือ ทําใหเย็นลง เปลี่ยนแปลง ของวัสดุ
ของวัสดุ ขึ้น ทำให้ และความ วัสดุจะเกิด การ เมื่อทําใหร อ นขึ้น หรือ
เย็นลง เย็น มีผลตอ เปลี่ยนแปลงลักษณะ ทําใหเ ย็นลง โดยใช
วัสดุอยางไร หรือสมบัติ หลักฐานเชิงประจักษ์

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 3

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
วัตถุและวัสดุในชีวิตประจำวัน

ท บ ท ว น ค ว า ม รู้

วัสดุที่ใช้ทำวัตถุที่เป็นของเล่น ของใช้มีหลายชนิด
เช่น ผ้า แก้ว พลาสติก ยาง ไม้อิฐ หิน กระดาษ โลหะ

วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติที่สังเกตได้ต่าง ๆ เช่น สี นุ่ม แข็ง
ขรุขระ เรียบ ใส ขุ่น ยืดหดได้ บิดงอได้

• สมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุแต่ละชนิดอาจเหมือนกัน
ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม วัสดุได้

• วัสดุบางอย่างสามารถนำมาประกอบกัน เพื่อ ทำเป็น
วัตถุต่าง ๆ เช่น ผ้าและกระดุม ใช้ทำเสื้อ ไม้และโลหะ ใช้
ทำกระทะ
ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบวัตถุ ที่ทำจากวัสดุประเภทผ้า

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 2

วั ต ถุ แ ล ะ วั ส ดุ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จำ วั น

วัตถุ คือ สิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น โต๊ะ-เก้าอี้ เสื้อผ้า
หม้อ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

วัสดุ คือ สิ่งที่นำมาใช้ทำวัตถุต่าง ๆ เช่น ไม้ โลหะ ยาง ผ้า
พลาสติก เป็นต้น

วัสดุ : ไม้ วัตถุ : เก้าอี้ไม้
วัตถุ : กระดาษ

วัสดุ : ยาง วัตถุ : ถุงมือยาง
วัตถุ : ยางรถยนต์

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 3

บทที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัตถุและวัสดุ

1. การแยก และการประกอบวัตถุ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้
1. ยกตัวอย่างวัตถุที่ประกอบ
วัตถุรอบตัวเรามีมากมายหลายอย่าง บาง จากชิ้นส่วนย่อย ๆ ได้
ชนิดทำมาจากวัสดุชนิดเดียว เช่น กระดาษ 2. อธิบายการเปลี่ยนแปลง
กล่อง แก้วน้ำ ยางลบ เป็นต้น แต่บางอย่าง ข อ ง วั ต ถุ เ มื่ อ มี ก า ร แ ย ก อ อ ก
ประกอบมาจากวัสดุหลายชนิด เช่น หมอน แ ล ะ ป ร ะ ก อ บ ขึ้ น ใ ห ม่
มี วั ส ดุ ที่ เ ป็ น ส่ ว น ย่ อ ย ที่ ส า ม า ร ถ แ ย ก อ อ ก จ า ก

กันได้ เช่น ผ้า ใยสังเคราะห์หรือนุ่น ด้าย

คำ ถ า ม ช ว น คิ ด

เราสามารถนำชิ้นส่วนย่อยของวัตถุมาประกอบเป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้หรือไม่ ?

กิจกรรมลองทำดู หนูทำได้ นักเรียนสังเกตภาพ แล้วตอบคำถาม

วัตถุชิ้นนี้ คือ ....................... วัตถุชิ้นนี้ คือ .......................
ป ร ะ ก อ บ ขึ้ น จ า ก ชิ้ น ส่ ว น ใ ด บ้ า ง ป ร ะ ก อ บ ขึ้ น จ า ก ชิ้ น ส่ ว น ใ ด บ้ า ง
....................................... .......................................
........................................ ........................................

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 4

กิจกรรมที่ 1.1 วัตถุชิ้นใหม่จากวัสดุชิ้นเดิม (1)

จุดประสงค์การเรียนรู้

แยกส่วนประกอบของวัตถุออกจากกันและประกอบขึ้นเป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้

วัสดุอุปกรณ์

1. ตัวต่อ lego

วิธีทำ

1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน แล้วเลือกชิ้นส่วน Lego จำนวน 10 ชิ้น
2. ให้นักเรียนช่วยกันต่อชิ้นส่วน Lego ให้เป็นรูปทรง 1 อย่าง จากนั้นสังเกต แล้ววาด
ภาพบันทึกผล
3. ให้นักเรียนใช้ชิ้นส่วน Lego เดิม ต่อให้เป็นรูปทรงอื่น ๆ จากนั้นสังเกต เปรียบเทียบ
ลักษณะ แล้วบันทึกผล
4. ร่วมกันอภิปรายว่า ถ้านำชิ้นส่วนทั้งหมด มาต่อเป็นวัตถุรูปทรงใหม่ จะสามารถประกอบ
เป็นวัตถุ รูปร่างอะไรได้บ้าง แล้วบันทึกรูปทรงวัตถุที่ต่อจากชิ้นส่วนทั้งหมดโดยการวาดรูป
5. ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบลักษณะการวางชิ้นส่วน ของวัตถุชิ้นเดิมในข้อ 1 กับวัตถุชิ้น
ใหม่ และนำเสนอขั้นตอน การนำชิ้นส่วนทั้งหมดจากวัตถุชิ้นเดิมมาต่อเป็นวัตถุชิ้นใหม่

บันทึกผล ออกแบบตัวต่อเป็นรูปทรงต่าง ๆ

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 5

กิจกรรมที่ 1.1 วัตถุชิ้นใหม่จากวัสดุเดิม (2)

สรุปผล

จากการทำกิจกรรม พบว่า เมื่อแยกชิ้นส่วนตัวต่อออกเป็นส่วนย่อย ๆ แล้วสามารถนำมา
ต่อเป็น.................................................................................................ได้หลายแบบ
ได้แก่.......................................................................................................................

สรุปกิจกรรม

จากกิจกรรมนี้ สรุปได้ว่า เราสามารถแยกชิ้นส่วนที่ประกอบเป็นวัตถุชิ้นเดิมออกจากกัน
ได้วัตถุนั้นอาจทำมาจากชิ้นส่วนย่อย ๆ หลายส่วนประกอบกันซึ่งอาจมีลักษณะเหมือนกัน
หรือแตกต่างกันก็ได้ หากนำชิ้นส่วนย่อยต่าง ๆ ที่แยกมาประกอบเป็นวัตถุชิ้นใหม่ที่มีรูปร่าง
ลักษณะ หรือขนาดที่แตกต่างกันได้มากกว่า 1 รูปแบบ

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 6

ตัวอย่าง วัสดุชิ้นใหม่ที่ประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนย่อย หลายๆชิ้น



สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 7

บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ยกตัวอย่างวัตถุที่เปลี่ยนแปลงเมื่อร้อนขึ้น หรือเย็นลง
2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัตถุเมื่อเมื่อร้อนขึ้น หรือเย็นลง

1. การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

เมื่อเราสังเกตไข่ดาวที่คุณแม่ทำให้ทานในตอนเช้า
พบว่าคุณแม่นำไข่ไก่สดไปทอดในน้ำมันร้อนๆ ทำให้ไข่ไก่
สุก เปลี่ยนสีและมีกลิ่นหอมน่ารับประทาน

เช่นเดียวกับการปิ้งขนมปัง เมื่อให้
ความร้อนขนมปังจะมีสีที่เข้มขึ้น

ตอนเย็นคุณแม่ทำวุ้นมะพร้าว เมื่อทำเสร็จคุณแม่
นำไปแช่ในตู้เย็นให้เซตตัวก่อนที่จะนำมาให้รับ
ประทาน

คำถามชวนคิด นักเรียนคิดว่าเพราะอะไร วัสดุจึงเกิด
การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้ เช่น สี กลิ่น

รสชาติ รูปร่าง ผิวสัมผัส เป็นต้น

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 8

กิจกรรมลองทำดู หนูทำได้

ดูภาพแล้วตอบคำถามต่อไปนี้
สิ่งของในภาพ คือ ...........................................
การกระทำที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
O ทำให้ร้อนขึ้น O ทำให้เย็นลง
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร.................................
........................................................................
สิ่งของในภาพ คือ ...........................................
การกระทำที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
O ทำให้ร้อนขึ้น O ทำให้เย็นลง
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร.................................
........................................................................
สิ่งของในภาพ คือ ...........................................
การกระทำที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
O ทำให้ร้อนขึ้น O ทำให้เย็นลง
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร.................................
........................................................................

กิจกรรมที่ 2 ความรอนและความเย็น มีผลตอวัสดุอยางไร

วัสดุอุปกรณ์ จุดประสงค์การเรียนรู้

1. กะทิอร่อยดี 500 มล. สังเกต และอธิบายการเปลี่ยนแปลง
2. น้ำตาลทราย 100 กรัม ของวัสดุเมื่อทําให้ร้อนขึ้น หรือเย็นลง
3. เกลือ 1/2 ช้อนชา
4. แป้งข้าวโพด 3 ช้อนโต๊ะ
5. กลิ่นวนิลา 1 ช้อนชา

วิธีทำ

ครูและนักเรียนร่วมกันทำไอศกรีมกะทิ โดยมีขั้นตอนดังนี้

1. นำแป้งข้าวโพดมาละลายผสมกับกะทิบางส่วน ใช้ตะกร้อตีแป้ง ตีจนแป้งข้าวโพด
ละลายเป็นเนื้อเดียวกัน
2. ตั้งหม้อใช้ไฟกลาง ใส่กะทิ เกลือ น้ำตาลทราย กลิ่นวนิลา เคียวด้วยไฟกลางจนส่วน
ผสมทั้งหมดเริ่มหนืดตัว
3. ปรับเป็นใช้ไฟอ่อน ใส่แป้งข้าวโพดที่ได้ละลายไว้แล้วในข้อ 1 คนจนส่วนผสม
ทั้งหมดเริ่มเดือดเล็กน้อยปิดไฟ ทิ้งไว้ให้เย็น
4.เทใส่กล่องหรือภาชนะอื่น ปิดฝา นำไปแช่ตู้เย็น(ฟรีซ) ประมาณ 3-4 ชั่วโมง
5. บันทึกผลในตาราง

กิจกรรมที่ 2 ความรอนและความเย็น มีผลตอวัสดุอยางไร (2)

ตารางบันทึกผลการทำกิจกรรม

ขั้นตอน วิธีทำ การกระทำ การเปลี่ยนแปลง

2 ตั้งหม้อใช้ไฟกลาง ใส่ ..................................


กะทิ เกลือ น้ำตาลทราย O ทำให้ร้อนขึ้น ..................................

กลิ่นวนิลา เคียวด้วยไฟ O ทำให้เย็นลง .................................

กลางจนส่วนผสมทั้งหมด .................................


เริ่มหนืดตัว ..................................

3 ปรับเป็นใช้ไฟอ่อน ใส่ O ทำให้ร้อนขึ้น ..................................

แป้งข้าวโพดที่ได้ละลาย O ทำให้เย็นลง ..................................

ไว้แล้วในข้อ 1 คนจน .................................

ส่วนผสมทั้งหมดเริ่มเดือด .................................

เล็กน้อยปิดไฟ ทิ้งไว้ให้ ..................................

เย็น

4 เทใส่กล่องหรือภาชนะอื่น ..................................


ปิดฝา นำไปแช่ตู้ O ทำให้ร้อนขึ้น ..................................

เย็น(ฟรีซ) ประมาณ 3-4 O ทำให้เย็นลง .................................

ชั่วโมง .................................


..................................

กิจกรรมที่ 1.1 วัตถุชิ้นใหม่จากวัสดุเดิม (2)

สรุปผล

จากการทำกิจกรรม พบว่า เมื่อให้ความร้อน วัสดุจะมีการเปลี่ยนแปลง ได้แก่
...............................................................................................................................และ
เมื่อให้ความเย็นวัสดุจะมีการเปลี่ยนแปลง ได้แก่.............................................................
.....................................................................................................................................

สรุปกิจกรรม

จากกิจกรรมนี้ สรุปได้ว่า วัสดุจะเกิดการเปลี่ยนแปลง เมื่อทำให้ร้อนขึ้น หรือเย็นลง ซึ่ง
การเปลี่ยนแปลงวัสดุอาจทำให้สมบัติของวัสดุเปลี่ยนแปลงไปด้วย ได้แก่

การให้ความร้อน คือ กระบวนการเพิ่มความร้อนให้แก่วัสดุ เพิ่มให้วัสดุมีอุณหภูมิ
สูงขึ้น เช่น ต้มน้ำ เผาขยะ ตากแดด เป็นต้น

การให้ความเย็น คือ กระบวนการกำจัดความร้อนออกจากวัสดุ เพื่อให้วัสดุมี
อุณหภูมิลดลง เช่น การนำไปแช่แข็ง การตั้งไว้ให้เย็น เป็นต้น

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 6

ตัวอย่าง วัสดุชิ้นใหม่ที่ประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนย่อย หลายๆชิ้น



ตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำให้ร้อนขึ้น หรือเย็นลง
1. การทำให้ร้อนขึ้น

ทำอาหาร

2. การทำให้เย็นลง ตากผ้า เครื่องปั้นดินเผา




วุ้น น้ำแข็ง ไอศกรีม

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 7

บรรณานุกรม

เกรียงไกร ภูสอดสี. (2565). วัสดุและสมบัติวัสดุ, ค้นเมื่อวันที่ 15
กุมภาพันธ์ 2565 ,จาก https://shorturl.asia/xLIsy

สุดารัตน์ ศรีแก้ว และ ชนาธิป แดงฉ่ำ. (2565). วัตถุชิ้นใหม่จากวัตถุชิ้น
เดิม. ค้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565, จาก
https://dltv.ac.th/teachplan/episode/37408

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2564). คู่มือครู
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม
๒. โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด.

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. กระทรวง
ศึกษาธิการ. (2561). ตัวชี้วัดและสาระการเรียน รูแกนกลาง กลุมสาระการ
เรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตร
แหงประเทศไทย จํากัด.สปริงกรีนอีโวลูชั่น. (2565).ไอศกรีมกะทิ สูตร
โบราณ. ค้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565, จาก
https://shorturl.asia/NYAJQ

อักษรเจริญทัศน์ อจท. (2564). ชุดแม่บทมาตราฐานวิทยาศาสตร์ ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: อักษร


Click to View FlipBook Version