The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jame_nutthanun, 2022-04-30 02:19:15

the evolution of-6

the evolution of-6

PROUND PRESENT BY JAMES

คำนำ

สารบัญ

1

ชุมชนสวนหลวง

ประวัติความเป็นมา

ใน พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี
และใน พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครอง
ใหม่ด้วย ตำบลสวนหลวงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงสวนหลวง เป็นพื้นที่การปกครองของ
สำนักงานเขตพระโขนง
ในวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครจึงได้ตั้งสำนักงานเขตพระโขนง สาขา 3
(สวนหลวง) ดูแลพื้นที่แขวงสวนหลวง และในวันที่ 9 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน กระทรวงมหาดไทยได้
แบ่งพื้นที่ทางทิศตะวันออกของเขตพระโขนงตั้งเป็นเขตประเวศ แบ่งออกเป็น 4 แขวงซึ่งรวมแขวง
สวนหลวงไว้ด้วย เนื่องจากยังไม่เหมาะสมที่จะยกฐานะขึ้นเป็นเขตใหม่ จึงให้คงฐานะเป็นสำนักงานเขต
สาขาไว้ก่อน สำนักงานเขตพระโขนง สาขา 3 จึงเปลี่ยนชื่อเป็นสำนักงานเขตประเวศ สาขาสวนหลวง
จนกระทั่งในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2536 กระทรวงมหาดไทยจึงประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตการ
ปกครองใหม่ โดยรวมพื้นที่แขวงสวนหลวง บางส่วนของแขวงประเวศ เขตประเวศ และบางส่วนของ
แขวงคลองตัน บางส่วนของแขวงพระโขนง เขตคลองเตย มาจัดตั้งเป็น เขตสวนหลวง เพื่อประโยชน์
แก่การปกครอง การให้บริการของรัฐ และความสะดวกของประชาชน และในวันที่ 21 ตุลาคม ปี
เดียวกัน กรุงเทพมหานครก็ได้ประกาศตั้งแขวงสวนหลวงเต็มพื้นที่เขต โดยประกาศทั้ง 2 ฉบับเริ่มมี
ผลบังคับใช้ในวันเดียวกันคือวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2537

ที่ตั้งชุมชน

เขตสวนหลวงตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางใต้ของฝั่ งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียง
ตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตห้วยขวาง เขตบางกะปิ และเขตสะพานสูง
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตประเวศ มีคลองบึงบ้านม้า ลำรางข้างหมู่บ้านเอื้อสุข และคลองหนองบอน
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตประเวศและเขตพระโขนง มีคลองตาสาด (คลองคู้) คลองเคล็ด ซอยวชิรธรรมสาธิต
57 แยก 36 (ยาจิตร์) ซอยวชิรธรรมสาธิต 57 (สามพี่น้อง) ซอยวชิรธรรมสาธิต 57 แยก 41
(พัฒนพล)
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตวัฒนา มีคลองบางนางจีน คลองพระโขนง และคลองตันเป็นเส้นแบ่งเขต

2

ชุมชนสวนหลวง

จำนวนประชากร

เขตสวนหลวงมีประชากรตามหลักฐานทางทะเบียนราษฎร จํานวน ๑๒๓,๔๘๗ คน
-มีที่พักอาศัยประเภทต่าง ๆ จํานวน ๘๐,๔๐๕ หลังคาเรือน

-เขตสวนหลวงเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา วัฒนธรรม และประเพณี มา
ตั้งแต่อดีตแล้วค่อยขยายตัวออกไปสู่บริเวณอื่ นมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปตามกระแส
เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอย่างต่อเนื่องตลอดมา

-ในปัจจุบันเขตสวนหลวง จึงมีทั้งเค้าโครงความเจริญ ในอดีตและสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตาม
กระแสของความเปลี่ยนแปลง วัด หรือสถานประกอบพิธีทางศาสนาอื่น ๆ เช่น มัสยิด สุเหร่า
และศาลเจ้า เป็นต้น รวมทั้งสถานศึกษาจํานวนมาก ผสมผสานกับที่อยู่อาศัยซึ่งได้ถูก
ดัดแปลงหรือเปลี่ยนแปลงเป็นอาคารพาณิชย์ สถานประกอบการ ทั้งด้านอุตสาหกรรมและ
พาณิชยกรรมที่อยู่อาศัยแบบบ้านมีบริเวณของผู้มีฐานะเดิม

-บางบริเวณที่มีกิจกรรมการค้าขยายไปไม่ถึงหรือเจ้าของดูแลไม่ทั่วถึงก็จะกลายเป็นย่านที่อยู่
อาศัยของผู้มีรายได้น้อย หรือชุมชนแออัด

-ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจของโลกปัจจุบัน ได้ดูดกลืนสังคมวัฒนธรรมและประเพณีชาว
กรุงรัตนโกสินทร์ให้กลายเป็นแบบสมัยใหม่อย่างสิ้นเชิง ลักษณะทางสังคมวัฒนธรรม
ประเพณี เป็นสังคมแบบพหุวัฒนธรรม ประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ และศาสนา
อิสลาม

3

โครงสร้างชุมชน

ผู้อำนวยการเขตสวนหลวง

ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ
เขตสวนหลวง เขตสวนหลวง

หัวหน้าหน่วยรักษาความ หัวหน้าฝ่ายการคลัง หัวหน้าฝ่ายการศึกษา
สะอาด และสวนสาธารณะ

หัวหน้าฝ่ายปกครอง หัวหน้าฝ่ายโยธา หัวหน้าฝ่ายสิ่งแวดล้อม

หัวหน้าฝ่ายรายได้ หัวหน้าฝ่ายชุมชน
หัวหน้าฝ่ายทะเบียน และสวัสดิการสังคม

หัวหน้าฝ่ายเทศกิจ

ปฏิทินชุมชน 4

มกราคม จัดงานทำบุญขึ้นปีใหม่ชุมชน

กุมภาพันธ์ จัดงานทำบุญวันมาฆบูชา

มีนาคม ไม่มีการจัดกิจกรรม

เมษายน จัดงานทำบุญสรงน้ำพระ
ในวันสงกรานต์

ปฏิทินชุมชน 5

พฤษภาคม จัดงานพิธีแรกนาขวัญ

มิถุนายน จัดงานทำบุญวันวิสาขบูชา

กรกฎาคม จัดงานทำบุญวันอาสาฬหบูชา

สิงหาคม ไม่มีการจัดกิจกรรม

ปฏิทินชุมชน 6

กันยายน ไม่มีการจัดกิจกรรม

ตุลาคม จัดงานทำบุญทอดกฐินชุมชน

พฤศจิกายน จัดงานกิจกรรมประเพณี
ธันวาคม วันลอยกระทง

จัดงานส่งท้ายปีเก่า
ต้อนรับปีใหม่

7

แผนที่ชุมชน

8

แผนที่ชุมชน

9

ต้นทุนทางสังคม

ความสัมพันธ์อันดีงามของคนในชุมชน
การได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ
ในชุมชน
ทุนทางด้านวัตถุดิบต่างๆในการสร้าง
ผลิตภัณฑ์

10

แผนที่ทรัพยากรและวัฒนธรรม

SWOT

แนวทางการส่งเสริมธุรกิจในชุมชน

Strength การใช้ตนทุนที่น้อย
สามารถนำไปสร้างกำไรได้

Weakness ราคาที่อาจสูงกว่าแบรนด์อื่ นๆ

Opportunity มีรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่เข้าใจ
ความต่างระหว่างวัย
ได้มากกว่า

Threat ความใหม่ของแบรนด์ ที่
อาจทำให้ลูกค้ายัง
ไม่รู้ข้อมูล และเชื่อใจ

ผลิตภัณฑ์ของเรามากพอ

วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย

การทำผลิตภัณฑ์ ผักตบชวา ภายใต้ชื่อ



"Hyacinth Bag"
"Future Accessories on your hand"



คือการเข้าไปมีส่วนร่วมพัฒนา
ผลิตภัณฑ์กับกลุ่มผลิตภัณฑ์ผักตบชวา
เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร เพื่อช่วยให้
กระเป๋าผักตบชวาแบบดั้งเดิมมีการพัฒนาต่อย
อดเพื่อให้เท่าทันยุคสมัย และเป็นที่รู้จักในกลุ่มวัย
รุ่นยุคใหม่มากขึ้น เพื่อให้เกิดการบอกต่อ ถึง
ข้อดีของผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะทำให้ผู้คนในชุมชนเขต
สวนหลวงทุกเพศ ทุกวัย สามารถสร้างรายได้
จากการนำวัตถุดิบในชุมชนมาต่อยอด เพื่อออก
ขายสู่ท้องตลาดได้กว้างขวางมากขึ้น

ประวัติ
กระเป๋าผักตวา Hyacinth Bag

หั ต ถ ก ร ร ม เ ค รื่ อ ง จั ก ส า น เ ป็ น ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ข อ ง ชุ ม ช น ที่
สำ คั ญ อ ย่ า ง ยิ่ ง ต่ อ ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต ตั้ ง แ ต่ ส มั ย อ ยุ ธ ย า จ น ถึ ง ปั จ จุ บั น
หั ต ถ ก ร ร ม เ ค รื่ อ ง จั ก ส า น เ ป็ น ตั ว อ ย่ า ง ห นึ่ ง ที่ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง
ภู มิ ปั ญ ญ า อั น เ ฉ ลี ย ว ฉ ล า ด ข อ ง ค น ไ ท ย ใ น ท้ อ ง ถิ่ น ที่ ใ ช้ ภู มิ ปั ญ ญ า
ส า ม า ร ถ นำ สิ่ ง ที่ มี อ ยู่ ใ น ชุ ม ช น ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ทำ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ เ ค รื่ อ ง ใ ช้
ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จำ วั น ไ ด้ ซึ่ ง มี ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต

จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า หั ต ถ ก ร ร ม เ ค รื่ อ ง จั ก ส า น มี ม า น า น แ ล้ ว แ ล ะ ไ ด้ มี
ก า ร พั ฒ น า ม า ต ล อ ด เ ว ล า โ ด ย อ า ศั ย ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ จ า ก ค น รุ่ น
ห นึ่ ง ไ ป สู่ ค น อี ก รุ่ น ห นึ่ ง ก า ร ดำ ร ง ชี วิ ต ป ร ะ จำ วั น ข อ ง ช า ว บ้ า น ส่ ว น
ใ ห ญ่ ไ ม่ ไ ด้ เ อ า ค ว า ม รู้ จ า ก ห นั ง สื อ ม า เ กี่ ย ว ข้ อ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ต่ า ง ๆ
อ า ศั ย วิ ธี ก า ร ฝึ ก หั ด แ ล ะ บ อ ก เ ล่ า ซึ่ ง ไ ม่ เ ป็ น ร ะ บ บ ใ น ก า ร บั น ทึ ก ส ะ ท้ อ น
ใ ห้ เ ห็ น ก า ร เ รี ย น รู้ ค ว า ม รู้ ที่ ส ะ ส ม ที่ สื บ ท อ ด กั น ม า จ า ก อ ดี ต ม า ถึ ง
ปั จ จุ บั น ห รื อ ที่ เ รี ย ก กั น ว่ า ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ดั ง นั้ น ก ร ะ บ ว น ถ่ า ย ท อ ด
ค ว า ม รู้ จึ ง มี ค ว า ม สำ คั ญ อ ย่ า ง ยิ่ ง ที่ ทำ ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น นั้ น ค ง อ ยู่ ต่ อ
เ นื่ อ ง แ ล ะ ยั่ ง ยื น

หั ต ถ ก ร ร ม เ ค รื่ อ ง จั ก ส า น ผั ก ต บ ช ว า จ า ก ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น มี
รู ป แ บ บ ล ว ด ล า ย จ ะ ไ ด้ รั บ ค ว า ม ส น ใ จ ย อ ม รั บ ข อ ง ค น ทั่ ว ไ ป ทั้ ง ใ น แ ล ะ
ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ก า ร ส า น ล า ย ที่ บ ร ร พ บุ รุ ษ ไ ด้ คิ ด ค้ น ไ ว้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ค รื่ อ ง จั ก ร ส า น ที่ มี ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ท น ท า น ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี

การผลิตสินค้า

อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต

1. ก้านผักตบชวา
2. สีย้อม ใช้ย้อมก้านหรือเส้นผักตบชวาที่เลือกแล้ว ก่อนที่จะนำมาจักสาน
เพื่อให้เกิดความสวยงาม
3. น้ำมันวานิช ( แลกเกอร์) ใช้ทาเคลือบผิวผลิตภัณฑ์ที่จักสานเสร็จแล้ว
เพื่อป้องกันเชื้อรา รักษารูปทรง และเพิ่มความเงางาม โดยหาซื้อจากร้าน
ค้าในหมู่บ้านหรือตลาดในเมืองแลกเกอร์
4. เตาอบกำมะถัน ใช้สำหรับอบเส้นผักตบชวา และผลิตภัณฑ์ผักตบชวาที่
จักสานเสร็จเรียบร้อยแล้ว เพื่อฆ่าเชื้อราและป้องกันไม่ให้เกิดเชื้อรา ก่อนที่
นำไปทาเคลือบผิวด้วยน้ำมันวานิช
5. ผ้าพื้นเมือง ผ้าฝ้าย หรือผ้าใยกัญชง ใช้สำหรับบุภายในกระเป๋า ตะกร้า
หรือผลิตภัณฑ์ผักตบชวาอื่น ๆ เพื่อให้ดูสวยงามและน่าใช้สอย
6. ไม้ไผ่ หรือหวาย ใช้สำหรับประกอบและตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้สวยงาม
โดยท้องถิ่นประยุกต์ใช้ไม้ไผ่มากกว่าหวายซึ่งมีราคาแพงกว่า เพื่อลดต้นทุน
การผลิต
7. เข็มขนาดใหญ่และสายเอ็นร้อย/ ด้ายสำหรับสอย ใช้สอยผ้าที่บุตะกร้า
กระเป๋า หรือผลิตภัณฑ์อื่น ๆ สอยกระดุม ซิป หูกระเป๋า เป็นต้น
8. กรรไกร ใช้ตัดผ้า ด้าย และเอ็นสอย หรือตัดตกแต่งเส้นผักตบชวาให้ได้
ขนาดและเหมาะแก่การจักสาน
9. วัสดุประกอบ เช่น ซิป สายหนัง เป็นต้น
10. แปรงทาสี ใช้สำหรับชุบน้ำมันวาณิชทาเคลือบผิวนอกของผลิตภัณฑ์
11. แบบพิมพ์ เมื่อกลุ่มมีการคิดออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ขึ้นมา หรือ
ลูกค้าสั่งซื้อ โดยกำหนดรูปแบบที่แตกต่างจากเดิม

ขั้นตอนการผลิต

1. ตัดผักตบชวา กลุ่มจะมีวิธีการได้มาทั้งจากการหาได้เองจากแหล่งน้ำ
ธรรมชาติ
2. นำผักตบชวามาตากแดดให้แห้ง ใช้เวลาประมาณ 3 – 5 วัน หรือจนกว่า
จะแห้งสนิท
3. เมื่อแห้งแล้ว จึงนำมาอบกำมะถัน อบนาน 1 วัน เพื่อให้คงสีสวยงาม
เหนียวนุ่ม และป้องกันเชื้อรา
4. นำผักตบชวาที่อบกำมะถันมาผึ่งให้แห้ง แล้วนำมาคัดเลือกเส้นเพื่อจัด
สาน
5. นำก้านผักตกชวามาตัดเป็นเส้น เพื่อให้ได้ขนาดตามที่ต้องการ หรือหาก
ต้องการสีต้องนำก้านผักตบชวามาย้อมสี
6. นำมาถักตามแบบที่ต้องการ นำต้นผักตบชวาที่ตากแห้งและย้อมสีแล้วมา
ชุบน้ำก่อนจะเริ่มจักสานตามแบบพิมพ์ ลวดลายที่จักสานมีหลายลาย เช่น
ลายเปีย ซึ่งเป็นลายที่ใช้ในผลิตภัณฑ์เกือบทุกรูปแบบ
7. นำมาเคลือบเงา หรือทาวานิช
8. นำมาบุผ้า หลังจากจักสานเรียบร้อยแล้ว จึงนำมาบุภายในด้วยผ้า ใส่ซิป
ใส่หูกระเป๋า และทาเคลือบผิวนอกด้วยน้ำมันวาณิช แล้วผึ่งแดดให้แห้ง
ประมาณครึ่งวัน ก่อนจะนำมาเก็บไว้ในโรงเรือนเพื่อเตรียมบรรจุลงถุง หรือ
กล่องส่งให้ลูกค้า

จุดเด่นผลิตภัณฑ์ คุณสมบัติ
และ การดูแลรักษา

เอกลักษณ์/จุดเด่นผลิตภัณฑ์

1. เป็นวัสดุจากธรรมชาติและมีอยู่ในท้องถิ่น
2. รูปแบบทันสมัย ทั้งที่เป็นงานหัตถกรรม ประดิษฐ์โดยฝีมือ
ชาวบ้าน
3. มีการนำเอาภูมิปัญญาดังเดิมมาปรับปรุงให้เข้ากับยุคสมัย
ทำให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
4. ฝีมือประณีต สีและลวดลายทันสมัย

คุณสมบัติ

เมื่อบีบพับจนยู่ยี่แล้วก็สามารถกลับคืนรูปเดิมได้ ไม่แตกและมี
ความยืดหยุ่นสูง ไม่มีกลิ่นอับ คงทน หากนำมาสานเป็นเสื่อจะมี
คุณลักษณะเฉพาะคือไม่ดูดฝุ่นอีกด้วย

การดูแลรักษา

ควรเก็บผลิตภัณฑ์กระจูดในที่แห้ง ไม่ควรเก็บในที่ชื้นและเปียก
ชื้น เพราะจะทำให้เกิดเชื้อรา และใช้งานไม่ได้นาน แต่หากหลีก
เลียงไม่ได้ ควรนำออกตากแดดให้แห้งสนิท ก็จะสามารถใช้งาน
ได้เหมือนเดิม

Product
กระเป๋าผักตวา Hyacinth Bag

Product
กระเป๋าผักตวา Hyacinth Bag

การออกแบบผลิตภัณฑ์
กระเป๋าผักตวา Hyacinth Bag

การออกแบบ LOGO

Hyacinth Bag 1.ออกแบบ Logo ให้มีความ ทันสมัย แต่ก็ยัง
คงความย้อนยุคไปด้วยเช่นกัน
Future accessories on your hand 2.ออกแบบตัวหนังสือ ให้มีคสามทันสมัย และ
ดูพรีเมียม
3.ใช้วงกลมสีทองล้อมรอบตัวหนัง ทำให้เกิด
ความสวยงาม และสีกลมกลืน

1.เพิ่ม Background
2.ทำสี Backgrounfให้มีสีที่ตัดกับตัว
หนังสือ
และเพิ่มความพรีเมียม ให้กับผลิตภัณฑ์
3.ด้วยสีที่ตัดกับสีของผลิตภัณฑ์ สามารถนำ
ไปแปะบนผลิตภัณฑ์ได้อย่างสวยงาม
มากกว่า Logo แบบเแรก

การออกแบบผลิตภัณฑ์
กระเป๋าผักตวา Hyacinth Bag

การออกแบบ Font และ Slogan

Font Slogan

Font : Gistesy '"Future accessories on your hand"

- เ ป็ น ก า ร ผ ส ม ผ ส า น ค ว า ม เ ป็ น พื้ น บ้ า น
ดั้ ง เ ดิ ม กั บ ค ว า ม ทั น ยุ ค ส มั ย ใ น โ ล ก
ปั จ จุ บั น จึ ง ใ ช้ คำ ว่ า " F U T U R E "
- ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ่ ง ข อ ง เ ค รื่ อ ง ใ ช้ แ ล ะ เ ป็ น
เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ดั บ ไ ด้ ด้ ว ย เ ช่ น กั น จึ ง ใ ช้ คำ ว่ า
"ACCESSORIES"
- เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ต้ อ ง พ ก พ า ง า น ถื อ ไ ด้
ด้ ว ย มื อ เ ดี ย ว จึ ง ใ ช้ คำ ว่ า " O N Y O U R
HAND"

การออกแบบผลิตภัณฑ์
กระเป๋าผักตวา Hyacinth Bag

การออกแบบสี Logo

#0d2821 color description : Very dark
(mostly black) cyan - lime green.

#bd6513 color description : Strong orange.
#ffd871 color description : Very light orange.

#ffffff color description : White.

Business Model Canvas

1.Customer Segment

กลุ่มวัยรุ่นไทย
กลุ่มคนวัยกลางคน ไปจนถึงวัยสูงอายุ

2.Key Partners

กลุ่มผลิตภัณฑ์ผักตบชวา

3.Key Resources

ความรู้ และเทคนิคในการสร้างผลิตภัณฑ์ และการ
ทำการตลาด

Business Model Canvas

4.Value Propositions

สามารถตอบโจทย์ Pain Point ลูกค้าในเรื่องของ ความไม่ทัน
สมัยของกระเป๋า ผักตบชวา
มีความโดดเด่นในเรื่องของ รูปลักษณ์กระเป๋า ที่ทันสมัย และยัง
คงความดั้งเดิมไว้ในผลิตภัณฑ์

5.Customer Relationship

มีการประชาสัมพันธ์ เล่นกิจกรรมแจกของรางวัลเป็นระยะกับทาง
ลูกค้าผ่าน แพล็ตฟอร์ม ออนไลน์
เน้นการบริการลูกค้า ที่จะตอบแชทลูกค้าให้ไวที่สุด เพื่อสร้างความ
ประทับใจอย่างสม่ำเสมอกับลูกค้า

6.Channels

Instagram : Bag_Hyacinth

Business Model Canvas

7.Key Activities

มีการทำกิจกรรมส่งเสริมการขายต่างๆ เช่น การโพสต์เพิ่อโปรโมท
ผลิตภัณฑ์อยู่เสมอ และโพสต์เพื่อทำความรู้จักลูกค้า

8.Cost Structure

ค่าการผลิต
ค่าแรงงานการผลิต
ค่าโปรโมทผลิตภัณฑ์ทางช่องทางออนไลน์ต่างๆ

9.Revenue Streams

รายได้จากการขายทางช่องทางออนไลน์
รายได้จากส่วนเกินของค่าขนส่งสินค้าที่เรียกเก็บ

การออกแบบผลิตภัณฑ์
กระเป๋าผักตวา Hyacinth Bag

บรรจุภัณฑ์ กระเป๋าผักตบชวา
Hyacinth Bag

การออกแบบผลิตภัณฑ์
กระเป๋าผักตวา Hyacinth Bag

ช่องทางการติดต่อ

การออกแบบผลิตภัณฑ์
กระเป๋าผักตวา Hyacinth Bag

ช่องทางการติดต่อ

แผนการตลาด 4P

Product

จุดขาย : เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้การผสมผสานความ
ดั้งเดิมของรูปลักษณ์กระเป๋าผักตบชวา ร่วมกับ
ความทันสมัย ที่เหมาะกับความต้องการของตลาด
กลุ่มผู้สูงอายุ และวัยรุ่น ซึ่งแตกต่างจากกระเป๋าผัก
ตบชวาทั่วไป ที่มุ่งเน้นการขายสำหรับวัยสูงอายุ
เพียงอย่างเดียว เพราะฉะนั้น การผสมผสานนี้ จะ
ทำให้ตลาดของแบรนด์นี้กว้างขวางมากขึ้น

แผนการตลาด 4P

Price

ราคา : ในปกติราคาของกระเป๋าผักตบชวาของร้านค้า
ทั่วไปอยู่ที่ ราคาจะอยู่ในช่วง "300-700 บาท" ซึ่ง
แบรนด์ "Hyacinth Bag" ของเราที่จะทำร่วมกับกลุ่ม
ผลิตภัณฑ์ผักตบชวา ชุมชนเขตสวนหลวง จะเน้นความ
หรูหรา ควบคู่ไปกับความรักธรรมชาติ ที่ต้องเข้าถึงมือผู้
บริโภคให้ได้มากที่สุด จึงจะตั้งราคาที่ไม่แพงจนเกินไป จะ
เน้นต้นทุนจากชุมชนเขตสวนหลวง ที่ผลิตมาเป็นหลัก
และจะปันส่วนกำไรให้เหมาสมมากที่สุด ซึ่งราคาจะอยู่ใน
ช่วง 699-899 บาท

แผนการตลาด 4P

Place

สถานที่จัดจำหน่าย : ในปัจจุบันจะจำหน่ายในรูปแบบของออนไลน์
เป็นหลัก เพราะเป็นแพล็ตฟอร์มที่คนทุกเพศทุกวัยใช้ในปัจจุบัน
และแทบจะเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของใครหลายๆคนไปแล้ว แบรนด์
ของเราจึงมองโอกาสตรงนี้ ควบคู่ไปกับความใหม่ของแบรนด์ที่
ยังไม่มีความแพร่หลายของวิธีที่ผสมผสานรูปลักษณ์ของกระเป๋า
ที่มีความดั้งเดิม และทันสมัยควบคู่กันไปเช่นนี้ ซึ่งความเป็นเจ้า
แรกๆย่อมทำให้ผู้คนสนใจ และโลกโซเชียลที่สามารถบอกต่อกัน
ได้อย่างรวดเร็วและเป็นวงกว้าง ก็จะยิ่งทำให้แบรนด์ของเราสา
มาถสร้างชื่อ และเป็นที่รู้จักได้อย่างรวดเร็ว และถ้ากระแสตอบรับ
ดี ในอนาคตก็อาจจะทำหน้าร้าน

แผนการตลาด 4P

Promotion

โปรโมชั่น : แบรนด์ของเราจะมีการกระตุ้นลูกค้า ผ่าน 3 ข้อต่อไปนี้
1.การทำโฆษณา คือ จะมีการซื้อการโฆษณาผ่านทางสื่อโซเชียลมี
เดียต่างๆอย่างสม่ำเสมอเพื่อกระตุ้นยอดขาย ซึ่งการโฆษณาจะ
ผันแปรไปตามรายได้ที่เข้ามาของแบรนด์
2.การจัดโปรโมชั่นส่งเสริมการขาย คือ จะมีการ
3.การประชาสัมพันธ์ลูกค้า คือ จะคอยประชาสัมพันธ์และพูดคุยกับ
ลูกค้า ผ่านทางสื่อโซเชียลมีเดียของแบรนด์อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้
ลูกค้ารู้ว่าแบรนด์ของเรา อยู่กับลูกค้าเสมอ

บรรณานุกรม

ปกหลัง

Hyacinth Bag

Future accessories on your hand


Click to View FlipBook Version