The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

PLASTICS FORESIGHT : PLASTICS AND RUBBER CREATIVE COMBINATION 10

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Plastics Foresight, 2021-05-30 22:42:23

PLASTICS FORESIGHT : PLASTICS AND RUBBER CREATIVE COMBINATION 10

PLASTICS FORESIGHT : PLASTICS AND RUBBER CREATIVE COMBINATION 10

VOLUME 10-02 / NOVEMBER -DECEMBER 2013 Plastics and
CRreuativbe bCoembrin.a.ti.on
Plastics
Foresight Contents
Team
08 สอุตถาสนากหการรณรม์ทพ่วั ลไปาแสลตะิกแนไทวยโน มของ
Honorary Advisor
12 สภาวะอตุ สาหกรรมยางธรรมชาติ
Mr. Witoon Simachokedee และผลิตภัณฑย์ าง
22 พลาสติกและยาง...การผสมผสาน
Editor In Chief อยา่ งสรา้ งสรรค์

Mr. Kriengsak Wongpromrat 38 SPECIAL INTERVIEW
ประธานกลมุ่ อตุ สาหกรรมยาง
Editorial Advisory
44 PLASTICS NEWS
Mr. Kongsak Dokbua 50 INVESTMENT ANALYSIS
IN PLASTICS SECTOR
Editorial Staff 56 PITH Activities
58 Statistics
Ms. Unya Pongtongkul
Mr. Sataporn Spanuchart
Mr. Siripong Narudeesombat

Art Director

Mr. Sataporn Spanuchart

Marketing & Sale

Ms. Sineenat Louchintong
Ms. Jiraporn Pisitsak

Coordinator

Mr. Siripong Narudeesombat
Mr. Piyawat Phinyochaithawon

PLASTICS INSTITUTE OF THAILAND
MIDI Building, 86/6 Soi Treemit,
Rama 4 Road, Klongtoey,
Bangkok 10110
Tel : (66) 2391 5340-3
Fax : (66) 2712 3341

PUBLISHER
Buffet Famous Co.,Ltd.



Editorial

พลาสติก ยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห์ต่างเป็นวัสดุที่มี Plastics, natural rubber, and synthetic rubber are materials
สมบตั เิ ฉพาะแตกต่างกนั โดยในปจั จบุ นั เป็นวัสดุสำ�คญั ในการนำ�มา with different specific properties. Nowadays, they are important
ใชง้ านอยา่ งแพรห่ ลาย โดยเฉพาะการเปน็ วสั ดสุ นบั สนนุ อตุ สาหกรรม as they are widely used, especially as supporting materials for
การผลิตสำ�คัญต่างๆ อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรม major manufacturing industries such as automotive industry,
เครอ่ื งมอื แพทย์ หรอื อตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ ง เปน็ ตน้ โดยวสั ดดุ งั กลา่ ว medical device industry, or construction industry etc. They
สามารถช่วยสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับการผลิตและสร้างเม็ดเงินให้กับ increase value added and are a great income earner for the
ประเทศไดอ้ ย่างมหาศาล country.
ในแต่ละวัสดุน้ันต่างก็มีจุดเด่นแตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น Each material has different strengths. Plastics is easy to
พลาสติกมีจุดเด่นท่ีสำ�คัญ คือ สามารถนำ�มาขึ้นรูปได้ง่ายและ form and recyclable. Rubber is flexible and shock resistant.
สามารถนำ�กลับมาผลติ ใชซ้ �้ำ ใหม่ ยางมีจุดเด่นท่ีสำ�คญั คือ ความ However, each has limitations. Thanks to the advanced material
สามารถในการยืดหยุ่นและทนทานต่อแรงกระแทกต่างๆ แต่ใน science, different materials are mixed to become a new material
แต่ละวัสดุต่างก็มีข้อจำ�กัดในการใช้งาน ทั้งน้ี ด้วยความก้าวหน้า with the distinguished features of the two former materials and
เชงิ วสั ดศุ าสตร์จงึ ได้มกี ารนำ�วัสดตุ า่ งชนดิ มาผสมเขา้ ดว้ ยกัน กอ่ ให้ able to efficiently meet specific requirements. The material
เกิดเป็นวัสดุชนิดใหม่ที่มีจุดเด่นของท้ังสองวัสดุและสามารถตอบ made from the combination of plastics and rubber is Thermo-
สนองต่อความต้องการเฉพาะได้เป็นอย่างดี สำ�หรับวัสดุท่ีเกิดจาก plastics Elastomer (TPE). It attracts a lot of interest at present
การรวมของพลาสติกและยาง คือ เทอร์โมพลาสติกอีลาสโทเมอร์ in various industries such as automotive part industry which
(Thermoplastics Elastomer : TPE) ที่ในปัจจบุ ันไดร้ บั ความสนใจ needs a strong and flexible material or medical device industry
อยา่ งมากในอตุ สาหกรรมตา่ งๆ อาทิ ชนิ้ สว่ นยานยนต์ ทต่ี อ้ งการวสั ดุ which needs a clean, safe, and irritation free material.
ท่มี คี วามแข็งแรงและยดื หยนุ่ หรืออปุ กรณ์การแพทย์ที่ตอ้ งการวสั ดุ From the interesting theme mentioned above, the Plastics
ทส่ี ะอาด ปราศจากการระคายเคืองและปลอดภัย Foresight team has selected interesting topics, information on
จากประเด็นที่น่าสนใจดังที่กล่าวไปในข้างต้นนั้น ทางทีมงาน rubber and synthetic rubber industries, as well as the mixed
วารสาร Plastics Foresight จึงคัดสรรประเด็นเนื้อหาสาระที่ material of TPE for the readers. As for the special interview, we
น่าสนใจ รวมถึงข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ในอุตสาหกรรมยางและ are honored to have Mr. Boonharn Ou-Udomying, President,
ยางสังเคราะห์ตลอดจนวัสดุลูกผสมอย่าง TPE มานำ�เสนอแด่ Rubber-Based Industry Club, Federation of Thai Industries,
คุณผู้อ่านท้ังหลาย สำ�หรับคอลัมน์บทสัมภาษณ์พิเศษในฉบับน้ี who shares with us the in-depth and interesting information,
เราไดร้ บั เกยี รตจิ ากคณุ บญุ หาญ ออู่ ดุ มยง่ิ ประธานกลมุ่ อตุ สาหกรรม knowledge, views, and suggestions on rubber and synthetic
ผลติ ภณั ฑย์ าง สภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย มาเปน็ ผใู้ หข้ อ้ มลู rubber industries.
ความรู้ ข้อแนะนำ�ที่น่าสนใจในอุตสาหกรรมยางและยางสังเคราะห์ Finally, we greatly hope that the interesting topics in this
อย่างเจาะลึกครบถว้ น issue will open new dimensions on the rubber and synthetic
สดุ ทา้ ยน้ี ทมี งานฯ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ เนอื้ หาสาระตา่ งๆ ภายใน rubber industries, as well as the relationship between plastics
เล่มนี้ จะช่วยเปิดมุมมองใหม่ๆ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมยางและ and rubber to the benefit of the readers. As this is the last issue
ยางสังเคราะห์ รวมไปถงึ ความสมั พนั ธก์ ันระหว่างพลาสตกิ และยาง of the year 2013, we would like to take this opportunity to wish
ท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อคุณผู้อ่านได้เป็นอย่างดี และเน่ืองในโอกาสท่ี our dear readers health, happiness, and prosperity all through
เปน็ ฉบบั สง่ ทา้ ยปี 2556 ขอใหอ้ าราธนาคุณพระศรีรตั นไตร โปรด the New Year 2014.
ดลบนั ดาลใหค้ ุณผู้อ่านมแี ตค่ วามสุข ความเจริญ ปราศจากโรคภยั
ตลอดปี 2557 Mr. Kriengsak Wongpromrat
Executive Director, Editor-in-Chief

Plastics Institute of Thailand



Analysis

สอตุ ถสาานหกกรารรมณพล์แาลสะตแิกนไวทโยน้ม

เรียบเรยี งโดย นายศตพร สภานชุ าต
นักวิเคราะห์ สถาบนั พลาสติก

ทิศทางของอุตสาหกรรมพลาสตกิ และภาพรวมทางการค้า

เดอื นกนั ยายน 2556 ดชั นผี ลผลติ อตุ สาหกรรมในกลมุ่ ผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ (ISIC :
2520) อยทู่ ่ีระดบั 157.78 จุด ปรบั ตวั เพ่มิ ขึ้นจากเดือนสงิ หาคม 8 จุด และหาก
เปรยี บเทยี บกบั เดอื นกนั ยายนปี2555 พบวา่ ดชั นผี ลผลติ ฯ อยใู่ นระดบั ทส่ี งู กวา่ เลก็ นอ้ ย
ทง้ั นี้ เมอื่ พจิ ารณาภาพรวมของทศิ ทางการขนึ้ ลงของดชั นผี ลผลติ ฯ ในปี2556 เหน็ ได้
ชดั เจนวา่ มที ศิ ทางการปรบั ตวั เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ งตง้ั แตช่ ว่ งไตรมาสท่ี2 เปน็ ตน้ มา
เน่ืองจากในช่วงไตรมาสที่ 2 เปน็ ช่วงทีภ่ าคการผลิตกลับเขา้ สู่สภาวะปกติ และช่วง
ไตรมาสท่ี 3 เป็นช่วงที่ผู้ผลิตเรง่ การผลติ สนิ คา้ ออกสูต่ ลาด เพ่ือรองรับความตอ้ งการ
ของผู้บริโภคที่จะเพ่ิมสูงขึ้นในช่วงปลายปี จากสาเหตุดังกล่าว จึงเป็นแรงเสริมให้
ระดบั การผลติ ของอตุ สาหกรรมพลาสตกิ เตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในชว่ งไตรมาสท่ี2 และ3
อยา่ งไรกต็ าม เมอ่ื เขา้ สชู่ ว่ งไตรมาสที่4 คาดวา่ ภาพรวมการผลติ ของอตุ สาหกรรม
พลาสติก มีแนวโน้มลดลงเปน็ ลำ�ดบั เน่ืองจากผผู้ ลติ เริ่มผ่อนคลายการผลติ หลงั จาก
ทดี่ �ำ เนนิ การเรง่ สตอ๊ กสนิ คา้ เพอ่ื รองรบั ความตอ้ งการของภาคครวั เรอื นในชว่ งปลายปี
ไปแล้วในไตรมาสที่ 3 และยังต่อเนื่องถึงช่วงวันหยุดยาวปลายปี ท่ีแรงงานในภาค
การผลิตเดินทางกลับภูมิลำ�เนา เป็นเหตุให้คาดการณ์การผลิตในช่วงปลายปีมี
แนวโน้มปรับลดลงอยา่ งต่อเนอื่ ง

8

Analysis

ดชั นีผลผลติ ดชั นีผลผลติ และอตั ราการใชก้ ำ�ลังการผลติ ผลติ ภณั ฑ์พลาสติก (ISIC : 2520)

อัตราการใชก้ �ำ ลงั การผลิต (%)

ที่มา: ศูนยส์ ารสนเทศเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, พฤศจกิ ายน 2556

ภาพรวมด้านการค้า
ภาพรวมสถานการณ์การค้าผลิตภัณฑ์พลาสติกในช่วงไตรมาส การสง่ ออก : เดอื นกันยายน 2556
ท่ี 3 ด้านการน�ำ เขา้ ผลิตภณั ฑ์พลาสตกิ มมี ลู ค่าการนำ�เขา้ 29,859 ณ เดือนกันยายน ปี 2556 ประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออก
ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 8.79 เม่ือเทียบกับไตรมาสท่ีผ่านมา ผลิตภัณฑ์พลาสติก 9,433 ล้านบาท หดตัวจากเดือนสิงหาคม
อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาเปรียบเทียบกับปี 2555 ในช่วงเวลา ร้อยละ 2.4 โดยผลิตภัณฑ์พลาสติกในกลุ่มบรรจุภัณฑ์ (3923)
เดียวกัน ประเทศไทยมีระดับการนำ�เข้าผลิตภัณฑ์พลาสติกลดลง มมี ูลค่าการสง่ ออกสงู สดุ ที่ 2,912 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 30.87
จากปีที่แล้วรอ้ ยละ 4.58 ทางดา้ นภาพรวมการส่งออก ประเทศไทย ของมูลคา่ รวม ในเดือนกนั ยายน รองลงมาคือผลิตภัณฑ์พลาสติก
มีมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติก 28,346 ล้านบาทขยายตัว ประเภทฟลิ ์ม (3920) ทีม่ มี ลู คา่ ส่งออก 2,422 ล้านบาท คดิ เป็น
เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ8.56 เมอื่ เทยี บกบั ไตรมาสทผ่ี า่ นมาและขยายตวั เพมิ่ ร้อยละ 25.67 ของมลู ค่ารวม ในเดอื นกนั ยายน ทง้ั นี้ จากมูลค่า
ขนึ้ รอ้ ยละ 4.47 เมือ่ เปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2555 การส่งออกรวม ประเทศไทยส่งออกผลิตภณั ฑพ์ ลาสติกไปประเทศ
ญี่ป่นุ สหรัฐอเมรกิ า และออสเตรเลยี สูงสดุ 3 ลำ�ดบั แรก
โดยภาพรวมถึงแม้ว่าการค้าผลิตภัณฑ์พลาสติกของไทย
ยงั คงขาดดลุ มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตงั้ แตต่ น้ ปี 2556 แตห่ ากเปรยี บเทยี บ แนวโน้มอตุ สาหกรรมพลาสติก
กับปี 2555 พบวา่ ประเทศไทยมที ศิ ทางการคา้ ท่ดี ีข้ึน มกี ารขาดดลุ จากการคาดการณร์ ะดบั การผลติ ของอตุ สาหกรรมพลาสตกิ ทจ่ี ะ
การค้าที่ลดลง ลดต�ำ่ ลงประมาณรอ้ ยละ 5 - 5.5 ในช่วงไตรมาสท่ี 4 นั้น ยงั คงมี

การนำ�เขา้ : เดือนกนั ยายน 2556 ปัจจัยอื่นๆ ท้ังภายในและภายนอกประเทศที่น่าจะส่งผลกระทบให้
ระดับการผลิตในภาคอุตสาหกรรมพลาสติกลงลงอีกเล็กน้อย อาทิ
ณ เดือนกันยายน ปี 2556 ประเทศไทยมีมูลค่าการนำ�เข้า การหดตัวของสินค้าส่งออกท่ีสอดคล้องกับนโยบายส่งเสริมการ
ผลิตภัณฑ์พลาสติก 9,778 ล้านบาท ขยายตัวจากเดือนสิงหาคม บริโภคผลติ ภัณฑ์ภายในประเทศของประเทศจนี หรอื ระดับอุปสงค์
ร้อยละ 0.35 โดยผลติ ภณั ฑ์พลาสตกิ ในกลุ่มอืน่ ๆ (3926) มีมูลค่า สินค้าในตลาดโลกท่ียังทรงตัว ตลอดจนความไม่ม่ันคงทางการ
การน�ำ เขา้ สงู สดุ ท่ี4,028 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ41.19 ของมลู คา่ รวม เมืองภายในประเทศที่ส่งผลกระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ในเดือนกันยายน รองลงมาคือผลิตภัณฑ์พลาสติกประเภทฟิล์ม ของประเทศที่ชะลอตัวลง รวมถึงระดับความเช่ือมั่นของนักลงทุน
(3920) ท่ีมีมูลค่านำ�เข้า 1,497 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 15.3 ต่างชาตทิ ่ีลดลงดว้ ยเชน่ กัน
ของมูลค่ารวม ในเดือนกันยายน ทั้งนี้ จากมูลค่าการนำ�เข้ารวม
ประเทศไทยนำ�เข้าผลิตภัณฑ์พลาสติกจากประเทศญ่ีปุ่น จีน และ
มาเลเซยี สงู สุด 3 ลำ�ดบั แรก

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 9

Analysis IPOnladusutltsoictorsyk

10 Edited by Mr. Sataporn Spanuchart
Analyst, Plastics Institute of Thailand

Direction of the Plastics Industry
and Trade Overview

In September 2013, the Manufacturing Production Index of
Plastic Products (ISIC: 2520) was at 157.78 point, up 8 point
from August. When compared with September 2012, the MPI
was slightly higher. In considering the overall direction of MPI
in 2013, it is obvious that the direction continues to go up since
the second quarter. In the second quarter, the manufacturing
sector returned to normalcy. In the third quarter, the producers
accelerated their production to meet the higher demand of
consumers at the end of the year. This reason was the driving
force for the continuous growth of the production of plastics
industry during the second and the third quarters.
However, in entering the fourth quarter, it is forecast that the
overall production of plastics industry tend to decrease as the
producers start to slow down the production after accelerating
their activities to meet the year-end demand of the households
during the third quarter. The labor force in the manufacturing
sector who returns home during the long New Year holiday
also contributes to the continuously decreased production at
the end of the year.

Analysis

Manufacturing Production Index and Capacity Utilization Rate of Plastic Products (ISIC : 2520)

Index Capacity (%)

Source: Center for Industrial Economics Information, Office of Industrial Economics November 2013

Trade Overview Export: September 2013

In the third quarter, the import value of plastic products As per September 2013, Thailand’s export value of plastic
amounted to 29,859 million baht or up 8.79 percent compared products amounted to 9,433 million baht, down from August
with the previous quarter. However, when compared with the by 2.4 percent. The plastic products in the packaging group
same period in 2012, the import of plastic products decreased (3923) contributed to the highest export value of 2,912 million
by 4.58 percent. Also in the third quarter, the export value of baht or 30.87 percent of the overall value, followed by plastic
plastic products amounted to 28,346 million baht or up 8.56 films (3920) with the export value of 2,422 million baht or 25.67
percent when compared with the previous quarter and up 4.47 percent of the overall value. The first three main exporting
percent when compared with the same period in 2012. countries were Japan, USA, and Australia.

As a whole, even if Thailand’s plastic products posed Forecast
continuous trade deficit since the beginning of 2013, but when
compared with 2012, Thailand’s trade direction was brighter The production of the plastics industry is forecast to
with lesser trade deficit. decrease at approximately 5 - 5.5 percent in the fourth quarter.
Other factors, both internal and external, contributing to slightly
Import: September 2013 decreased production in the plastics industry, include the
decreased export in line with the policy to promote the local
As per September 2013, Thailand’s import value of plastic consumption in China, stable demand of products in the world
products amounted to 9,778 million baht, up from August by market, as well as instability of domestic politics which will
0.35 percent. Plastic products in other groups (3926) contributed affect the economic growth in the country and the confidence
tothe highest import valueof4,028 millionbaht or41.19 percent of foreign investors.
of the overall value, followed by plastic films (3920) with the
import value of 1,497 million baht or 15.3 percent of the overall
value. The first three main importing countries were Japan,
China, and Malaysia.

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 11

Analysis

สภาวะอุตสาหกรรม
ยขผอาลงงติ ธไทภรยัณรมปฑชี ์ย2าา5ตง5ิแ6ละ

ข้อมูลจาก รายงานสภาวะอุตสาหกรรม
ผลิตภณั ฑ์ยางและไม้ยางพาราของไทย
โดย สถาบันพลาสตกิ และศนู ย์วจิ ัยและ
พฒั นาอตุ สาหกรรมยางไทย

สถานการณย์ างธรรมชาติ
สภาวะการผลติ

ข้อมูลจากการสำ�รวจผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยางแผ่น ลดลงรอ้ ยละ15.38 และ2.4 ตามล�ำ ดบั โดยเปรยี บเทยี บกบั ครงึ่ ปแี รก
และยางแท่งในคร่ึงปีแรกของปี 2556 โดยสำ�นักงานเศรษฐกิจ ของปี 2555 และแนวโนม้ การผลติ จนถงึ สนิ้ ปี 2556 พบวา่ ภาพรวม
อุตสาหกรรม พบว่าปริมาณการผลิตยางแผ่นและยางแท่งปรับตัว ยังคงปรับตัวลดลงจากปี 2555 รอ้ ยละ 17.81 และ 2.43 ตามล�ำ ดับ

ตารางท่ี 1 ปรมิ าณผลผลิตยางแผ่นและยางแท่งในประเทศ ปี 2555 และ 2556

ประเภท 2555 2556* 2555 2556 % เปลี่ยนแปลง
ยางแผน่ (ตนั ) 180,600 148,440
ยางแท่ง (ตนั ) 944,499 921,192 ม.ค. - มิ.ย. ม.ค. - ม.ิ ย. ท้งั ปี ครึ่งปี 2556
100,208 84,795 -17.81 -15.38
477,464 466,014 -2.43 -2.40

ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำ�นักงานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม
หมายเหตุ : *ประมาณการณ์ เดือนกรกฎาคม - ธนั วาคม

12

Analysis

สภาวะการค้า
การจ�ำ หนา่ ยภายในประเทศ: จากการส�ำ รวจขอ้ มลู ผปู้ ระกอบการ ส�ำ หรบั การคาดการณถ์ งึ สนิ้ ปี2556 พบวา่ ปรมิ าณการจ�ำ หนา่ ย
ยางโดยสำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมพบว่าในคร่ึงปีแรกของ ยางแผ่นยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นจากครึ่งปีแรกอีกเล็กน้อยส่งผลให้
ปี2556 เปรยี บเทยี บกบั ชว่ งเดยี วกนั ของปกี อ่ น ปรมิ าณการจ�ำ หนา่ ย ภาพรวมท้ังปีของยางแผ่นมีการขยายตัวประมาณร้อยละ 21.64
ยางแผ่นขยายตัวเพิ่มข้ึนร้อยละ 21.27 แต่ในทางกลับกันปริมาณ ส�ำ หรบั ยางแทง่ ในครงึ่ หลงั ของปี2556 คาดวา่ จะมที ศิ ทางการปรบั ตวั
การจ�ำ หนา่ ยยางแทง่ ปรับตัวลดลงรอ้ ยละ 20.35 ที่ดีขึ้นโดยอัตราการหดตัวมีแนวโน้มชะลอตัวลง แต่อย่างไร
ก็ตามภาพรวมทั้งปี 2556 การขยายตัวของยางแท่งยังคงลดลงที่
รอ้ ยละ 16.16

ตารางท่ี 2 ปรมิ าณการจ�ำ หน่ายยางแผ่นและยางแทง่ ในประเทศ ปี 2555 และ 2556

ประเภท 2555 2556* 2555 2556 % เปลย่ี นแปลง
ยางแผ่น (ตนั ) 54,734 44,577
ยางแท่ง (ตัน) 83,067 69,645 ม.ค. - มิ.ย. ม.ค. - ม.ิ ย. ทง้ั ปี ครงึ่ ปี 2556
28,743 34,856 21.64 21.27
43,525 34,669 -16.16 -20.35

ท่ีมา : ศูนยส์ ารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำ�นกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม
หมายเหตุ : *ประมาณการณ์ เดอื นกรกฎาคม - ธนั วาคม

ภาคการส่งออก : ในชว่ งครง่ึ ปีแรกของปี 2556 ประเทศไทยมี (+40.96%) ยางแท่ง (+7.59%) และน้ำ�ยางเข้มข้น (+5.19%)
ปรมิ าณการสง่ ออกยางธรรมชาตปิ ระมาณ1.94 ลา้ นตนั คดิ เปน็ มลู คา่ ในขณะท่ีกลุ่มผลติ ภณั ฑ์ยางอืน่ ๆ ปรับตัวลดลง (-35.17%)
ประมาณ 156,000 ลา้ นบาท ซง่ึ ปรมิ าณการสง่ ออกดงั กลา่ วเพม่ิ ขน้ึ ทงั้ นี้ แนวโน้มการส่งออกจนถึงสนิ้ ปี 2556 โดยภาพรวมคาดว่า
เปรยี บเทยี บกับชว่ งเวลาเดียวกนั ของปี 2555 ร้อยละ 11.32 โดย ภาคการสง่ ออกจะปรบั ขยายตัวเพม่ิ ข้นึ จากปี 2555 รอ้ ยละ 4.12
ผลิตภัณฑย์ างท่มี ปี รมิ าณสง่ ออกเพ่ิมมากข้ึน ได้แก่ ยางคอมพาวด์

รปู ที่ 1 ปริมาณการส่งออกผลติ ภัณฑ์ยางธรรมชาตขิ องไทย ปี 2555 และ 2556

KTA ยางแผน่ รมควนั
ยางแท่ง
4,000 น้�ำ ยางเข้มข้น*
3,500 ยางคอมพาวด์**
3,000 ยางอน่ื ๆ
2,500
2,000 1H 2555 1H 2556 2555 2556***
1,500
1,000

500
0

ทมี่ า : ศนู ย์สารสนเทศและการสื่อสาร สำ�นกั งานปลัดกระทรวงพาณิชย์
หมายเหต ุ * เป็นน้ำ�หนกั ของนำ้�ยางขน้ ยังไมไ่ ดค้ �ำ นวณเปน็ น้ำ�หนกั เน้ือยางแห้ง

** เป็นน�้ำ หนักของยางรวมกบั สารเคมี
*** ปี 2556 ประมาณการณ์ เดอื นกรกฎาคม - ธันวาคม

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 13

Analysis

ภาคการนำ�เข้า : ในช่วงคร่ึงแรกของปี 2556 ประเทศไทยมี เข้มข้นมีอัตราส่วนการนำ�เข้าที่ลดตำ่�ลงถึงร้อยละ 31.78 และ
ปรมิ าณการนำ�เข้ายางธรรมชาติประมาณ 6,400 ตนั คิดเปน็ มูลคา่ ผลิตภัณฑย์ างอน่ื ๆ มอี ัตราสว่ นการน�ำ เข้าเพม่ิ สงู ถงึ ร้อยละ 184.08
ประมาณ 780 ล้านบาท ซ่ึงปริมาณการนำ�เข้าดังกล่าวขยายตัว ทง้ั นี้ แนวโนม้ การน�ำ เขา้ จนถงึ สน้ิ ปี 2556 คาดการณว์ า่ ภาพรวม
เพ่ิมขึ้นเล็กน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2555 ของการนำ�เข้าผลิตภัณฑ์ยางจะชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับการนำ�เข้า
ประมาณรอ้ ยละ 0.5 โดยผลติ ภณั ฑท์ ่ีมีปรมิ าณนำ�เขา้ เปน็ หลกั คือ ในปี 2555 ประมาณรอ้ ยละ 1.61 ซ่งึ เป็นสาเหตุมาจากผลิตภณั ฑ์
ยางคอมพาวด์และนำ้�ยางเข้มข้น ที่มีปริมาณการนำ�เข้าประมาณ น้ำ�ยางเข้มข้นท่ีมีอัตราการนำ�เข้าปรับตัวลดลงตำ่�ในช่วงคร่ึงปีแรก
5,107 ล้านตัน และ 1,094 ลา้ นตนั ตามลำ�ดบั อย่างไรกต็ าม เมอ่ื ของปี 2556 น่าจะยังคงแนวโน้มการปรับลงลดในครึ่งปีหลัง
เปรียบเทียบสัดส่วนการนำ�เข้ายางธรรมชาติในช่วงครึ่งปี 2556 ดว้ ยเชน่ กัน
เปรียบเทียบกับครึ่งปีแรกของปี 2555 จะพบว่าผลิตภัณฑ์น้ำ�ยาง

รูปท่ี 2 ปรมิ าณการนำ�เข้าผลิตภณั ฑย์ างธรรมชาตขิ องไทย ปี 2555 และ 2556

KTA ยางแผน่ รมควนั
ยางแท่ง
4,000 น้ำ�ยางเข้มขน้ *
3,500 ยางคอมพาวด*์ *
3,000 ยางอืน่ ๆ
2,500
2,000 1H 2555 1H 2556 2555 2556***
1,500
1,000

500
0

ที่มา : ศูนย์สารสนเทศและการสือ่ สาร ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงพาณชิ ย์
หมายเหตุ * เป็นน�้ำ หนักของน้�ำ ยางข้นยงั ไมไ่ ด้คำ�นวณเปน็ น้ำ�หนกั เน้อื ยางแห้ง

** เปน็ นำ�้ หนักของยางรวมกบั สารเคมี
*** ปี 2556 ประมาณการณ์ เดอื นกรกฎาคม - ธันวาคม

สถานการณ์ผลิตภณั ฑ์ยาง
สภาวะการผลิต

จากการสำ�รวจผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางใน คนั แรก รวมถงึ การขยายตวั ของตลาดตา่ งประเทศ ในขณะทยี่ างนอก
กลุ่มยางล้อและถุงมือยาง / ถุงมือตรวจ โดยสำ�นักงานเศรษฐกิจ รถบรรทุก/รถโดยสาร และยางนอกรถจักรยานยนต์ ปรับตัวลดลง
อุตสาหกรรม พบว่า คร่ึงปีแรกของปี 2556 การผลิตผลิตภัณฑ์ รอ้ ยละ8.18 และ1.46 ตามล�ำ ดบั ส�ำ หรบั ผลติ ภณั ฑถ์ งุ มอื ยาง/ถงุ มอื
ยางประเภทยางล้อขยายตัวเพิ่มขึ้นเกือบทุกรายการ เม่ือเทียบกับ ตรวจปรับขยายตัวเพ่มิ ขน้ึ ร้อยละ 9.07 ด้วยเชน่ กัน
ชว่ งเดียวกนั ของปี 2555 โดยเฉพาะยางหลอ่ ดอกทเี่ พ่ิมข้ึนสงู ที่สดุ
ประมาณรอ้ ยละ27.74รองลงมาไดแ้ ก่ยางในรถจกั รยานยนต์ยางนอก ท้ังน้ี คาดการณ์ปริมาณการผลิตผลิตภัณฑ์ยางจนถึงสิ้นปี
รถยนต์นั่ง/รถกระบะ ยางในรถบรรทุกและรถโดยสาร ยางนอก 2556 คาดวา่ ปรมิ าณการผลติ ผลติ ภณั ฑย์ างในกลมุ่ ยางลอ้ เกอื บทกุ
อื่นๆ ท่ีปรับตัวเพิ่มข้ึนร้อยละ 13.84, 7.01, 5.99 และ 4.99 รายการยงั คงมแี นวโนม้ ขยายตวั เพมิ่ ขน้ึ จากปี 2555 และผลติ ภณั ฑ์
ตามล�ำ ดบั เปน็ ผลมาจากการเรง่ สง่ มอบรถยนตต์ ามนโยบายรถยนต์ ถงุ มอื ยาง/ถุงมือตรวจกม็ ีแนวโนม้ ขยายตัวเพิ่มขึน้ ด้วยเช่นกัน

14

Analysis

ตารางท่ี 3 ปรมิ าณผลผลิตผลิตภณั ฑ์ยางในประเทศ ปี 2555 และ 2556

ประเภท 2555 2556* 2555 2556 % เปลยี่ นแปลง

ยางนอกรถยนต์นั่ง/รถกระบะ (เส้น) 26,513,449 28,429,309 ม.ค. - ม.ิ ย. ม.ค. - มิ.ย. ทัง้ ปี คร่ึงปี 2556
ยางนอกรถบรรทุก/รถโดยสาร (เสน้ ) 4,806,959 4,362,223 13,195,688 14,121,168 7.23 7.01
ยางนอกรถจกั รยานยนต์ (เสน้ ) 22,781,429 22,640,807 2,382,845 2,187,844 -9.25 -8.18
ยางนอกอน่ื ๆ (เสน้ ) 588,385 619,629 11,432,936 11,266,148 -0.62 -1.46
ยางในรถบรรทกุ และรถโดยสาร (เส้น) 2,744,506 2,865,035 5.31 4.99
ยางในรถจักรยานยนต์ (เส้น) 29,229,171 31,782,488 298,208 313,087 4.39 5.99
ยางหลอ่ ดอก (เสน้ ) 117,986 139,945 1,339,792 1,420,107 8.74 13.84
ถุงมอื ยาง/ถุงมอื ตรวจ (ลา้ นช้นิ ) 19,802 20,618 13,908,478 15,833,891 18.61 27.74
4.12 9.07
54,876 70,098
9,428 10,283

ทีม่ า : ศนู ย์สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ส�ำ นกั งานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม
หมายเหตุ : *ประมาณการณ์ เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม

สภาวะการคา้ การคาดการณ์ปริมาณการจำ�หน่ายจนถึงสิ้นปี 2556 คาดว่า
ปรมิ าณการจ�ำ หนา่ ยในกลมุ่ ยางลอ้ เกอื บทกุ รายการยงั คงมแี นวโนม้
การจำ�หน่ายภายในประเทศ : จากการสำ�รวจผู้ประกอบการ ปรบั ขยายตวั เพมิ่ ขนึ้ เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ปี 2555 มเี พยี งยางนอกรถ
ผลติ ภณั ฑย์ างกลมุ่ ยางลอ้ และถงุ มอื ยาง/ถงุ มอื ตรวจ โดยส�ำ นกั งาน บรรทกุ /รถโดยสาร ยางนอกจกั รยานยนต์ และยางนอกอน่ื ๆ ทปี่ รบั ตวั
เศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมพบวา่ ในชว่ งครงึ่ ปแี รกของปี2556 ปรมิ าณการ ลดลง สำ�หรับถุงมือยาง/ถุงมือตรวจ มีแนวโน้มขยายตัวเพ่ิมขึ้น
จ�ำ หนา่ ยผลติ ภณั ฑย์ างในกลมุ่ ยางลอ้ เกอื บทกุ รายการปรบั ตวั เพม่ิ ขน้ึ ดว้ ยเช่นกัน
เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ปี2555 โดยเฉพาะยางนอกรถยนตน์ งั่ /รถกระบะ
ที่ปรับตัวเพ่ิมข้ึนสูงที่สุดถึงร้อยละ 13.53 ในขณะที่ยางนอก
รถจักรยานยนต์ และยางนอกรถบรรทุก/รถโดยสาร ปรับตัวลดลง
ร้อยละ 2.75 และ 0.60 ตามล�ำ ดบั สำ�หรบั ผลติ ภัณฑ์ถุงมือตรวจ
ขยายตัวเพ่มิ ข้ึนรอ้ ยละ 3.77

ตารางที่ 4 ปริมาณการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ยางในประเทศ ปี 2555 และ 2556

ประเภท 2555 2556* 2555 2556 % เปลี่ยนแปลง

ยางนอกรถยนต์นงั่ /รถกระบะ (เส้น) 19,492,001 21,046,703 ม.ค. - มิ.ย. ม.ค. - มิ.ย. ท้งั ปี คร่งึ ปี 2556
ยางนอกรถบรรทุก/รถโดยสาร (เส้น) 3,400,018 3,359,716 9,242,780 10,493,113 7.98 13.53
ยางนอกรถจกั รยานยนต์ (เสน้ ) 17,031,016 16,882,432 1,687,074 1,676,967 -1.19 -0.60
ยางนอกอนื่ ๆ (เส้น) 37,779 32,589 8,639,875 8,402,276 -0.87 -2.75
ยางในรถบรรทุกและรถโดยสาร (เสน้ ) 1,843,984 1,913,474 14,933
ยางในรถจกั รยานยนต์ (เสน้ ) 20,489,819 21,431,972 902,403 16,116 -13.74 7.92
ยางหลอ่ ดอก (เส้น) 90,4697 99,988 9,934,131 957,582 3.77 6.11
ถงุ มือยาง/ถุงมือตรวจ (ล้านช้ิน) 1,174 1,218 46,772 10,695,122 4.60 7.66
599 50,269 5.59 7.48
3.71 3.77
622

ที่มา : ศนู ยส์ ารสนเทศเศรษฐกจิ อุตสาหกรรม สำ�นักงานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม
หมายเหตุ : *ประมาณการณ์ เดือนกรกฎาคม - ธนั วาคม

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 15

Analysis

ภาคการส่งออก : ในช่วงคร่งึ ปีแรกของปี 2556 ประเทศไทย ทั้งนี้ แนวโนม้ การสง่ ออกจนถงึ สนิ้ ปี 2556 โดยภาพรวมคาดวา่
มมี ลู คา่ การสง่ ออกผลติ ภณั ฑย์ างประมาณ91,000 ลา้ นบาท ปรบั ตวั มลู คา่ การสง่ ออกยงั คงปรบั ตวั ลดลงประมาณรอ้ ยละ4.87 เมอื่ เทยี บ
ลดลงจากชว่ งเดยี วกบั ของปี2555 รอ้ ยละ5.87 เนอ่ื งจากผลติ ภณั ฑย์ าง กับปี 2555 โดยการส่งออกผลิตภัณฑ์ยางหลักจะปรับตัวลงเกือบ
เกอื บทกุ รายการมกี ารสง่ ออกลดลง ไดแ้ ก่ ยางยดื (-12.20%) ถงุ มอื ยาง ทุกรายการ
(-11.23%) ยางลอ้ (-5.23%) ทอ่ ยาง (-3.63%) และผลติ ภณั ฑอ์ น่ื ๆ
(-1.70%) ในขณะทส่ี ายพานปรบั ตวั เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 9.20

รูปท่ี 3 มูลค่าการส่งออกผลติ ภณั ฑย์ างของไทย ปี 2555 และ 2556

ล้านบาท

250,000

200,000 ยางล้อ
ถงุ มอื ยาง
150,000 ยางยืด
ทอ่ ยาง
100,000 สายพาน
ผลติ ภณั ฑย์ างอืน่ ๆ
50,000

0 1H 2555 1H 2556 2555 2556*

ทีม่ า : ศูนยส์ ารสนเทศและการส่อื สาร สำ�นกั งานปลัดกระทรวงพาณิชย์
หมายเหตุ * ปี 2556 ประมาณการณ์ เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม

ภาคการนำ�เขา้ : ในช่วงครึ่งปแี รกของปี 2556 ประเทศไทยมี ทง้ั น้ี แนวโนม้ การน�ำ เขา้ จนถงึ สน้ิ ปี2556 ภาพรวมคาดวา่ การน�ำ เขา้
มลู คา่ การนำ�เขา้ ผลติ ภณั ฑย์ างประมาณ 20,000 ลา้ นบาท ขยายตวั ผลติ ภณั ฑย์ างจะปรบั ลดลงเกอื บทกุ รายการ ไดแ้ ก่ ยางลอ้ สายพาน
เพ่ิมขึ้นจากช่วงเดียวกับของปี 2555 ร้อยละ 1.20 เน่ืองจาก ปะเกน็ /ซลี ยาง ประมาณรอ้ ยละ 6.65 เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ปี 2555
ผลติ ภัณฑ์ยางประเภทยางล้อ ทอ่ ยาง และถุงมือยาง มีการน�ำ เข้า ในขณะทท่ี อ่ ยางและถงุ มอื ยางมแี นวโนม้ น�ำ เขา้ เพม่ิ ขน้ึ เลก็ นอ้ ย
เพ่ิมข้ึนประมาณรอ้ ยละ 8.80, 3.65 และ 1.41 ตามล�ำ ดับ ในขณะท่ี
สายพานและผลติ ภณั ฑ์ยางอนื่ ๆ ปรับตวั ลดลงทรี่ ้อยละ 20.72 และ
2.25 ตามลำ�ดบั

รูปท่ี 4 มลู คา่ การนำ�เข้าผลิตภณั ฑย์ างของไทย ปี 2555 และ 2556

50,000 ลา้ นบาท ยางลอ้
45,000 ถงุ มอื ยาง
40,000 1H 2555 ยางยดื
35,000 ท่อยาง
30,000 สายพาน
25,000 ผลิตภัณฑ์ยางอนื่ ๆ
20,000
15,000 1H 2556 2555 2556*
10,000
5,000

0

ทม่ี า : ศูนย์สารสนเทศและการสอ่ื สาร ส�ำ นักงานปลดั กระทรวงพาณิชย์
หมายเหตุ * ปี 2556 ประมาณการณ์ เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม

16

Analysis

General Situation of Natural Rubber
and Rubber Product Industries of
Thailand in 2013

Source: Report on Situation of Rubber Product and Rubber Wood Product Industries of Thailand
By Plastics Institute of Thailand and Research and Development Centre for Thai Rubber Industry

Situation of Natural Rubber decreased by 15.38 percent and 2.4 percent respectively. Until
Production the end of the year 2013, the overall production is expected
to decrease from 2012 by 17.81 percent and 2.43 percent
According to the survey of producers in sheet rubber and respectively.
block rubber industries during the first half of 2013 undertaken
by Office of Industrial Economics, the production of sheet
rubber and block rubber, compared with the first half of 2012,

Table 1 Domestic output of sheet rubber and block rubber between 2012 and 2013

Types 2012 2013* 2012 2013 % Change
Sheet rubber (tons) 180,600 148,440
Block rubber (tons) 944,499 921,192 Jan.-Jun. Jan.-Jun. Whole year 1H 2013
100,208 84,795 -17.81 -15.38
477,464 466,014 -2.43 -2.40

Source : Center for Industrial Economics Information, Office of Industrial Economics
Note : *2013 forecast July - December

Trade Until the end of the year 2013, the domestic consumption
of sheet rubber is expected to increase slightly from the first
Domestic consumption : According to the survey of rubber half of the year, resulting in the overall increase of sheet rubber
producers undertaken by Office of Industrial Economics, during by 21.64 percent for the whole year. During the second half of
the first half of 2013, when compared with the same period in 2013, the domestic consumption of block rubber is expected
2012, the domestic consumption of sheet rubber increased by to be brighter as the decrease tends to slow down. However,
21.27 percent but the domestic consumption of block rubber the overall domestic consumption of block rubber for the whole
decreased by 20.35 percent. year still decreases by 16.16 percent.

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 17

Analysis

Table 2 Domestic consumption of sheet rubber and block rubber between 2012 and 2013

Types 2012 2013* 2012 2013 % Change
Jan.-Jun.
Jan.-Jun. Whole year 1H 2013
Sheet rubber (tons) 180,600 148,440 100,208 84,795 -17.81 -15.38
Block rubber (tons) 944,499 921,192 477,464 466,014 -2.43 -2.40

Source : Center for Industrial Economics Information, Office of Industrial Economics
Note : *2013 forecast July - December

Export : During the first half of 2013, Thailand’s export of concentrated rubber latex (+5.19 percent) whereas other rubber
natural rubber amounted to approximately 1.94 million tons products decreased (-35.17 percent).
or approximately 156,000 million baht. Compared with the Until the end of the year 2013, the overall export is expected
same period in 2012, the export volume increased by 11.32 to increase from 2012 by 4.12 percent.
percent. The products with more export volume were compound
rubber (+40.96 percent), block rubber (+7.59 percent), and

Figure 1 Export volume of Thailand’s natural rubber products between 2012 and 2013

KTA

4,000

3,500

3,000

2,500 Smoked sheet rubber
Block rubber
2,000 Concentrated rubber latex*
Compound rubber**
1,500 Others

1,000

500

0 1H 2012 1H 2013 2012 2013***

Source : Center of Information Technology and Communication, Office of the Permanent Secretary of Commerce
Note: * Weight of rubber latex not yet calculated into weight of dry rubber

** Weight of rubber with chemicals
*** 2013 forecast July-December

Import : During the first half of 2013, Thailand’s import 31.78percentandtheimportofotherrubberproducts increased
of natural rubber amounted to approximately 6,400 tons or as high as 184.08 percent.
approximately 780 million baht. When compared with the Until the end of the year 2013, the overall import of rubber
same period in 2012, the import volume slightly increased by products is expected to slow down by 1.61 percent when
approximately 0.5 percent. The main imported products were compared with the import in 2012. This is due to the fact that
compound rubber and concentrated rubber latex with the the import of concentrated rubber latex decreased during the
volume of approximately 5,107 million tons and 1,094 million first half of 2013 and is expected to decrease during the second
tons respectively. However, when compared the import of half of the year as well.
natural rubber during the first half of 2013 with the same period
in 2012, the import of concentrated rubber latex decreased by

18

Analysis

Figure 2 Import volume of Thailand’s natural rubber products between 2012 and 2013

KTA

4,000

3,500

3,000

2,500 Smoked sheet rubber
2,000 Block rubber
1,500 Concentrated rubber latex*

Compound rubber**

1,000

Others

500

0 1H 2012 1H 2013 2012 2013***

Source : Center of Information Technology and Communication, Office of the Permanent Secretary of Commerce
Note: * Weight of rubber latex not yet calculated into weight of dry rubber

** Weight of rubber with chemicals
*** 2013 forecast July-December

Situation of Rubber Products
Production

According tothesurveyofmanufacturers ofautomotive tires delivery of automobiles according to the first car buyer scheme
and rubber gloves/examination gloves undertaken by Office as well as the expansion of foreign markets. However, outer
of Industrial Economics, during the first half of 2013, the tubesoftrucks/buses andoutertubesofmotorcycles decreased
production of automotive tires, compared with the same period by 8.18 percent and 1.46 percent respectively. Rubber gloves/
in 2012, increased in nearly all types, especially retreaded examination gloves increased by 9.07 percent.
tires reaching approximately 27.74 percent, followed by inner
tubes of motorcycles, outer tubes of passenger cars/pick-up It is expected that, until the end of the year 2013, the
trucks, inner tubes of trucks and buses, other outer tubes that production of automotive tires in nearly all types will increase
increased by 13.84 percent, 7.01 percent, 5.99 percent, and from 2012. So is the production of rubber gloves/examination
4.99 percent respectively. This was the result of the accelerated gloves.

Table 3 Domestic output of rubber products between 2012 and 2013

Types 2012 2013* 2012 2013 % of Change
Jan.-Jun. Jan.-Jun. Whole Year 1H 2013

Outer tubes of passenger cars/ pick-up trucks (units) 26,513,449 28,429,309 13,195,688 14,121,168 7.23 7.01
-9.25 -8.18
Outer tubes of trucks/buses (units) 4,806,959 4,362,223 2,382,845 2,187,844 -0.62 -1.46
5.31 4.99
Outer tubes of motorcycles (units) 22,781,429 22,640,807 11,432,936 11,266,148

Other outer tubes (units) 588,385 619,629 298,208 313,087

Inner tubes of trucks and buses (units) 2,744,506 2,865,035 1,339,792 1,420,107 4.39 5.99

Inner tubes of motorcycles (units) 29,229,171 31,782,488 13,908,478 15,833,891 8.74 13.84

Retreaded tires(units) 117,986 139,945 54,876 70,098 18.61 27.74
Gloves/examination gloves (million pieces) 19,802 20,618 9,428 10,283 4.12 9.07

Source : Center for Industrial Economics Information, Office of Industrial Economics
Note : *2013 forecast July - December

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 19

Analysis

Trade It is expected that, until the end of the year 2013,
the domestic consumption of automotive tires will increase
Domestic consumption : According to the survey of in nearly all types, when compared with 2012, except outer
manufacturers of automotive tires and rubber gloves tubes of trucks/buses, outer tubes of motorcycles, and other
/examination gloves undertaken by Office of Industrial outer tubes. The domestic consumption of rubber gloves/
Economics, during the first half of 2013, the domestic examination gloves is expected to increase.
consumption of automotive tires in nearly all types, when
compared with 2012, increased, especially outer tubes of
passenger cars/pick-up trucks that reached 13.53 percent. The
outer tubes of motorcycles and outer tubes of trucks/buses
decreased by 2.75 percent and 0.60 percent respectively. The
examination gloves increased by 3.77 percent.

Table 4 Domestic consumption of rubber products between 2012 and 2013

Types 2012 2013* 2012 2013 % of Change
Jan.-Jun. Jan.-Jun. Whole Year 1H 2013

Outer tubes of passenger cars/ pick-up trucks (units) 19,492,001 21,046,703 9,242,780 10,493,113 7.98 13.53
-1.19 -0.60
Outer tubes of trucks/buses (units) 3,400,018 3,359,716 1,687,074 1,676,967

Outer tubes of motorcycles (units) 17,031,016 16,882,432 8,639,875 8,402,276 -0.87 -2.75

Other outer tubes (units) 37,779 32,589 14,933 16,116 -13.74 7.92
Inner tubes of trucks and buses (units) 1,843,984 1,913,474 902,403 957,582 3.77 6.11

Inner tubes of motorcycles (units) 20,489,819 21,431,972 9,934,131 10,695,122 4.60 7.66
Retreaded tires(units) 90,4697 99,988 46,772 50,269 5.59 7.48

Gloves/examination gloves (million pieces) 1,174 1,218 599 622 3.71 3.77

Source : Center for Industrial Economics Information, Office of Industrial Economics
Note : *2013 forecast July - December

Export : During the first half of 2013, Thailand’s export value It is estimated that, until the end of the year 2013, the overall
of rubber products amounted to approximately 91,000 million export will decrease by 4.87 percent, when compared with
baht or down by 5.87 percent, when compared with the same 2012, with the decrease of nearly all major rubber products.
period in 2012. The export of rubber products in nearly all types
decreased namely elastic threads (-12.20 percent), rubber
gloves (-11.23 percent), automotive tires (-5.23 percent),
rubber pipes (-3.63 percent), and other products (-1.70 percent).
However, the export of conveyer belts increased by 9.20
percent.

20

Analysis

Figure 3 Export value of Thailand’s rubber products between 2012 and 2013

Million baht

250,000

200,000 Tires
Gloves
150,000 Elastic threads
Pipes
100,000 Conveyer belts
Other rubber products
50,000

0 1H 2012 1H 2013 2012 2013*

Source : Center of Information Technology and Communication, Office of the Permanent Secretary of Commerce
Note : * 2013 forecast July-December

Import : During the first half of 2013, Thailand’s import It is estimated that, until the end of the year 2013, the import
value of rubber products amounted to 20,000 million baht or of nearly all rubber products will decrease namely automotive
up from the same period of 2012 by 1.20 percent. The import tires, conveyer belts and gaskets/seals by approximately 6.65
of automotive tires, pipes, and gloves increased approximately percent, when compared with 2012, whereas pipes and gloves
by 8.80 percent, 3.65 percent and 1.41 percent respectively will increase slightly.
whereas the import of conveyer belts and other rubber products
decreased by 20.72 percent and 2.25 percent respectively.

Figure 4 Import value of Thailand’s rubber products between 2012 and 2013

50,000 Million baht 1H 2013 2012 2013* Tires
45,000 Gloves
40,000 1H 2012 Elastic threads
35,000 Pipes
30,000 Conveyer belts
25,000 Other rubber products
20,000
15,000
10,000
5,000

0

Source : Center of Information Technology and Communication, Office of the Permanent Secretary of Commerce
Note : * 2013 forecast July-December

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 21

Cover Story

Cover Story

พลาสตกิ และยาง ยาง(Rubber)เปน็ วตั ถดุ บิ ส�ำ หรบั ผลติ ผลติ ภณั ฑ์หรอื เปน็ สว่ นหนง่ึ
ของผลิตภัณฑ์ส่ิงของเคร่ืองใช้ต่างๆ ท่ีใช้กันอยู่ในชีวิตประจำ�วัน
....การผสมผสาน รวมถึงยังมีส่วนเก่ยี วข้องกับการผลิตในอุตสาหกรรมต่อเน่อื งต่างๆ
อยา่ งสรา้ งสรรค์ มากมาย อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเคร่ืองจักร
อุตสาหกรรมก่อสร้าง เป็นต้น โดย ยาง น้ันมีแหล่งท่ีมาจาก
2 แหลง่ ไดแ้ ก่ ยางธรรมชาติ (Natural Rubber) และ ยางสงั เคราะห์
(Synthetic Rubber) ซ่ึงยางท้ังสองประเภทดังกล่าวมีสมบัติท่ี
แตกต่างกันตามความเหมาะสมของการใช้งาน อย่างไรก็ตาม
ยางท้งั สองประเภทยังสามารถปรับปรุงคุณภาพได้ด้วยการเพ่มิ เติม
สารเติมแต่งต่างๆ ให้มีสมบัติเฉพาะตัวท่ีแตกต่างซ่ึงเรียกกันว่า
“ยางคอมพาวด”์ (RubberCompound) ทง้ั น้ี ประเทศไทยเปน็ แหลง่ ผลติ
ยางธรรมชาติท่ีใหญ่ท่ีสุดของโลก ซ่ึงสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจน
ว่าอุตสาหกรรมยางธรรมชาติของประเทศไทยน้ันมีความสำ�คัญ
ตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศเปน็ อยา่ งมาก

22

Cover Story

ความแตกต่างระหว่างยางธรรมชาตแิ ละยางสงั เคราะห์

1. ยางธรรมชาติ (Natural Rubber)

ยางธรรมชาติ เปน็ ผลผลิตท่ีได้จากตน้ ยางธรรมชาติ มชี ่อื ทาง โดยประเทศไทยทม่ี ชี อ่ื เสยี งดา้ นการผลติ ยางธรรมชาตนิ น้ั มพี น้ื ท่ี
วทิ ยาศาสตร์ คอื Hevea brasiliensistree มแี หลง่ ก�ำ เนดิ เดมิ จาก ปลูกสำ�คัญในภาคใต้ เน่อื งจากเป็นบริเวณท่มี ีฝนตกชุกและอากาศ
ประเทศบราซลิ สภาวะทเ่ี หมาะสมในการปลกู ตน้ ยาง คอื พน้ื ทท่ี ม่ี ี อบอนุ่ ตลอดทง้ั ปี จากสภาพอากาศดงั กลา่ วสง่ ผลใหผ้ ลผลติ น้ำ�ยาง
ฝนตกชกุ และอากาศอบอนุ่ ตลอดทง้ั ปี ท�ำ ใหป้ ระเทศตา่ งๆ ทอ่ี ยใู่ นแถบ ท่ไี ดม้ คี ณุ ภาพดี โดยในปจั จบุ นั ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ พนั ธย์ุ างใหส้ ามารถ
เสน้ ศนู ยส์ ตู ร อาทิ บราซลิ อนิ เดยี ศรลี งั กา ไทย อนิ โดนเี ซยี เวยี ดนาม ปลกู ไดใ้ นพน้ื ทอ่ี น่ื ๆ นอกเหนอื จากภาคใต้ อาทิ พน้ื ทภ่ี าคตะวนั ออก
มาเลเซีย เป็นต้น สามารถเพาะปลูกยางธรรมชาติได้ดีน้ันเอง เฉยี งเหนอื ทม่ี ฝี นตกชกุ เชน่ กนั แตม่ รี ะดบั ทน่ี อ้ ยกวา่ ภาคใต ้

รปู ท่ี 1 ต้นยางธรรมชาติ (Hevea brasiliensistree)

ตารางท่ี 1 แสดงผลผลติ ยาง ปริมาณการส่งออกยางและปรมิ าณการใชง้ านในประเทศ 2551 - 2555

2551 255 2 2553 2554 2555 Unit : KTA

AAGR
2551 - 2555

ผลผลิต 3,089 3,164 3,252 3,569 3,778 4.10
2,675 2,726 2,866 2,952 3,121 3.13
ปรมิ าณการส่งออก 397 399 458 486 505 4.93
ปรมิ าณการใช้งานในประเทศ

ท่มี า : สถาบันวิจัยยาง กรมวชิ าการเกษตร

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 23

Cover Story

จากตารางที่1 จะเหน็ ไดว้ า่ ตงั้ แตป่ ี2551-2555 ประเทศไทย ประเทศไทยจะสง่ ออกในรูปของยางแท่งมากที่สดุ รองลงมา
มแี นวโนม้ ผลผลติ ปรมิ าณการสง่ ออก และปรมิ าณการใชง้ านยาง คอื ยางแผน่ รมควัน น้ำ�ยางขน้ และยางคอมพาวด์ แตป่ จั จุบัน
ภายในประเทศสูงข้ึนในแต่ละปี และจากผลผลิตในแต่ละปี มีการส่งในรูปแบบยางคอมพาวด์มากข้ึนเน่ืองจากประเทศจีน
ประเทศไทยเน้นภาคการส่งออกถึงประมาณร้อยละ 80 ของ มีโครงสร้างการเก็บภาษีนำ�เข้ายางคอมพาวด์น้อยกว่ายางแท่ง
การผลิต หรือยางแผ่นรมควัน เป็นโอกาสให้ประเทศไทยเพ่ิมปริมาณ
การส่งออกยางคอมพาวด์ไปยังประเทศจีนท่ีเป็นประเทศคู่ค้า
ยางธรรมชาตนิ น้ั เมอื่ กรดี ตน้ ยางจะไดน้ ้�ำ ยาง(RubberLatex) หลกั มากข้นึ
เม่ือนำ�นำ้�ยามาเติมกรดและสารป้องการการเน่าเสียจะได้ยาง
ในรูปของแข็ง ในอุตสาหกรรมแปรรูปยางดิบจะมีรูปแบบของ
ยางดิบหลายประเภท ไดแ้ ก่ ยางแผน่ รมควัน ยางแทง่ น้�ำ ยาง
เขม้ ข้น และยางคอมพาวด์

รูปท่ี 2 ยางธรรมชาตใิ นรูปแบบต่างๆ

ยางแผ่นรมควัน RSS ยางแท่ง TSR น้�ำ ยางเขม้ ข้น ยางคอมพาวด์
(Ribbed Smoked Sheet) (Technically Specified Rubber) (Concentrated Latex) (Compound Rubber)

2. ยางสงั เคราะห์ (Synthetic Rubber)

ยางสังเคราะห์คือยางท่ีได้จากการสังเคราะห์จากผลิตภัณฑ์ prene Rubber (CR), Polyisoprene Rubber (IR), Isobutyle
ปโิ ตรเคมซี ง่ึ ไดจ้ ากการกลน่ั น้�ำ มนั ดบิ หรอื การแยกกา๊ ซธรรมชาติ Isoprene Rubber (IIR) และ Styrenic Block Copolymer (SBC)
โดยจะได้สารตั้งต้นหลักคือ บิวทาไดอีน (Butadiene) และนำ� โดยสมบตั ิ และตัวอยา่ งผลติ ภัณฑท์ ี่ผลติ ได้ แสดงดงั ตารางที่ 2
สารดังกล่าวมาใช้ในการสังเคราะห์ยางสังเคราะห์ขึ้นมาได้
หลากหลายชนดิ

ยางสงั เคราะหม์ หี ลากหลายชนดิ ซง่ึ แตล่ ะชนดิ มคี วามเหมาะสม
ในการใช้งานเพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์แตกต่างกันไป โดยยาง
สงั เคราะหช์ นดิ หลกั ๆ มี8 ชนดิ ไดแ้ ก่StyreneButadieneRubber
(SBR), Butadiene Rubber (BR), Ethylene Propylenediene
Rubber (EPDM), Nitrile Butadiene Rubber (NBR) Chloro-

24

Cover Story

ชนดิ ของยาง อกั ษรยอ่ สมบัติ ตวั อย่างผลิตภณั ฑ์
สินคา้ อุตสาหกรรม
ยางล้อ (ทอ่ ยาง / ส่วนประกอบเครอ่ื งจกั ร ถงุ มอื ยาง ถงุ ยางอนามยั

และสว่ นประกอบยานยนต์ ฯลฯ)

Natural Rubber NR มคี วามแขง็ แรงและยืดหยุน่ ได้ด ี O O O O

Styrene Butadiene SBR ทนตอ่ การขีดขว่ นได้ปานกลาง O O
Rubber

Butadiene Rubber BR แขง็ แรงและทนต่อการขดี ขว่ น O O
ได้ดเี ยี่ยม

Ethylene - Propylene EPOM ทนทานต่อการเสอ่ื มสภาพจาก O
Diene Rubber ความรอ้ น แสงแดด ออกซเิ จน
ไดด้ ีเยีย่ ม

Nitrile Butadiene NBR ทดตอ่ น�้ำ มัน, จาระบี, O O
Rubber สารไฮโดรคาร์บอนไดด้ ี

Chloroprene Rubber CR ทนไฟ, ใช้ไดด้ กี บั เคร่อื งจักรกล O

Polyisoprene IR คล้ายคลงึ กบั ยางธรรมชาต ิ O O O

Isobutyl Isoprene IIR ทนต่อกรด, นำ�้ รอ้ น ได้ดเี ย่ียม O O
Rubber

Styrenic Block SBC อ่อนนุม่ และยดื หย่นุ ไดด้ เี ยย่ี ม O
Copolymer

ท่มี า : รวบรวมโดยสถาบันพลาสตกิ

ความสมั พันธ์ “ยาง” กบั “พลาสตกิ ”

ดว้ ยสมบตั ขิ องยางธรรมชาตแิ ละยางสงั เคราะหท์ ม่ี คี วามแขง็ แรง ส�ำ หรบั อตุ สาหกรรมพลาสตกิ กไ็ ดม้ กี ารน�ำ ยางเขา้ มาเปน็ สว่ นหนง่ึ
ทนทาน มคี วามยดื หยนุ่ และไมเ่ สยี รปู ทรงเมอื่ เกดิ แรงกระท�ำ ท�ำ ให้ ในการผลิตผลิตภัณฑ์ด้วยเช่นกัน โดยมีการนำ�มาใช้งานท้ังใน
ยางถูกนำ�ไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ มากมาย ทั้งผลิตภัณฑ์ รปู แบบเปน็ สว่ นประกอบหนง่ึ ในผลติ ภณั ฑ์ รวมถงึ ใชง้ านในรปู แบบ
เพื่อการอุปโภค ตลอดจนผลิตภัณฑ์เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรม ของการคอมพาวด์วัสดุระหว่างเม็ดพลาสติกกับยาง เพ่ือปรับปรุง
ต่างๆ เช่นเดียวกันกับพลาสติก อย่างไรก็ตาม หากพิจารณา สมบัติของเม็ดพลาสติกให้มีความยืดหยุ่นมากขึ้น ซ่ึงเรียกว่า
สดั ส่วนการใช้งานระหว่างยางและพลาสตกิ ของท่วั โลกแล้ว ยางยัง เทอร์โมพลาสตกิ อลิ าสโทเมอร์ (Thermoplastics Elastomer) หรอื
คงมีสัดส่วนการใช้งานท่ีน้อยกว่าพลาสติกอยู่ถึงเกือบ 10 เท่า TPE ซ่ึงวัสดุนีก้ ำ�ลังไดร้ บั ความนยิ มอย่างแพรห่ ลายในหลากหลาย
โดยในปี 2553 ท่ัวโลกมีการใช้งานเม็ดพลาสติกเพื่อแปรรูปเป็น อตุ สาหกรรม ซง่ึ หากจะนยิ ามค�ำ วา่ “เทอร์โมพลาสตกิ อลิ าสโทเมอร”์
ผลติ ภัณฑ์ประมาณ 196 ลา้ นตัน และยางมกี ารใชง้ านเพ่ือแปรรปู ต้องเข้าใจคำ�ว่า “เทอร์โมพลาสติก” และ “อิลาสโทเมอร์”
เปน็ ผลติ ภัณฑ์ประมาณ 24 ลา้ นตัน เสียก่อน ดงั นี้

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 25

Cover Story

เทอร์โมพลาสตกิ หมายยถงึ พลาสตกิ และพอลเิ มอรป์ ระเภททม่ี ี อลิ าสโทเมอร์ หมายถงึ พอลเิ มอรท์ มี่ สี มบตั ยิ ดื หยนุ่ ได้ ที่ไดจ้ ากยาง
สายโซโ่ มเลกลุ เปน็ สายโซย่ าว สามารถหลอมเหลวไดด้ ว้ ยความรอ้ น ธรรมชาตแิ ละยางสงั เคราะห ์ ซงึ่ สว่ นมากมโี ครงสรา้ งโมเลกลุ ประเภท
หลายคร้ังและสามารถนำ�มาขึ้นรูปใหม่ได้ พลาสติกในกลุ่ม เทอร์โมเซตตงิ่ (Thermosetting) มลี กั ษณะเปน็ สายโซท่ เ่ี ชอื่ มโยงกนั
เทอร์โมพลาสติกนี้จึงสามารถนำ�เข้ากระบวนการรีไซเคิลและผลิต คล้ายตะข่าย ทำ�ให้ยางหรือวัสดุประเภทน้ีไม่เกิดการหลอมเหลว
เปน็ ผลิตภณั ฑ์พลาสติกได้ใหมไ่ ด้ เมื่อได้รับความร้อนแต่จะไหม้ไฟและกลายเป็นควัน ซ่ึงยากต่อ
การรไี ซเคลิ

รูปท่ี 3 โครงสรา้ งพลาสตกิ ในกลุ่ม Thermoplastics และ Thermosetting

ดงั นน้ั เทอร์โมลพลาสตกิ อิลาสโทเมอร์น้นั จึงเปน็ วสั ดลุ ูกผสมท่ีได้รวมสมบตั ิทีด่ ขี องพลาสติกและยางเขา้ ดว้ ยกัน กล่าวคือ มีความ
ยืดหยนุ่ เหมอื นยาง ณ อณุ ภมู ทิ ี่นำ�ไปใช้งาน และสามารถนำ�กลบั มาใช้งานใหมไ่ ด้โดยผา่ นกระบวนการรีไซเคิล โดยกระบวนการการข้ึนรปู
เทอร์โมพลาสติกอิลาสโทเมอร์น้ัน ใช้กระบวนการเดียวกันกับการข้ึนรูปพลาสติก อาทิ การฉีดเข้าแม่พิมพ์ (Injection Molding)
การอัดรีด (Extrusion) การเป่าด้วยแม่พิมพ์ (Blow Molding) เป็นต้น อีกท้ัง หากเปรียบเทียบรูปแบบและข้ันตอนการผลิต รวมถึง
ประสิทธภิ าพต่างๆ ระหว่างเทอร์โมพลาสติกอิลาสโทเมอร์ (TPE) กบั พอลิเมอร์ประเภทเทอร์โมเซตต่ิงมคี วามแตกต่างกนั ดงั ตารางท่ี 3

ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบประสิทธภิ าพระหวา่ ง เทอร์โมพลาสติกอลิ าสโทเมอร์
และพอลิเมอรป์ ระเภทโทเมอร์เซตติ่ง

Thermoplastics Elastomer (TPE) Thermosetting

การขนึ้ รูป รวดเรว็ (หลกั วนิ าที) ชา้ (หลักนาที)
เศษของเสยี (Scrap) ใช้งานใหม่ได ้ มโี อกาสเป็นของเสียสูงมาก
Curing Agents ไมจ่ ำ�เป็นตอ้ งม ี
เครื่องจักรและเครอื่ งมือในการขน้ึ รูป จำ�เปน็ ตอ้ งมี
สารเติมแต่ง (Additive) Thermoplastics Equipment Vulcanizing Equipment
การเชอื่ มดว้ ยความร้อน (Heat Sealing) เติมนอ้ ยหรือไมต่ ้องเตมิ
สามารถทำ�ได ้ จ�ำ เปน็ ตอ้ งเตมิ
ทม่ี า : วารสารโลหะ วสั ดุ และแร่ ไม่สามารถท�ำ ได้

26

Cover Story

การแบ่งประเภทของ TPE

Thermoplastics Elastomer : TPE เป็นช่ือเรียกกลุ่มหรือ Elastomer : TPO) อิลาสโทเมอริกอัลลอยด์ (Elastomeric Alloys
ประเภทของพลาสตกิ ทม่ี ีสว่ นผสมของยาง ซ่ึง TPE แต่ละชนดิ ถกู : EA) เทอร์โมพลาสตกิ พอลยิ รู ีเทนอิลาสโทเมอร์ (Thermoplastics
พฒั นาและผลติ ขนึ้ มาใชง้ านทางการคา้ มาเกอื บ20 ปแี ลว้ ในประเทศ Polyurethane Elastomer : TPU) พอลิอีเทอร์-เอสเทอร์บล็อก
สหรัฐอเมริกา ญ่ปี นุ่ และยุโรปตะวันตก โดยสามารถแบ่งสามารถ โคพอลเิ มอรเ์ ทอร์โมพลาสตกิ อลิ าสโทเมอร์ (Polyether-Ester Block
แบ่ง TPE ออกเป็นกลุ่มกว้างๆ ได้ประมาณ 6 กลุ่มด้วยกันตาม Copolymer Thermoplastics Elastomer : COPE) พอลิอีเทอร-์
ชนดิ ของเทอร์โมพลาสติกเรซน่ิ ที่ใช้ ได้แก่ สไตรินิกบลอ็ กโคพอล-ิ บล็อก-เอไมด์ เทอร์โมพลาสติกอิสาลโทเมอร์(Polyether-Block-
เมอรอ์ ลิ าสโทเมอร์ (Styrenic Block Copolymer Elastomer : SBC) Amide ThermoplasticsElastomer : COPA) โดยจำ�แนกตามระดับ
เทอร์โมพลาสติกโอเลฟนิ สอ์ ิลาสโทเมอร์ (Thermoplastics Olefin การใช้งานและมตี วั อย่างผลติ ภัณฑ์ ดงั ตารางท่ี 4

ตารางท่ี 4 แสดงบรษิ ทั ผ้ผู ลติ TPE และตวั อย่างผลิตภณั ฑ์
GENERAL PURPOSE GRADES

Styrenic Block Copolymer Elastomer (SBC) Thermoplastics Olefin Elastomer (TPO)

Manufacturer

Performance ทนทานต่อการเสยี ดสี ขึน้ รปู ไดห้ ลายวธิ ี มีราคา สมบตั เิ ชิงกลอยู่ในระดับปานกลางจนถงึ ดี
ถกู กว่า TPE กล่มุ อ่ืนๆ ใช้ในหลายอตุ สาหกรรม ขึ้นรปู ได้งา่ ย ราคาไมแ่ พง ใชง้ านกลางแจง้ ได้ดี

Application รองเท้า, สายไฟ-สายเคเบิล ขอบหนา้ ตา่ ง, สายไฟ-สายเคเบลิ ,
กันชนรถยนต์

MEDIUM PERFORMANCE GRADES

Elastomeric Alloys (EA) Thermoplastics Polyurethane
Elastomer (TPU)

Manufacturer

Performance มีความยดื หยุ่นดี ทนตอ่ อณุ หภมู ิสูงได้ มีราคาสูง มีจุดเดน่ ดา้ นความทนทาน
Application ทนทานตอ่ น�้ำ มนั ได้ ตอ่ การเสยี ดสแี ละฉกี ขาด

สายไฟ-สายเคเบิล, ชนิ้ ส่วนยานยนต,์ พ้นื รองเทา้ , อปุ กรณก์ ารแพทย,์
ยางในเครอื่ งจกั รกล สายไฟ-สายเคเบลิ , ชิ้นสว่ นยานยนต์

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 27

Cover Story

HIGH PERFORMANCE GRADES

Polyether-Ester Block Copolymer Polyether-Block-Amide
Thermoplastics Elastomer (COPE) Thermoplastics Elastomer (COPA)

Manufacturer

Performance มคี วามแขง็ แรงสูง, ทนความรอ้ นไดด้ ,ี ยดื หยนุ่ มคี วามแข็งแรง, ยืดหยนุ่ สงู , ทนต่อการฉีกขาด,
Application ไดม้ าก ถกู จัดเป็นเทอร์โมพลาสติกอิสาลโทเมอร์ ทนทานตอ่ สารเคมีและน�ำ้ มัน

เชิงวศิ วกรรม พืน้ รองเท้ากีฬา, ยางหมุ้ ลวด, ทอ่ ยาง
ใช้เคลอื บใยแกว้ น�ำ แสง, ผลติ อปุ กรณ์กฬี า,

ชน้ิ สว่ นยานยนตต์ ่างๆ

ทม่ี า : ปรบั ปรงุ จากวารสารโลหะ วัสดุ และแร่

ความตอ้ งการและแนวโน้มการใชง้ าน TPE

จากสมบัตขิ องยางเทอร์โมพลาสตกิ อิลาสโทเมอร์ (Thermoplastics Elastomer : TPE) ท่รี วมเอาท้งั ข้อดขี องยางและพลาสตกิ เข้าไว้
ด้วยกันทำ�ให้ความต้องการการใช้งานยาง TPE เพิ่มสูงข้ึนในทุกๆ ปี จากการศึกษาของ Freedonia Group ระบุว่าความต้องการยาง
เทอร์โมพลาสตกิ อลิ าสโทเมอรท์ ว่ั โลกจะเพมิ่ สงู ขนึ้ ประมาณรอ้ ยละ 6 ตอ่ ปี และในปี 2556 ทว่ั โลกจะมคี วามตอ้ งการยางประเภทนป้ี ระมาณ
4.2 ลา้ นตัน ดงั ตารางที่ 5

ตารางท่ี 5 ความตอ้ งการใช้ TPE ท่ัวโลก

ประเภทของ TPE ปริมาณ (KTA) อตั ราการขยายตวั (%)

2546 2551 2556 2546 - 2551 2551 - 2556

ความต้องการใชร้ วม 2,221 3,135 4,200 7.1 6.0
เทอร์โมพลาสตกิ จากสไตรีน 1,124 1,573 2,000 7.0 4.9
เทอร์โมพลาสตกิ โอเลฟนิ ส ์ 435 617 850 7.2 6.6
เทอร์โมพลาสติกพอลิยรู ีเทน 290 428 575 8.1 6.1
เทอร์โมพลาสติกวลั คาไนเซต 158 236 389 8.4 10.5
เทอร์โมพลาสติกพอลเิ อสเทอร์ 116 154 209 5.8 6.3
เทอร์โมพลาสตกิ ประเภทอน่ื ๆ 98 127 177 5.3 6.9

ที่มา : Freedonia

28

Cover Story

สว่ นมากประเทศมพี ฒั นาแลว้ จะมแี นวโนม้ การใชง้ านTPE สงู กวา่ ท้ังน้ี อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นอุตสาหกรรมท่ีมีการใช้ยาง
ประเทศทก่ี �ำ ลงั พฒั นา อาทิ สหรฐั อเมรกิ า ประเทศในกลมุ่ ยโุ รปตะวนั ตก TPE มากท่ีสุด ซ่ีงประมาณการณ์ไว้ว่าความต้องการยาง TPE
ญป่ี ่นุ เป็นตน้ โดยแนวโน้มจะมีการใช้งานTPE ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพสงู ของอุตสาหกรรมยานยนต์ในปี 2556 จะสงู ถงึ 1.2 ลา้ นตนั ซึ่งยาง
อาทิ เทอร์โมพลาสตกิ วลั คาไนเซตและเทอร์โมพลาสตกิ พอลเิ อสเตอร์ TPE ที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์อย่างเทอร์โมพลาสติก
สำ�หรับประเทศที่กำ�ลังพัฒนามีแนวโน้มการใช้งาน TPE ชนิดที่มี โอเลฟินส์และเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนเซต มีการเติบโตเพ่ิมขึ้น
ราคาต�ำ่ ลงมาอย่างเทอร์โมพลาสติกจากสไตรนี เรื่อยๆ เน่ืองจากยางท้ังสองประเภทนี้มีการนำ�ไปใช้ผลิตช้ินส่วน
ประเทศทมี่ อี ตุ สาหกรรมการผลติ ทนี่ า่ จบั ตามองอยา่ งประเทศจนี ภายในห้องโดยสารและภายนอกเป็นจำ�นวนมาก อาทิ ท่ีพักแขน
มีการใช้ยาง TPE สูงถึงประมาณ 1 ใน 3 ของการใช้งานยาง ฝาครอบถงุ ลมนริ ภยั ชน้ิ สว่ นขนาดเลก็ ตา่ งๆ จนถงึ ชนิ้ สว่ นขนาดใหญ่
เทอร์โมพลาสตกิ ทวั่ โลก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เทอร์โมพลาสตกิ ประเภท อย่างบานประตูที่ขึ้นรูปด้วยการฉีดเทอร์โมพลาสติกโอเลฟินส์หรือ
สไตรนี ทจ่ี นี มปี รมิ าณการใชง้ านเกอื บรอ้ ยละ 50 ของโลก บง่ บอกถงึ เทอร์โมพลาสติกวัลคาไนเซตซอ้ นทบั กัน การผลิตชิน้ สว่ นยานยนต์
อุตสาหกรรมการผลิตของจีนมุ่งเน้นท่ีผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเทอร์โม ด้วยยาง TPE นน้ั ก�ำ ลงั ไดร้ บั ความสนใจจากผู้ผลติ รถยนตท์ ั่วโลก
พลาสตกิ สไตรนี เปน็ หลกั อยา่ งอตุ สาหกรรมการผลติ รองเทา้ ทางดา้ น นอกจากอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ใช้ยาง TPE ในการผลิตใน
ประเทศผนู้ ำ�ทางเศรษฐกิจอยา่ งสหรฐั อเมริกา มกี ารใช้งานเทอร์โม ปริมาณมากแล้ว ในอุตสาหกรรมเคร่ืองมือแพทย์ยังมีการนำ�เอา
พลาสติกโอเลฟนิ ส์และเทอร์โมพลาสตกิ วัลคาไนเซต ในปรมิ าณสูง Styrenic TPE มาใช้แทนยางเทอร์โมเซตติ่งในการผลิตอุปกรณ์
ซึ่งเทอร์โมพลาสติกท้งั 2 ประเภทมักนยิ มใชผ้ ลิตเปน็ ผลิตภัณฑ์ใน การแพทย์ ทั้งนี้ เน่ืองจากกระบวนการผลิตและการออกแบบท่ี
อุตสาหกรรมยานยนต์ ง่ายกว่า รวมถงึ มีความสะอาดและราคาทีถ่ ูกกวา่ ด้วย โดยตัวอย่าง
อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่นำ� TPE มาทดแทนแสดงดงั ตารางที่ 6

ตารางท่ี 6 ผลติ ภัณฑ์ทางการแพทยท์ ่ีใช้ TPE ในการผลติ

ผลิตภณั ฑ์ ภาพประกอบ ประสิทธิภาพ
Syringe
stoppers ความเป็นพษิ ต่�ำ กวา่ ใช้ยางเทอร์โมเซตต่งิ ผลติ
ไม่กอ่ ให้เกิดการแพ้

Stopper in มคี วามเขา้ กันไดข้ องเลือดหรือยามากกวา่
blood

collection

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 29

Cover Story ภาพประกอบ ประสทิ ธภิ าพ
ความเป็นพษิ ตำ่�กวา่ ใชย้ างเทอร์โมเซตติง่ ผลิต
ผลติ ภณั ฑ์ ไม่กอ่ ใหเ้ กิดการแพ้
Bulbs/
bladders มีสารพษิ ตกค้างน้อย สามารถดดั โค้งได้

Tubing

Caps/tips มสี ารพษิ ตกค้างนอ้ ย ราคาถกู
Gasket ไมก่ ่อให้เกดิ การแพ้ สามารถเชื่อมดว้ ย
Seals ความรอ้ นได้
Serum caps ไม่กอ่ ใหเ้ กิดการแพ้ สามารถเชอื่ มด้วย
ความรอ้ นได้
30 ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดการแพ้ สามารถเชอื่ มด้วย
ความรอ้ นได้

ผลติ ภัณฑ์ ภาพประกอบ Cover Story
Tool
ประสิทธภิ าพ
handles มคี วามยดื หย่นุ ในการออกแบบ

Cushions สามารถเช่อื มด้วยความร้อนได้

Needle มีสารพิษตกคา้ งนอ้ ย ราคาถูก
shields

Rubber มสี ารพษิ ตกคา้ งนอ้ ย สามารถเชอื่ มดว้ ยความรอ้ น
valves

ทม่ี า : ปรับปรุงจากวารสารโลหะ วสั ดุ และแร่

ทุกวันน้ีเทคโนโลยีด้านวัสดุศาสตร์ได้พัฒนาในลักษณะของการ ใช้ทดแทนวัสดุอ่ืนๆ ท่ีไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้
หยิบเอาสมบัติท่ีโดดเด่นของวัสดุต่างๆ มาผสมรวมกับ เพ่ือให้ได้ อาทิ ความแข็งแรงทนทานสำ�หรับผลิตภัณฑ์ท่ีมีการใช้งานใน
วสั ดุท่ีมปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ กว่าเดมิ อันจะเป็นการลดจดุ ออ่ นหรือ ลกั ษณะเสียดสี ความอ่อนน่มุ ท่ีไม่ก่อให้เกดิ การระคายเคืองสำ�หรบั
ข้อด้อยส�ำ หรับการใชว้ สั ดเุ พยี งประเภทเดียวในการผลติ ผลติ ภัณฑ์ ผลิตภณั ฑเ์ ชิงการแพทย์ เป็นต้น ซงึ่ การจะสร้างสรรคน์ วัตกรรมที่
เทอร์โมพลาสตกิ อลิ าสโทเมอร์ก็เป็นอีกวสั ดหุ น่งึ ทีถ่ กู พัฒนาขน้ึ มีประสทิ ธภิ าพสูงได้นน้ั นวตั กรรมเชงิ วัสดนุ จี้ ึงมคี วามสำ�คญั และมี
เพอื่ ตอบสนองการใชง้ านทหี่ ลากหลายมากขน้ึ ซงึ่ เปน็ สว่ นสนบั สนนุ ความจำ�เป็นตอ่ การสร้างสรรค์เป็นอย่างมาก
และเพ่ิมประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์พลาสติกให้สูงยิ่งข้ึน รวมถึง

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 31

Cover Story

CCPolarvesetarictSsivtoaeryndCRoumbbbeinr.a..t.ion
Rubber is a raw material used to produce products or part of products in daily life. It also relates to numerous continuous
industries such as automotive industry, machinery industry, construction industry etc. Rubber is divided into two types namely
Natural Rubber and Synthetic Rubber. The two types of rubber have different properties according to their usage. However, their
properties can be improved through additives to obtain different but unique properties called “Rubber Compound”. Thailand is the
biggest source of natural rubber in the world, reflecting in the importance of natural rubber industry in Thailand’s economic system.

Differences between Natural Rubber and
Synthetic Rubber
1. Natural Rubber

Natural rubber is a product obtained from a rubber tree Thailand is famous for the production of natural rubber. The
with the scientific name of Hevea brasiliensis. It is originated main plantation areas are in the south due to heavy rainfall and
in Brazil with the environment proper to the cultivation such warm climate all year round, contributing to the good quality of
as heavy rainfall and warm climate all year round. Countries rubber. Nowadays, rubber clones are developed for planting
along the equator such as Brazil, India, Sri Lanka, Thailand, in other areas such as in the north-east with heavy but less
Indonesia, Vietnam, Malaysia etc. all enjoy good cultivation of rainfall than in the south.
natural rubber.

32

Cover Story

Table 1 Output, export volume, and domestic consumption between 2008 – 2012

2008 200 9 2010 2011 2012 Unit : KTA

AAGR
2008 - 2012

Output 3,089 3,164 3,252 3,569 3,778 4.10
Export volume 2,675 2,726 2,866 2,952 3,121 3.13
Domestic consumption 397 399 458 486 505 4.93

Source : Rubber Research Institute of Thailand, Department of Agriculture

The table shows that since 2008-2012 Thailand’s output, 2. Synthetic Rubber
export volume, and domestic consumption of natural rubber
have continuously gone up. From the output every year, Synthetic rubber is the rubber that is derived from the
Thailand focuses on export which contributes to 80 percent of synthesis of petrochemical products from crude oil refining
the total production. or natural gas separation whereby the monomer Butadiene
is obtained. The substance is used to produce many types of
When tapping the rubber tree, rubber latex is obtained. synthetic rubber.
When mixing with acids and preserving agents, solid rubber is
obtained. In the primary processing, there are many types of Synthetic rubber consists of many types. Each type has
rubber such as smoked sheet rubber, block rubber, concen- differentpropertiesforproductionofproducts.Syntheticrubbercan
trated rubber latex, and compound rubber. be divided mainly into 8 types namely Styrene Butadiene Rubber
(SBR), Butadiene Rubber (BR), Ethylene Propylenediene
Thailand mainly exports block rubber, followed by smoked Rubber (EPDM), Nitrile Butadiene Rubber (NBR) Chloroprene
sheetrubber,concentratedrubberlatex,and compoundrubber. Rubber (CR), Polyisoprene Rubber (IR), Isobutyle Isoprene
Presently,morecompoundrubberisexportedasChinaimposes Rubber (IIR), and Styrenic Block Copolymer (SBC) according
less import tariff on compound rubber than block rubber or to the properties and produced product samples as illustrated
smoked sheet rubber, providing the opportunity for Thailand in table 2.
to export more compound rubber to China which is a main
major trading partner.

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 33

Cover Story

Table 2 Properties and product samples divided by types of rubber

Types of rubber Abbre Properties Product samples
viation Industrial goods
Tires (pipes/ machinery parts and Gloves Condoms
Natural Rubber NR Strength and elasticity
automotive parts etc.) O
Styrene Butadiene SBR Medium resistance to
Rubber scratches O O O
O O
Butadiene Rubber BR Strength and excellent
resistance to scratches O O

Ethylene - Propylene EPOM Excellent resistance to the O
Diene Rubber deterioration from heat,
the sun, oxygen O O

Nitrile Butadiene NBR Resistance to oil, lubricant, O
Rubber hydro carbons
O O O
Chloroprene Rubber CR Resistance to fire, good O O
with machinery
O
Polyisoprene IR Similar to natural rubber

Isobutyl Isoprene IIR Excellent resistance to acid
Rubber and hot water

Styrenic Block SBC Softness and excellent
Copolymer elasticity

Source : compiled by Plastics Institute of Thailand

The relationship between “Rubber” and
“Plastics”

Due to the properties of the natural rubber and synthetic For the plastics industry, rubber is also used in the produc-
rubber namely strength, resistance, elasticity, and retained tion process, whether as part of a product or as a compound
form after impact, rubber is widely processed into numerous material between plastic resin and rubber to improve the elastic
consumer products as well as supporting industries, the same propertyofplasticresincalledThermoplasticsElastomer(TPE).
as plastics. However, when considering the consumption ratio This material is presently popular in numerous industries.
between rubber and plastics around the world, rubber is con-
sumed nearly 10 times less than plastics. In 2010, the global Before defining the material “Thermoplastics Elastomer”,
processing of plastic resin into products was approximately one must first understand the terms “Thermoplastics” and
196 million tons with rubber only 24 million tons. “Elastomer”

34

Cover Story

Thermoplastics means plastics and polymer with long Types of TPE
molecule chain that can be melted after being heated many
times and can be remolded. Plastics in this thermoplastics Thermoplastics Elastomer (TPE) means a group or type of
group can be recycled and made into a new plastic product. plastics mixed with rubber. Each type of TPE has been developed
Elastomer means polymer that has elastic property and is and commercially produced for nearly 20 years in USA, Japan,
obtained from synthetic rubber and natural rubber. Most has and Western Europe. TPE can be divided largely into 6 groups
the molecule structure of the thermosetting type which has the according to each thermoplastics resin used namely Styrenic
connecting chain like a net so that the rubber or the material Block Copolymer Elastomer (SBC), Thermoplastics Olefin
will not be melted when heated but will be burned into smoke Elastomer (TPO), Elastomeric Alloys (EA), Thermoplastics
and as such difficult for recycling. Polyurethane Elastomer (TPU), Polyether-Ester Block Copolymer
Thus, Termoplastics Elastomer is a mixed material that Thermoplastics Elastomer (COPE), Polyether-Block-Amide
combines the good properties of plastics and rubber. It has Thermoplastics Elastomer (COPA).
the elastic property of rubber at the temperature of usage and
can be reused through recycling process. The molding process Demand and trend of consumption of TPE
of Thermoplastics Elastomer is the same as plastics such as
Injection Molding, Extrusion, Blow Molding etc. When com- ThankstothepropertiesofThermoplasticsElastomer(TPE)
paring the production process and efficiency, Thermoplastics that combine the good properties of rubber and plastics, the
Elastomer (TPE) and polymer of the thermosetting type are demand for TPE increases every year. According to the study
different. of Freedonia Group, the global demand for Thermoplastics
Elastomer will increase approximately 6 percent a year. In
2013, the global demand for this type of rubber will amount to
4.2 million tons.

Types of TPE Table 3 Global demand of TPE Growth ratio (%)

Overall demand Volume (KTA) 2003 - 2008 2008 - 2013
Styrenic Thermoplastics
Thermoplastics Olefin 2003 2008 2013 7.1 6.0
Thermoplastics Polyurethane 7.0 4.9
Vulcanized Thermoplastics 2,221 3,135 4,200 7.2 6.6
Thermoplastics Polyester 1,124 1,573 2,000 8.1 6.1
Other types of thermoplastics 435 617 850 8.4 10.5
290 428 575 5.8 6.3
Source : Freedonia 158 236 389 5.3 6.9
116 154 209
98 127 177

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 35

Cover Story

The developed countries tend to use TPE more than the such as armrest, airbag covers, from small parts to big parts
developing countries such as USA, Western Europe, Japan such as doors formed by the injection of Thermoplastics Olefin
etc. The trend is to use TPE for highly efficient usage such or juxtaposed with Vulcanized Thermoplastics. The production
as Vulcanized Thermoplastics and Thermoplastics Polyester. of automotive parts using TPE has caught enormous interest
The developing countries tend to use cheaper TPE such as from the automotive manufacturers around the world.
Styrenic Thermoplastics.

Apart from the automotive industry using a large volume
A country with interesting manufacturing sector such of TPE in production, the medical device industry also uses
as China consumes TPE as high as one third of the global StyrenicTPE toreplacethermosettingrubberbecauseof easier
consumption of thermoplastics, especially Styrenic Thermo- production process and design. It is also cleaner and cheaper.
plastics that China consumes nearly 50 percent of the world.
This shows that China’s manufacturing industry focuses on the Nowadays, the technology of material science is developed
products made mainly from Styrenic Thermoplastics such as byselectingthedistinguishedpropertiesofmaterialsandmixing
the shoe industry. As for the economic leader such as USA, them to obtain more efficient materials, reducing weaknesses
Thermoplastics Olefin and Vulcanized Thermoplastics are of using only one type of material in production.
highly consumed and mainly used in the automotive industry.

Thermoplastics Elastomerisyetanother material developed
The automotive industry is the industry that consumes TPE to meet the various requirements of usage. It supports and
rubber most. It is estimated that the demand of TPE in the increases the efficiency of plastic products. It also replaces
automotive industry in 2013 will reach 1.2 million tons. The TPE other materials that do not meet the demand such as strength
rubber used in the automotive industry such as Thermoplastics and resistance for products that cause friction, softness that
Olefin and Vulcanized thermoplastics has experienced continu- does not create irritation for medical devices etc. To create
ous growth. These types of rubber are used in large quantity innovation for highly efficient products, material innovation is
in the production of inner and outer parts of the automotive crucial and necessary to creativity.

36

Special Interview

SPECIAL
INTERVIEW

นอกจากความสำ�คัญของยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ที่เป็นวัสดุสนับสนุน
อุตสาหกรรมปลายทางต่างๆ ของประเทศไทย อันช่วยสร้างมูลค่าเพ่ิมได้อย่างมหาศาลแล้ว
ความสำ�คัญอีกประการหน่ึง คือ ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกยางปริมาณสูง
อันดบั หนงึ่ ของโลก ในแต่ละปสี ามารถสร้างรายได้ใหก้ ับประเทศปีละหลายแสนล้านบาท หาก
พูดถึงยางแล้ว คนส่วนใหญ่มักนึกถึงแต่ยางพารา แต่ในความเป็นจริงน้ัน ยังมีกลุ่มของยาง
สังเคราะห์ที่เป็นผลผลิตมาจากกระบวนการปิโตรเคมี รวมถึงวัสดุลูกผสมระหว่างยางกับ
พลาสตกิ อยา่ งเทอร์โมพลาสติกอลี าสโทเมอร์ (Thermoplastics Elastomer : TPE) ท่ีเป็น
วสั ดุที่ไดร้ ับความนยิ มอยา่ งมากในปัจจบุ ัน
ด้วยความสำ�คัญของยางและยางสังเคราะห์ท่ีมีบทบาทความสัมพันธ์กับพลาสติกเป็น
อย่างมาก ในฉบับน้ีทีมงานวารสาร Plastics Foresight ได้รับเกียรติจากประธานกลุ่ม
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย คุณบุญหาญ อู่อุดมย่ิง
ผทู้ ม่ี ปี ระสบการณแ์ ละความเชย่ี วชาญในอตุ สาหกรรมยางและยางสงั เคราะหม์ าเปน็ ระยะเวลา
หลายสบิ ปี มาใหข้ อ้ มลู และค�ำ แนะน�ำ ทน่ี า่ สนใจในอตุ สาหกรรมยางทมี่ บี ทบาทตอ่ อตุ สาหกรรม
ต่างๆ พร้อมทั้งช้ีแนะถึงทิศทางในอนาคตของอุตสาหกรรมยางและยางสังเคราะห์ของ
ประเทศไทย ใหค้ ุณผูอ้ ่านรบั รู้และเข้าใจถงึ อตุ สาหกรรมยางและยางสังเคราะห์มากยง่ิ ขนึ้

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 37

Special Interview

กล่มุ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑย์ าง
สภาอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย

คุณบญุ หาญ อูอ่ ุดมยงิ่
ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมผลิตภณั ฑย์ าง

สภาอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย

กลุ่มอุต สาหกรรมผลิต ภัณฑ์ยา ง
สภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทยกอ่ ตง้ั ขนึ้ มา
เปน็ ระยะเวลา 40 กวา่ ปี โดยเริ่มกอ่ ตัง้ ข้นึ มา
พร้อมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สมาชกิ ส่วนใหญข่ องกลมุ่ ฯ มาจากกล่มุ ท่ีรับ
ยางท่ีแปรรูปแล้วมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ซึ่ง
เป็นกลุ่มปลายนำ้� รองลงมาเป็นกลุ่มกลาง
นำ้� คอื กลมุ่ ทรี่ บั ยางจากเกษตรกรชาวสวน

ยางมาแปรรปู สว่ นในกลมุ่ ของผปู้ ระกอบ
การต้นนำ้� อย่างเกษตรกรชาวสวน

ยางยังไม่มีสมาชิกในส่วนน้ี มีจำ�นวน
สมาชิกประมาณ 85 ราย ซ่ึงเป็น
ผู้ประกอบการรายใหญ่ของประเทศ
โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมยางล้อ
ทุกราย ท่ีเป็นกลุ่มที่ใช้ยางประมาณ
ร้อยละ 80 ของทงั้ ประเทศ

กลมุ่ อตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑย์ างมพี นั ธกจิ
ท่ีจะน�ำ เสนอข้อมูล ความคิดเห็น เพอ่ื ก�ำ หนด
ยทุ ธศาสตรข์ องอตุ สาหกรรมยางประเทศไทย
ทงั้ ระบบ อีกหนึ่งหน้าท่ี คือ ให้ความชว่ ยเหลอื
แก่หน่วยงานวิจัยต่างๆ อาทิ การกำ�หนด
โจทย์ให้กลุ่มวิจัยและพัฒนา รวมถึงให้การ
สนับสนนุ ปจั จยั ตา่ งๆ เป็นตน้
38

Special Interview

• ในปจั จบุ นั อตุ สาหกรรมยางของประเทศไทยเปน็ อยา่ งไร?

ปัจจุบันประเทศไทยมีเกษตรกรชาวสวนยางพาราซึ่งเป็นกลุ่ม ถึงแม้ว่าในปัจจุบันประเทศไทยจะเป็นอันดับหน่ึงในด้านการ
ตน้ น�ำ้ มจี �ำ นวนผปู้ ระกอบการประมาณ6 ลา้ นคน กระจายอยทู่ กุ ภาค ส่งออก แต่ในอนาคตอาจท่จี ะเผชญิ กบั ปัญหาตา่ งๆ ไดเ้ พราะหลาย
ของประเทศ ซงึ่ การเพาะปลกู ยางพาราทว่ั ประเทศมปี รมิ าณสงู มาก ปัจจัยมีการเปล่ียนแปลง อาทิ การทำ�การเกษตรแบบพันธสัญญา
ขนึ้ จากเดมิ เมอื่ 10ปกี อ่ นมกี ารเพาะปลกู ประมาณ12ลา้ นไร่ในปจั จบุ นั (ContractFarming) ทเี่ รมิ่ มผี ปู้ ระกอบการในสาธารณรฐั ประชาชนจนี
มีการเพาะปลกู มาถึง 19 ล้านไร่ ในแตล่ ะปีประเทศไทยสามารถสง่ ใช้วธิ ีการนีด้ ำ�เนินการซอ้ื จากประเทศอื่น
ออกยางดบิ ไดถ้ งึ ร้อยละ 86 ใช้ภายในประเทศ ร้อยละ 14 รวมแล้ว อกี ปญั หาหนง่ึ คอื การผลติ ยางสงั เคราะหท์ ี่ในปจั จบุ นั มปี รมิ าณ
สามารถสร้างรายได้ให้แก่ประเทศปีละไม่ตำ่�กว่า 5 แสนล้านบาท การผลติ มากขน้ึ แตย่ งั คงกระจกุ ตวั อยู่ในกลมุ่ ผปู้ ระกอบการไมก่ รี่ าย
ตอ่ ปี โดยประเทศไทยสามารถผลติ ยางพาราได้ถงึ รอ้ ยละ 39 ของ โดยมากจะผลิตในส่วนที่เก่ียวข้องกับอุตสาหกรรมยางล้อเป็นหลัก
การผลิตทั้งโลก มีประเทศคู่ค้าท่ีสำ�คัญ คือ จีน ญี่ปุ่น และ โดยท่ีปัจจุบันกระแสของโลกมีความคิดท่ีจะผลิตยางสังเคราะห์เพิ่ม
สหรฐั อเมรกิ า แต่เนอ่ื งจากปริมาณการเพาะปลูกที่มากขนึ้ ซ่ึงอาจ มากข้ึน เนื่องจากในอดีตนน้ั ราคาของยางธรรมชาติจะถกู กวา่ ยาง
ท�ำ ใหเ้ กิดปัญหาอุปทานสว่ นเกนิ ข้นึ ไดใ้ นอนาคต สังเคราะห์ ทำ�ให้ปริมาณการใช้ยางสังเคราะห์น้อย แต่ในปัจจุบัน
ส�ำ หรบั ในปจั จบุ นั ราคาของยางพาราเรม่ิ ทจ่ี ะผนั ผวนมากขน้ึ โดย กลับกนั คอื ยางสงั เคราะห์มีราคาถูกกวา่ เน่ืองจากยางพาราเป็น
สว่ นหนง่ึ เปน็ ผลมาจากปญั หาเศรษฐกจิ ของโลก หลายประเทศจงึ มี สินคา้ ทีม่ กี ารซือ้ ขายในตลาดล่วงหนา้ ส่งผลใหร้ าคาผนั ผวน สาเหตุ
การเปลย่ี นการเพาะปลกู พชื ชนดิ อน่ื ทดแทน เชน่ ประเทศมาเลเซยี เรม่ิ หนึ่งท่ีทำ�ให้ราคาของยางพารามีการเปล่ียนแปลงไปมากขนาดน้ี
สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนเพาะปลกู ปาลม์ น�ำ้ มนั แทนยางพารา แตเ่ ชอ่ื วา่ ส่วนหน่ึงเกิดจากการเก็งราคาซื้อขายในตลาด โดยส่วนตัวของผม
ส�ำ หรบั ประเทศไทยคงยงั ไมม่ กี ารเปลย่ี นการเพาะปลกู เนอ่ื งจากราคา เคยซ้ือเม่ือราคาขนึ้ ไปสงู ถึง กิโลกรัมละ 180 กว่าบาท ก็สามารถ
ของยางพารายงั มีราคาทส่ี ูงน่าดึงดูดอยู่ เอาตัวรอดได้แต่หากเปน็ ผูป้ ระกอบการรายใหม่อาจจะตอ้ งลำ�บาก

ต่อมาในกลุ่มกลางนำ้� หรือกลุ่มผู้แปรรูปจากยางดิบให้เป็น
ยางแผ่น ยางแท่ง หรือน้ำ�ยายาง มีผู้ประกอบการเพียงประมาณ
55 รายเทา่ นน้ั ถงึ แมว้ า่ จะมผี ปู้ ระกอบการนอ้ ย แตม่ ศี กั ยภาพรองรบั
การแปรรปู ไดเ้ ปน็ จ�ำ นวนมาก และสดุ ทา้ ยกลมุ่ ปลายน�ำ้ มผี ปู้ ระกอบการ
ประมาณ 600 โรงงาน โดยกลมุ่ ที่ใชย้ างมากคอื กล่มุ ทผี่ ลิตยางลอ้

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 39

Special Interview

• บทบาทของอตุ สาหกรรมยางในฐานะอตุ สาหกรรม หากเทคโนโลยีเกี่ยวกับ TPE ไม่ซับซ้อนเหมือนในปัจจุบัน
สนบั สนนุ เปน็ อยา่ งไร? ผู้ประกอบการก็คงจะหันไปใช้มากขึ้น บทบาทของยางก็อาจจะ
อตุ สาหกรรมทย่ี างไปมสี ว่ นรว่ มมากทสี่ ดุ อนั ดบั แรก คอื ยางลอ้ ลดน้อยลง ซึ่งไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร เพราะการประกอบการส่วน
รองลงมา คือ ถุงมือยาง และยางในวิศวกรรมตามลำ�ดับ ส่วน ใหญข่ นึ้ อยู่กบั กระแสในแต่ละชว่ ง ยกตวั อยา่ ง ยางปูพ้ืนในรถยนต์
อุตสาหกรรมการแพทย์ส่วนใหญ่จะเป็นในรูปแบบของกลุ่มที่ใช้ ในช่วงแรกจะใช้ยางธรรมชาติ ต่อมาเกิดการรณรงค์ให้รถยนต์มี
เพียงครั้งเดียว ยังมีศักยภาพท่ีจะเติบโตได้ ในส่วนของผลิตภัณฑ์ น้ำ�หนักเบาขึ้นเพ่ือช่วยประหยัดนำ้�มัน จึงทำ�ให้เปล่ียนมาใช้เป็น
ยางทางวศิ วกรรมเป็นผลิตภัณฑท์ ่มี คี วามซบั ซ้อน ต้องอาศัยความ ยางที่เบาขนึ้ ดว้ ยการ ใช้ยาง โฟมและต่อมากม็ าเนน้ ในเรื่องการน�ำ
เชี่ยวชาญในการออกแบบและผลิตซึ่งประเทศไทยเราก็มีความ กลับมาใช้ใหม่ จึงมีการใช้ TPE มากข้ึน แต่ถึงจะอย่างไรก็ตาม
สามารถในระดับหน่ึง ผลกระทบดังกล่าวก็ยังคงจำ�กัดอยู่ในวงแคบ ยังไม่มีผลกระทบ
มาถึงจดุ ใหญ่

บทบาทหลักจึงข้ึนอยู่กับอุตสาหกรรมยางยนต์เป็นหลักจาก • ในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเขา้ สู่ประชาคมเศรษฐกิจ
นโยบายของรฐั บาล รถยนต์คันแรก ไดท้ ำ�ให้มกี ารขยายตวั มากขึน้ อาเซียน จะมีผลกระทบกบั อตุ สาหกรรมยางไรบา้ ง?
ซ่ึงคาดการณ์ว่าจะขยายตัวอีกครั้งเมื่อถึงรอบระยะเวลาการเปล่ียน
ยางล้อในอีกประมาณ 2- 4 ปี ในกลุ่มผู้ประกอบการต้นนำ้�คงจะเกิดผลกระทบแน่ ถ้าหากว่า
ยังมีต้นทุนท่ีแพงกว่าเช่นในปัจจุบัน โดยการเปิดเสรีทางการค้า
• ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งยางและพลาสติก เปน็ อยา่ งไร? จะทำ�ให้ผู้ประกอบการไทยสามารถที่จะเลือกซ้ือวัสดุจากภายนอก
ประเทศทม่ี รี าคาถกู กวา่ กนั ได้ ในสว่ นของผลติ ภณั ฑป์ ลายน�ำ้ ยงั ไมน่ า่
เทอร์โมพลาสติกอีลาสโทเมอร์ (Thermoplastics Elastomer เป็นห่วงมากนัก เพราะประเทศไทยมีจุดแข็งในด้านของคุณภาพ
: TPE) คอื วัสดลุ ูกผสมระหวา่ งพลาสตกิ และยาง ทำ�ให้มีสมบัติ ส่งิ ท่ีนา่ จับตามอง คือ จะมโี รงงานของบริษัทผู้ผลิตภายในประเทศ
และจุดเด่นของทั้งสองวัสดุรวมกัน ข้อดีที่เห็นได้ชัด คือ สมบัติ เลอื กทจ่ี ะยา้ ยฐานการผลติ ไปยงั ประเทศอนื่ เนอ่ื งจากมรี าคาตน้ ทนุ
ท่ีสะดวกต่อการข้ึนรูปและการนำ�กลับมารีไซเคิลได้ ในปัจจุบันมี ทตี่ �ำ่ กวา่ ซงึ่ ไม่ใชแ่ คผ่ ปู้ ระกอบการชาวตา่ งชาตเิ ทา่ นน้ั แตห่ มายรวม
การนำ�มาใช้อย่างแพร่หลายมากข้ึน แต่ยังไม่แพร่หลายไปในทุก ถึงผู้ประกอบการชาวไทยด้วยกันเอง แต่สำ�หรับประเด็นน้ีผม
อตุ สาหกรรม เนอื่ งจากราคาของ TPE ยงั สงู กวา่ เทคโนโลยที ร่ี องรบั คิดว่ายังไม่ใช่ประเด็นน่ากลัวเท่าไรนัก เพราะอุตสาหกรรมไทย
ยงั ไม่มาก และท่สี �ำ คญั คือ TPE จะอยู่ในอุตสาหกรรมอน่ื ๆ ที่ไม่ใช่ ยังคงมีความแข็งแกร่งอยู่ ในส่วนของกลุ่มผลิตภัณฑ์ยางฯ ก็มี
อตุ สาหกรรมยางหลัก เชน่ อุตสาหกรรมยางลอ้ ท่ีมกี ารใช้ยางถึง ความพยายามที่จะพัฒนามาตรฐานการผลิตให้ดีกว่าเดิมมากข้ึน
รอ้ ยละ 70 แต่TPE สว่ นใหญจ่ ะใชใ้ นอตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ ง เครอ่ื งใช้ ประเทศไทยเราเป็นสมาชิกของกลุ่ม Rubber Base Product
ภายในบ้าน อาจจะต้องใช้เวลาอีกสักระยะเวลาหนึ่งถึงจะพัฒนา Working Group : RBPWG ที่คิดจะทำ�มาตรฐานการผลิตและ
ข้ึนมาอีกได้ แต่ก็เป็นวัสดุที่น่าสนใจโดยที่ปัจจุบันการเติบโตของ การค้ายางในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยที่ประเทศไทยเป็นผู้นำ�
TPE อยู่ที่ประมาณร้อยละ 6 ต่อปีและนอกจาก TPE แล้วยังมี ในกลมุ่ และยงั มีการเตรยี มพร้อมในด้านตา่ งๆ ดว้ ย เช่น การศึกษา
การพยายามท่ีจะพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองต่อกระแสรักษา มาตรฐานของประเทศในอาเซยี น เพ่ือทวี่ า่ จะไดเ้ ตรยี มพรอ้ ม และ
สิ่งแวดล้อมมากข้ึนด้วยโดยมากจะเป็นส่วนของยางสังเคราะห์ สามารถแขง่ ขนั ในการค้าไดม้ ากยงิ่ ขน้ึ ส่ิงท่จี ะตอ้ งเกดิ ขึ้นเมอ่ื เขา้ สู่
เปน็ หลกั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือ การซื้อขายที่เป็นเสรีมากยิ่งข้ึน
ในปัจจุบัน ประเทศไทยยังมีกฏหมายท่ีจำ�กัดการนำ�เข้าผลิตภัณฑ์
ยางจากภายนอก ถา้ ยกเลกิ จะท�ำ ใหผ้ ปู้ ระกอบการปลายนำ้�ของไทย
สามารถทจี่ ะเลอื กซอ้ื ผลติ ภณั ฑย์ างจากชาวสวนยางในตา่ งประเทศ
ท่ีมีราคาต�่ำ กวา่ ได้

40

Special Interview

ประเทศไทยมจี ดุ แขง็ ในดา้ น
ของคณุ ภาพ แตส่ ง่ิ ทน่ี า่ จบั ตา
มอง คอื จะมโี รงงานของ
บรษิ ทั ผผู้ ลติ ภายในประเทศ
เลอื กทจ่ี ะยา้ ยฐานการผลติ
ไปยงั ประเทศอน่ื เนอ่ื งจากมี
ราคาตน้ ทนุ ทต่ี �ำ่ กวา่

• ปจั จยั แหง่ ความส�ำ เรจ็ ของอตุ สาหกรรมยาง ควรประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง?
หากทจ่ี ะใหอ้ ตุ สาหกรรมยางพฒั นาตอ่ ไปไดใ้ นอนาคต จ�ำ เปน็ ทจ่ี ะ ประเด็นตอ่ มา คอื ประเดน็ แรงงานที่ต้องมีให้เพียงพอ ไม่ว่าจะ
ตอ้ งมกี ารวจิ ยั พฒั นา ในปจั จบุ นั มหี นว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบอยู่ ทเ่ี ราเรยี กวา่ เป็นแรงงานไรฝ้ ีมอื หรือมฝี ีมือ ในปัจจบุ นั มกี ารขาดแคลนแรงงาน
เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) ประกอบด้วย ชาวไทย ทำ�ให้จำ�เป็นที่จะต้องจ้างแรงงานชาวต่างด้าว แต่ก็เกิด
สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สำ�นักงานพัฒนา ความไม่ม่ันคงในการประกอบการ ที่อาจจะเกิดปัญหาข้ึนได้ หรือ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สำ�นักงานกองทุน หากในอนาคตแรงงานกลบั ประเทศ ใครจะมาท�ำ งานในส่วนนแ้ี ทน
สนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การทำ�งานโรงงานเป็นงานที่ถือว่าเป็นงานหนัก หลายคนเลือกท่ี
(สกอ.) สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี จะไม่ทำ� ถึงแม้ว่าจะมีปัจจัยเร่ืองค่าแรงข้ันต่ำ�เข้ามามีผลกระทบ
และนวตั กรรมแหง่ ชาติ(สวทน.) ส�ำ นกั งานพฒั นาการวจิ ยั การเกษตร อยบู่ า้ ง แตส่ ว่ นใหญย่ งั พอรบั มอื ไหว แตถ่ งึ อยา่ งนนั้ หลายๆ โรงงาน
(สวก.) และสถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) โดยเปน็ อีกหน่ึง ในประเทศเริ่มท่ีจะเปล่ียนจากการใช้แรงงานคนมาเป็นเครื่องจักร
พันธกิจของกลุ่มฯ ในการให้การสนับสนุนงานวิจัย แต่ส่ิงที่สำ�คัญ อัตโนมัติมากข้ึน ส่วนปัญหาด้านอ่ืนๆ ยังพอไปไหวแต่ถึงอย่างไร
อกี ประการหนึ่ง คอื การมหี อ้ งปฎบิ ัติการตรวจสอบคณุ ภาพสนิ ค้า กต็ อ้ งปรบั ตัวในหลายๆ ดา้ น
ที่ไดร้ บั มาตรฐานสากล โดยทางกลุม่ ผลิตภัณฑย์ างฯ เราไดป้ ระสบ
ความสำ�เร็จอย่างหน่ึงในการได้รับทุนสนับสนุนห้องวิจัยทดสอบมา
จากสำ�นักงานส่งเสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม
ประเดน็ ดา้ นมาตรฐาน ผลติ ภณั ฑย์ างในประเทศไทย ควรจะผลติ
ใหไ้ ดม้ าตรฐานไมว่ า่ จะเปน็ มาตรฐานในประเทศหรอื มาตรฐานสากล
การทสี่ นิ คา้ มมี าตรฐานจะท�ำ ใหผ้ ใู้ ชส้ นิ คา้ ปลอดภยั และพงึ พอใจเปน็
ปจั จยั แห่งความส�ำ เร็จในการประกอบธรุ กิจ

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 41

Special Interview

• อนาคตอตุ สาหกรรมยางของประเทศไทย
จะเปน็ ในลักษณะใด?

ประเด็นท่ีต้องจับตามอง ก็คือ ร่าง พ.ร.บ.การยางแห่ง
ประเทศไทย เนอ่ื งจากมองวา่ ถา้ หากมกี ารบรหิ ารจดั การทดี่ แี ละเปน็
ระบบแลว้ จะทำ�มลู คา่ เพ่ิมของอุตสาหกรรมยางมากขน้ึ อย่กู วา่ เดิม
ซ่ึงก็คงเป็นสิ่งที่ดีแต่เนื่องจากมีกฏอยู่ข้อหนึ่งที่ระบุว่า กลุ่มผู้ค้า
ปลายนำ้� เม่ือทำ�การส่งออกจะต้องเสียภาษีให้กับรัฐบาลด้วย
ซึ่งไม่มีประเทศไหนท่ีเป็นไปในลักษณะนี้ ขัดกับความคิดที่จะ
สนบั สนุนการแปรรปู ในประเทศ ทางกลุ่มผลติ ภณั ฑย์ างฯ จงึ แสดง
ความคิดเห็นคัดค้านร่าง พ.ร.บ. ดังกล่าว ซึ่งอย่างหน่ึงที่ควรทำ�
ความเขา้ ใจ คอื หนว่ ยงานภาครฐั มกั จะมองแต่ในกลมุ่ ตน้ น�ำ้ เมอื่ ครง้ั
ท่ีมีการชุมนุมเร่ืองราคาผลผลิตตกตำ่�ทางหน่วยงานภาครัฐได้มา
ปรกึ ษาทางกลมุ่ ฯ แตเ่ มอ่ื ตอนทร่ี าคาขน้ึ สงู มากกลบั ไมส่ นใจทางเรา
• ในฐานะที่คุณบุญหาญฯ ดำ�รงตำ�แหน่งประธานกลุ่ม
อีกหนง่ึ ความคิด คือ Rubber City ซ่ึงเปน็ ความคดิ ท่ีจะพัฒนา อตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑย์ าง อยากทจี่ ะเหน็ อตุ สาหกรรมยาง
อตุ สาหกรรมยางใหด้ ขี นึ้ โดยเปน็ คลสั เตอรข์ องกลมุ่ อตุ สาหกรรมยาง ของประเทศไทย เป็นอยา่ งไร?
ทจี่ ะรว่ มกนั พฒั นาใหม้ มี ลู คา่ เพมิ่ มากขนึ้ ท�ำ ใหม้ คี ณุ ภาพทดี่ ขี นึ้ แต่
ปจั จบุ นั ยงั ประสบปญั หาทย่ี งั ไมม่ เี จา้ ภาพทแ่ี นน่ อนแมว้ า่ จะมกี ารพดู ผมอยากจะเหน็ ความสมบรู ณข์ องอตุ สาหกรรมยางทงั้ ระบบ คอื
ถงึ มาเปน็ ระยะเวลานานแลว้ ก็ตาม ประเทศไทยมศี กั ษภาพทจ่ี ะท�ำ อตุ สาหกรรมยางใหเ้ ปน็ อตุ สาหกรรม
ชน้ั น�ำ ของโลกได้ โดยมกี ารพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ทง้ั ระบบ ในดา้ นตน้ น�้ำ ก็
• หากเปน็ ผูป้ ระกอบการทอี่ ยากเขา้ สอู่ ุตสาหกรรมยาง มวี ธิ กี ารดแู ลการเพาะปลกู ยาง ใหร้ กั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม รกั ษาดนิ ในกลมุ่
ควรท่จี ะดำ�เนนิ ธุรกิจอยา่ งไร? กลางนำ้�มีการดูแลกระบวนการจัดการน้ำ�เสียที่มีศักยภาพ ในส่วน
ของดา้ นปลายน�้ำ กม็ เี ทคโนโลยีการแปรรูปทเี่ ปน็ ระบบ ในภาพรวม
สิ่งแรกเลย คือ ควรที่จะมีเงินทุนให้พร้อม กล้าที่จะลงทุน มีการส่งเสริมบุคลากรให้เข้าสู่อุตสาหกรรมมากขึ้น และสามารถ
อตุ สาหกรรมยางจ�ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยชี ว่ ยในการผลติ จะชว่ ย พฒั นามาตรฐานการตรวจสอบทเี่ ปน็ สากลมากยง่ิ ขน้ึ นอกจากนคี้ วร
ลดปญั หาดา้ นแรงงานลงไปได้ หลงั จากนนั้ ควรทจี่ ะใส่ใจในเรอ่ื งของ ทจี่ ะมกี ารดแู ลอตุ สาหกรรมยางอยา่ งครบวงจร นบั แตก่ ารเพาะปลกู
คณุ ภาพ ขอ้ ดอี ยา่ งหนง่ึ ของอตุ สาหกรรมยาง คอื ตลาดยงั คงมเี หลอื คอื การก�ำ เนดิ ไปจนถงึ การบรโิ ภคและการก�ำ จดั ส�ำ หรบั อตุ สาหกรรม
เพยี งพอ ประเทศไทยเปน็ ประเทศสง่ ออกยางเปน็ อนั ดบั หนง่ึ ของโลก ยางนั้นมีส่วนที่เป็น Green ในหลายส่วน อาทิ การเพาะปลูกต้น
แตก่ ลับผลิตยางล้อรถยนต์ได้เพยี ง ร้อยละ 5 ของโลกเอง คิดเปน็ ยางพารากช็ ว่ ยลดปรมิ าณกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดล์ งได้ แตก่ ระนนั้
อันดบั ที่ 7 ของโลก จะมองเหน็ ว่าอตุ สาหกรรมยางยังมีหลายอยา่ ง ปัจจุบันก็มีหลายบริษัทที่ส่งเสริมผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมาก
ทเ่ี ปดิ โอกาสใหเ้ ตบิ โตได้อยู่ ยง่ิ ขน้ึ กวา่ เดมิ สดุ ทา้ ยคงเปน็ ความหวงั ทจ่ี ะใหป้ ระเทศไทยกลายเปน็
ศูนย์กลางของอุตสาหกรรมยางในระดับโลก ตอนน้ีผมคิดว่าเรามา
ถึงจุดที่เดินทางมาได้เกอื บจะคร่งึ ทางแล้ว และในอนาคตคงจะเป็น
ไปอย่างยัง่ ยนื มากย่ิงขนึ้

42



Plastics News PLASTICS

MARKET NEWS

TREND ตลาดยางสงั เคราะห์ในไตรมาสที่ 3
ปรับตวั เชงิ ลบ

เปดิ เผยว่าผลกำ�ไรในไตรมาสที่ 3 ของการขายผลิตภณั ฑ์ใน
บริษัท รวมท้ังยางสังเคราะห์ลดลงหนึ่งในสี่ ผลการดำ�เนินธุรกิจ
ของบรษิ ัทในไตรมาสที่ 3 กอ่ นการจ่ายดอกเบยี้ ภาษี คา่ เสอื่ มราคา
และผลทเ่ี กดิ จากมลู คา่ เงนิ ทล่ี ดลงเมอ่ื เวลาเปลยี่ นไป ลดลง 26.4 %
ซึ่งลดลงเหลือ 187 ลา้ นยูโร หรอื 157.8 ล้านปอนด์ ทั้งน้ีการจัด
จำ�หน่ายยางสังเคราะห์มีสัดส่วนมากกว่าคร่ึงหน่ึงของยอดขายรวม
ขอ้ มลู นแี้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความตอ้ งการวสั ดปุ โิ ตรเคมอี ยา่ ง Butadiene
ทีล่ ดลง ทำ�ใหร้ าคาของยางสงั เคราะห์ท่ลี ดลง 19% บริษทั คาดว่า
สภาวะตลาดจะยังคงดำ�เนินไปอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกับ
อตุ สาหกรรมยานยนต์และยางล้อรถยนต์ ลกู ค้าของบรษิ ัทบางส่วน
มีการกักตุนสินค้า ด้วยเหตุนี้บริษัทยังมองว่าการกู้สถานะการการ
จดั จำ�หนา่ ยยางสังเคราะห์ยังคงเปน็ ไปไดย้ ากในขณะน้ี

อ้างองิ จาก Plastics and rubber weekly
Plastic Intelligence Unit

รัฐบาลอังกฤษสนบั สนุนเทคโนโลยยี านยนตส์ เี ขยี ว

นาย Nick Clegg รองนายกรัฐมนตรแี หง่ สหราชอาณาจักรสนับสนนุ ให้ผู้ประกอบการณ์
ดา้ นอตุ สาหกรรมยานยนต์ใชเ้ ทคโนโลยผี ลติ ยานพาหนะทปี่ ลดปลอ่ ยมลพษิ ต�ำ่ โดยใชเ้ งนิ
ลงทนุ 500 ลา้ นยูโรส�ำ หรบั พฒั นาเทคโนโลยกี ารผลติ ทปี่ ลดปลอ่ ยคารบ์ อนนอ้ ย ดว้ ย
ความคาดหวังว่าจะสามารถผลิตรถยนต์อิเล็กทรอนิกส์และยานพาหนะที่มีวัฎจักร
ชพี แบบไมท่ �ำ ลายสง่ิ แวดลอ้ ม ซง่ึ นายClegg เชอ่ื มนั่ ในศกั ยภาพทภี่ าคอตุ สาหกรรม
ภายในประเทศมอี ยอู่ ยา่ งเตม็ เปยี่ ม ไมว่ า่ จะเปน็ ดา้ นการพฒั นาเทคโนโลยี ดา้ นการ
ออกแบบและการผลติ รถยนตส์ เี ขียว และได้รับการสนบั สนนุ เพ่ิมเตมิ จากแหลง่ ผ้คู า้
รถยนต์ในอังกฤษ โดยหวงั จะได้เห็นผู้คนในประเทศขบั รถยนตป์ ระเภทนมี้ ากขึ้น

อ้างอิงจาก Plastics & Rubber Weekly
Plastic Intelligence Unit

44

Plastics News

จอแสดงผลทีส่ ามารถพับได้

ทีมนักวิจัยของ University of California, Los Angeles พัฒนาจอภาพพอลิเมอร์
แบบ OLED (Organic Light-emitting Diode) ซึ่งเป็นจอภาพท่ีพับครึ่งได้อย่างสมบูรณ์
แบบ สามารถยืดออกได้เกือบสองเท่าจากขนาดเริ่มต้น และหดกลับเป็นขนาดเดิมได้
นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานต่อได้ จอภาพนี้ถูกพัฒนาในห้องปฏิบัติการของ University
of California, Los Angeles (UCLA) นักวิจัยพบว่าเมื่อทดสอบการพับและยืดดึงถึง
1,000 ครั้งไม่พบความเสียหายหรือเสียรูปเกิดขึ้น จอภาพนี้ประกอบไปด้วย แผ่น
พอลิเมอร์เรืองแสงอิเล็กทรอนิกส์ท่ีอยู่ระหว่างชั้นคอมพอสิตท่ีทำ�หน้าที่เป็นอิเล็กโทรด
(ข้ัวบวกและข้ัวลบ) ท่ีมีความยืดหยุ่น ข้ัวไฟฟ้าเหล่าน้ีถูกสร้างข้ึนโดยใช้เส้นโลหะเงินฝัง
เข้าไปในพอลิเมอรท์ ยี่ ืดหยนุ่ และโปร่งใส

Professor Qibing Pei ซง่ึ เปน็ นักวจิ ยั ของโครงการผลิตจอพบั ได้ กลา่ วว่า นกั ออกแบบ
จอภาพชนิดนี้ให้ข้อมูลว่าจอภาพแบบ OLED สามารถนำ�มาใช้กับโทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่
เส้ือผ้าอัจฉริยะ แต่ยังไม่สามารถนำ�มาใช้ทางการแพทย์และระบบให้แสงสว่าง เช่นฝังใน
ม่าน หรือเคลอื บผนงั ได้ แต่นกั ออกแบบเช่ือว่าจะสามารถผลติ จอ OLED มคี วามยดื หยนุ่
และบางเหมือนวอลล์เปเปอร์ในอนาคตอันใกล้น้ี และจอดังกล่าวจะช่วยให้นักออกแบบ
อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสส์ ร้างสรรค์มติ ิใหม่ในการน�ำ จอพอลเิ มอร์ไปใชป้ ระโยชน์

อ้างอิงจาก Plastics the mag
Plastic Intelligence Unit

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 45

Plastics News โครงเบาะนั่งรถยนตผ์ ลติ จาก
เทอร์โมพลาสติกเสริมใยแก้ว
MATERIAL
ครง้ั แรกกบั การผลติ โครงสรา้ งเบาะนง่ั (car seat shell) รถยนต์
46 Opel Astra OPC จากคอมพอสติ เทอร์โมพลาสตกิ เสรมิ แรงใยแกว้
TEPEX dynalite 102-RG600(2)/47% ความหนา 1 มลิ ลเิ มตร
ของบรษิ ทั Bond-Laminates GmbH ซง่ึ เปน็ บรษิ ทั ในเครอื บรษิ ทั
LANXESS โครงสร้างเบาะน่ังมีความแข็งแรงยอดเย่ียมต่อแรง
กด ท�ำ ใหส้ ามารถดดู ซบั พลงั งานไดม้ ากเมอ่ื รถยนตเ์ กดิ การกระทบ
กระเทอื นจากการชน สง่ ผลใหก้ ารขบั ขร่ี ถยนตม์ รี ะดบั ความปลอดภยั
เพม่ิ ขน้ึ Dr.ChristianObermann ผจู้ ดั การบรษิ ทั Bond-Laminates
เปิดเผยว่าการออกแบบโครงสร้างเบาะน่ังรถยนต์จากคอมพอสิต
TEPEX ท�ำ ไดด้ เี ทยี บเทา่ กบั โครงสรา้ งเบาะนง่ั รถยนตท์ ท่ี �ำ จากแผน่
เหลก็ และพลาสตกิ ทเ่ี สรมิ แรงดว้ ยใยแกว้ เสน้ ยาวแตม่ นี �ำ้ หนกั ลดลง
ถงึ 800 กรมั

โครงสรา้ งเบาะรถยนตถ์ กู ขน้ึ รปู โดยบรษิ ทั Reinert Kunststofftechnik GmbH & Co. KG
ซง่ึ ตง้ั อยู่ในเมอื ง Bissingen a. d. Teck ประเทศเยอรมนั นอกจากนน้ั ยงั รว่ มมอื กบั หลาย
บรษิ ทั เชน่ Opel, Bond-Laminates, SeaTcon AG และ SedisTec UG (ทง้ั สองบรษิ ทั ตง้ั
อยู่ในเมอื ง Wendlingen ประเทศเยอรมนั ) และบรษิ ทั Maier Formenbau GmbH (ตง้ั อยู่
ในเมอื ง Bissingen a. d. Teck ประเทศเยอรมนั ) ในการผลติ ชน้ิ สว่ นประกอบเพอ่ื ปอ้ นเขา้
กระบวนการผลติ คอมพอสติ TEPEXdynalite102-RG600(2)/47% ความหนา1 มลิ ลเิ มตรมี
เทอร์โมพลาสตกิ ชนดิ พอลเิ อไมด์6(polyamide6) เปน็ เมทรกิ ซแ์ ละเสรมิ แรงดว้ ยเสน้ ใยแกว้
ตอ่ เนอ่ื ง(continuousglassfibers) คดิ เปน็ ปรมิ าณ47%โดยปรมิ าตร ในการขน้ึ รปู โครงสรา้ ง
เบาะรถยนตแ์ ผน่ คอมพอสติ จะถกู ใหค้ วามรอ้ นและฉดี เขา้ แมแ่ บบ กระบวนการขน้ึ รปู นเ้ี ปน็
แบบขน้ั ตอนเดยี วจงึ ชว่ ยลดตน้ ทนุ การผลติ เนอ่ื งคอมพอสติ มสี มบตั เิ ชงิ กลทนตอ่ แรงกระทบ
ไดด้ จี งึ สามารถออกแบบใหโ้ ครงสรา้ งมคี วามบางได้ สง่ ผลใหส้ ามารถตดิ ตง้ั ในรถยนต์ไดแ้ นน่
หนาขน้ึ       

บริษัท LANXESS คาดว่าการรูปแบบการใช้งานของคอมพอสิต TEPEX
จะขยายตวั กวา้ งขน้ึ ไมเ่ พยี งแต่ใชผ้ ลติ โครงสรา้ งเบาะนง่ั ในรถยนตเ์ ทา่ นน้ั โดยเนน้
ในอปุ กรณร์ ถยนตท์ ต่ี อ้ งมกี ารทนตอ่ แรงกระแทกสงู เชน่ ทเ่ี หยยี บเบรก กลอ่ งถงุ ลม
นิรภัย โครงสร้างเบาะหน้าและหลังรถและกระโปรงรถ ทำ�ให้บริษัทวางแผน
เพม่ิ ก�ำ ลงั การผลติ TEPEX ขน้ึ อกี

อา้ งองิ จาก Omnexus
Plastic Intelligence Unit

Plastics News

Solvay จบั มอื กับ Agiplast พัฒนา Solef PVDF รีไซเคลิ
สำ�หรบั งานแบตเตอร่ีรถยนต์ไฟฟา้

บรษิ ทั Solvay Specialty Polymers เปิดตัวเรซินเกรดรไี ซเคิล น้ีมปี ระสิทธิภาพดีและค่าใชจ้ ่ายไมส่ งู อีกทงั้ สามารถใช้ในการเพิ่ม
ความหนาของผนังท่อคาร์บอนสตลี (carbon steel) หรอื อัลลอยด์
ในกลุ่ม polyvinylidene fluoride (PVDF) แบรนด์ Solef® และ ทีม่ ีสมบัตติ า้ นการกัดกรอ่ น   
ผลิตภัณฑ์ใหม่ Fluorloop™ ทำ�จากเศษ PVDF รีไซเคิลจาก
กระบวนการผลติ Solef® PVDFและจากเศษพลาสติกท่ีไดเ้ หลือทิ้ง เรซนิ Solef® PVDF ถกู น�ำ ใช้ในงานต่างๆ ได้มากมาย เชน่ การ
จากการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ Fluorloop™ ได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยความ แยกก๊าซและน้�ำ มัน แบตเตอร่ลี ิเทียมไอออนและแบตเตอร่ีลิเทยี ม-
รว่ มมอื กับบริษทั Agiplast ผผู้ ลติ คอมพาวด์พลาสติกวศิ วกรรมซึ่ง โลหะ-พอลิเมอร์ (lithium-metal-polymer®  หรือ LMP) สำ�หรับ
บริษัทต้ังอยู่ ณ กรุงปารีส โดยมีวัตถุประสงค์ในการใช้ประโยชน์ รถยนต์ไฟฟา้ และรถยนต์ไฮบรดิ การผลติ เซมคิ อนดคั เตอร์ เมมเบรน
จากเศษ PVDF ซึง่ ปัจจุบันมปี รมิ าณการใชง้ านทส่ี งู ขน้ึ โดยจะช่วย ส�ำ หรบั ท�ำ น�้ำ ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ แบตเตอรแี่ ละตวั เกบ็ ประจสุ �ำ หรบั ระบบเกบ็
ลดปรมิ าณขยะพลาสติกที่ถกู ทง้ิ ลงในบอ่ ฝงั กลบและในทะเล จึงถือ พลังงานในอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส ์    
เปน็ การลดผลกระทบตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม วสั ดุ Fluorloop™ มจี �ำ หนา่ ย
หลากหลายเกรดส�ำ หรบั การขน้ึ รปู แบบหลอมอดั (extrusion) การฉดี อ้างอิงจาก Omnexus
เข้าแม่พิมพ์ (injection molding) และการอัดขึน้ รูปดว้ ยความร้อน Plastic Intelligence Unit
(compression molding) เรซนิ Solef® PVDF เปน็ พอลเิ มอรก์ ง่ึ ผลกึ
ท่มี ีฟลอู อรีนเป็นองค์ประกอบ (semi-crystalline fluoropolymers)
มคี ณุ ภาพสงู รวมถงึ การทนตอ่ ความรอ้ น สารเคมแี ละแสงยวู ี นิยม
ใช้ในงานเคลือบป้องกันการกัดกร่อนท่อส่งสารไฮโดรคาร์บอนและ
สารอ่ืนๆที่มปี รมิ าณ CO2, H2S, และน้ำ�สงู การเคลอื บดว้ ย PVDF

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 47

Plastics News บรรจภุ ณั ฑอ์ าหารชนิดใหม่
ทสี่ ามารถรไี ซเคลิ ไดง้ ่าย
ENVIRONMENT
จากบทความหนึง่ ในนติ ยสาร Business Week เปิดเผยวา่ ขยะ
48 จากอาหารเป็นปัญหาใหญ่ในสหรัฐอเมริกาเน่ืองจากค่าใช้จ่ายใน
การขนสง่ เพอื่ น�ำ ไปก�ำ จดั ในบอ่ ฝงั กลบ จากรายงานพบวา่ ขยะอาหาร
ท่ีถูกชาวอเมริกันท้ิงมีมูลค่าเทียบเท่า 180 พันล้านดอลลาร์ คิด
เปน็ การเพ่มิ ข้นึ ถึง 8% จากปี 2551  
การเลือกใช้วัสดุท่ีใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์อาหารมีความสำ�คัญเป็น
อยา่ งยงิ่ นอกจากมสี มบตั เิ กบ็ อาหารใหส้ ดใหมไ่ ดย้ าวนานแลว้ ยงั ตอ้ ง
มคี วามแขง็ แรงพอทจ่ี ะไมแ่ ตกหกั เสยี หายระหวา่ งการใชง้ าน ปจั จบุ นั
พอลเิ มอรป์ ระเภท PET (polyethylene terephthalate) ถูกเลอื กใช้
ส�ำ หรบั บรรจภุ ณั ฑอ์ าหารอยา่ งแพรห่ ลาย แผน่ PET มสี มบตั โิ ดดเดน่
เหนอื พอลเิ มอรอ์ นื่ ๆ หลายประการโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ สมบตั เิ ชงิ กลซงึ่
มีท้งั ความแข็งและความเหนยี วอย่างสมดลุ ชว่ ยปอ้ งกันการแตกรา้ ว
ของบรรจุภัณฑ์ระหว่างการขนส่งและการใช้งาน นอกจากน้ันแผ่น
PET ยังมีสมบัติการแพร่ผ่านของก๊าซออกซิเจนตำ่�เม่ือเทียบกับ
พอลิเมอร์ทว่ั ไป จงึ ชว่ ยยดื อายุของอาหารสด 
การรีไซเคิลพลาสติกถือเป็นทางที่ดีท่ีสุดในการลดปริมาณขยะ
พลาสติกในบอ่ ฝังกลบ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การรไี ซเคลิ แผ่น PET พบ
วา่ มขี อ้ ดเี หนอื พลาสตกิ อน่ื เนอื่ งจากPET ทผ่ี า่ นการรไี ซเคลิ สามารถ
น�ำ ไปใชใ้ นการผลติ สนิ คา้ อนื่ ๆ ไดม้ ากมาย เชน่ บรรจภุ ณั ฑแ์ ละชน้ิ สว่ น
รถยนต์ เปน็ ต้น    
แผน่ พอลเิ อสเทอร์DPET™ จากบรษิ ทั OCTAL นบั เปน็ แผน่ PET
ท่ีขึ้นรูปโดยใช้เทคโนโลยี Direct-to-sheet ซ่ึงมีการลดขั้นตอนการ
ข้นึ รปู แบบดงั้ เดมิ ทป่ี ระกอบดว้ ย 5 เคร่อื งมอื ย่อยซ่ึงต้องใชพ้ ลังงาน
จำ�นวนมาก ได้แก่ เคร่ืองตัดเม็ด (pelletizer) เคร่ืองมือสำ�หรับ
พอลเิ มอไรเซชนั เฟสของแขง็ (solid-statepolycondensation หรอื SSP)
เครื่อง compactor เคร่ืองอบแห้ง (dryer) และเคร่ืองหลอมอัดรีด
(extruder) แผน่ PET ท่ีไดจ้ ากการขึ้นรปู น้ีมสี มบตั ชิ ่วยเพม่ิ อายใุ ห้
กบั อาหารและรีไซเคลิ ได้งา่ ย จงึ ช่วยลดปริมาณขยะในบอ่ ฝงั กลบได้
เป็นอย่างดี ปัจจุบันผู้ผลิตหลายรายให้ความสนใจและหันมาใช้วัสดุ
DPET™ จากบริษัท OCTAL กนั มากขึน้  

อา้ งองิ จาก Plastics News
Plastic Intelligence Unit

Plastics News

Novamont เปดิ ตวั กาแฟแคปซูล ทส่ี ามารถย่อยสลายได้

จากการเตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ ของตลาดกาแฟ ท�ำ ใหบ้ รษิ ทั Novamont วัสดุ Mater-Bi® รนุ่ ท่ี 4 เป็นพลาสติกชวี ภาพที่สามารถย่อยสลายได้
พฒั นาเทคโนโลยีใหม่ในการผลติ กาแฟแคปซลู (coffee capsules) หรอื ทางชวี ภาพ (biodegradable) และสามารถย่อยสลายเปน็ ปยุ๋ ได้ (com-
กาแฟพอ็ ดด์ (coffee pods) ท่สี ามารถยอ่ ยสลายได้และสามารถทง้ิ ลง postable) ของบริษัท Novamont วสั ดุ Mater-Bi® มีองค์ประกอบของ
ในถังเดยี วกับขยะอินทรยี ์โดยไม่ต้องมกี ารแยกท้งิ ภาชนะ (แคปซูลหรอื วัตถุดิบที่ปลูกทดแทนได้ในปริมาณมาก ซึ่งจะช่วยลดการพ่ึงพาการใช้
พ็อดด์) ออก    วตั ถดุ บิ ทมี่ าจากฟอสซลิ ไดใ้ นอนาคต สามารถขน้ึ รปู ไดท้ ง้ั ในรปู แบบของ
เทคโนโลยีใหม่ดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการข้ึนรูปแบบฉีด (injection ฟิล์มแข็งและฟลิ ม์ ยดื หยนุ่ ใชใ้ นการเคลอื บ การพิมพ์ การหลอมอดั รดี
molding) การลามิเนตกระดาษ (cardboard lamination) และการผลิต และเทอร์โมฟอรม์ มงิ่ (thermoforming) ได้
เส้นใย โดยนำ�กระบวนการดังกล่าวมาใช้ร่วมกับเพื่อผลิตแคปซูลแข็ง
กระดาษกรองชนิดเส้นใยเกยี่ วพัน แคปซลู กระดาษลามิเนตและถงุ บรรจุ อ้างองิ จาก Greener Package
ที่มสี มบตั กิ ารก้ัน (barrier properties) ได้เหมาะสมกบั การใช้ชงกาแฟ Plastic Intelligence Unit

VOLUME 10-02 / NOVEMBER-DECEMBER 2013 49

Investment Analysis

บผีโ้ปู อรไอะกกอบั บกกาารรส่งSเสMรมิ Es

จากการที่คณะกรรมการค่าจ้างได้กำ�หนดค่าจ้างข้ันตำ่�เป็น โดยในชว่ งแรกในระหวา่ งปี 2546 - 2552 มีผไู้ ดร้ บั การส่งเสริม
300 บาท/วนั ทวั่ ประเทศ มผี ลใชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม 2556 ตามมาตรการ SMEs ที่ออกมาในช่วงเวลานนั้ เพียง 151 โครงการ
ทผ่ี ่านมา ท�ำ ใหค้ า่ จา้ งขนั้ ต่ำ�เพมิ่ ข้นึ มากถงึ รอ้ ยละ 35.7 - 88.7 ซงึ่ ลงทนุ รวม9,340 ลา้ นบาท เทา่ นน้ั เนอื่ งจากจ�ำ กดั เพยี ง10 ประเภท
มีผลทำ�ให้ผู้ประกอบการ SMEs บางรายมีต้นทุนประกอบกิจการ และมีเงอ่ื นไขคอ่ นขา้ งจ�ำ กัด
ท่ีสงู ขน้ึ อย่างหลีกเล่ยี งไม่ได้

แตเ่ มอ่ื มกี ารปรบั ปรงุ ใหมผ่ อ่ นคลายเงอื่ นไขและเพมิ่ กจิ การเปน็
กระทรวงอุตสาหกรรมได้มีแนวความคิดบรรเทาผลกระทบ 57 ประเภท ในชว่ งปี 2552 -2554 ทำ�ใหม้ ีผสู้ นใจขอรับการส่งเสริม
ตอ่ ผปู้ ระกอบการSMEs จงึ น�ำ เสนอมาตรการชว่ ยเหลอื ในดา้ นตา่ งๆ เพมิ่ ขน้ึ มากขน้ึ อกี หลายเทา่ ตวั โดยมสี ถติ กิ ารขอรบั การสง่ เสรมิ ตาม
ต่อคณะรัฐมนตรี โดยครอบคลุมถึงมาตรการสง่ เสรมิ การลงทนุ จาก มาตรการ SMEs ตัง้ แตป่ ี 2546 - 2554 มรี ายละเอียด ดงั นี้
สำ�นักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการลงทนุ หรอื บโี อไอดว้ ย
เมอ่ื พดู ถงึ มาตรการสง่ เสรมิ การลงทนุ กลมุ่ ผปู้ ระกอบการ SMEs
ของบีโอไอ ผู้เขียนคงต้องขอย้อนความหลังสักเล็กน้อย หากท่าน
ผอู้ า่ นอาจจะยงั ไมเ่ คยทราบมากอ่ นกค็ อื บโี อไอไดเ้ คยออกมาตรการ
สง่ เสรมิ เฉพาะใหแ้ ก่กลุ่ม SMEs มาแล้ว โดยแยกเป็น 2 ชว่ งเวลา
ตง้ั แต่ปี 2546 -2554

50


Click to View FlipBook Version