The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wichuta.b, 2022-08-26 04:07:12

ข้อมูลระบบกรีดยางพารา สำหรับถ่ายทำ KU 3_v3

การศึกษาระบบกรีดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพารา


สถานีวิจัยสิทธิพรกฤดากร

โดย นางสาวระวิวรรณ โชติพันธ์ นักวิจัยช านาญการ





ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคญพืชหนึ่งของประเทศ โดยประเทศไทยเป็นผผลตและ

ู้

ส่งออกยางธรรมชาติอันดับ 1 ของโลก สร้างความมั่นคงของรายได้ให้กับเกษตรกรหลายล้านคน ถึงแม้
ประเทศไทยจะเป็นผผลตและผสงออกยางธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก แต่ประสทธิภาพการผลต
ู้

ู้



ยางพาราของประเทศยังอยู่ในระดับที่ต่ า ซึ่งให้ผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศในปี 2564 อยู่ที่ 245 กก.ต่อไร่
ต่อปี



ปัจจัยที่สงผลต่อปริมาณผลผลตของยางพาราประกอบไปด้วยปัจจัยต่างๆ หลายปัจจัย แต่




ปัจจัยหนึ่งที่สาคัญและส่งผลต่อผลผลตยางคอระบบกรีด ซึ่งระบบกรีดที่ดีจะท าใหการกรีดยางนั้นได้

ิ้


น้ ายางมากที่สด ต้นยางเสยหายน้อยที่สด ยืดอายุการกรีดใหนานที่สด และสนเปลองคาใช้จ่ายน้อย




ที่สุด

สถานีวิจัยสทธิพรกฤดากร สงกัดมหาวิทยาลยเกษตรศาสตร์ เป็นสถานีวิจัยที่มุ่งเน้นวิจัยพืช



เศรษฐกิจในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนบน โดยเฉพาะยางพารา ได้ท าการทดลองเรื่องระบบกรีดยางพารา
ร่วมกับการใช้สารเร่งมาต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานกว่า 12 ปี โดยร่วมมือกับศนย์วิจัยวิจัย CIRAD


ประเทศฝรั่งเศส ได้มีการศึกษาถึงการพฒนาระบบการกรีดยางที่เหมาะสมขึ้นหลายระบบขึ้น ซึ่งระบบ


การกรีดยางดังกลาวมุ่งเน้นไปที่การเพิ่มผลผลตต่อพื้นที่ (productivity) เป้าหมายของการวิจัยนี้จึง

มุ่งศึกษาผลของการใช้ระบบกรีดยางที่ได้รับการพัฒนาขึ้นใหม่ร่วมกับการใช้สารเคมีเร่งน้ ายาง



สารเคมีเร่งน้ ายางที่มีประสิทธิภาพที่แนะน าในปัจจุบันคือ 2-chloroethyl phosphonic acid


มีชื่อสามัญว่า Ethephon (เอทธีฟอน) แนะน าให้ใช้ที่ระดบความเข้มข้น 2.5% เมื่อทาเอทธีฟอนตรง
เปลือกของต้นยางพาราแล้ว จะมีการสลายตัวช้าๆ โดยจะค่อยๆปล่อยแก๊สเอทธิลีน ท าให้แก๊สซึมเข้าส ู่



ู่


เปลอกชั้นในและเข้าสท่อน้ ายาง สงผลใหน้ าสามารถไหลผานผนังเซลลดีขึ้น เพิ่มปฏิกิริยาการ

เปลี่ยนแปลงน้ าตาลซูโครส เพิ่มความดันภายในท่อน้ ายาง เพิ่มบริเวณพื้นที่ให้น้ ายาง ชะลอการจับตัว
ของอนุภาคยางในน้ ายาง ท าให้การอุดตันช้าลง น้ ายางไหลได้นานขึ้น


















ซึ่งในระบบกรีดยาง แรงงานที่ใช้ซึ่งเป็นปัจจัยส าคัญเมื่อพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการขาด

แคลนแรงงานในอนาคต



การศึกษาระบบกรีดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพารา



ศกษาระบบกรีดในยางพาราพันธุ์ RRIT 251 ซึ่งเป็นพันธุ์ยางชั้น 1 ที่กรมวิชาการเกษตรรับรอง


ท าการศกษาเปรียบเทียบ 3 ระบบกรีด โดยในช่วง 10 ปีแรกของการศกษาจะเป็นการใช้ระบบกรีด
แบบครึ่งต้น และกรีดลงล่าง รายละเอียดดังนี้

 ระบบ A หรือ control เป็นระบบกรีดที่แนะน าส าหรับเกษตรกร ท าการกรีดแบบวันเว้นวัน

(S2/d2) โดยมีระยะเปิดกรีดที่ความสูง 1.5 เมตรจากพื้นดิน และไม่ใช้สารเร่ง


 ระบบ B ท าการกรีดแบบวันเว้นสองวัน (S2/d3) โดยมีระยะเปิดกรีดที่ความสง 1.3 เมตรจาก
พื้นดิน และใช้สารเร่งเอทธิฟอน




 ระบบ C กรีดแบบวันเวนสามวัน (S2/d4) โดยมีระยะเปิดกรีดที่ความสง 1.2 เมตรจากพื้นดิน
และใช้สารเร่งเอทธิฟอน









































ภาพแสดง ระบบการกรีดความถี่ตา (Low frequency tapping)


หน้า A กรีดบนลงล่าง ปี 1-6 หน้า B กรีดบนลงล่าง ปี 7-10





ในปีที่ 11 ถึงปีที่ 14 จะเป็นการกรีดขึ้นบน แบ่งหน้ากรีดเป็น 4 ส่วนของล าต้น ระบบกรีด

เหมือนเดิม คือ

ระบบ A หรือ control ท าการกรีดแบบวันเว้นวัน (S4/d2) ใช้สารเร่งเอทธิฟอน 2.5%

ระบบ B ท าการกรีดแบบวันเว้นสองวัน (S4/d3) ใช้สารเร่งเอทธิฟอน 5%

ระบบ C กรีดแบบวันเว้นสามวัน (S4/d4) ใช้สารเร่งเอทธิฟอน 5%

ทางรอดเมื่อราคาตกต่ า + ก าไรมากเมื่อราคาด ี

 แรงงานกรีด เป็นต้นทุนที่มากที่สุดและส่งผลกระทบต่อผลผลิต/ก าไร เป็นอันดับหนึ่ง



 การลดตนทน ท าได้โดยการเพิ่มประสทธิภาพการกรีดยางด้วยระบบกรีดความถี่ต่ า

(Low frequency tapping) ร่วมกับการใช้สารเคมีเร่งน้ ายาง เป็นสารที่ช่วยเพิ่มระยะเวลาในการ

ไหลของน้ ายางใหนานขึ้น ระบบกรีดความถี่ต่ านี้ สามารถลดความถี่ในการกรีดได้มาก ท าใหใช้


แรงงานคนกรีดน้อยลงโดยไม่ลดผลผลิตน้ ายาง ซึ่งจากเดิมกรีด 3 วัน ใน 4 วัน เป็น

แปลงที่ 1 : วิจัยและสาธิต การกรีดเพียง 1 วัน ใน 3-4 วัน เริ่มวิจัยตั้งแต่ปี 2553 จนถึงปัจจุบัน

ซึ่งจากผลการวิจัยที่กรีดลงล่างใน 10 ปีแรก

 เพิ่มประสิทธิภาพการกรีด โดยเกษตรกรจะกรีดยางได้มากขึ้น 3-6 แปลง

(เดิมกรีดได้ 1 แปลง)

 สามารถได้ส่วนแบ่ง / ค่าจ้างกรีดได้มากกว่าเดิม (หลายแปลง) ยังกรีดได้แม้ยาง

ราคาตกต่ า


 ลดการสิ้นเปลืองเปลือก (bark consumption) ท าให้กรีดได้นานปีขึ้น ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น

จาก 2.5 ตัน เป็น มากกว่า 8 ตันต่อไร่






S2d2 : กรด 1.5 เมตร S2d3 : กรด 1.3 เมตร S2d4 : กรด 1.2 เมตร


























ผลผลิตโครงการ (Output)……


 เพิ่มประสิทธิภาพการกรีด โดยเกษตรกรจะกรีดยางได้มากขึ้น 3-6 แปลง (เดิมกรีดได ้

1 แปลง)

 สามารถได้ส่วนแบ่ง / ค่าจ้างกรีดได้มากกว่าเดิม (หลายแปลง) ยังกรีดได้แม้ยางราคา


ตกต่ า

 ลดการสิ้นเปลืองเปลือก (bark consumption) ท าให้กรีดได้นานปีขึ้น ได้ผลผลิต

เพิ่มขึ้นจาก 2.5 ตัน เป็น มากกว่า 8 ตันต่อไร่



เกษตรกรได้ผลผลตน้ ายางสงขึ้น เพิ่มอายุการกรีดของต้นยางได้มากขึ้นกว่าระบบกรีดเดิม

ออกไปถึง 30 ปีและลดใช้แรงงานลงถึงร้อยละ 22


ผลลัพธ์โครงการ (Outcome)…ความพึงพอใจของเกษตรกรในระดับดีขึ้น ลดปัญหาในด้าน

แรงงาน รายได้ของเกษตรกรเพิ่มขึ้นสามารถแก้ปัญหาและบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรที่

ประสบปัญหาในสภาวะราคายางตกต่ า


ผลกระทบ (Impact)…การยอมรับเทคโนโลยีเพื่อปรับเปลี่ยนระบบการกรีดที่มีอยู่เดิม โดย

การสาธิตแปลงยางพาราที่ใช้ระบบกรีดความถี่ต่ า Low frequency tapping มาเป็นระยะเวลานาน


แต่ไม่ท าให้เกิดอาการหน้ายางแห้ง (drying panel dryness) มากกว่าปกติ แสดงให้เห็นว่าการ

ประยุกต์ใช้สารเร่งอย่างถูกต้องเหมาะสม จะส่งผลให้สามารถลดจ านวนวันในการกรีดโดยไม่สูญเสีย


ผลผลิตและต้นยางไม่เกิดความเสียหายจากการใช้สารเร่งซึ่งเป็นความเขาใจที่ไม่ถูกต้องของเกษตรกร
จ านวนมาก แปลงสาธิตนี้จึงเป็นตัวอย่างของระบบการจัดการสวนยางที่ดีที่สามารถแสดงแสดงให้

เกษตรกรรับรู้จากตัวอย่างจริง และยอมรับ / ปรับใช้ / ในระบบกรีดนี้ได้


Click to View FlipBook Version