โครงการศกึ ษาความคดิ เห็นต่อการเรยี นการสอนผ่านระบบอเิ ล็กทรอนกิ สท์ างไกล
ของนกั ศึกษาสาขาวชิ าบริหารธรุ กจิ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี
ดลนภา ใหม่วงษ์ รหสั นกั ศึกษา 63302010005
เมธศิ า สุขวฒั นกูล รหัสนักศึกษา 63302010006
รายงานโครงการนเ้ี ป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพข้ันสงู
สาขาวิชาการบัญชี ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กจิ
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี
โครงการศกึ ษาความคิดเหน็ ต่อการเรยี นการสอนผ่านระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ทางไกล
ของนกั ศกึ ษาสาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี
โดย
นางสาวดลนภา ใหมว่ งษ์ รหัสนกั ศกึ ษา 63302010005
นางสาวเมธศิ า สขุ วัฒนกลู รหัสนักศึกษา 63302010006
เสนอ
อาจารยน์ พิ ร จุทัยรัตน์
รายงานโครงการนเ้ี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพขั้นสงู
สาขาวชิ าการบญั ชี ประเภทวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี
ใบรับรองโครงการ
ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สงู ชน้ั ปที ่ี 2 (ปวส.2)
วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี
โครงการ
ศึกษาความคิดเห็นตอ่ การเรียนการสอนผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล
ของนักศกึ ษาสาขาวชิ าบริหารธุรกิจ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบรุ ี
ประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สูง ชัน้ ปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี
โดย
นางสาวดลนภา ใหมว่ งษ์ รหสั นกั ศกึ ษา 63302010005
นางสาวเมธศิ า สขุ วัฒนกูล รหัสนักศกึ ษา 63302010006
พจิ ารณาเหน็ ชอบโดย
(นางนพิ ร จทุ ัยรตั น์)
อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาโครงการ
แผนกวชิ าบัญชี คณะบริหารธุรกจิ
ช่อื โครงการ : ศกึ ษาความคดิ เห็นต่อการเรียนการสอนผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล
ของนกั ศกึ ษาสาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบรุ ี
ผ้จู ัดทำ
สาขาวชิ า : นางสาวดลนภา ใหม่วงษ์, นางสาวเมธิศา สุขวัฒนกูล
ประเภทวิชา : การบญั ชี
ปกี ารศึกษา : บรหิ ารธุรกจิ
สถานศกึ ษา : 2564
: วิทยาลยั อาชีวศึกษาชลบุรี
บทคัดย่อ
โครงการ ศึกษาความคิดเหน็ ต่อการเรยี นการสอนผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ สท์ างไกลของ
นักศึกษาสาขาวิชาบริหารธรุ กิจ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี วัตถุประสงค์ คือ เพอ่ื ศึกษาความคิดเห็น
ตอ่ การเรยี นการสอนผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทางไกลของนักศกึ ษาสาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ วิทยาลัย
อาชวี ศึกษาชลบรุ ี กล่มุ ตวั อย่าง ได้แก่ 1. นักศึกษาระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.) ชัน้ ปีท่ี
2 กลมุ่ 1 สาขาวิชาการบัญชี จำนวน 26 คน 2. นักศกึ ษาระกบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.)
ช้นั ปีท่ี 2 กลุ่ม 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทลั จำนวน 24 คน 3. ครูผู้สอนในสาขาวิชาการบัญชี
จำนวน 4 คน 4. ครผู ู้สอนในสาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดิจิทลั จำนวน 2 คน ภาคเรยี นที่ 1
ปกี ารศึกษา 2564 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา คือ แบบสอบถาม และสถิติ
ท่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละ (Percentage) คา่ เฉลี่ยเลขคณิต (Mean) และสว่ น
เบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลการศกึ ษาพบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง อยใู่ นช่วงอายุระหวา่ ง 18-19 ปี และ
เปน็ นกั ศึกษาในสาขาวิชาการบัญชี มีความคิดเห็นต่อโครงการศกึ ษาความคิดเหน็ ต่อการเรียนการสอน
ผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนกิ สท์ างไกล ด้านความสอดคล้องกับสถานการณ์ โดยรวมมคี วามคิดเหน็ ในระดับ
มาก มีคา่ เฉลีย่ 3.46 ทุกประเด็นมีความคิดเห็นในระดับมาก นโยบายการจดั การเรียนการสอน
ออนไลน์ของวิทยาลยั เหมาะสมหรือสอดคลอ้ งกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั covid-19
รองลงมาคอื วิธกี ารจดั การเรยี นการสอนออนไลนข์ องวิทยาลยั เหมาะสมหรือสอดคลอ้ งกบั
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั covid-19 ผเู้ รียนได้รบั การชีแ้ จง และการสนบั สนนุ การ
เตรียมตัวเพอื่ การจดั การเรยี นการสอนออนไลนข์ องวิทยาลยั เหมาะสมหรอื สอดคล้องกับสถานการณ์
การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั covid-19 และผู้เรียนมรี ะดับความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ของวิทยาลยั เหมาะสมหรือสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัส
covid-19 ดา้ นผ้เู รยี น โดยรวมมคี วามคิดเหน็ ในระดบั ปานกลาง มีค่าเฉลย่ี 3.19 ทุกประเด็นมีความ
คิดเห็นในระดับปานกลาง ผู้เรยี นมคี วามพร้อมในดา้ นอปุ กรณก์ ารเรยี นผ่านระบบออนไลน์ รองลงมา
คอื ผเู้ รยี นมคี วามพร้อมในดา้ นสภาพแวดล้อมที่ใช้เรียนผา่ นระบบออนไลน์ ผเู้ รยี นมีความพึงพอใจใน
ข
การเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ และผเู้ รยี นไดร้ ับความรู้ และมคี วามเข้าใจในเน้ือหาการเรียนผา่ นระบบ
ออนไลน์ ดา้ นผู้สอน โดยรวมมีความคดิ เหน็ ในระดับมาก มีค่าเฉลีย่ 3.46 ทุกประเด็นมคี วามคดิ เห็น
ในระดับมาก ผู้สอนมีการเตรียมการสอนลว่ งหนา้ และมีความพร้อมในด้านอปุ กรณก์ ารสอน รองลงมา
คือ ผู้สอนมีความรอบรู้ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงในเรอ่ื งของระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ผู้สอนมคี วามสามารถ
ในการถ่ายทอดความรู้ ช่วยให้เกดิ การเรยี นรใู้ นเนือ้ หาวชิ า และผ้สู อนมกี ารสร้างบรรยากาศในการ
เรยี นใหค้ ำแนะนำ และรบั ฟงั ความคดิ เห็น และด้านการวดั และประเมินผลการเรียนการสอน โดยรวม
มีความคดิ เหน็ ในระดบั มาก มคี า่ เฉล่ยี 3.43 ทกุ ประเดน็ มีความคิดเห็นในระดับมาก การวัดและ
ประเมินผลการเรียนมคี วามชัดเจน และยุติธรรม รองลงมาคอื มีการเฉลย หรือแนะแนวทางของ
คำตอบเพอ่ื ใหท้ ราบผลการเรยี นรู้ มีการใชเ้ ทคนคิ หรือวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลอย่างหลากหลาย
และมีการประเมนิ ผลการเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกับกิจกรรมการเรยี นรทู้ จ่ี ดั ให้ผู้เรียนและ
พฒั นาการของผ้เู รียน
ขอ้ เสนอแนะ : 1. ผเู้ รียนยังเห็นความสำคญั ของการเรยี นระบบออนไลนไ์ ม่มากพอ
2. การเรยี นออนไลนเ์ กดิ ความเครยี ดท้ังครูและนักศกึ ษาอยากเรียนแบบ on site
3. การเรียนไปเปน็ ไปด้วยความยากลำบาก
4. มปี ญั หาเร่ืองอินเทอรเ์ นต็ และด้านอปุ กรณ์ในการเรียน
คำสำคัญ : ความคิดเหน็ , ระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ างไกล, การศกึ ษา, การสอน, นกั ศกึ ษา,
ผู้สอน
กิตติกรรมประกาศ
การศกึ ษาเรื่อง “ศกึ ษาความคิดเหน็ ตอ่ การเรียนการสอนผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกสท์ างไกล
ของนกั ศึกษาสาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี” ในครัง้ นี้ สามารถสำเร็จลุล่วงอยา่ ง
สมบรู ณด์ ว้ ยความเมตตา จากอาจารยน์ พิ ร จทุ ัยรัตน์ ทีป่ รึกษาโครงการวจิ ัยที่ให้คำปรกึ ษาแนะนำ
แนวทางท่ีถูกตอ้ ง และเอาใจใสด่ ้วยดตี ลอดระยะเวลาในการทำวิจัย ผ้ศู กึ ษาร้สู กึ ซาบซง้ึ เป็นอยา่ งย่งิ
จงึ ขอกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู มา ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคณุ บิดา มารดา และเพื่อนๆ ทุกคนท่ีได้ใหค้ ำแนะนำชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ ผทู้ ำวิจัย
โครงการมาตลอด โครงการจะสำเร็จลุล่วงไปไม่ได้ หากไมม่ บี คุ คลดังกล่าวในการจดั ทำโครงการ
คณุ ค่าและประโยชน์ของงานศกึ ษานี้ ผศู้ ึกษาขอมอบเปน็ กตัญญูกตเวทีตาแดบ่ ุพการี
บรู พาจารย์ และผูม้ ีพระคุณท่านทัง้ ในอดีตและปจั จบุ ัน ท่ีไดอ้ บรม สงั่ สอน ชแี้ นะแนวทางในการศกึ ษา
จนทำให้ผ้วู ิจยั ประสบความสำเร็จมาจนตราบทุกวันนี้
ดลนภา ใหมว่ งษ์
เมธิศา สุขวฒั นกูล
สารบญั หน้า
ก
ใบรบั รองโครงการ ข
บทคัดย่อ ค
กติ ติกรรมประกาศ ง
สารบญั ฉ
สารบัญตาราง ช
สารบญั ภาพ 1
บทที่ 1 บทนำ 1
1
ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา 1
วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั 2
ขอบเขตของการวจิ ัย 2
ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รบั 4
นยิ ามศัพท์ 4
บทท่ี 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง 5
จดุ ประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำอธบิ ายรายวิชา 7
ทฤษฎีการศกึ ษา 9
ทฤษฎกี ารเรียนรู้และการประยุกตส์ ู่การสอน 13
แนวคดิ ทฤษฎีด้านการศึกษาทางศาสนา เศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม 17
แนวคดิ ทฤษฎีเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษาส่งเสริมพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรู้ 20
แนวคิดกระบวนการเรียนออนไลน์ และ 5 Steps GOCQF 25
การประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎี E-Learning ในกระบวนการเรยี นการสอน 27
แนวคดิ ท่วั ไปเกี่ยวกับการเรียนการสอนผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 28
แนวคิดการจดั การเรยี นรู้แบบผสมผสานในสถานการณ์โควิด (5 ON) 30
งานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง 30
บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินการศึกษา 31
ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 31
เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการศึกษา 32
ขน้ั ตอนในการสร้างเครอ่ื งมือ 32
การดำเนนิ การและเก็บรวบรวมขอ้ มูล
วิธีการวเิ คราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ่ใี ช้ในการศึกษา
สารบญั (ตอ่ ) ง
บทที่ 4 การวเิ คราะห์ข้อมูล หน้า
สญั ลกั ษณท์ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 34
การนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 34
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 34
35
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 47
สรุปผลการศกึ ษา 47
การอภปิ ราย 49
ข้อเสนอแนะ 50
51
บรรณานกุ รม 52
ภาคผนวก 53
58
ภาคผนวก ก แบบขออนุมัตโิ ครงการ แบบเสนอโครงการ 62
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม 66
ภาคผนวก ค เอกสารประกอบ (ภาพถ่าย)
ประวัติผู้จัดทำ
สารบัญตาราง
หนา้
ตารางท่ี 1 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกล่มุ ตวั อยา่ ง จำแนกตามเพศ 35
ตารางท่ี 2 แสดงความถ่ีและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามชว่ งอายุ 36
ตารางท่ี 3 แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามสถานะ 37
ตารางที่ 4 แสดงความถ่แี ละร้อยละของกลุม่ ตวั อย่าง จำแนกตามสาขาวชิ า 38
ตารางที่ 5 แสดงคา่ เฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน ความคดิ เหน็ ของกลุม่ ตัวอย่าง
ท่มี ตี ่อการเรยี นการสอนผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทางไกลดา้ นความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ 39
ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉล่ีย และสว่ นเบ่ียงเบนแบบมาตรฐาน ความคิดเหน็ ของกลมุ่ ตวั อย่าง
ทมี่ ีตอ่ การเรียนการสอนผ่านระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ทางไกลดา้ นผเู้ รยี น 41
ตารางที่ 7 แสดงค่าเฉลี่ย และสว่ นเบย่ี งเบนแบบมาตรฐาน ความคิดเห็นของกล่มุ ตวั อย่าง
ที่มีตอ่ การเรยี นการสอนผา่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ทางไกลด้านผูส้ อน 43
ตารางที่ 8 แสดงคา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน ความคิดเหน็ ของกลุ่มตัวอย่างทีม่ ตี อ่
การเรยี นการสอนผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกสท์ างไกลด้านการวัดและประเมินผลการเรยี นกาสอน 45
ตารางที่ 9 แบบสอบถามการศกึ ษาความความคดิ เหน็ ตอ่ การเรยี นการสอน
ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกสท์ างไกล 60
สารบญั ภาพ หนา้
35
ภาพที่ 1 แผนภูมแิ สดงขอ้ มูลจำแนกตามเพศ 36
ภาพที่ 2 แผนภมู แิ สดงข้อมูลจำแนกตามช่วงอายุ 37
ภาพที่ 3 แผนภมู ิแสดงขอ้ มูลจำแนกตามสถานะ 38
ภาพท่ี 4 แผนภูมิแสดงข้อมูลจำแนกตามสาขาวชิ า 40
ภาพท่ี 5 แผนภมู ิแสดงขอ้ มูลดา้ นความสอดคล้องกับสถานการณ์ 42
ภาพที่ 6 แผนภูมแิ สดงขอ้ มูลด้านผู้เรียน 44
ภาพที่ 7 แผนภมู แิ สดงข้อมูลดา้ นผู้สอน 46
ภาพท่ี 8 แผนภูมิแสดงข้อมูลด้านการวัดและประเมินผลการเรียน 63
ภาพท่ี 9 ภาพประกอบสำหรบั การจัดทำรูปเล่มโครงการ 63
ภาพท่ี 10 ภาพประกอบสำหรบั การจัดทำรปู เลม่ โครงการ 64
ภาพท่ี 11 ภาพประกอบสำหรบั การจดั ทำส่อื นำเสนอโครงการ 64
ภาพที่ 12 ภาพประกอบสำหรับการจดั ทำสอื่ นำเสนอโครงการ 65
ภาพท่ี 13 ภาพประกอบสำหรับการจดั ทำโครงการผา่ นทางระบบออนไลน์ 65
ภาพท่ี 14 ภาพประกอบสำหรับการจดั ทำโครงการผ่านทางระบบออนไลน์
บทท่ี 1
บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ในปัจจบุ ันทัว่ โลกกำลงั เผชิญวกิ ฤติกบั การระบาดของเชอ้ื ไวรัส covid-19 ทกุ ประเทศในโลก
ล้วนตา่ งได้รับผลกระทบกนั ทั้งในภาครวม อาจจะมีผลมากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั การดแู ลและการบริหาร
จัดการขององคก์ รภาครฐั และภาคเอกชนในประเทศนนั้ ๆ
ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากวิกฤตนิ เ้ี ช่นเดียวกนั โดยเช้ือไวรัส covid-19 น้ี สง่ ผลต่อ
ภาคธรุ กิจในประเทศ เชน่ ภาคธุรกจิ การท่องเทย่ี ว ภาคธรุ กจิ โรงแรม มีผูบ้ ินเข้าและออกประเทศ
น้อยลงอย่างเห็นได้ชัด ภาคการธุรกจิ จำหนา่ ย กล่าวคอื พอ่ ค้าแม่ค้ารวมไปถงึ ผูป้ ระกอบการรายย่อย
ไดร้ บั ผลกระทบกนั อย่างหนัก เน่ืองจากไม่ได้มีการจำหนา่ ยสนิ คา้ เพราะผคู้ นไมไ่ ด้ออกมาจบั จ่ายใช้
สอย และรวมไปถงึ ภาคการศกึ ษา ภาครัฐได้ส่งั เลื่อนการเปดิ ภาคเรยี นของนักศึกษาออกไป และให้
สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล โดยการเรยี นการสอนผา่ นระบบน้ี
สง่ ผลให้เกดิ ผลกระทบต่อผู้เรยี นและผ้สู อนโดยตรง ทง้ั ในเร่ืองความไมพ่ ร้อมด้านอปุ กรณ์
อเิ ลก็ ทรอนิกสข์ องผูเ้ รยี น ความไมเ่ สถยี รจากสัญญาณอินเตอร์เน็ต และจำนวนช่ัวโมงเรยี นท่มี มี าก
เกนิ ไป
ดงั นั้น ผ้จู ดั ทำจงึ ไดศ้ กึ ษาเกี่ยวกับความคิดเหน็ ของผเู้ รยี นที่ไดศ้ ึกษาผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์
นี้ รวมไปถงึ ผ้สู อนในการเตรียมตัววางแผนการจัดการเตรียมการสอนผา่ นระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ทางไกล
วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพอ่ื ศึกษาความคดิ เห็นตอ่ การเรียนการสอนผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ างไกลของนักศึกษา
สาขาวชิ าบริหารธุรกจิ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบุรี
ขอบเขตของโครงการ
1. ขอบเขตดา้ นเนอื้ หา ศกึ ษาความคดิ เห็นของผเู้ รยี น และผ้สู อนในการศกึ ษา และการสอน
ผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล
2. ดา้ นกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการศกึ ษาครัง้ นี้ ไดแ้ ก่
2.1 กลุ่มประชากรที่ใชใ้ นการศกึ ษาครั้งน้ี ได้แก่
2.1.1 นักศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สูง (ปวส.) ชัน้ ปีที่ 2 กลมุ่ 1 2 และ 3
สาขาวชิ าการบัญชี ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี จำนวน 82 คน
2.1.2 นกั ศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ช้นั ปีท่ี 2 กลมุ่ 1 และ 2
สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทลั ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบุรี จำนวน
51 คน
2
2.1.3 ครูผู้สอนในสาขาวิชาการบัญชี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลยั
อาชวี ศึกษาชลบุรี จำนวน 8 คน
2.1.4 ครผู ู้สอนในสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ัล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี จำนวน 8 คน
2.2 กลุม่ ตัวอยา่ งทีใ่ ช้ในการศึกษาครัง้ นี้ ไดแ้ ก่
2.2.1 นักศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) ชัน้ ปีท่ี 2 กลุ่ม 1
สาขาวิชาการบัญชี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน 26 คน
2.2.2 นักศกึ ษาระกบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสูง (ปวส.) ชั้นปที ี่ 2 กลมุ่ 1
สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดิจิทลั ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน
24 คน
2.2.3 ครูผู้สอนในสาขาวิชาการบัญชี ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลยั
อาชวี ศึกษาชลบุรี จำนวน 4 คน
2.2.4 ครูผู้สอนในสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทัล ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน 2 คน
3. ด้านระยะเวลาและสถานท่ีท่ใี ช้ในการศึกษาครั้งน้ี ไดแ้ ก่
3.1 ด้านระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึงวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2564
3.2 ด้านสถานที่ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี
ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รบั
ไดท้ ราบความคิดเห็นต่อการเรียนการสอนผา่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ทางไกลของนกั ศึกษา
สาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
ความคิดเหน็ หมายถึง ความเช่ือ ความคิด การตัดสนิ ใจหรือการแสดงออกทางด้าน
ความรูส้ กึ ต่อสงิ่ ใดสิง่ หนึ่ง โดยอาศัยพ้นื ความรู้ความรู้ประสบการณ์และสภาพแวดลอ้ มวิธีวัดความ
คิดเห็น
ระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล หมายถงึ ระบบ (คอมพิวเตอร์) ขนาดเลก็ ทอี่ ยใู่ นเครอื่ งใช้ตา่ ง
ๆ เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นส่วนหนึ่งของเครอื่ งมือ อุปกรณ์ เคร่อื งใชต้ ่าง ๆ เชน่
เคร่อื งปรับอากาศ โทรศัพท์เคลอื่ นท่ี หมอ้ หงุ ข้าว เตาอบ รถยนต์ ระบบแบบฝงั ตวั นีภ้ ายในทำงานโดย
อาศยั ไมโคร โพรเซสเซอร์และตวั รับสัญญาณ ระบบสอ่ื สาร และระบบควบคุมทเี่ ช่อื มตอ่ และทำงาน
โดยการ ควบคมุ โดยโปรแกรม
3
การศึกษา หมายถงึ กระบวนการเรียนรู้เพ่อื ความเจรญิ งอกงามของบุคคลและสังคม โดย
การถ่ายทอดความรู้ การฝกึ การอบรม การสืบสานทางวฒั นธรรม การสรา้ งสรรคจ์ รรโลง
ความก้าวหน้าทางวชิ าการ การสรา้ งองคค์ วามรูอ้ ันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอ้ มสงั คม การเรยี นรู้
และปัจจัยเกอ้ื หนนุ ใหบ้ ุคคลเรยี นรู้อย่างตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ
การสอน หมายถึง กระบวนการทช่ี ว่ ยให้ผ้เู รยี นเกิดการเรียนรู้ เกดิ ความคิดทจ่ี ะนำ ความร้ไู ป
ใช้เกิดทักษะหรอื ความชำนาญทจ่ี ะแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม หรอื เป็นการจัด ประสบการณ์ท่ี
เหมาะสมใหน้ กั เรียนไดป้ ะทะเพอ่ื ทีจ่ ะใหเ้ กดิ การเรยี นรหู้ รือเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีดีขนึ้
นกั ศกึ ษา หมายถงึ นักศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 กลมุ่ 1 2
และ 3 สาขาวิชาการบัญชี และนกั ศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.) ชน้ั ปีท่ี 2 กลุ่ม 1
และ 2 สาขาเทคโนโลยดี ิจทิ ัล วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี
ผู้สอน หมายถงึ ครผู ูส้ อนในสาขาวิชาการบัญชี และในสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทลั
วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี
บทท่ี 2
เอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
การดำเนินการโครงการ “ศึกษาความคดิ เห็นต่อการเรียนการสอนผ่านระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์
ทางไกลของนักศึกษาสาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาชลบุรี” ณ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบรุ ี
วนั ท่ี 1 มถิ นุ ายน 2564 ถงึ วันท่ี 1 กมุ ภาพันธ์ 2564 ผดู้ ำเนินโครงการไดร้ วมรวบเอกสารทฤษฎแี ละ
งานวิจยั ทีเ่ ก่ียวขอ้ งมหี ัวขอ้ ดงั ต่อไปน้ี
1. จุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำอธบิ ายรายวชิ า
2. ทฤษฎีการศกึ ษา (Educational Theory)
3. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้และการประยุกต์สกู่ ารสอน
4. แนวคิดทฤษฎีทางการศึกษาด้านศาสนา เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม
5. แนวคดิ ทฤษฎีเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษาส่งเสรมิ พฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้
6. แนวคดิ กระบวนการเรียนออนไลน์และ 5 Steps GOCQF
7. การประยกุ ตใ์ ช้ทฤษฎี (E-Learning) ในกระบวนการเรยี นการสอน
8. แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกบั การเรยี นการสอนผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
9. แนวคิดการจดั การเรียนรู้แบบผสมผสานในสถานการณ์โควิด (5 ON)
10. งานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง
1. จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวิชา
1.1 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า
1.1.1 เข้าใจขั้นตอนกระบวนการสร้างหรือพฒั นางานอาชีพอย่างเปน็ ระบบ
1.1.2 สามารถบรู ณาการความรูแ้ ละทักษะในการสร้างหรือพัฒนางานในสาขาวชิ าชีพตาม
กระบวนการวางแผน การดำเนินงาน การแกไ้ ขปญั หาประเมินผลทำารายงานและนำเสนอผลงาน
1.1.3 มเี จตคติและกิจนิสยั ในการศกึ ษาค้นควา้ เพอื่ สรา้ งและหรอื พัฒนางานอาชีพด้วย
ความรับผิดชอบ มวี นิ ยั คุณธรรม จริยธรรม ความคิดรเิ ริ่ม สร้างสรรค์ ขยนั อดทนและสามารถทำงาน
รว่ มกบั ผอู้ ่ืน
5
1.2 สมรรถนะรายวชิ า
1.2.1 แสดงความรเู้ กยี่ วกับหลักการและกระบวนการสร้างและหรือพฒั นางานอาชพี อย่าง
เป็นระบบ
1.2.2 เขยี นโครงการสร้างและหรอื พัฒนางานตามหลักการ
1.2.3 ดำเนินงานตามแผนงานโครงการตามหลกั การและกระบวนการ
1.2.4 เกบ็ ขอ้ มูลวเิ คราะหส์ รุปและประเมินผลการดำเนนิ งาน โครงการตามหลกั การ
1.2.5 นำเสนอผลการดำเนินงานดว้ ยรปู แบบวิธีการตา่ งๆ
1.3 คำอธบิ ายรายวิชา
ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั การบูรณาการความรู้ และทักษะในระดบั เทคนิคที่สอดคล้องกบั
สาขาวชิ าชีพที่ศึกษา เพือ่ สรา้ งหรอื พฒั นางานดว้ ยกระบวนการทดลอง สำรวจ ประดษิ ฐ์คิดค้น หรอื การ
ปฏิบตั งิ านเชิงระบบ การเลือกหัวขอ้ โครงการ การศกึ ษาค้นคว้าขอ้ มูลและเอกสารอ้างองิ การเขยี น
โครงการการดำเนินงานโครงการ การเก็บ รวบรวมข้อมลู วิเคราะห์แปรผล การสรุปผลการดำเนนิ งาน
และจดั ทำรายงาน การนำเสนอผลงานโครงการ ดำเนินการเปน็ รายบคุ คล หรือกล่มุ ตามลักษณะของงาน
ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ในระยะเวลาที่กำหนด
2. ทฤษฎีการศกึ ษา (Educational Theory)
2.1 ทฤษฎี หมายถงึ ทฤษฎเี ป็นขอ้ สมมติต่างๆ (Assumptions) หรือข้อสรุปเปน็ กฎเกณฑ์
(Generalization) Herbert Feigl ไดใ้ ห้ความาหมายวา่ ทฤษฎีเป็นข้อสมมตติ ่าง ๆ ได้ซ่ึงมาจาก
กระบวนการทางตรรกวิทยาและคณิตศาสตร์ Kneller ได้ให้ความหมายของทฤษฎีไวเ้ ป็น 2ความหมาย
ดว้ ยกนั คอื หมายถงึ ข้อสมมติฐานต่าง ๆ (Hypothesis) ระบบของความคดิ ต่าง ๆ ท่นี ำปะตดิ ปะต่อกัน
(Coherent) D.J. O’Connor ได้ให้คำจำกัดความของทฤษฎีไวเ้ ปน็ 4 ลักษณะด้วยกนั คือ เป็นขอ้
สมมตฐิ านต่าง ๆ ทกี่ ล่ันกรองแล้วโดยหลักของตรรกวิทยา , เป็นการนำเอาความคิดรวบยอดมารวมกัน
เปน็ โครงสร้าง , เป็นสาระทเ่ี ก่ียวกับปัญหา , เปน็ การกำหนดเงอ่ื นไข หรือกฎต่าง ๆ เพ่ือควบคุม
พฤติกรรมบางอยา่ ง
2.2 การศึกษา หมายถงึ กระบวนการเรียนรูเ้ พ่อื ความเจริญงอกงามของบคุ คลและสงั คม โดย
การถา่ ยทอดความรู้ การฝกึ การอบรม การสบื สานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรคจ์ รรโลง ความก้าวหน้า
ทางวชิ าการ การสรา้ งองค์ความรอู้ นั เกดิ จากการจัดสภาพแวดล้อมสังคม การเรยี นรู้ และปัจจัยเก้อื หนนุ
ให้บุคคลเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ิต
6
2.3 ทฤษฎกี ารศึกษา หมายถึง การประยกุ ต์เอาหลักการและทฤษฎีทางการศกึ ษาไปใช้เป็นหลกั
ในการจัดการศกึ ษานน้ั กระทำกันหลายวธิ ี โดยทวั่ ไปมกั จะใช้วิธีผสมผสานโดยเลอื กสรรหลกั การที่ดีของ
หลายทฤษฎที พ่ี อจะประมวลเข้าด้วยกนั ได้โดย ไมข่ ดั แย้งกัน มาใชเ้ ป็นแนวการจดั การศกึ ษา
2.4 กำหนดหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
2.4.1 เปน็ การศกึ ษาเพอ่ื ความเปน็ เอกภาพของชาติ ม่งุ เน้นความเปน็ ไทยควบคู่กับความ
เปน็ สากล
2.4.2 เปน็ การศกึ ษาเพอ่ื ปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนจะได้รับการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาคและ
เทา่ เทียมกัน โดยสังคมมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา
2.4.3 ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นได้พฒั นาและเรยี นรดู้ ้วยตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชีวติ โดยถือวา่
ผูเ้ รียนมคี วามสำคัญท่สี ดุ สามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศกั ยภาพ
2.4.4 เป็นหลกั สูตรทม่ี โี ครงสร้างยดื หย่นุ ทัง้ ด้านสาระ เวลา และการจดั การเรยี นรู้
2.4.5 เป็นหลักสตู รทีจ่ ดั การศึกษาได้ทุกรูปแบบ ครอบคลมุ ทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถ
เทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
2.5 ปรชั ญาการศกึ ษา หมายถึง เป็นปรัชญาทีแ่ ตกหนอ่ มาจากปรัชญาแมบ่ ทหรอื ปรัชญาท่วั ไป
ท่ีว่าด้วยความรู้ความจรงิ ของชีวติ หากบคุ คลมีความเชอ่ื ว่าความจริงของชวี ิตเปน็ อยา่ งไรปรชั ญา
การศกึ ษาจะจัดการศึกษาพัฒนาคนและพัฒนาชวี ติ ให้เปน็ ไปตามน้นั สว่ นการจัดการเรียนการสอนก็
จะตอ้ งดำเนินการใหเ้ ปน็ ไปตามหลักปรชั ญาการศึกษานนั้ ๆ ดงั นนั้ การศกึ ษาเร่อื งการเรยี นการสอนวา่ ควร
จะเป็นอยา่ งไร จึงตอ้ งศกึ ษาถงึ ท่มี า คอื ปรัชญาด้วย “การจัดการศกึ ษาโดยไมม่ ปี รัชญาการศกึ ษาเปน็
แนวทางกเ็ ป็นเสมอื นเรอื ท่ีแล่นไปในทอ้ งทะเลโดยไมม่ หี างเสอื ”
2.6 การจดั การศกึ ษาตามแนวปรัชญาสาขา
2.6.1 ความเชอื่ ของครูตามปรัชญาน้ี เชอ่ื ว่า “การเรียนร้ตู ้องเร่ิมต้นที่ตนเอง” จึงมุ่ง
พัฒนาศักยภาพของนักเรยี นแตล่ ะคนตามความถนดั หรือความสามารถบนพืน้ ฐานของความแตกต่าง
ระหวา่ งบคุ คล เพราะคนแต่ละคนมคี วามถนัดไมเ่ หมอื นกันดังนน้ั ไมค่ วรบังคับใหเ้ ด็กทกุ คนเรยี น
เหมือนกนั เพราะทำลายความเป็นตัวของตัวเองของเด็ก ซึ่งตรงกบั ความหมายของการศกึ ษา
(Education) ซึง่ มาจากภาษาละตินว่า Educare แปลว่า การนำออก เพราะจดุ มงุ่ หมายของการศึกษา
คอื การดงึ เอาศักยภาพทีม่ ีอยใู่ นตัวผูเ้ รียนออกมา หรือเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นไดแ้ สดงออกซ่ึงความสามารถ
ของตนเองอยา่ งอสิ ระนน่ั เอง
2.6.2 วธิ ีการสอน จะสอนใหน้ กั เรียนเป็นตัวของตวั เองใหม้ ากที่สดุ เน้นความเป็นบุคคลหรอื
เนน้ ผูเ้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง ดว้ ยการกระตนุ้ ให้นกั เรยี นคดิ อยา่ งอิสระไมค่ วรคดิ หรอื ทำอะไรตามผูอ้ ่นื
7
ใหอ้ ิสระในการเลอื กวิชาเรียนตามความถนัดหรอื ความสนใจ บรรยากาศในช้ันเรียนจะเตม็ ไปด้วย
เสรีภาพ ครูจะไมด่ ุวา่ นักเรยี น นกั เรยี นอยากเรยี นกเ็ รยี นไมอ่ ยากเรียนก็ไม่มกี ารบงั คับเพราะครจู ะสอนก็
ตอ่ เมือ่ นกั เรียนพร้อมท่จี ะเรยี น ครูจะใหน้ กั เรียนปกครองกันเอง ระเบียบวินยั ตา่ งๆ ไมไ่ ด้มาจากครแู ต่
นักเรียนเปน็ ผชู้ ว่ ยกันกำหนดขึน้ มาเองตามความพอใจ
2.6.3 ผเู้ รียน ผเู้ รยี นเป็นศนู ย์กลางของการเรียนโดยใหเ้ ดก็ เปน็ ผู้ลงมือปฏิบัติ ส่วนครเู ปน็ ผู้
ดูหรอื พเี่ ล้ียงคอยให้คำแนะนำปรึกษา นกั เรยี นจะมีอสิ ระเสรภี าพอย่างเตม็ ท่ีในการคิดตดั สินใจดว้ ย
ตนเอง ในการเลอื กทำกจิ กรรมต่างๆ ตามความถนดั หรอื ความสนใจของแต่ละคน โดยไม่มีการบังคับ
เพ่อื ให้ผเู้ รยี นได้คน้ พบตนเอง
3. ทฤษฎกี ารเรยี นร้แู ละการประยุกต์สู่การสอน
ทฤษฎีการเรียนรูแ้ ละการประยุกตส์ ่กู ารสอนทฤษฎีการเรยี นรสู้ ร้างขน้ึ จากพ้นื ฐานความเชื่อ
เกี่ยวกับธรรมชาติของการเรยี นรู้ เชน่ ทฤษฎใี นกล่มุ พฤติกรรมนิยมซ่ึงนิยามการเรยี นร้วู า่ เปน็ การ
เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมก็จะเนน้ องคป์ ระกอบท่ีมีตอ่ การเปลยี่ นแปลง ดังนั้นจงึ มบี ทบาทตอ่ การประยุกตส์ ู่
การออกแบบการเรยี นการสอนหลกั การพนื้ ฐานในการเรียนรขู้ องทฤษฎีนน้ั
3.1 การเช่ือมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s connectionism)
การเรียนรูข้ องธอรน์ ไดค์เน้นความเช่ือมโยงของสงิ่ เร้าและการตอบสนอง หากผลที่ตามมา
หลังปฏบิ ัติเป็นส่งิ ท่ีนา่ พอใจความเชือ่ มโยงของสงิ่ เรา้ และการตอบสนองก็จะมากยิ่งขน้ึ
3.1.1 กฎแห่งผล (Law of effect) พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ใดท่ีได้รับผลท่ีทำให้
ผู้เรยี นพงึ พอใจผู้เรยี นจะกระทำพฤติกรรมนน้ั ซำ้ ๆ อกี หรือเรียนรู้ต่อไปแต่ถา้ ไมไ่ ด้รับผลที่พงึ พอใจผ้เู รียนก็
จะเลกิ ทำพฤตกิ รรมนนั้
3.1.2 กฎแห่งความพรอ้ ม (Law of readiness) การเรยี นรจู้ ะเกดิ ขึ้นไดด้ ีถ้าผู้เรียนอยูใ่ น
ภาวะทม่ี ีความพรอ้ มทั้งรา่ งกายและจติ ใจ การบงั คบั หรอื ฝืนใจจะทำให้หงดุ หงิดไมเ่ กดิ การเรียนรู้
3.1.3 กฎแห่งการฝึกหัด (Law of exercise) การเรยี นรจู้ ะคงทนหรือตดิ ทนนานถา้ ได้รับ
การฝึกหดั หรือกระทำซ้ำบ่อย ๆ
3.2 การประยุกต์สู่การสอน
3.2.1 การกำหนดจุดประสงค์การเรยี นรู้เปน็ พฤติกรรมท่ีชดั เจน เฉพาะเจาะจงซึง่ ทำให้
สามารถวดั ผลประเมนิ ผลได้วา่ เกดิ การเรยี นรูห้ รือไม่ โดยสงั เกตจากพฤติกรรมที่เกิดข้นึ และแจ้งให้
ผ้เู รยี นทราบพฤติกรรมทค่ี าดหวัง
8
3.2.2 กอ่ นเรียนควรสำรวจวา่ ผู้เรียนมคี วามพรอ้ ม ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจและมคี วามรู้พืน้ ฐาน
เดมิ ที่พร้อมในการเรียนรู้ หรือไม่ เพอื่ หาแนวทางในการเตรยี มความพรอ้ มใหก้ บั ผู้เรียน
3.2.3 ควรจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ีใหผ้ ู้เรียนเรยี นร้ผู ่านการลงมอื ปฏิบตั ิ การเผชิญ
สถานการณ์ปัญหาซ่งึ เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นไดล้ องถูกลองผิด เพ่ือหาทางแกป้ ญั หาด้วยตนเอง ซงึ่ จะทำให้
ผู้เรียนเกดิ ความภาคภูมใิ จเมอื่ ค้นพบวธิ ีการแก้ปัญหาได้
3.2.4 ควรศึกษาวา่ อะไรคอื รางวลั หรอื ผลท่ีผเู้ รียนพึงพอใจ เพือ่ ใชเ้ ปน็ ส่งิ เร้าให้ผู้เรียนอยาก
เรียนรู้หรอื แสดงพฤตกิ รรมน้ันซำ้ อีก
3.2.5 ควรให้ผเู้ รยี นไดฝ้ ึกฝนส่งิ ทเ่ี รียนรแู้ ล้วอย่างสมำ่ เสมอเพือ่ ให้เกิดทกั ษะในสง่ิ นั้น
3.3 การวางเง่อื นไขแบบปฏบิ ตั กิ าร (Operant conditioning theory) สกนิ เนอร์(Skinner)
การเรยี นเกดิ จากการวางเง่ือนไขของส่ิงเร้าซง่ึ ผเู้ รยี นตอ้ งลงมือทำหรือปฏิบัตเิ พ่ือหาทาง
แกป้ ญั หาจงึ จะได้รับผลท่พี งึ พอใจ ถ้ามกี ารเรียนรเู้ กิดขึน้ จะสังเกตได้วา่ มีการตอบสนองเพิ่มขน้ึ เมือ่ ไมม่ ี
การเรียนรู้อัตราการตอบสนองจะลดลง การเรยี นรูจ้ ึงตีความว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมหรอื เทยี บ
ไดก้ ับการตอบสนอง
3.3.1 การเสรมิ แรงแบบปฐมภมู ิ (Primary reinforcement) คอื สิง่ เรา้ ท่สี ามารถทำให้
ความถ่ีของการแสดงพฤตกิ รรมเพม่ิ ขนึ้ โดยไม่ต้องอาศัยการฝึกฝน ซึง่ เปน็ สิง่ เรา้ ตามธรรมชาติ เช่น อาหาร
ทอ่ี ยู่อาศยั เป็นต้น
3.3.2 การเสริมแรงแบบวางเงือ่ นไข
3.3.2.1 การเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcement) คือ การให้ส่งิ เร้าที่
กอ่ ใหเ้ กิดผลทางบวกแกพ่ ฤตกิ รรม ทำใหค้ วามถข่ี องพฤตกิ รรมเพ่มิ ขึน้ หรอื มกี ารผลติ ซำ้ ของพฤติกรรม
เชน่ การท่ีผู้เรยี นส่งงานครบตามกำหนดเมอ่ื ได้รับคำชมเชยจากผ้สู อนทำให้ผู้เรียนสง่ งานครบตามกำหนด
3.3.2.2 การเสรมิ แรงทางลบ (Negative reinforcement) คอื การลดหรือการถอน
สิง่ เร้าท่ีก่อให้เกดิ ผลทีไ่ ม่พงึ พอใจ ทำให้เกดิ พฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงค์เพม่ิ ขนึ้ เชน่ เสยี งดงั และหอ้ งเรียนท่ี
รอ้ นอบอ้าวเปน็ สิ่งเรา้ ทีท่ ำให้นักเรียนหงุดหงดิ ไมส่ นใจเรยี น เมื่อตดิ เครือ่ งปรบั อากาศทำให้นกั เรียนมี
ความตั้งใจเรยี นมากขึน้ หรือนกั เรียนรบี ออกจากบา้ นแต่เชา้ เพอ่ื หลีกเลีย่ งรถติดทำใหม้ าถึงโรงเรียน
ทันเวลา
3.4 การสร้างความรู้ประยกุ ต์ไปใชใ้ นการเรียนการสอนได้
3.4.1 การเรยี นรูป้ ระสบการณ์ใหม่ข้ึนจากประสบการณ์เดมิ ของผ้เู รียน ก่อนเรยี นเรอ่ื งใหม่
ผสู้ อนควรสำรวจความรู้เดมิ ของผู้เรยี นท่ีจำเปน็ ต่อการเรยี นรเู้ รอ่ื งใหม่ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนได้เชื่อมโยงความรู้
และประสบการณ์เดมิ ส่กู ารเรยี นรูเ้ ร่ืองใหม่ทำให้ผู้เรยี นมคี วามเขา้ ใจการเรยี นรู้เร่อื งใหม่ไดด้ ีขึ้น
9
3.4.2 การเรียนรคู้ อื การสร้างความหมายความเขา้ ใจของผู้เรยี นจากประสบการณ์ที่
ได้รบั
3.4.3 กอ่ นการจัดการเรียนรู้เร่อื งใหม่ ควรตรวจสอบความรเู้ ดมิ ของผู้เรียนว่าเป็นความรู้ที่
ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ หากเป็นความรทู้ ีไ่ มถ่ ูกตอ้ งหรอื เป็นความเข้าใจผิด ตอ้ งแกไ้ ขใหถ้ ูกต้อง เพราะในการสร้าง
ความเขา้ ใจใหมน่ ้นั ผูเ้ รยี นจะแปลความหมายของสง่ิ ทเี่ รียนรใู้ หม่จากความร้แู ละประสบการณเ์ ดิมที่มอี ยู่
3.4.4 การเรยี นรู้เปน็ ปฏิสัมพันธ์ทางสงั คม ดังนั้นควรจดั ใหผ้ ู้เรยี นไดท้ ำงานเป็นกลุ่มเล็ก
เพอื่ ให้มโี อกาสแลกเปลยี่ นความรแู้ ละประสบการณร์ ะหวา่ งผเู้ รียนด้วยกัน และผู้เรยี นกับผูส้ อนหรือการ
จัดให้ผ้เู รียนได้เรียนรูก้ บั ผู้ที่มคี วามรู้ที่อยูใ่ นท้องถ่ิน
3.4.5 ลดการบรรยาย จัดกิจกรรมหรอื สถานการณ์ทท่ี า้ ทายสติปัญญาและศักยภาพของ
ผู้เรียน ใหผ้ ู้เรยี นสร้างความรู้ด้วยการลงมือปฏบิ ัติจริง ฝกึ ปฏบิ ัตแิ ละประยกุ ต์ใช้ความรู้ในสถานการณจ์ ริง
และสะทอ้ นผลการเรยี นรขู้ องตนเอง
3.4.6 จัดให้ผ้เู รยี นไดเ้ รียนรู้จากสถานการณ์และปัญหาท่เี กิดข้ึนตามสภาพจริงในสังคม
เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนเหน็ คุณค่าและประโยชน์ของการเรยี นรู้
3.4.7 ใหผ้ เู้ รยี นเป็นผูร้ บั ผดิ ชอบการเรยี นร้ขู องตนเอง โดยสง่ เสรมิ ให้ผ้เู รยี นได้พฒั นาทักษะ
การเรยี นรู้และทศิ ทางการเรียนรูข้ องตนเอง ได้แก่ การวางแผนบรหิ ารจัดการการเรียนรู้ของตนเอง
ควบคุมติดตามผลการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ประเมินผลและปรบั ปรงุ การเรียนรูข้ องตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง
3.4.8 บทบาทของครู คือ ส่งเสรมิ สนบั สนุนและใหค้ วามชว่ ยเหลือ ชแ้ี นะการเรยี นรใู้ ห้
ผ้เู รยี นประสบความสำเรจ็ ในการเรียนทฤษฎีการเรียนรสู้ ำคัญทกี่ ลา่ วมาข้างต้นได้ใหข้ ้อความร้ทู เ่ี ป็น
ประโยชน์ทำให้เราเข้าใจการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นว่าเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร ซงึ่ นำไปประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั
สภาพแวดล้อมที่สง่ เสริมให้เกิดการเรยี นรู้ตลอดจนส่งเสรมิ บทบาทของครู และผเู้ รยี นทีจ่ ะเป็นประโยชน์
ตอ่ การเรียนรู้
4. แนวคดิ ทฤษฎดี ้านการศึกษาทางศาสนา เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม
4.1 ทฤษฎีทางการศกึ ษา เป็นทฤษฎีที่เก่ยี วข้องกบั การเรยี นรู้ จงึ เก่ียวข้องโดยตรงกับ
กระบวนการเรียนรหู้ รอื การเอื้อให้เกิดการเรยี นรู้
4.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ (THEORIES OF LEARNING) การเรยี นรู้ หมายถึง การเปล่ยี นแปลง
พฤตกิ รรมทค่ี ่อนข้างถาวร เปน็ ผลมาจากประสบการณต์ า่ ง ๆ ทฤษฎีการเรยี นรู้เปน็ การศกึ ษาที่เกี่ยวข้อง
กับกระบวนการเทคนคิ ตา่ ง ๆ ที่เกิดจากการเรียนรู้
10
4.2.1 ทฤษฎีการเรียนรู้แนวคดิ พฤติกรรมนิยมมีแนวคิดความเชื่อว่าสง่ิ เร้า (Stimula) ทำให้
เกดิ การเรยี นรู้ และเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนอง (Response) เรียกว่าเกดิ พฤตกิ รรม (Behavior) โดยทฤษฎี
การเรียนรูใ้ นกล่มุ พฤตกิ รรมนยิ ม แบง่ ไดด้ ังน้ี
4.2.1.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov) เปน็ ทฤษฎกี าร
วางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ซงึ่ เชื่อวา่ การเรียนรขู้ องสง่ิ มีชีวติ จำนวนมากเกิดจากการวางเงื่อนไข โดยการ
ตอบสนองหรือการเรียนรู้ท่ีเกดิ ขนึ้ ต่อสิ่งเรา้ หนึ่งมักมีเง่อื นไขหรอื สถานการณเ์ กดิ ขนึ้
4.2.1.2 การเรียนรแู้ บบเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike) การเรยี นรู้ คอื การที่
ผเู้ รยี นสามารถสรา้ งความสัมพันธ์เชอ่ื มโยงระหว่างสง่ิ เร้า และตอบสนองและได้รบั ความพึงพอใจจะทำให้
เกิดการเรียนรู้ข้ึน
4.2.1.3 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Conditioning Thepry)
สกินเนอร์ ได้อธิบายคำวา่ “พฤติกรรม” ว่าประกอบด้วยองคป์ ระกอบ 3 ตวั สิง่ ทก่ี อ่ ให้เกดิ ข้ึนกอ่ น
(Antecedent) พฤติกรรม (Behavior) ผลท่ีไดร้ ับ (Consequence)
4.2.2 ทฤษฎคี วามรู้ความเข้าใจหรอื ทฤษฎีปรชั ญาปัญญานยิ มจากหลักการ Field theory
ซ่งึ เลวิน (Lewin) เป็นผเู้ สนอไว้ แนวคดิ ของนกั จติ วทิ ยากล่มุ นใี้ ห้ความสำคญั กบั กระบวนการคิดการศกึ ษา
พฤติกรรมควรเน้นความสำคัญเกย่ี วกับกระบวนการคิดและการรบั รู้ของตน
4.2.3 ทฤษฎกี ารเรียนรขู้ องกลมุ่ แนวคิดมนษุ ยน์ ิยมผูน้ ำแนวคดิ มนษุ ยนิยม คือ มาสโลว์ มี
ความเชอื่ วา่ มนุษยเ์ กดิ มาพร้อมกบั ความดตี ดิ ตวั มนุษยเ์ ป็นผูท้ ี่มอี ิสระสามารถท่จี ะพง่ึ ตนเองได้
4.2.4 ทฤษฎกี ารเรยี นร้ขู องบลูม (Broom) แบ่งจดุ มุง่ หมายของการเรยี นรูเ้ ปน็ 3 ดา้ น
4.2.4.1 พุทธพสิ ัย ความร้คู วามจำความเขา้ ใจเป็นความสามารถ ในการจบั
ใจความสำคัญของสือ่ การนำความรู้ไปใช้ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินคา่
4.2.4.2 จิตพิสัย การรับรู้ การตอบสนอง การให้ค่านิยม การจดั รวบรวม การ
พฒั นาลักษณะนสิ ยั จากค่านิยม
4.2.4.3 ทักษะพิสยั ขัน้ การรับรู้ ขั้นตระเตรียม ข้ันฝึกหัดขนั้ ทำได้ ขั้นชำนาญ
4.3 ทฤษฎีพหปุ ัญญา (Multiple intelligence) ของการด์ เนอร์ (Gardner)
ได้เสนอแนวคดิ วา่ สตปิ ัญญาของมนุษยไ์ มไ่ ดม้ ีเฉพาะเหตผุ ลเชิงตระกะและความสามารถทาง
ภาษาแต่ยงั มสี ติปญั ญาอกี หลายๆด้าน
4.3.1 สติปญั ญาดา้ นดนตรี
4.3.2 สตปิ ญั ญาการเคลื่อนไหวร่างกายและกลา้ มเนื้อ
4.3.3 สติปัญญาด้านการใชเ้ หตุผลเชงิ ตระกะและคณิตศาสตร์
11
4.3.4 สติปัญญาด้านภาษา
4.3.5 สตปิ ัญญาดา้ นเน้อื หามติ ิสมั พันธ์
4.3.6 สติปญั ญาดา้ นการเขา้ กบั ผอู้ นื่
4.3.7 สติปัญญาดา้ นการเข้าใจผู้อื่น
4.3.8 สตปิ ญั ญาดา้ นเขา้ ใจในธรรมชาติ
4.4 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของโรเบริ ต์ กาเย่ (Robert Gange)
4.4.1 เนน้ เร่งเรา้ กระตุน้ ดึงดดู ความน่าสนใจ , บอกวัตถุประสงค์ , ทบทวนความร้เู ดิม
นำเสนอเนอื้ หาใหม่ , ข้แี นะแนวทางการเรียนรู้ , กระต้นุ การตอบสนองบทเรียน , ใหข้ ้อมูลย้อนกลับ
, การประเมนิ ผลการแสดงออกและสรปุ และนำไปใช้
4.5 แนวคดิ ทฤษฎีทางศาสนา
4.5.1 ศาสนามีความสำคัญต่อคุณภาพชวี ิตของบคุ คล สงั คมต่างๆ มักจะมศี าสนาเปน็ เคร่อื ง
ยดึ เหนย่ี วเพ่ือใหส้ มาชิกในสังคมปฏิบัตติ นในทางท่ีดี ศาสนาทุกศาสนาย่อมมีจุดหมายเดียวกัน คอื มุ่งให้
บคุ คลกระทำความดีละเว้นความช่วั ศาสนาที่เกดิ ข้ึนในโลกท้ังในอดตี และปจั จบุ ัน ลว้ นเกิดมาจากสาเหตุท่ี
คล้ายคลงึ หรือแตกต่างกนั แต่สาเหตุสำคัญท่ที ำให้เกดิ เป็นศาสนา สรุปได้ดังนี้
4.5.1.1 ความไมร่ แู้ ละความกลัว
4.5.1.2 ความจงรักภักดี
4.5.1.3 ปัญญาหรอื ความรู้
4.6 แนวคดิ ทฤษฎีทางเศรษฐกิจ
4.6.1 เศรษฐศาสตร์การศึกษา หมายถงึ การประยุกตว์ ชิ าเศรษฐศาสตร์ในการวิเคราะหก์ าร
จดั การศึกษาท้ังในระบบนอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั การวิเคราะห์ทาเศรษฐศาสตร์ ซ่งึ
เกยี่ วข้องกับความสัมพันธร์ ะหว่างระบบเศรษฐกิจกบั ระบบการศึกษา โดยท่ีคนและสงั คมสว่ นในการ
ตัดสนิ ใจใช้ทรพั ยากรที่มอี ยู่อยา่ งจำกดั คมุ้ คา่ ตอ่ การลงทนุ ทางการศึกษาพน้ื ฐานแนวคดิ และทฤษฎีที่
สำคัญของเศรษฐกิจกบั การศึกษา
4.6.1.1 แนวคิดการศึกษาเปน็ อตุ สาหกรรม การศึกษาเปน็ กิจกรรมของมนษุ ย์ทม่ี ี
ขนาดใหญ่ มผี ู้ใหบ้ ริการจำนวนมากใช้หลักการและทฤษฎเี ศรษฐศาสตรม์ าบรหิ ารจัดการเพื่อให้การจดั ใช้
ทรัพยากรเป็นไปอยา่ งประหยัดคุ้มค่าแลเกิดประโยชน์สูงสุด
4.6.1.2 แนวคิดการศึกษาเป็นการลงทุน การใช้จ่ายทางการศกึ ษาส่วนใหญเ่ ป็นการ
ใชจ้ า่ ยท่คี าดหวังผลตอบแทนในอนาคต จึงเป็นการใชจ้ า่ ยเพื่อการลงทุน การพจิ ารณาความคมุ้ ครองและ
ความมีประสทิ ธภิ าพของการลงทนุ
12
4.6.1.3 ทฤษฎีทุนมนุษย์ เศรษฐศาสตรก์ ารศึกษามีพ้นื ฐานมาจากทฤษฎีมนุษย์ ซ่ึง
พฒั นามาจากแนวคดิ เกี่ยวกบั การลงทุนในมนษุ ย์นบั เป็นอีกสำนกั ความคิดหนง่ึ ท่ีขยายความรเู้ ก่ียวกับการ
ลงทนุ พัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์
4.7 แนวทางการจดั การศกึ ษาตามแผนแมบ่ ทการศึกษา
4.7.1 มาตรา 4 โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสบื สานทางวัฒนธรรม
4.7.1.1 กระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของบคุ คลและสังคม
4.7.1.2 การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ
4.7.1.3 การสร้างองค์ความรู้จากการจัดสภาพแวดล้อม สังคมการเรียนรู้
4.7.1.4 ปัจจัยเก้อื หนนุ ใหบ้ คุ คลเรยี นรอู้ ย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวติ
4.7.2 มาตรา 8
4.7.2.1 เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรบั ประชาชน
4.7.2.2 ใหส้ งั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา
4.7.2.3 การพัฒนาสาระและกระบวนการเรยี นรใู้ หเ้ ป็นไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
4.7.3 มาตรา 15 การจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ
4.7.3.1 การศกึ ษาในระบบ
4.7.3.2 การศกึ ษานอกระบบ
4.7.3.3 การศึกษาตามอัธยาศัย
4.7.4 มาตรา 22
4.7.4.1 การจัดการศึกษาตอ้ งยึดหลกั ว่าผูเ้ รยี นทกุ คนมีความสามารถเรยี นรแู้ ละ
พัฒนาตนเองได้ และผเู้ รยี นมคี วามสำคญั ทีส่ ุด โดยกระบวนจัดการศกึ ษาตอ้ งสง่ เสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ
4.7.5 มาตรา 23
4.7.5.1 การศึกษาทัง้ 3 รปู แบบ เนน้ ความสำคัญทง้ั ความรู้ คณุ ธรรม กระบวนการ
เรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดบั การศกึ ษา
4.8 แนวคดิ ทฤษฎีทางสังคมและวฒั นธรรมกับการศกึ ษา
4.8.1 การศกึ ษาวา่ มีบทบาทสำคัญท่ีทำใหส้ ังคมและวฒั นธรรมเปล่ียนแปลงไป ซ่ึงการ
เปลย่ี นแปลงทางสงั คมจะมีอิทธิพลต่อการกำหนดรปู แบบ หรอื ระบบการศึกษาในสงั คมวัฒนธรรมมกี าร
ปรบั ตัว (Adaptation) ใหส้ อดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสถานการณท์ เ่ี ปล่ียนแปลงไปอยตู่ ลอดเวลา
อาจสง่ ผลให้สว่ นอนื่ ๆของระบบการศึกษามีการเปล่ียนแปลงปรบั ตวั ตามไมท่ ันสงั คมและวฒั นธรรมไปดว้ ย
13
4.8.2 สงั คมและวัฒนธรรมมคี วามสำคญั กบั การจดั การศกึ ษาและการพัฒนาจดั การเรยี นรู้
สองประการคอื ประการแรกการศึกษาทำหน้าท่ีอนรุ กั ษ์และถา่ ยทอดวัฒนธรรมของสงั คมใหไ้ ปสคู่ นรนุ่
หลังประการทส่ี องการศึกษาจะทำให้หนา้ ทบี่ ำรงุ ปรับปรงุ เปล่ยี นแปลงวัฒนธรรมของสังคมให้เขา้ กบั การ
เปล่ยี นแปลงด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีต่างๆท่มี กี ารปรบั เปลีย่ นตลอดเวลาการศึกษาจะชว่ ยควบคุม
การเปลย่ี นแปลงสังคมใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางท่ีพึงปรารถนา
5. แนวคิดทฤษฎีเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศกึ ษาสง่ เสรมิ พัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรู้
5.1 ความหมายเทคโนโลยกี ารศึกษา และ นวัตกรรมการศกึ ษา
5.1.1 เทคโนโลยี หมายถงึ เปน็ การนำเอาแนวความคดิ หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบยี บ
วธิ ี กระบวนการ ตลอดจนผลผลติ ทางวิทยาศาสตรท์ ัง้ ในด้านสงิ่ ประดษิ ฐแ์ ละวธิ ีปฏิบัตมิ าประยกุ ตใ์ ชใ้ น
ระบบงานเพอื่ ชว่ ยใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงในการทำงานให้ดีย่งิ ข้ึนและเพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธภิ าพและ
ประสิทธิผลของงานให้มีมากยงิ่ ขึน้
5.1.2 เทคโนโลยีทางการศึกษา หมายถึง การนำความรู้ แนวคิด กระบวนการและผลผลิต
ทางวทิ ยาศาสตรม์ าใช้รว่ มกันอย่างมรี ะบบ เพ่ือแกป้ ัญหาและพัฒนาการศึกษาให้กา้ วหนา้ ไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ
5.1.3 นวัตกรรม เป็นศัพท์บญั ญตั ิของคณะกรรมการพจิ ารณาศพั ท์วิชาการศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ ซึ่งแต่เดมิ ใช้คำวา่ นวกรรม เปน็ คำมาจากภาษาอังกฤษวา่ Innovation แปลว่า การ
ทำสงิ่ ใหม่ๆ หรอื สิง่ ใหม่ท่ีทำข้ึนมา คำวา่ นวกรรม มาจากคำบาลสี ันสฤต คือ นว หมายถงึ ใหม่ และกรรม
หมายถึง ความคิด การปฏบิ ัติ
5.1.4 นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถงึ ความคดิ และวิธกี ารปฏบิ ัติใหม่ ๆ ทส่ี ง่ เสรมิ ให้
กระบวนการทางการศกึ ษามีประสิทธภิ าพ
5.2 ความแตกต่างระหว่างเทคโนโลยีการศกึ ษา และนวตั กรรมการศึกษา
5.2.1 นวตั กรรมเป็นแนวคดิ แนวปฏิบตั ิหรือการกระทำใหมๆ่ จะเปน็ ส่งิ ใหม่ท้งั หมดหรอื
เพยี งบางสว่ นก็ไดแ้ ตเ่ ทคโนโลยเี ป็นสง่ิ ท่ีผคู้ นสว่ นใหญ่ยอมรับจนกลายเป็นแนวปฏบิ ตั ิ
5.2.2 นวัตกรรม อยู่ในขน้ั การเอาไปใชใ้ นกลุ่มย่อยเพียงบางสว่ นไม่แพร่หลายแต่เทคโนโลยี
อยู่ในข้ันการนาเอาไปปฏิบตั ิกนั ในชีวิตประจาวนั จนกลายเปน็ เร่ืองธรรมดา
5.3 แนวคดิ พน้ื ฐานการเกดิ นวัตกรรมการศึกษา
5.3.1 แนวความคดิ พน้ื ฐานทางการศึกษาที่เปลยี่ นแปลงไปมีผลทำใหเ้ กดิ นวัตกรรม
การศึกษาขึ้นหลายรูปแบบด้วยกัน แนวความคิดพน้ื ฐานทางการศกึ ษาที่สำคญั พอสรปุ ได้ 4 ประการ
5.3.2 ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล (Individual Different) ได้ก่อให้เกดิ นวัตกรรม
14
5.3.2.1 โรงเรยี นไมแ่ บง่ ชน้ั
5.3.2.2 บทเรยี นสำเร็จรปู
5.3.2.3 การสอนเป็นคณะ
5.3.3 ความพรอ้ ม (Readiness) ไดก้ ่อใหเ้ กิดนวตั กรรม
5.3.3.1 ชดุ การเรยี นการสอน
5.3.3.2 ศนู ย์การเรยี น
5.3.4 เวลาท่ีใชใ้ นการศึกษา นวัตกรรมทสี่ นองความคิดนี้
5.3.4.1 ตารางเรียนแบบยืดหยนุ่
5.3.4.2 มหาวิทยาลัยเปิด
5.3.4.3 การเรียนทางไปรษณีย์
5.3.5 การขยายตวั ด้านวิชาการและอัตราการเพ่มิ ของประชากร ทำใหเ้ กดิ นวัตกรรมในด้าน
น้ขี ้ึน
5.3.5.1 ดาวเทียมเพื่อการศึกษา
5.3.5.2 มหาวิทยาลยั เปิด
5.3.5.3 การศึกษาทางไกล
5.3.5.4 การเรียนผ่านอนิ เตอรเ์ น็ต
5.4 ประเภทนวตั กรรมการศกึ ษา (จำแนกตาม)
5.4.1 นวตั กรรมทีน่ ำมาใช้ทง้ั ทผ่ี า่ นมาแล้ว และท่ีจะมีในอนาคตมหี ลายประเภทขน้ึ อยู่กบั
การประยุกต์ใชน้ วตั กรรมในดา้ นตา่ งๆ ซงึ่ จะขอแนะนำนวตั กรรมการศึกษา
5.4.1.1 นวัตกรรมทางด้านหลกั สตู ร เป็นการใช้วธิ กี ารใหมๆ่ ในการพฒั นาหลกั สูตร
ให้สอดคลอ้ งกับสภาพแวดล้อมในท้องถ่ิน และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เนื่องจาก
หลักสูตรจะต้องมกี ารเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี
เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศและของโลก นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สตู รไดแ้ ก่ การพฒั นาหลักสตู รบรู ณา
การ หลักสตู รรายบคุ คล หลกั สูตรกจิ กรรมและประสบการณ์ และหลกั สูตรทอ้ งถนิ่
5.4.1.2 นวตั กรรมการเรยี นการสอน เป็นการใชว้ ิธรี ะบบในการปรบั ปรงุ และคดิ ค้น
พฒั นาวธิ สี อนแบบใหม่ๆ ทส่ี ามารถตอบสนองการเรยี นรายบุคคล การสอนแบบผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลาง การ
เรียนแบบมีส่วนรว่ ม การเรยี นรแู้ บบแกป้ ัญหา การพฒั นาวิธีสอนจำเป็นต้องอาศัยวธิ ีการและเทคโนโลยี
ใหม่ๆ เขา้ มาจดั การและสนับสนนุ การเรยี นการสอน
15
5.4.1.3 นวตั กรรมสอื่ การสอน เน่ืองจากมีความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คอมพวิ เตอร์เครอื ขา่ ยและเทคโนโลยโี ทรคมนาคม ทำให้นักการศกึ ษาพยายามนำศกั ยภาพของเทคโนโลยี
เหล่านี้มาใช้ในการผลิตสอ่ื การเรียนการสอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ท้ังการเรยี นด้วยตนเอง การเรียนเปน็
กลมุ่ และการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสอ่ื ที่ใช้เพื่อสนบั สนุนการฝกึ อบรมผ่านเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
5.4.1.4 นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล เป็นนวัตกรรมทใ่ี ช้เป็นเครอื่ งมือเพือ่ การ
วดั ผลและประเมนิ ผลได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และทำได้อย่างรวดเรว็ รวมไปถงึ การวจิ ัยทางการศึกษา
การวจิ ัยสถาบนั ด้วยการประยุกตใ์ ช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรม์ าสนบั สนนุ การวดั ผล ประเมนิ ผลของ
สถานศกึ ษา ครู อาจารย์
5.4.1.5 นวัตกรรมการบริหารจัดการ เป็นการใชน้ วตั กรรมที่เกีย่ วข้องกับการใช้
สารสนเทศมาชว่ ยในการบรหิ ารจัดการ เพ่ือการตัดสนิ ใจของผู้บรหิ ารการศึกษา ใหม้ ีความรวดเร็วทัน
เหตุการณ์ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาทีน่ ำมาใช้ทางดา้ นการบรหิ ารจะเกี่ยวข้อง
กบั ระบบการจัดการฐานขอ้ มูลในหน่วยงานสถานศึกษา
5.5 จำแนกตามผ้ใู ช้ประโยชนจ์ ากนวตั กรรมโดยตรง
5.5.1 นวตั กรรมจัดการเรยี นรู้ของครู เชน่ วิธีการสอน กจิ กรรมทคี่ รนู ำมาใชก้ ับผเู้ รียน และ
สอ่ื การสอนต่างๆ
5.5.2 นวตั กรรมการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น เชน่ แบบฝกึ หดั ต่างๆท่คี รูสร้างข้นึ บทเรยี น
สำเรจ็ รปู สื่อมลั ตมิ เี ดยี ฯลฯ
5.5.3 นวัตกรรมเพอ่ื การบริหารและพฒั นาการทำงานของครูและนกั เรียน
5.6 จำแนกตามลกั ษณะของนวัตกรรม
5.6.1 เทคนคิ วธิ กี าร วธิ ีการจดั กิจกรรมพัฒนา การจัดกจิ กรรมสำหรบั ผ้เู รยี น เช่น การจัด
บรรยากาศในหอ้ งเรียนใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรียน และเหมาะกบั วธิ กี ารสอนของครู
5.6.2 ส่อื การเรียนรู้ สอื่ การเรยี นรู้เปน็ ตวั กลาง หรือเครื่องมือท่ีชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความรู้
ความเขา้ ใจ ส่อื การเรียนรแู้ บง่ ออกเป็น 3 ประเภท
5.6.2.1 วัสดุท่ีเสนอความรู้จากตัวสอื่
5.6.2.2 วัสดุที่ต้องอาศัยสอ่ื ประเภทเครอื่ งกลเป็นตวั นำเสนอความรู้
5.6.2.3 ส่ือประเภทเครอ่ื งมอื หรือโสตทัศนูปกรณ์ เป็นส่ือท่ีเป็นตัวกลางหรือตัวผ่าน
ของความรู้ทถ่ี ่ายทอดไปยงั ผรู้ บั เชน่ เครื่องช่วยสอน เคร่อื งฉาย คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน ฯลฯ
5.7 การจำแนกตามจุดเน้นของนวัตกรรม
16
5.7.1 นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ผลผลติ เป็นนวัตกรรมทเ่ี ปน็ วสั ดุ อุปกรณ์ หรือ
เคร่อื งมือทใี่ ชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ เช่น วีดที ัศน์ ซีดี สไลด์ ฯลฯ
5.7.2 นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ เทคนิค วิธกี าร หรือกระบวณการในการจดั การ
เรยี นรู้ เชน่ โครงงาน ผงั มโนทศั น์ บทบาทสมมุติ ฯลฯ
5.7.3 นวตั กรรมทีเ่ นน้ ทัง้ ผลผลติ และเทคนิคกระบวณการ เชน่ ระบบการผลิตและสร้างสื่อ
การ เรยี นรกู้ ระบวณการทส่ี ามารถใหน้ ักเรยี นเรียนรู้ดว้ ยตวั เองอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
5.8 กระบวนการนวตั กรรมการศกึ ษา
5.8.1 กำหนดจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เมื่อครูไดว้ ิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในการจดั กิจกรรม
การเรียนรู้ เพ่อื พฒั นาการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี นแลว้ กต็ งั้ เปา้ หมายในการพฒั นาคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ อง
ผู้เรียนน้นั คือ กำหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ที่ต้องการใหเ้ กดิ ขน้ึ ในตัวผู้เรียนตามเปา้ หมายของหลักสูตร
5.8.2 กำหนดกรอบแนวคดิ ของกระบวนการเรยี นรู้ เมื่อไดก้ ำหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
แล้ว ครคู วรศึกษาค้นควา้ หลักวชิ าการ แนวคิดทฤษฎผี ลงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั จดุ ประสงค์ในการพัฒนา
คณุ ลักษณะของผู้เรียน และนำมาผสมผสานกบั ความคิดและประสบการณ์ของตนเอง กำหนดเปน็ กรอบ
แนวคิดของกระบวนการเรยี นรู้ขนึ้ เพือ่ จัดสรา้ งเปน็ ต้นแบบนวตั กรรมขน้ึ เพ่ือใช้แก้ปัญหาหรอื พัฒนาการ
เรยี นร้ขู องผู้เรียน
5.8.3 สรา้ งตน้ แบบนวัตกรรม เมือ่ ตดั สนิ ใจไดว้ า่ จะเลือกจดั ทำนวัตกรรมชนดิ ใดครูผู้ตอ้ ง
ศกึ ษาวธิ กี ารจดั ทำนวตั กรรมชนดิ น้ัน ๆ อยา่ งละเอยี ด ต้องศึกษาคน้ ควา้ วิธกี ารจัดทำบทเรียนสำเรจ็ รปู ว่า
มวี ิธีการจัดทำอยา่ งไรจากเอกสารตำราทเี่ กย่ี วข้อง แลว้ จัดทำต้นแบบบทเรยี นสำเร็จรูปให้สมบูรณ์ตาม
ข้อกำหนดของวิธีการทำบทเรยี นสำเรจ็ รปู สำหรับเครอื่ งมอื ท่ตี ้องใชใ้ นการวดั ผลสมั ฤทธิ์หรอื เครื่องมืออน่ื
ๆ ต้องมีการพัฒนาเคร่อื งมอื ตามวธิ กี ารทางวิจัยด้วย การสรา้ งตน้ แบบนวตั กรรมจะต้องนำไปทดลองใช้
เพื่อหาประสิทธิภาพของนวตั กรรม ซ่ึงมีขนั้ ตอนการหาประสิทธภิ าพนวตั กรรม ดงั นี้
5.8.3.1 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม
5.8.3.2 การทดสอบประสิทธิภาพของนวัตกรรม
5.8.4 ทดลองใชน้ วัตกรรม การทดลองภาคสนามเพอ่ื หาประสทิ ธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน
ดำเนนิ การทดลองใช้นวัตกรรมกบั ผ้เู รียนทเี่ ปน็ กลุ่มทดลอง (กลุม่ ทีต่ ้องการแกป้ ัญหา) ในสภาพในกลุม่
เรยี นจรงิ วิธีดำเนินการเหมือนกบั วิธีการทดลองกบั กลมุ่ เล็กทุกอย่างต่างกันท่จี ุดประสงคข์ องการใช้
นวัตกรรม ซ่งึ การทดลองในทผ่ี ่านมาถอื ว่าเปน็ การกระทำเพื่อหาขอ้ บกพรอ่ งทคี่ วรแกไ้ ข ผเู้ รียน
เปรยี บเสมอื นท่ปี รึกษา และนวตั กรรมทใ่ี ชก้ เ็ ป็นเพียงการยกรา่ ง เมอื่ ผ่านการทดลองกับกลมุ่ เล็กแล้ว จงึ
จะถอื ว่าเปน็ บทเรียนฉบบั จรงิ การทดลองภาคสนามก็เปน็ การทดลองโดยเปน็ การนำไปใช้จริง ก่อนเริม่ ใช้
17
นวตั กรรมผู้สอนควรแนะนำผ้เู รยี นให้เขา้ ใจวิธีเรียนเสียก่อนและให้ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เมือ่ ใช้
นวัตกรรมเสร็จแลว้ กต็ อ้ งมีการทดสอบหลังเรยี นอีกคร้ัง
5.8.5 เผยแพรน่ วตั กรรม เมือ่ นำนวตั กรรมไปขยายผลโดยให้ผอู้ นื่ ทดลองใช้และให้
คำแนะนำในการปรับปรุงแกไ้ ขจนเปน็ ท่พี อใจแล้ว ก็จัดทำนวตั กรรมน้นั เผยแพรเ่ พื่อบรกิ ารให้ใช้กนั
แพรห่ ลายต่อไป
5.9 ความสำคัญของนวตั กรรมการศึกษา
นวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศกึ ษาหลายประการ เน่อื งจากในโลกยคุ โลกาภวิ ัตตโ์ ลกมีการ
เปลี่ยนแปลงในทุกด้านอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ความก้าวหนา้ ทัง้ ดา้ นเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ
การศกึ ษาจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาเปลีย่ นแปลงจากระบบการศึกษาท่มี อี ย่เู ดมิ เพ่ือ ใหท้ ันสมยั ตอ่ การ
เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไปอีกทง้ั เพือ่ แก้ไขปัญหาทางดา้ นศึกษา
บางอยา่ งที่เกิดขึ้นอย่างมีประสทิ ธิภาพ เช่นเดียวกนั การเปล่ียนแปลงทางด้านการศกึ ษาจึงจำเปน็ ตอ้ งมี
การศึกษาเกย่ี วกบั นวตั กรรมการศึกษาทจ่ี ะนำมาใช้เพอ่ื แก้ไขปัญหาทางการศกึ ษาในบางเรื่อง เชน่ ปัญหา
ทเ่ี กี่ยวเนอ่ื งกนั จำนวนผูเ้ รยี นท่ีมากขึน้ การพฒั นาหลกั สูตรให้ทันสมยั การผลิตและพัฒนาส่อื ใหม่ๆ
ขนึ้ มาเพือ่ ตอบสนองการเรยี นรู้ของมนุษยใ์ หเ้ พม่ิ มากขึ้นด้วยระยะเวลาท่ีส้นั ลง การ ใช้นวัตกรรมมา
ประยกุ ตใ์ นระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษากม็ ีส่วนชว่ ยใหก้ าร ใช้ทรพั ยากรการเรยี นร้เู ปน็ ไปอย่าง
มีประสทิ ธภิ าพ เชน่ เกดิ การเรียนรูด้ ้วยตนเอง
6. แนวคิดกระบวนการเรียนออนไลน์ และ 5 Steps GOCQF
6.1 การเรยี นการสอนออนไลน์ (Online learning) จดั เป็นนวตั กรรมทางการศึกษาในอกี
รูปแบบหน่งึ ซง่ึ สามารถเปล่ียนแปลงวธิ เี รยี นในรปู แบบเดิม ๆ ให้เป็นการเรยี นใหมท่ ใ่ี ช้เทคโนโลยีเขา้ มา
ชว่ ยทำการสอน นอกจากนค้ี วามหมายอีกในหนึ่งยังหมายถงึ การเรียนทางไกล , การเรียนผา่ นเว็บไซต์
6.2 การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ (Online learning) จะเป็นเรยี นทางผ่านทางอนิ เทอร์เนต็
โดยอย่ใู นรปู แบบของคอมพิวเตอร์ เปน็ การใชเ้ ทคโนโลยีสมัยใหม่ บวกเข้ากบั เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สรา้ ง
การศกึ ษาที่มปี ฏิสัมพนั ธ์คณุ ภาพสงู โดยไม่จำเปน็ ต้องเดินทาง เกดิ ความสะดวกและเขา้ ถึงได้อย่างรวดเร็ว
ทกุ สถานท่ี ทกุ เวลา เปน็ การสร้างการศึกษาตลอดชวี ิตให้กบั ประชากร
6.3 การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ เป็นการศึกษาผา่ นเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต ด้วยตนเอง
ผเู้ รยี นสามารถเลอื กเรียนตามความชอบของตนเอง ในสว่ นของเนื้อหาของเรยี น ประกอบดว้ ย ข้อความ ,
รูปภาพ , เสียง , VDO และMultimedia อ่ืนๆ สิง่ เหล่านจี้ ะถูกส่งตรงไปยงั ผู้เรียนผ่าน Web Browser ท้งั
ผ้เู รียน , ผู้สอน และเพือ่ นรว่ มชั้นทกุ คน สามารถติดต่อ สือ่ สาร ปรกึ ษา แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นแบบ
18
เดยี วกับการเรียนในช้ันเรียนท่วั ไป โดยการใช้ E-mail, Chat, Social Network เปน็ ต้น ด้วยเหตนุ ี้การ
เรยี นร้แู บบออนไลน์ จึงเป็นเหมาะสำหรบั ทกุ คน , เรยี นไดท้ ุกเวลา
6.4 ลกั ษณะสำคัญของการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ (Online learning)
6.4.1 ผูเ้ รียนเปน็ ใครกไ็ ด้ อยูท่ ีใ่ ดกไ็ ด้ เรียนเวลาก็ใด เอาตามความสะดวกของผเู้ รยี นเปน็
สำคญั เนือ่ งจากโรงเรยี นออนไลนไ์ ด้เปดิ เว็บไซตใ์ ห้บรกิ ารตลอด 24 ช่ัวโมง
6.4.2 มีสื่อทกุ ประเภททน่ี ำเสนอในเวบ็ ไซต์ ไมว่ ่าจะท้ัง ขอ้ ความ , ภาพนงิ่ ,ภาพเคลือ่ นไหว
, เสยี ง , VDO ซง่ึ จะชว่ ยกระตนุ้ ความสนใจ ในการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นไดเ้ ปน็ อย่างดี อีกท้งั ยังทำใหเ้ หตภุ าพ
ของเนอ้ื หาต่างๆงา่ ยดายมากขึ้น
6.4.3 ผเู้ รยี นสามารถเลอื กวิชาเรียนไดต้ ามความต้องการ
6.4.4 เอกสารบนเว็บไซต์ท่มี ี Links ตอ่ ไปยังแหล่งความรอู้ นื่ ๆ ทำใหข้ อบเขตการเรยี นรู้
กว้างออกไป และเรียนอย่างร้ลู ึกมากขน้ึ
6.5 ประโยชนข์ องการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ (Online learning)
6.5.1 ช่วยเพม่ิ ประสิทธิภาพในการเรยี นการสอน เนอ่ื งจากไม่ไดจ้ ำกัดอยใู่ นสถานที่เดยี ว
เทา่ น้นั
6.5.2 เกิดเครือข่ายความรู้ โยงใยออกไปไกล
6.5.3 เนน้ การเรียนแบบผเู้ รียนเปน็ ศูนย์กลาง
6.5.4 ช่วยลดช่องวา่ งระหวา่ งการเรียนรใู้ นเมอื งกบั ท้องถนิ่
6.6 สรปุ
6.6.1 การเรยี นรูแ้ บบการเรยี นร้แู บบออนไลน์ เปน็ การเรียนทีม่ ีความมคี วามยดึ หยุ่นสูง
เพราะฉะน้นั ผู้เรียนจำตอ้ งมคี วามรับผดิ ชอบในการเรียนมากกวา่ ปกติ เพราะไมม่ ีใครมานั่งจ้ำจีจ้ ้ำไช ยิง่
เรียนย่งิ ได้กับตัวเอง อกี ทัง้ ยงั ทราบผลย้อนกลบั ของการเรียน ทั้งจาก E-Mail , การประเมนิ ยอ่ ย , การ
ประเมนิ ผลหลกั โดยใช้เวบ็ ไซต์เปน็ ท่ีสอบ รวมทง้ั การประเมนิ ผลรวมตามการสอบ เพอ่ื เป็นการเชค็ วา่
ผเู้ รยี นไดเ้ ขา้ มาเรียนจรงิ สามารถทำขอ้ สอบได้ มีความเขา้ ใจในเนื้อหา
6.7 การจดั การเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ Google Classroom และ Application อนื่ ๆ ซง่ึ
ไดม้ ีการประชุมคณะครเู พือ่ หาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนออนไลนท์ ี่เหมาะกับบรบิ ทของนกั เรียน
และโรงเรยี น จงึ ได้นำกระบวนการขับเคลอ่ื นชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (PLC) ตามแนวทางของ สพฐ.
มาขบั เคลอ่ื นการการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์จนไดน้ วัตกรรมการจัดการเรยี นรเู้ รือ่ ง “กระบวนการ
จดั การเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF" เมอ่ื ไดน้ ำกระบวนการจดั การเรยี นรู้ออนไลนน์ ้ีมาดำเนินการ
จัดการเรียนรู้พบวา่ เปน็ ผลดีตอ่ นักเรียนและครู โดยนกั เรยี นมีทกั ษะในการเรยี นร้อู อนไลนใ์ นระดบั ทสี่ งู ขน้ั
19
นอกจากน้ียังไดน้ วตั กรรมการจัดการเรียนรซู้ ึ่งมีขน้ั ตอนวิธีการสอนทีช่ ่วยใหน้ กั เรยี นสามารถเรยี นออนไลน์
ดว้ ยตวั เองได้ ทำงานไดอ้ ยา่ งเปน็ ขัน้ ตอน อกี ทง้ั สรา้ งแรงจูงใจให้สำเร็จดว้ ยการเสรมิ แรงและติดตาม
ประเมนิ ผล การมีกลยทุ ธก์ ารเรยี นรหู้ รอื กระบวนการข้นั ตอนการจัดการเรียนรทู้ เ่ี หมาะสมกับบริบทของ
นกั เรียนจะช่วยให้การเรยี นการสอนประสบความสำเรจ็ ไดด้ ยี ่ิงขนึ้
6.8 กระบวนการจัดการเรยี นรอู้ อนไลน์ 5 steps GOCQF โรงเรียนบา้ นสันป่าสัก สพป.
เชียงใหม่ เขต 4 ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้
6.8.1 Step 1 G ขนั้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี นทกั ทาย (Greeting) เป็นขัน้ ตอนที่ครจู ะทักทาย
นกั เรียนผ่าน Application อาทิ Line หรือ Facebook เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเตรียมความพรอ้ มในการเรียนรู้
ออนไลน์ ให้นักเรียนทยอยเขา้ ช้นั เรียน
6.8.2 Step 2 O ขั้นสอนออนไลนใ์ หค้ วามรู้ (Online Learning) / มอบหมายภาระงาน
(Online Assignment) ขั้นตอนน้ีเปน็ ข้นั ตอนสำคัญทน่ี ักเรยี นจะได้รบั ความร้โู ดยครอู าจจะมอบหมาย
ภาระงานหรอื สอนให้ความรูแ้ กน่ ักเรยี นผา่ น Application ใดๆ ตามทคี่ ุณครแู ละนกั เรียนมคี วามพรอ้ ม
อาทิ Google classroom คณุ ครูอาจจะเตรยี มคลิปการสอนใหน้ ักเรยี นดู
6.8.3 Step 3 C ข้นั ตรวจสอบผลการเรยี นรู้ (Checking) เป็นขนั้ ตอนท่ีจะตรวจสอบ
ความรวู้ ่านักเรียนเขา้ ใจบทเรยี นหรอื ไม่ ซึ่งครอู าจจะหมายงานหรือข้อสอบใหน้ ักเรียนทำ จากน้ันครู
ตรวจสอบงานนกั เรียนแล้วให้คะแนน
6.8.4 Step 4 Q ข้ันตอบขอ้ ซักถามสะท้อนผลการเรียนรู้ (Q&A Meeting) ในขัน้ ตอนนคี้ รู
จะเชญิ นกั เรียนเข้ามาประชมุ ออนไลนผ์ า่ น Application อาทิ google meet สำหรบั ใหค้ รแู ละนกั เรียน
ประชุมออนไลนร์ ว่ มกนั สอบถามปัญหาของนกั เรยี นและตอบขอ้ สงสยั ในเน้ือหาการเรียนรู้ เพอ่ื นำไป
ปรบั ปรงุ พัฒนาการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ในครง้ั ต่อไป
6.8.5 Step 5 F ข้ันติดตามประเมินผล (Following Up) ข้นั นีเ้ ป็นการตดิ ตามประเมนิ ผล
เพ่ือใหส้ ามารถนำผลการจัดการเรยี นร้ไู ปปรับปรงุ และติดตามนกั เรยี นท่ียังไมเ่ ขา้ ใจบทเรียน โดยครู
ตรวจสอบรายชื่อนักเรยี นที่ยังไมไ่ ดท้ ำงานส่งผ่าน Application google classroom แลว้ ตดิ ตามนักเรยี น
อาทิ ผ่าน Application Line ซึ่งครูอาจจะเสริมแรงโดยการกล่าวชมเชยนกั เรียนที่ทำภารกิจท่ีไดร้ ับ
มอบหมายครบ และสอบถามปญั หาของนักเรียนท่ที ำมปี ญั หาในการทำกจิ กรรม พรอ้ มทงั้ ชว่ ยเหลือแกไ้ ข
ปัญหาในการทำกจิ กรรมให้นกั เรยี น
20
7. การประยุกตใ์ ชท้ ฤษฎี E-Learning ในกระบวนการเรียนการสอน
7.1 E-Learning หรือ Electronic Learning ว่า หมายถงึ "การเรยี นผ่านทางส่ืออิเล็กทรอนิกส์
ซ่งึ ใช้การ นำเสนอเนอ้ื หาทางคอมพวิ เตอรใ์ นรปู ของส่อื มลั ตมิ เี ดยี ได้แก่ ข้อความอิเล็กทรอนกิ ส์ ภาพนิง่
ภาพกราฟกิ วดิ โี อ ภาพเคล่ือนไหว ภาพสามมิติฯลฯ คุณธิดาทติ ยจ์ นั คนา ทีใ่ ห้ความ หมายของ E-
Learning หมายถึงการศกึ ษาที่เรยี นรผู้ า่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยผ้เู รยี นรจู้ ะเรยี นรดู้ ว้ ยตวั เอง การ
เรยี นรู้จะเปน็ ไปตามปัจจยั ภายใต้ทฤษฎีแหง่ การเรยี นรู้ 2 ประการคอื เรียนตามความรคู้ วามสามารถของ
ผู้เรยี นเอง และการตอบสนองในความแตกต่างระหวา่ งบุคคลเวลาทีแ่ ตล่ ะบุคคลใช้ในการเรียนรูก้ ารเรียน
จะกระทำผ่านสื่อบนเครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ต โดยผู้สอนจะนำเสนอขอ้ มูลความรูใ้ ห้ผเู้ รียนไดท้ ำการศึกษา
ผา่ นบรกิ าร World Wide Web หรือเว็ปไซต์ โดยอาจใหม้ ีปฏิสัมพนั ธ์(สนทนา โต้ตอบ ส่งขา่ วสาร
ระหวา่ งกัน จะทีม่ ีการเรียนรู้ในสามรปู แบบคือ ผู้สอนกับ ผู้เรยี น ผเู้ รยี นกบั ผเู้ รยี นอกี คนหนง่ึ หรอื ผ้เู รยี น
หน่งึ คนกบั กลุ่มของผเู้ รียน ปฏิสมั พันธ์นี้สามารถกระทำผา่ นเคร่อื งมอื สองลกั ษณะ
7.1.1 แบบ Real-time ได้แก่การสนทนาในลักษณะของการพิมพ์ขอ้ ความแลกเปล่ยี น
ขา่ วสารกนั หรอื สง่ ในลักษณะของเสยี ง จากบริการของ Chat room
7.1.2 แบบ Non real-time ได้แก่การส่งข้อความถึงกันผา่ นทางบริการ อเิ ล็กทรอนคิ
เมลล์ WebBoard News-group
7.2 องคป์ ระกอบของ E-Learning การเรียนแบบออนไลนม์ อี งคป์ ระกอบท่ีสำคัญอยู่ 4 สว่ น
แตล่ ะส่วนจะต้องออกแบบใหเ้ ชื่อมสมั พันธ์กันเปน็ ระบบ และจะต้องทำงานประสานกันไดอ้ ยา่ งลงตวั
7.2.1 เนอื้ หาของบทเรียน ถอื วา่ เป็นสิง่ ทส่ี ำคัญทีส่ ุด
7.2.2 ระบบบรหิ ารการเรยี น เนอื่ งจากการเรียนแบบออนไลน์ หรอื E-Learning นัน้ เป็น
การเรยี นที่สนบั สนุนให้ผเู้ รียนได้ศึกษา เรยี นรู้ได้ด้วยตัวเองระบบบริหารการเรียนทท่ี ำหนา้ ที่เป็น
ศนู ยก์ ลาง กำหนดลำดบั ของเน้ือหาในบทเรียน นำส่งบทเรียนผ่านเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ไปยังผ้เู รียน
ประเมินผลความสำเรจ็ ของบทเรียน ควบคุม และสนบั สนนุ การใหบ้ รกิ ารทัง้ หมดแกผ่ เู้ รียน จงึ ถอื วา่ เปน็
องคป์ ระกอบของ E-Learning ท่ีสำคญั มาก เราเรียกระบบน้ีวา่ "ระบบบริหารการเรยี น" (LMS : E-
Learning Management System)
7.2.3 การติดต่อส่อื สาร การเรยี นแบบ E-Learning ถือวา่ เป็นการเรยี นทางไกลอกี รปู แบบ
หน่ึง แต่ส่ิงสำคัญท่ีทำให้ E-Learning มคี วามโดดเด่นและแตกตา่ งไปจากการเรียนทางไกลท่วั ๆ ไปก็คือ
การนำรปู แบบการตดิ ต่อส่ือสารแบบ 2 ทาง มาใช้ประกอบในการเรยี นเพ่อื เพ่มิ ความสนใจ และความ
ต่ืนตัวของผู้เรียนทมี่ ีตอ่ บทเรยี นใหม้ ากยงิ่ ข้ึน ตลอดจนใช้เป็นเครือ่ งมอื ท่ีจะชว่ ยให้ผู้เรียนไดต้ ิดต่อ
21
สอบถามปรกึ ษาหารือ และแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นระหวา่ งตัวผเู้ รยี นกบั ครผู ู้สอน และระหวา่ งผูเ้ รยี นกบั
เพื่อนรว่ มชั้นเรียนคนอนื่ ๆ โดยเครอ่ื งมือท่ีใช้ในการตดิ ต่อส่อื สารอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
7.2.3.1 ประเภท real-time ได้แก่ Chat (message, voice) , White board /
Text slide , Real-time Annotations, Interactive poll , Conferencing และอน่ื ๆ
7.2.3.2 ประเภท non real-time ไดแ้ ก่ Web-board , e-mail
7.2.4 การสอบ / วดั ผลการเรยี น โดยทว่ั ไปแลว้ การเรียนไม่วา่ จะเป็นการเรียนในระดบั ใด
หรือเรียนวธิ ีใดก็ย่อมต้องมกี ารสอบ / การวัดผลการเรียน เป็นส่วนหนึ่งอยเู่ สมอ การสอบ / การวัดผลการ
เรียนจึงเป็นส่วนประกอบสำคัญที่จะทำให้การเรยี นแบบ E-Learning เป็นการเรยี นทสี่ มบรู ณ์ กล่าวคือใน
บางวชิ าจำเปน็ ต้องวดั ระดบั ความร้กู ่อนเข้าสมคั รเขา้ เรียน เพอ่ื ให้ผู้เรยี นได้เลอื กเรียนในบทเรียนหรอื
หลักสตู รที่เหมาะสมมากทีส่ ุด ซง่ึ ทำให้การเรยี นท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด เม่อื เข้าสบู่ ทเรียนในแตล่ ะหลกั สูตร
กจ็ ะมีการสอบยอ่ ยท้ายบท และการสอบใหญ่ก่อนทจี่ ะจบหลักสตู ร ระบบบรหิ ารการเรียนจะเรยี กข้อสอบ
ท่ีจะใช้มากจากระบบบรหิ ารคลงั ขอ้ สอบ (Test Bank System) ซง่ึ เป็นสว่ นยอ่ ยทรี่ วมอยใู่ นระบบบรหิ าร
การเรียน
7.3 รปู แบบการเรยี นใน E-Learning เปน็ รูปแบบการเรยี นทีใ่ ช้เวบ็ เป็นเครือ่ งมอื การเรียนรู้
และมคี ำเรียกท่แี ตกต่างกันไป เช่น การเรยี นการสอนผา่ นเครือขา่ ย (Web-Based Instruction : WBI)
การเรยี นอย่างมปี ฏสิ มั พันธด์ ว้ ยเวบ็ (Web-Based Interactive Environment) การศกึ ษาผ่านเวบ็
(Web-Based Education) การนำเสนอมัลตมิ ีเดียผ่านเวบ็ (Web-Based Multimedia Presentations)
และการศึกษาท่ีชว่ ยให้มีปฏิสมั พนั ธ์ (Interactive Education Aid) วธิ ีจัดการเรยี นการสอนผ่านส่ือ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ E-Learning เปน็ ในปจั จุบันใช้กนั อยู่ 3 ลักษณะ
7.3.1 ใช้เป็นสือ่ เสรมิ โดยการสรา้ งเว็บเพจโครงการสอน เน้อื หาวิชาบางส่วน หรอื ท้งั หมด
แจ้งแหลง่ อ้างองิ แหลง่ ค้นคว้า ใหน้ ักศกึ ษาทราบ ตอบคำถามท่นี ักศกึ ษาถามเข้ามาบอ่ ย ๆ (Frequently
Ask Question - FAQ) แจ้ง e-mail ให้ผู้เรยี นส่งงาน
7.3.2 ใชเ้ ปน็ ทางเลอื ก โดยผุเ้ รยี นสามารถเลอื กเรยี นแบบวิธีเขา้ ชั้นเรยี นปกติ หรอื เรียน
ผา่ นระบบ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ดังน้ันเวบ็ เพจรายวิชาตอ้ งมีความสมบูรณ์ใกล้เคยี งกบั การเรยี นการสอน
ในชน้ั เรียน นนั่ คือจะต้องมคี วามละเอยี ดมากกวา่ ในระดับทใี่ ชเ้ ป็นส่อื เสริม
7.3.3 ใชส้ อนทดแทนการเรียนการสอนปกติ เปน็ ระดับสูงสดุ ท่ีคาดหวงั ในการทำ E-
Learning โดยผู้เรียนสามารถเรียน ทำแบบฝึกหดั และทดสอบตนเองได้ในระบบออนไลนโ์ ดยไมต่ ้องเขา้
ช้นั เรียน อยา่ งไรกต็ าม ในการประเมนิ ผลออนไลน์ ยังตอ้ งอาศยั ความซ่ือสตั ยข์ องผู้เรยี น จงึ ยงั คงนำมาใช้
ไดย้ าก ขอ้ สอบอาจอยู่ในกระดาษ หรอื อยใู่ นคอมพวิ เตอรก์ ็ได้
22
7.4 วธิ กี ารสอนแบบ E-Learning การเรยี นแบบ E-Learning นั้นผู้สอนและผเู้ รียนไมพ่ บ
เผชญิ หนา้ กนั โดยตรง จงึ ต้องออกแบบการสื่อสารการเรียนการสอนเปน็ อย่างดี มิใช่การเรยี นร้ทู ผ่ี เู้ รียน
เปลี่ยนจากการอา่ นหนังสอื มาอ่านจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ การเลือกวิธีการสอนแบบ E-Learning วธิ ใี ด
ให้เหมาะสมกับการส่ือสารการเรยี นรกู้ ับผู้เรยี นนั้น ผูส้ อนหรือนกั ออกแบบการสอนควรพจิ ารณาอยา่ งยงิ่
โดยมีตวั อย่างสำหรับจัดการสอนแบบ E-Learning 5 วิธี มีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้
7.4.1 การสอนแบบ E-Learning หรอื อาจเรียกอกี คำว่าการสอนออนไลน์ เปน็ วิธีสอนที่
เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั เนอ่ื งจากผเู้ รียนสามารถเลอื กเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองตามความตอ้ งการ เมือ่ มคี วามพร้อม
ในสถานทใี่ ด เวลาใดก็ได้ เนอ่ื งจากเน้อื หาสาระการเรียนไดถ้ กู จัดเกบ็ ไวใ้ นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์แม่ขา่ ย
(Server) ส่อื สารโดยใชเ้ คร่อื งมอื อินเตอรเ์ นต็ เปน็ ชอ่ งทางการส่ือสารการเรียนการสอน การออกแบบการ
สอนแบบ E-Learning ควรกระทำให้เป็นเสมือนหรือใกล้เคยี งกับการสอนในห้องเรียนปกติ เพื่อจำลอง
วธิ ีการสอนสือ่ สารการสอนจากการสอนปกติในหอ้ งเรยี นมาใชร้ ปู แบบเคร่อื งมือต่าง ๆ ของระบบการ
จดั การเรยี นการสอน โดยปัจจัยสำคญั ทจ่ี ะทำใหก้ ารสอน E-Learning ประสบความสำเร็จนั้นตอ้ งกำหนด
วธิ กี ารสื่อสารหรือวธิ ีสอนทเ่ี หมาะสมเชน่ เดยี วกับการสอนในห้องปกติ การสอนแบบบรรยายจงึ เป็นวิธีการ
สอนที่ถกู นำมาใช้มากที่สุด และแทรกอยใู่ นวิธสี อนทุกชนิด
7.5 การประยุกต์ใชก้ ารสอนแบบบรรยายในการเรียนการสอนแบบ E-Learning การสอนโดยใช้
การบรรยายเปน็ วิธีการสอนทจ่ี ำเป็นทงั้ การบรรยายในห้องเรยี น และการบรรยายใน E-Learning การ
สอนแบบบรรยายควรกำหนดให้เกิด 3 ปจั จัยด้วยกัน
7.5.1 เกิดการมีสว่ นรว่ มและการปฏิสมั พันธ์ในระดบั สูง (การเรียนที่มีปฏสิ ัมพันธ์)
7.5.2 เกดิ เน้อื หาทชี่ ัดเจน ซ่งึ ชว่ ยให้ผเู้ รียนสามารถเชอื่ มโยงหัวขอ้ ตา่ ง ๆ ไดง้ า่ ย
7.5.3 ผบู้ รรยายมคี วามกระตือรือร้นในการสอน ซึง่ ทำใหก้ ารสอนมชี วี ิตชวี า การ
ปฏสิ ัมพนั ธจ์ ะชว่ ยกระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนเรยี นรู้ไดม้ ากขน้ึ
7.6 การสอนแบบอภิปราย การประยกุ ตใ์ ช้วธิ ีการสอนแบบอภิปรายในการเรียนการสอนแบบ E-
Learning การสอนโดยในการอภปิ รายในการสอนแบบ E-Learning น้ันมอี งค์ประกอบท่ีแตกตา่ งจากการ
สอนในหอ้ งเรยี นปกติหลายประการ โดยมีรูปแบบการอภิปรายเปน็ ๒ รปู แบบ
7.6.1 การอภิปรายแบบ E-Learning แบบไมป่ ระสานเวลา (Asynchronous discussion)
ท่มี ีการกำหนดชว่ งเวลาให้ผรู้ ว่ มอภปิ รายเข้ามาอภปิ ราย โดยไม่จำเป็นต้องอย่พู ร้อมกนั ณ เวลาเดียวกนั
ในขณะอภปิ ราย
23
7.6.2 การอภปิ รายแบบ E-Learning แบบประสานเวลา (Synchronous discussion) ท่ผี ู้
รว่ มอภิปรายเขา้ มาอภปิ รายอย่พู ร้อมกนั ณ เวลาเดยี วกนั ในขณะอภิปราย ซงึ่ รปู แบบนี้จะใกลเ้ คียงกับการ
อภิปรายในชน้ั เรียน เพยี งแต่ส่ือสารผ่านเทคโนโลยีและผู้ร่วมอภปิ รายอยู่คนละสถานท่ไี ด้
7.7 สำหรบั ข้อดแี ละขอ้ จำกดั ของการเรียนการสอนอภปิ รายในการสอน E-Learning สามารถ
สรุปได้ ดังนี้
7.7.1 ข้อดี
7.7.1.1 ทกุ ขอ้ ความการอภปิ รายถกู เกบ็ อยูใ่ นระบบสามารถอ่านยอ้ นหลังได้
7.7.1.2 สมาชิกมีสิทธเิ ทา่ เทียมในการอภิปราย และทกุ คนไดอ้ ภปิ รายทัว่ ถงึ
7.7.1.3 สามาชิกกลุ่มจะอยทู่ ่ีใด และเวลาแตกตา่ งอยา่ งไรก็เขา้ รว่ มการสอนโดยใช้
การอภปิ รายได้
7.7.2 ข้อจำกดั
7.7.2.1 การส่ือสารผ่านเทคโนโลยี ไม่คล่องตัวเหมอื นการส่ือสารแบบธรรมชาติ
และบางคนอาจจะมอี ุปสรรคบ้าง
7.7.2.2 เวลาทใี่ ช้ในการอภิปรายมีมากขึ้น แต่ต้องกำกับและบริหารเวลาใหด้ ี
7.7.2.3 สภาพแวดลอ้ มในการสอ่ื สารเป็นการสื่อสารผ่านเทคโนโลยี และอาจจะเปน็
การส่อื สารคนละเวลา การนดั หมายอาจจะต้องคำนึงถึงความแตกตา่ งของเวลา
7.7.2.4 การตคี วามหมายข้อความอาจจะคลาดเคลือ่ น
7.7.2.5 การบรหิ ารกลมุ่ ยากข้ึน
7.7.2.6 ขาดความรู้สึกร่วมกลุ่ม
7.7.2.7 ขาดแรงจงู ใจจากบรรยากาศของการรว่ มอภิปรายแบบเห็นหน้า
7.8 การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลกั (Problem-Based Learning) ในชว่ งเวลาท่ีผ่านมามีทฤษฎี
การเรยี นร้เู กิดขน้ึ หลายทฤษฎี ทฤษฎีทไ่ี ด้รับความสนใจมากในปัจจบุ ัน คือ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้
(Constructivist Learning Theory) ซง่ึ เช่ือวา่ การเรยี นรจู้ ะเกิดขึ้นเมอ่ื ผู้เรียนได้สรา้ งความรูท้ เี่ ปน็ ของ
ตนเองข้นึ มาจากความรทู้ ีม่ อี ยเู่ ดมิ หรือจากความร้ทู ่ไี ด้รบั เข้ามาใหม่ แนวคดิ นี้เปน็ แนวคดิ หลกั ของการ
เรียนรูท้ ี่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั การเรียนแบบใช้ปัญหาเปน็ หลักเป็นการเรยี นท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศนู ย์กลาง
การเรยี นรู้เกิดขึ้นจากการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อมาใช้แกป้ ัญหาท่ีได้รบั มอบหมายอย่างมกี ระบวนการ
และขัน้ ตอนทางวิทยาศาสตร์ทำใหไ้ ดม้ าซงึ่ ความรู้ทที่ ันตอ่ เหตุการณ์และเป็นความรู้ทผี่ เู้ รียนนำไปใช้ไดจ้ ริง
พัฒนาทักษะในการแกป้ ัญหารว่ มกนั
7.8.1 การประยกุ ตใ์ ช้วธิ ีการสอนแบบใช้ปญั หาเปน็ หลกั ในการเรียนการสอนแบบ
24
E-Learning
7.8.1.1 เนน้ การจดั การเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั โดยใช้รปู แบบกิจกรรมการ
เรยี นการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักโดยมีการกำหนดปัญหา ขอ้ มลู หรอื ขอ้ เท็จจรงิ ท่ีระบมุ ีการเชื่อมโยง
ความรู้ ประสบการณเ์ ดิม แนวคดิ ในการที่จะแก้ปัญหาหรือสาเหตุทเ่ี ป็นไปไดข้ องปัญหา
7.8.1.2 ใหผ้ ู้เรยี นได้มโี อกาสคน้ หาความรู้ในเรื่องท่ีเปน็ ปญั หาทสี่ นใจจากการคน้ พบ
ตนเองและเรยี นรูแ้ บบนำตนเองด้วยการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั ระหวา่ งผูเ้ รียน โดยครู
เป็นผ้ชู ้ีแนะแนวทางช่วยเหลอื อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรูใ้ หแ้ กผ่ เู้ รียนและกระตนุ้ ให้ผูเ้ รียนได้
คิดได้ปฏิบัติในแต่ละขั้นตอน
7.8.1.3 เรียนไดเ้ รียนรู้จากสภาพปญั หาที่พบ ผา่ นการวิเคราะห์ การทำงานร่วมกนั
ภายใตก้ ระบวนการเรียนร้แู บบกลุม่ โดยการทำกิจกรรมการเรยี นรู้ร่วมกนั ผา่ นระบบเครือข่ายอินเตอร์เนต็
แลกเปลี่ยนความรู้ แสดงความคดิ เห็น ผา่ นช่องทางการสื่อสารบนเครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ต รวมถึงการสบื ค้น
ข้อมลู และการเชอื่ มโยงข้อมูลไปสแู่ หลง่ การเรยี นรอู้ ืน่ ๆ
7.9 การสอนแบบโครงสร้าง(Project-based Learning) มรี ากฐานมาจากปรัชญาและการศกึ ษา
เชิงประสบการณ์ ของ John Dewey และแนวคิดการศึกษาแบบพัฒนาการ (Progressive Education)
ซึง่ เชือ่ วา่ การศกึ ษาเป็นการสรา้ งประสบการณ์ชวี ติ ท่ีต่อเนื่องโดยมผี ูเ้ รยี นเป็นศนู ย์กลาง
7.9.1 การประยกุ ต์ใช้การสอนแบบโครงการในการเรยี นการสอนแบบ E-Learning
7.9.1.1 การสอนแบบโครงสร้าง (Project-based Learning) เปน็ การจัดการเรียนรู้
ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ โดยผ้เู รยี นได้เรยี นรู้ในความร้คู วามเข้าใจในความคิดรวบยอดและหลักการท่ีสำคญั
ผ่านกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ ค้นคว้า ปฏิบัติ และสร้างผลงานด้วยตนเองภายใตค้ ำแนะนำของ
ผสู้ อน การจดั การเรียนรใู้ นรูปแบบน้ี ผูเ้ รียนจะเกิดการเรียนร้จู ากประสบการณจ์ ริงจากกิจกรรมการ
ร่วมมือกันทำโครงการทีเ่ ลือกทำตามความสนใจ ซึ่งผู้เรียนจะต้องประยุกตใ์ ชแ้ ละบูรณาการความรู้และ
ทกั ษะต่าง ๆ เพ่ือนำไปสู่การทำงานที่มปี ระสิทธิภาพ
7.10 การสอนแบบกรณีศกึ ษา เป็นวธิ ีการสอนทีไ่ ดร้ ับความนิยมในหลากหลายสาขาวิชา เชน่
การจดั การกฎหมาย และแพทยศ์ าสตร์ รวมทั้งการศกึ ษาเพอื่ สอนนสิ ติ นกั ศึกษาครู ในกระบวนการเรียน
การสอนลกั ษณะนี้ ผู้สอนจะนำเสนอกรณีตวั อย่างที่ทำให้ผู้เรยี นเกดิ ความคิด หาคำตอบท่หี ลากหลายเพ่ือ
ใชใ้ นการอภปิ ราย และหาทางแก้ไขปัญหาซ่งึ มที างออกทีห่ ลากหลาย
7.10.1 การประยกุ ตใ์ ชก้ ารสอนแบบกรณีศึกษาในการเรยี นการสอนแบบ E-Learning
7.10.1.1 การสอนเพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้กับปัญหาได้นั้น
ถอื วา่ เป็นความสำคัญยงิ่ ของการใหศ้ กึ ษามรี ปู แบบการเรยี นการสอนหลากหลายรูปแบบที่ต้องการพฒั นา
25
ความคดิ การแก้ปัญหาของผู้เรียน ซึ่งเน้นการออกแบบสง่ิ แวดล้อมทางการเรียนร้ทู ีส่ ง่ เสริมให้ การเรียน
การสอนสามารถพฒั นาผูเ้ รยี นได้ในระดับการคิดแกป้ ญั หา เช่น การเรยี นการสอนแบบคอนสตรัคตวิ ัสม์ ,
สงิ่ แวดล้อมทางการเรยี นร้รู ะบบเปิด เป็นต้น ซ่ึงจะชว่ ยผลกั ดันใหเ้ กดิ กระบวนการของการแปลความ
ตีความและเชอื่ มโยงกบั ความรู้เดิม ซง่ึ จะทำให้ผู้เรียนเกดิ การสร้างความรูใ้ หมไ่ ด้นัน้ จะเปน็ แนวคิดท่เี น้น
การเรยี นรโู้ ดนเนน้ ปฏิสมั พันธ์ทางสังคม
8. แนวคิดทวั่ ไปเกีย่ วกบั การเรยี นการสอนผ่านระบบอิเล็กทรอนกิ ส์
8.1 ระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning system)
8.1.1 การเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ครอบคลมุ สอื่ เพอ่ื การเรียนการสอบท่อี ยใู่ นรปู
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ทุกประเภท เชน่ ดสิ ก์เก็ต ซีดรี อม หรอื เผยแพร่อยู่บนเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็
8.1.2 ระบบการเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Learning system) ในความหมายทวั่ ไปหมายถงึ
หลักสตู รท่ีใชร้ ะบบการเรียนการสอนดว้ ยสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ในรูปแบบต่างๆ เช่น สื่อที่บรรจใุ นซีดรี อม
ดิสก์เก็ต วดี ิทศั นโ์ ตต้ อบปฏสิ ัมพนั ธ์ (Interactive television) และรวมท้งั สอ่ื ท่ีเผยแพรผ่ า่ นเครอื ข่าย
คอมพิวเตอร์หรอื ผา่ นดาวเทยี มส่อื เหล่านี้นับเป็นแหล่งสารสนเทศในการเรียนรู้ เพ่อื ใหบ้ รรจุวตั ถปุ ระสงค์
ทางการเรียนท่ีกำหนดไวใ้ นหลกั สูตร
8.1.3 ระบบการเรียนอเิ ล็กทรอนิกส์ ในความหมายทีเ่ ฉพาะเจาะจงความหมายถงึ หลกั สตู ร
การเรยี นการสอนทีใ่ ช้สือ่ ใดๆทแี่ ปลงรปู ใหเ้ ป็นอเิ ล็กทรอนกิ ส์ท่ีมคี วามหมายเหมาะสมในการสง่ ผ่าน
เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ทีม่ ีเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ รวมทงั้ การใช้เครอ่ื งมือสอื่ สารบนอนิ เทอรเ์ นต็
เพื่อจัดกิจกรรมทางการเรยี น โดยเฉพาะอย่างย่งิ ต้องระบบการบริหารเน้อื หาสาระ การจดั การการเรียน
เชน่ การเก็บประวตั ิการเรียน ผลการเรียนการประเมินผล
8.1.4 ระบบการเรียนอเิ ล็กทรอนกิ สจ์ ึงมีลกั ษณะสำคัญอยู่ 3 ประการ
8.4.1.1 ใช้สารสนเทศและส่ือ ในรูปแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เพือ่ การประกอบกจิ กรรม
การเรยี นให้ บรรลุวตั ถุประสงคท์ ่ีตง้ั ไวใ้ นรายวชิ าหรือหลกั สตู ร
8.4.1.2 ใช้เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ทข่ี อบข่ายกว้างขวางทส่ี ุด คอื อินเทอรเ์ นต็ ในการ
บริหารจัดการเน้อื หาสาระ และการบริหารทางการศึกษา
8.4.1.3 ใช้เครอ่ื งการสื่อสารเพือ่ จัดการเรยี นการสอนใหเ้ กดิ ข้ึนในมิตเิ วลาประสาน
และต่างเวลา (Synchronous VS asynchronous mode of communition)
8.1.5 รปู แบบและวธิ ีการของการเรยี นอเิ ล็กทรอนกิ ส์
8.1.5.1 การเรียนบนเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (ออนไลน์) ทั้งหมด
26
8.1.5.2 การเรียนที่ผสมผสานระหว่างกิจกรรมที่ต้องออนไลน์ (ผ่านเครือข่าย
คอมพวิ เตอร)์ และออฟไลน์
8.1.5.3 การเรียนทผ่ี ู้เรยี นศกึ ษาด้วยตนเองจากสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ในรปู แบบท่ี
หลากหลาย
8.1.5.4 การเรยี นทใ่ี ชเ้ วบ็ เปน็ หลักและใชส้ ่อื อิเล็กทรอนิกส์อ่ืนๆประกอบการเรยี นที่
ใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละส่อื อิเล็กทรอนิกส์ เชน่ ซีดีรอม เป็นหลกั
8.1.5.5 การเรียนทางไกลที่ส่งผ่านกลอ้ งวีดิทัศน์
8.1.6 หลกั สูตรในระบบการเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทใ่ี ชเ้ วบ็ เปน็ หลกั แบง่ ตามลักษณะการใช้
เวบ็ ในหลักสูตรน้นั ๆ ไดเ้ ปน็ 3ประเภท
8.1.6.1 เว็บคอรส์ (Web courses) เว็บคอร์สเป็นหลักสตู รที่มเี น้อื หาสาระและการ
เรียนการสอนเผยแพร่บนเวบ็ เปน็ การอำนวยความสะดวกให้กบั ผ้เู รียนทจ่ี ะเขา้ ศกึ ษาเม่ือใดก็ได้ มีผู้
ลงทะเบียนเป็นจำนวนมากมีการปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งผเู้ รียนด้วยกันและผู้สอนน้อยหรอื อาจไม่มีเลย
ลกั ษณะเชน่ นี้มักพบกบั หลักสูตรท่ีมงุ้ เน้นพฒั นาเนื้อหาและส่งผ่านเว็บ
8.1.6.2 เวบ็ เสริมหลักสูตร (Web enhanced courses) เว็บเสริมหลักสูตร เปน็
เว็บทีส่ อนควบคูก่ ับการเรยี นในหอ้ งเรียน เป็นเว็บท่ีคอ่ นขา้ งมีการปฏิสัมพันธร์ ะหว่างผเู้ รยี นและผูส้ อน
พอสมควร มักประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนปกตอิ ยู่แลว้
8.1.6.3 หลกั สตู รเว็บเปน็ ศูนยร์ วม (Web centric course) หลักสตู รเวบ็ เปน็ ศนู ย์
รวม เปน็ การเรียนทผี่ ่านระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรท์ ั้งหมดและเป็นเวบ็ ทม่ี ีรปู แบบการเรียนการสอนทม่ี ี
การปฏิสัมพันธ์ในบทเรียนรวมทง้ั การปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งผู้เรียนดว้ ยกนั และผู้สอน เป็นหลกั สูตรที่ทำ
ค่อนขา้ งยากทงั้ ในเรื่องทรัพยากรและความพรอ้ มของผเู้ รยี นผูส้ อน และโดยเฉพาะอย่างย่งิ การจัดการ
เรยี นชัน้ เรยี นเสมือน
8.2 การเรยี นการสอนบนเวบ็ ในระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์
8.2.1 การเรียนการสอนบนเวบ็ เปน็ องคป์ ระกอบหลักในระบบการเรยี น
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การเรียนกานสอนบนเวบ็ เป็นการประยุกต์ใชไ้ ฮเปอร์มีเดยี และเครอ่ื งมอื สื่อสารบน
อินเตอร์เน็ตในการจดั กิจกรรมทางการเรียนรใู้ หก้ บั ผู้เรยี น เพื่อใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงคท์ างการเรียนใน
รายวิชาหรือหลักสูตร ต่อมาเม่ือได้ประยกุ ตร์ ะบบการบรหิ ารจดั การเรยี นรู้ (Learning Management
System-LMS) ที่ใชร้ ะบบฐานข้อมูลเช่ือมโยงผ่านเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ซึง่ บริการอำนวยความสะดวกใน
การจดั สง่ สาระบทเรียนและกจิ กรรมเพื่อบรรลวุ ัตถุประสงคท์ างการเรียน บรกิ ารจำเปน็ อ่ืนๆ ตอ่ ผู้เรียน
เช่น การติดตาม ผลการเรียน การประเมิน สารสนเทศเกย่ี วกับสถาบนั การลงทะเบียน และการรับรอง
27
การประเมนิ ผลเปน็ หลักสูตรอยา่ งเปน็ ระบบ การเรียนการสอนบนเว็บจึงเปน็ องค์ประกอบหลักและอย่ใู น
ขอบข่ายของระบบการเรยี นอเิ ล็กทรอนิกส์
9. แนวคิดการจดั การเรยี นรแู้ บบผสมผสานในสถานการณ์โควดิ (5 ON)
9.1 สถานการณว์ กิ ฤตจิ ากอนั ตรายไวรสั โควดิ -19 ยอ่ มสร้างความหวาดผวาให้กับประชาชน
โดยเฉพาะกลุม่ ครแู ละผู้ปกครองทเี่ ปน็ หว่ งเร่อื งความปลอดภัยของลูกศษิ ยแ์ ละบุตรหลาน ซง่ึ หากเปิด
เทอมแลว้ จะตอ้ งไปเรียนที่โรงเรียนแต่ก็คงยากท่ีจะทำให้ ศธ.เลื่อนการเปดิ เทอมออกไปอกี เป็นรอบท่ี 3
เป็นแน่ เน่ืองจากเกรงระยะเวลาการจดั การเรยี นการสอนจะไมค่ รบถ้วนตามทีห่ ลักสูตรกำหนด ทง้ั ไม่
ตอ้ งการใหเ้ ด็กเสยี โอกาสในการเรียนรู้
9.2 ศธ.ไดถ้ อดบทเรียนการจดั การศกึ ษาเพ่อื รับมือสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โค
วดิ -19 ระลอกทีผ่ า่ นมา ทำใหต้ อ้ งคดิ หารปู แบบการจัดการเรียนการสอนทเ่ี หมาะสมกับแต่ละโรงเรยี น
เพราะในแตล่ ะพ้ืนที่มกี ารแพรร่ ะบาดของโรคท่ีแตกตา่ งกนั ตามที่ ศบค.กำหนด ดงั นน้ั ศธ.จะไมก่ ำหนด
รูปแบบใดรปู แบบหน่งึ เพอ่ื ให้ทกุ โรงเรียนจัดการเรียนการสอนเหมือนกันทง้ั หมด โดยได้ตอ่ ยอดรปู แบบ
การจัดการเรียนการสอนเปน็ 5 รูปแบบ เพือ่ ใหม้ ีความเหมาะสมต่อการรบั มือกับการแพรร่ ะบาดระลอก
ใหม่นี้
9.2.1 On-site เรยี นทโ่ี รงเรยี น โดยมีมาตรการเฝ้าระวังตามประกาศของศูนย์บริหาร
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโควิด-19
9.2.2 On-air เรยี นผา่ นมลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรอื
DLTV
9.2.3 On-demand เรียนผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ
9.2.4 On-line เรยี นผ่านอนิ เตอรเ์ นต็
9.2.5 On-hand เรียนทีบ่ า้ นดว้ ยเอกสาร เช่น หนังสอื แบบฝึกหดั ใบงาน ในรปู แบบ
ผสมผสาน หรอื อาจใชว้ ิธีอน่ื ๆ
9.3 สำหรับการจดั การเรียนการสอนแบบ On-line นน้ั ขณะน้ี ศธ.เตรียมจัดทำเวบ็ ไซต์ “ครู
พร้อม” ขนึ้ มาใหม่เพ่อื เสริมแพลตฟอร์มตา่ งๆท่ีหนว่ ยงานในสงั กัด ศธ.มีอยู่ โดยจะเป็นคลงั ส่อื ขอ้ มูลการ
เรียนรู้ ตลอดจนรปู แบบการจัดกิจกรรม ซ่ึงมีข้อมลู ทั้งของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
(สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน
(สช.) และสำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (กศน.) มีการจัดแบง่ หัวขอ้
หมวดหมูต่ ามความสนใจ เป็นการบูรณาการเพ่อื ความสะดวกรวดเรว็ ในการใช้งาน ชว่ ยอำนวยความ
สะดวกใหผ้ ูเ้ รียนทกุ กลมุ่ ท้ังครู ผู้บรหิ าร และผู้ปกครอง สามารถเข้าถงึ ไดผ้ ่านระบบกลาง สว่ นกิจกรรม
28
รูปแบบ Off-line นั้น สถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา (สพท.) จะเปน็ ผอู้ อกแบบกจิ กรรม
รว่ มกบั ศบค. จังหวัด ซึง่ คดิ ขึน้ มาจากเหตกุ ารณร์ ่วมสมัยที่ทนั ตอ่ สถานการณ์ ทีส่ ำคัญคอื ทุกคนสามารถ
เลือกหัวข้อหรือกิจกรรมทีต่ ้องการเรยี นรูไ้ ด้ด้วยตัวเอง
9.4 ทีมการศึกษา มองความพยายามในการจัดการเรยี นการสอนในยุคนิวนอรม์ อล ไว้ถึง 5
รูปแบบ คือความพยายามในการเตรียมความพร้อมของ ศธ. และหนว่ ยงานตา่ งๆทเี่ ก่ียวข้อง เพ่ือเสาะ
แสวงหารปู แบบท่ีหลากหลายในการจดั การเรียนการสอนในสถานการณท์ ี่ไม่ปกติในขณะนี้ แม้ ณ วนั น้ีจะ
ยังไมม่ อี ะไรท่ีจะสามารถการนั ตีไดว้ ่าส่งิ ต่างๆทีพ่ ดู มาน้ีจะถูกผลักดันไปสกู่ ารปฏิบัตไิ ด้จริงอยา่ งท่ีพูด
หรอื ไม่แตอ่ ยา่ งน้อยกถ็ อื เป็นจุดเรม่ิ ต้นท่ีดที ี่ “กล้าคดิ ” สว่ นจะช่วยหนี “กบั ดกั ” การพฒั นาการศกึ ษาชว่ ง
การแพรร่ ะบาดของเช้อื โควดิ -19 ครง้ั น้ีไดห้ รอื ไม่ หรอื จะซำ้ เติมปัญหาความเหลอื่ มล้ำทางการศกึ ษาให้
หนกั หนาสาหสั มากยง่ิ ขึ้น
10. งานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง
วไลพรรณ อาจารวี ัฒนา และคณะไดจ้ ัดทำวิจัย เร่ือง การศึกษาสภาพการจดั การเรียนการสอน
ออนไลนใ์ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดเช้ือไวรสั โคโรนา่ ของนกั ศึกษาโครงการพิเศษ หลกั สูตร
บริหารธรุ กิจมหาบัณฑิตผลการวิจยั พบวา่
1. นกั ศกึ ษาโครงการพเิ ศษหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑติ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ
21-37 ปี (Gen Y) อาชีพพนกั งานบริษทั เอกชน มีรายได้ต่อเดอื น 15,001-30,000 บาท และสว่ นใหญ่ใช้
Laptop เป็นอปุ กรณ์ในการเรยี น
2. นักศึกษาโครงการพเิ ศษหลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑติ มีความพงึ พอใจเกี่ยวกบั
สภาพการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดเช้อื ไวรัสโคโรนา่ โดยภาพรวมอยใู่ น
ระดบั มาก โดยดา้ นที่มีค่าเฉลี่ยสงู สุด คอื ด้านบุคลากร และดา้ นที่มีค่าเฉลีย่ ต่ำสดุ คือ ดา้ นเนือ้ หาและสื่อ
การสอน ดา้ นระบบสารสนเทศและการส่อื สารและดา้ นสภาพแวดลอ้ ม
3. นกั ศกึ ษาโครงการพิเศษหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑติ ทม่ี ีอายุอาชีพและรายได้
ตา่ งกนั มคี วามพงึ พอใจเก่ียวกบั สภาพการจัดการเรียนการสอนออนไลนใ์ นสถานการณก์ ารแพร่ระบาดเชอ้ื
ไวรัสโคโรน่าแตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั 0.05
สรุปไดว้ า่ การเรยี นการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรสั โคโรน่าของนกั ศึกษา
โครงการพเิ ศษหลักสูตรบรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑิตนั้นเปน็ การสื่อสารสองทางระหว่างโครงการฯ และ
นักศึกษา ซึง่ สองฝ่ายจะตอ้ งมคี วามพรอ้ มในด้านเวลาอปุ กรณแ์ ละความรู้ความสามารถในการเข้าถงึ สือ่
29
เทคโนโลยที ี่ใช้ในการเรยี นการสอน เพื่อทำใหก้ ารเรียนการสอนออนไลน์เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและ
เกดิ ประสิทธิผลสงู สดุ
วิทศั น์ ฝกั เจรญิ ผล และคณะไดจ้ ดั ทำวิจยั เรอ่ื ง ความพร้อมในการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์
ภายใต้สถานการณ์ระบาดไวรัส Covid-19 ผลการสำรวจพบว่า ครบู างส่วนไม่พรอ้ มในการจดั การเรียน
การสอนออนไลน์ และประเมินว่ามีนกั เรยี นจำนวนมากที่ไม่สามารถเขา้ ถงึ ระบบการเรยี นการสอน
ออนไลนไ์ ด้ (หากใชจ้ รงิ ) พรอ้ มเรยี กร้องความช่วยเหลือจากโรงเรยี น และรฐั บาลในการจดั อบรมเชิง
ปฏิบตั ิการในการจัดการเรียนการสอนออนไลนอ์ ย่างเรง่ ด่วน รวมถงึ การจดั หาอนิ เทอรเ์ น็ตความเร็วสงู และ
อุปกรณส์ อื่ สารสำหรับนกั เรยี นทุก คน หากจำเปน็ ต้องจัดการเรียนการสอนออนไลน์เมื่อเปดิ ภาคเรยี นใน
วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 น้ี
บทที่ 3
วิธีการดำเนินการศกึ ษา
โครงการศกึ ษาความคดิ เหน็ ต่อการเรยี นการสอนผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนิกสท์ างไกลของ
นักศึกษาสาขาวิชาบรหิ ารธรุ กจิ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี ในคร้งั นี้ ผศู้ ึกษาได้ดำเนินงานตามลำดับ
ขัน้ ตอนตอ่ ไปน้ี
1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
2. เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา
3. ขน้ั ตอนในการสรา้ งเครอื่ งมอื
4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
5. วิธกี ารวเิ คราะห์ข้อมลู และสถติ ิที่ใช้ในการศึกษา
1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
1.1 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่
1.1.1 นกั ศึกษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) ชน้ั ปีที่ 2 กลุม่ 1 2 และ 3
สาขาวิชาการบญั ชี ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี จำนวน 82 คน
1.1.2 นักศึกษาระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้นั สูง (ปวส.) ช้นั ปีที่ 2 กลุ่ม 1 และ 2
สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทลั ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน
51 คน
1.1.3 ครูผสู้ อนในสาขาวชิ าการบญั ชี ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลัย
อาชวี ศึกษาชลบรุ ี จำนวน 8 คน
1.1.4 ครูผสู้ อนในสาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทัล ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบรุ ี จำนวน 8 คน
1.2 กล่มุ ตวั อย่างที่ใชใ้ นการศกึ ษาครง้ั นี้ ได้แก่
1.2.1 นกั ศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ สูง (ปวส.) ชนั้ ปที ี่ 2 กลมุ่ 1 สาขาวชิ า
การบญั ชี ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี จำนวน 26 คน
1.2.2 นักศึกษาระกับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) ชน้ั ปีท่ี 2 กลุ่ม 1 สาขาวิชา
เทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทลั ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี จำนวน 24 คน
31
1.2.3 ครผู ู้สอนในสาขาวชิ าการบัญชี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลยั
อาชีวศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน 4 คน
1.2.4 ครูผู้สอนในสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ัล ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน 2 คน
2. เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการศกึ ษา
แบบสอบถามการศกึ ษาความคิดเห็นตอ่ การเรียนการสอนผา่ นระบบอิเล็กทรอนกิ สท์ างไกล
เพ่อื ทราบความคดิ เหน็ ของผเู้ รียนและผู้สอน แบง่ เปน็ 4 ด้าน คือ ดา้ นความสอดคล้องกบั สถานการณ์
ดา้ นผเู้ รียน ด้านผู้สอน ด้านการวัดและการประเมินผลการเรยี นการสอน
3. ข้ันตอนในการสร้างเครือ่ งมอื
เคร่อื งมือที่ใช้ในการสอบถามความคดิ เห็น แบง่ ออกเป็น 3 ส่วน ดงั นี้
1. การศกึ ษาข้อมูลพนื้ ฐานทว่ั ไป เพศ ชว่ งอายุ สถานะ และสาขาวิชา
2. การศึกษาความคดิ เห็นตอ่ การเรียนการสอนผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทางไกล ผูว้ จิ ยั
พิจารณาจากแบบสอบถามความพงึ พอใจ
3. การศึกษาความคดิ เห็นของผเู้ รียนผู้สอนเกีย่ วกับความรู้ ทักษะ หรอื คุณลกั ษณะเป็นไป
ตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูใ้ นการเรยี นรู้ ผู้วจิ ยั ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ โดยดำเนนิ การสรา้ ง
แบบสอบถาม ตามขั้นตอนดงั นี้
3.1. ศกึ ษาคน้ คว้าความรู้ทางวชิ าการ ภายใต้กรอบแนวคดิ ทจี่ ะศึกษาเพ่ือนำมาเป็น
แนวทางในการสรา้ งแบบสอบถามความคิดเห็นและความพงึ พอใจ
3.2. กำหนดขอบเขตของแบบสอบถามความคดิ เห็นและความพงึ พอใจ โดยใช้
วตั ถุประสงคข์ องการศึกษาความคิดเห็นและความพึงพอใจตอ่ การเรยี นการสอนผ่านระบบ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกลเป็นหลกั การต้งั คำถามเพ่อื มุง่ เนน้ ให้ได้คำตอบทีส่ ามารถบรรลเุ ปา้ หมายตาม
วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั โดยแบง่ รายละเอยี ดออกเปน็ 3 ตอน คอื
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐานท่วั ไป
1. เพศ
2. ชว่ งอายุ
3. สถานะ
4. สาขาวิชา
32
ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเพ่อื ทราบข้อมลู เกยี่ วกับการการศกึ ษาความคิดเหน็ ต่อการ
เรยี นการสอนผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล แบง่ เปน็ 4 ด้าน คอื ด้านความสอดคลอ้ งกบั
สถานการณ์ ด้านผเู้ รียน ด้านผู้สอน และดา้ นการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน เป็น
แบบสอบถามแบบมาตราสว่ นประเมนิ ค่า 5 ระดบั โดยแบง่ แบบสอบถามออกเปน็ 4 ด้าน
1. ด้านความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ ได้แก่ นโยบายและวธิ ีการ การ
จดั การเรียนการสอนของวิทยาลัยให้เหมาะสมและสอดคล้องตอ่ สถานการณ์ covid-19
2. ด้านผู้เรียน ไดแ้ ก่ ระดับความรู้ความพึงพอใจและความพรอ้ มของ
ผูเ้ รยี น
3. ด้านผ้สู อน ได้แก่ ความพรอ้ มในการเตรียมตัวการจดั การเรยี นการ
สอน และการให้คำแนะนำอภปิ รายข้อมลู ข่าวสารภายในวทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบุรี
4. ด้านการวดั และประเมินผลการเรียนการสอน ไดแ้ ก่ การใช้เทคนิค
และกระบวนการ ในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอนรายวิชา
ตอนท่ี 3 เปน็ คำถามปลายเปิด เปน็ การแสดงข้อเสนอแนะหรือความคดิ เหน็ ที่
เกีย่ วขอ้ งกบั การศกึ ษาความคิดเหน็ ตอ่ การเรียนการสอนผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ทางไกล
4. การดำเนนิ การและเก็บรวบรวมข้อมลู
4.1 ผวู้ ิจัยทำการรวบรวมข้อมลู จากแบบสอบถามความพึงพอใจทีส่ ่งใหก้ ลมุ่ เป้าหมาย
4.2 ผูว้ จิ ัยทำการวบรวมขอ้ มลู จากงานวิจยั เวบ็ ไซต์ เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง
4.3 ผลการศึกษาในรายวชิ า รายวชิ า โครงการ ของกลุ่มเป้าหมาย
5. วธิ ีการวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิตทใ่ี ช้ในการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมลู ประกอบดว้ ย 2 สว่ นดังนี้
5.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับลักษณะสว่ นบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถาม สถิตทิ ใ่ี ช้เปน็ ค่า
รอ้ ยละ (Percentage) คา่ เฉลยี่ เลขคณติ (Arithmetic Mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation S.D.) โดยรวบรวมขอ้ มลู การหาค่าสถิติพ้นื ฐาน คอื รอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย และส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนทไ่ี ด้ โดยใช้สูตรดังนี้
5.1.1 ค่ารอ้ ยละ (Percentage) × 100
P=
เมอ่ื P แทน รอ้ ยละ
F แทน ความถ่ีที่ต้องการแปลงค่าใหเ้ ปน็ รอ้ ยละ
n แทน จำนวนความถท่ี ้ังหมด
33
5.1.2 ค่าเฉลย่ี เลขคณิต (Mean)
̅ = ∑
เม่ือ ̅
แทน คา่ เฉลี่ย
∑x แทน ผมรวมของคะแนนท้งั หมดในกลุ่ม
N แทน จำนวนคะแนนในกลมุ่
5.1.3 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
S.D. = √ ∑ 2−(∑ )2
เมือ่ S.D. ( −1)
∑x แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตฐาน
แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัว
N แทน จำนวนคะแนนในกลมุ่
5.2 วิเคราะหข์ อ้ มลู เกี่ยวกับการศึกษาความคิดเห็นตอ่ การเรียนการสอนผา่ นระบบ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล และความพงึ พอใจของผ้เู รียนผู้สอน แบ่งเป็น 4 ด้าน คอื ด้านความสอดคล้อง
กบั สถานการณ์ ด้านผเู้ รียน ด้านผู้สอน และด้านการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอน โดยใช้
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation S.D.) โดย
แบ่งระดบั การแปลผลเป็น 5 ระดับ ดงั นี้
คะแนนคา่ เฉลีย่ หมายถงึ ระดบั การแปลผล
1.00 - 1.80 หมายถงึ มีระดับความคิดเหน็ ด้วยนอ้ ยที่สุด
1.81 - 2.60 หมายถึง มรี ะดบั ความคดิ เหน็ ดว้ ยนอ้ ย
2.61 - 3.40 หมายถึง มีระดับความคดิ เห็นด้วยปานกลาง
3.41 - 4.20 หมายถงึ มรี ะดบั ความคิดเหน็ ด้วยมาก
4.21 - 5.00 มรี ะดับความคดิ เหน็ ด้วยมากทสี่ ุด
บทท่ี 4
การวเิ คราะหข์ ้อมลู
การดำเนนิ โครงการ โครงการศกึ ษาความคดิ เหน็ ต่อการเรยี นการสอนผ่านระบบ
อเิ ล็กทรอนิกสท์ างไกลของ นักศกึ ษาสาขาวิชาบริหารธุรกจิ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี ในคร้งั น้ี ผู้
ศึกษาไดด้ ำเนินงานตามลำดับขัน้ ตอนตอ่ ไปนี้
4.1 สญั ลักษณ์ท่ีใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู
แทน จำนวนคนในกลุ่มตัวอย่าง
̅ แทน คะแนนเฉลีย่
S.D. แทน สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน
4.2 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
การวเิ คราะหข์ อ้ มูลในการศึกษาน้ี ผู้ศกึ ษาไดท้ ำการวเิ คราะห์ออกเปน็ 3 ตอนดงั น้ี
ตอนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเพื่อทราบขอ้ มูลเก่ยี วกบั การการศกึ ษาความคิดเห็นตอ่ การ
เรยี นการสอนผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ สท์ างไกลของผเู้ รียนผู้สอน แบง่ เป็น 4 ดา้ น คอื ด้านความ
สอดคล้องกับสถานการณ์ ดา้ นผเู้ รยี น ด้านผู้สอน ดา้ นการวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นการสอน
ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะและความคิดเห็น
35
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล
ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตารางท่ี 1 แสดงความถแี่ ละรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามเพศ
สถานภาพ กลมุ่ ตัวอยา่ ง = 56
จำนวน รอ้ ยละ
เพศ
ชาย 8 14.29
หญงิ 48 85.71
รวม 56 100.00
จากตารางที่ 1 พบว่ากลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง จำนวน 48 คน คดิ เปน็ ร้อยละ
85.71 และเพศชาย จำนวน 8 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.29 ตามลำดับ
14.29% ชาย
หญิง
85.71%
ภาพที่ 1 จาแนกตามเพศ
36
ตารางท่ี 2 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อยา่ ง จำแนกตามชว่ งอายุ
สถานภาพ กลุ่มตัวอยา่ ง = 56
จำนวน รอ้ ยละ
อายุ
18 - 19 ปี 33 58.93
20 - 21 ปี 16 28.57
22 - 25 ปี 0 0.00
26 - 30 ปี 1 1.78
31 - 40 ปี 3 5.36
41 ปขี ้นึ ไป 3 5.36
รวม 56 100.00
จากตารางท่ี 2 พบวา่ กล่มุ ตัวอยา่ งสว่ นใหญ่ อายุ 18 - 19 ปี จำนวน 33 คน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 58.93 รองลงมา อายุ 20 - 21 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 อายุ 31 - 40 ปี
จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 5.36 41 ปีข้ึนไป จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.3657 อายุ 26 - 30
ปี จำนวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.78 และอายุ 22 - 25 ปี จำนวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.00
ตามลำดับ
5.36% 18-19 ปี 20-21 ปี
5.36% 22-25 ปี 26-30 ปี
1.78% 31-40 ปึ 41 ปขี นึ้ ไป
0.00%
28.57%
58.93%
ภาพท่ี 2 จาแนกตามชว่ งอายุ
37
ตารางท่ี 3 แสดงความถี่และร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามสถานะ
สถานภาพ กลมุ่ ตวั อยา่ ง = 56
จำนวน ร้อยละ
สถานะ
นกั ศกึ ษา 50 89.29
ครผู ู้สอน 6 10.71
รวม 56 100.00
จากตารางที่ 3 พบวา่ กลมุ่ ตัวอยา่ ง นกั ศึกษา จำนวน 50 คน คิดเปน็ ร้อยละ 89.29
และครูผู้สอน จำนวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10.71 ตามลำดับ
10.71% นักศกึ ษา
ครูผสู้ อน
89.29%
ภาพท่ี 3 จาแนกตามสถานะ
38
ตารางท่ี 4 แสดงความถ่ีและร้อยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามสาขาวชิ า
สถานภาพ กลมุ่ ตัวอยา่ ง = 56
จำนวน รอ้ ยละ
สถานะ
สาขาวิชาการบัญชี 30 53.57
สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดิจิตอล 26 46.43
รวม 56 100.00
จากตารางท่ี 3 พบวา่ กลุม่ ตวั อย่าง สาขาวชิ าการบญั ชี จำนวน 30 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
53.57 และสาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจติ อล จำนวน 26 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 46.43 ตามลำดบั
สาขาวชิ าการบญั ชี
46% สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ิทัล
54%
ภาพที่ 4 จาแนกตามสาขาวชิ า
ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลเกีย่ วกบั การศึกษาความคิดเห็นตอ่ การเรียนการสอนผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์
ทางไกล แบ่งเป็น 4 ดา้ น คือ ดา้ นความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ ดา้ นผ้เู รียน ดา้ นผู้สอน และ
ด้านการวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอน
39
ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนแบบมาตรฐาน ความคิดเหน็ ของกลมุ่ ตัวอยา่ งทีม่ ีต่อการ
เรยี นการสอนผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกสท์ างไกล
ดา้ นความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์
รายการประเมนิ ระดับความคิดเหน็
̅ S.D. ระดับแปลผล
1. นโยบายการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ของวทิ ยาลยั 3.53 0.89 มาก
เหมาะสมหรอื สอดคล้องกบั สถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของเชื้อไวรสั covid-19 3.50 0.97 มาก
2. วธิ กี ารจัดการเรียนการสอนออนไลนข์ องวทิ ยาลัย
เหมาะสมหรอื สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของเชอ้ื ไวรัส covid-19 3.46 0.93 มาก
3. ผูเ้ รียนได้รับการชแี้ จง และการสนบั สนนุ การเตรยี มตัว
เพอื่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลนข์ องวิทยาลัย
เหมาะสมหรือสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรสั covid-19
4. ผ้เู รยี นมีระดบั ความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดการเรยี น 3.50 0.90 มาก
การสอนออนไลนข์ องวิทยาลัยเหมาะสมหรอื สอดคล้อง
กับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส covid-19
รวม 3.46 0.81 มาก
จากตารางท่ี 5 พบวา่ การศึกษาความคิดเหน็ ต่อการเรยี นการสอนผ่านระบบ
อิเลก็ ทรอนกิ สท์ างไกล ด้านความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ โดยรวมมีความคิดเหน็ เหมาะสมในระดบั
มาก ( ̅ = 3.46 และ S.D. = 0.81) และเมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อแล้ว นโยบายการจดั การเรยี นการ
สอนออนไลนข์ องวิทยาลัยเหมาะสมหรือสอดคล้องกบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัส
covid-19 มีความคดิ เห็นเหมาะสมในระดับมาก ( ̅ = 3.53 และ S.D = 0.89) รองลงมาคือ วธิ กี าร
จัดการเรยี นการสอนออนไลน์ของวิทยาลยั เหมาะสมหรอื สอดคล้องกับสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของเชือ้ ไวรสั covid-19 มีความคิดเหน็ เหมาะสมในระดบั มาก ( ̅ = 3.50 และ S.D = 0.97) ผู้เรยี น
ได้รับการชแี้ จง และการสนับสนุนการเตรยี มตวั เพ่ือการจดั การเรยี นการสอนออนไลนข์ องวิทยาลัย
เหมาะสมหรอื สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั covid-19 มีความคดิ เห็น
เหมาะสมในระดบั มาก ( ̅ = 3.46 และ S.D = 0.93) และผเู้ รียนมรี ะดบั ความพึงพอใจโดยรวมต่อ
การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ของวิทยาลยั เหมาะสมหรือสอดคลอ้ งกับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรสั covid-19 มคี วามคิดเหน็ เหมาะสมในระดับมาก ( ̅ = 3.50 และ S.D = 0.90)
ตามลำดบั
40
5.00
4.00 3.53 3.50 3.46 3.50
3.00
2.00
1.00 0.89 0.97 0.93 0.90
0.00 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คา่ เฉล่ีย
นโยบายการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของวิทยาลัย เหมาะสมหรือสอดคล้องกบั สถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั covid-19
วธิ ีการจดั การเรยี นการสอนออนไลนข์ องวิทยาลัย เหมาะสมหรอื สอดคล้องกบั สถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของเชื้อไวรัส covid-19
ผเู้ รียนไดร้ บั การชีแ้ จง และการสนับสนนุ การเตรยี มตวั เพื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ของ
วิทยาลยั เหมาะสมหรือสอดคล้องกบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั covid-19
ผู้เรียนมรี ะดบั ความพงึ พอใจโดยรวมตอ่ การจัดการเรียนการสอนออนไลนข์ องวทิ ยาลยั เหมาะสมหรอื
สอดคลอ้ งกบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส covid-19
ภาพที่ 5 ด้านความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์