The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายละเอียดโครงการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ชลดา บัวลาด, 2019-06-12 03:37:06

รายละเอียดโครงการ

รายละเอียดโครงการ

สิ่งที่ส่งมาด้วย ๑

รายละเอียดโดยย่อ
โครงการสารวจระดับความพรอ้ มรัฐบาลดจิ ทิ ัลหนว่ ยงานภาครัฐของประเทศไทย ประจาปี ๒๕๖๒

....................................................................

๑. ความเปน็ มาของโครงการ

ด้วยสานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (สพร.) ภายใต้สานักนายกรัฐมนตรี เล็งเห็นว่า
ประเทศไทยควรจะมีข้อมูลกลางท่ีรวบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับการกาหนดนโยบายและกฎระเบียบของรัฐบาล
ดิจิทัล การบรกิ ารอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานภาครัฐ และสภาพแวดล้อมในการส่งเสริมให้เกิดรัฐบาลดจิ ิทลั เพื่อ
จะได้ทราบถึงสถานภาพการดาเนินงานและใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการวางแผน การกาหนดนโยบาย ตลอดจน
การดาเนินโครงการท่ีก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศ อีกท้ังหน่วยงานต่างๆ จะได้ทราบถึงสถานการณ์การพัฒนา
ด้านรัฐบาลดิจิทัลของตนเอง เพ่ือนาไปสู่การปรับปรุงพัฒนา และยกระดับขีดความสามารถในการพัฒนารัฐบาล
ดิจทิ ลั ภายในหน่วยงาน

นอกจากนี้ เพอ่ื เปน็ การขับเคล่ือนแผนการพัฒนาด้านดิจิทัล ตา่ งๆ ใหป้ ระสบผลสาเร็จ จาเป็นตอ้ งอาศัย
ข้อมูลท่ีสะท้อนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐในทุกระดับ เพ่ือให้หน่วยงานระดับนโยบายมีความ
เข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสถานะของการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยในเบื้องต้น และใช้เป็นข้อมูล
ประกอบการวางแผนและการกาหนดนโยบายที่ถูกทิศทาง สพร. จึงได้จัดทาโครงการสารวจระดับความพร้อมการ
พัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐข้ึนอย่างต่อเนื่องมาต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยมุ่งหวังว่า ข้อมูลที่ได้จะ
สะท้อนถึง ปัญหา ความท้าทาย อุปสรรค รวมถึงปัจจัยแห่งความสาเร็จในการขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัล ซึ่งจะเป็น
ข้อมูลท่ีมีประโยชน์ในการจัดทานโยบายและการจัดสรรงบประมาณด้านการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลรวมถึงเป็น
แหล่งข้อมูลด้านการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลท่ีมีความน่าเช่อื ถือ และให้หน่วยงานระดับนโยบายได้นาไปประกอบการ
จัดทาและติดตามงานดา้ นนโยบายที่เหมาะสมต่อไป

๒. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ

๑. เพื่อพัฒนาปรับปรุงแบบสารวจ เพื่อใช้ประเมินระดับความพร้อมรัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐ
ของประเทศไทย ให้มีความสอดคล้องกับบริบทของประเทศไทย รวมถึงสอดคล้องกับแนวคิดการ
ประเมินด้านรัฐบาลดิจิทัลในระดับสากล เพื่อให้ผลการสารวจสามารถสะท้อนภาพความพร้อมด้าน
รัฐบาลดจิ ทิ ัลของหนว่ ยงานภาครัฐได้อยา่ งแทจ้ รงิ และมีความนา่ เช่ือถือ

๒. เพ่ือสารวจระดับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐท้ังระดับกรมและระดับจังหวัด เพ่ือให้
ได้มาซึ่งข้อมูลท่ีมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ และสามารถสะท้อนปัญหา ความท้าทาย อุปสรรค รวมถึง
ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการขับเคล่ือนรัฐบาลดิจิทัล อันจะเป็นข้อมูลท่ีมีประโยชน์ในการวางแผน
จัดทานโยบาย วางมาตรการ และการจัดสรรงบประมาณดา้ นการพฒั นารฐั บาลดิจิทัลอยา่ งเหมาะสม

๓. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลผลสารวจ เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐหรือภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องทั้งในประเทศและ
ตา่ งประเทศนาไปใช้ เปน็ แหลง่ ข้อมลู อ้างองิ ดา้ นการพัฒนารฐั บาลดจิ ิทลั ทม่ี ีความน่าเชื่อถอื

๓. ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน

โครงการสารวจฯ ได้มีการกาหนดข้ันตอนการดาเนินงาน แบ่งเป็น ๓ ขั้นตอนหลัก ประกอบด้วย ๒๒
ข้นั ตอนยอ่ ย ดงั แผนภาพ

ข้ันตอนการดาเนนิ งานโครงการสารวจระดับความพร้อมรัฐบาลดจิ ิทลั หน่วยงานภาครฐั ของประเทศไทย
ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ขนั้ ท่ี ๑: ศกึ ษา ปรับปรุงและพัฒนากรอบ
การสารวจรฐั บาลดจิ ิทัลของหน่วยงาน
ภาครฐั

ขั้นท่ี ๒: ดาเนนิ การสารวจระดับการ
พฒั นารฐั บาลดิจิทัลของหน่วยงาน
ภาครัฐ

ข้ันท่ี ๓: วิเคราะห์ จดั ทาข้อเสนอแนะ
และเผยแพร่ขอ้ มูลสถานะการพัฒนา
รฐั บาลดิจิทลั ของหนว่ ยงานภาครฐั

ขัน้ ที่ ๑ ศึกษา ปรบั ปรงุ และพัฒนากรอบการสารวจรัฐบาลดิจิทลั ของหน่วยงานภาครัฐ
ประกอบด้วยการประชุมเร่ิมต้นโครงการกับ สพร. จากน้ันจึงศึกษาและปรับปรุงตัวช้ีวัดและตัวชี้วัด

ย่อย ต่อมาจึงพัฒนาและปรับปรุงแบบสารวจ และศึกษาการใช้ข้อมูลทุติยภูมิ หรือวิธีอื่นๆ นอกเหนือจาก
แบบสอบถาม ในการสารวจระดับความพร้อม แล้วจึงจัดประชุมผู้เชี่ยวชาญ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือรับฟัง
ความคิดเหน็ เกย่ี วกับแบบสารวจท่ปี รับปรุงแล้ว

ขน้ั ท่ี ๒ ดาเนนิ การสารวจระดับการพัฒนารัฐบาลดิจิทลั ของหน่วยงานภาครฐั
ประกอบด้วยกาหนดกลุ่มเป้าหมายซ่ึงเป็นหน่วยงานภาครัฐท่ีจะดาเนินการสารวจ แล้วจึงรวบรวม

รายชื่อ ท่ีอยู่ของหน่วยงานท่ีจะสารวจ พร้อมท้ังการจัดทาแบบสอบถามออนไลน์ การทดสอบแบบสอบถาม
รวมถึงการทา VDO การใช้งานและคู่มือการกรอกแบบสอบถาม ต่อมาจึงดาเนินการสารวจและติดตามแบบ
สารวจกลบั มา จากนั้นจึงตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในแบบสอบถาม

ข้นั ที่ ๓ วิเคราะห์ จดั ทาขอ้ เสนอแนะและเผยแพร่ข้อมลู สถานะการพัฒนารัฐบาลดิจิทลั ของหน่วยงานภาครัฐ
ประกอบด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามเพ่ือจัดทาร่างรายงานฯ แล้วจึงจัดประชุมรับฟัง

ความเห็นผู้เชี่ยวชาญนอก สพร. เพื่อนาข้อเสนอแนะที่ได้มาจัดทารายงานฉบับสมบูรณ์ จากน้ันจึงจัดสัมมนา
เผยแพรผ่ ลสารวจ และแจง้ ผลสารวจกลับไปยังหน่วยงานผู้ตอบแบบสอบถาม

๔ .การกาหนดกลมุ่ เป้าหมายในการสารวจ

ในการสารวจระดับความพร้อมรัฐบาลดิจิทัลหน่วยงานภาครัฐของประเทศไทย กาหนด
กลุ่มเปา้ หมายเปน็ ๒ กลมุ่ หลัก ไดแ้ ก่ หนว่ ยงานระดับกรม และหน่วยงานระดบั จังหวัด

หน่วยงานระดับกรม เป็นหน่วยงานภายใต้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี หน่วยงานภายใต้สังกัด
กระทรวง และหน่วยงานนอกสังกัดสานักนายกและสังกัดกระทรวง หน่วยงานอิสระ จานวนประมาณ ๓๐๐
หน่วยงาน ประกอบด้วย

๑. หนว่ ยงานภายใต้สังกดั สานกั นายกรฐั มนตรี
๒. หน่วยงานภายใตส้ งั กดั กระทรวงกลาโหม
๓. หน่วยงานภายใตส้ งั กดั กระทรวงการคลงั
๔. หน่วยงานภายใต้สังกดั กระทรวงการต่างประเทศ
๕. หน่วยงานภายใตส้ ังกดั กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
๖. หน่วยงานภายใตส้ ังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
๗. หนว่ ยงานภายใต้สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๘. หนว่ ยงานภายใตส้ ังกัดกระทรวงคมนาคม
๙. หน่วยงานภายใตส้ ังกดั กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
๑๐.หน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
๑๑.หนว่ ยงานภายใตส้ ังกัดกระทรวงพลงั งาน
๑๒.หน่วยงานภายใตส้ ังกดั กระทรวงพาณิชย์
๑๓.หน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงมหาดไทย
๑๔.หน่วยงานภายใตส้ ังกัดกระทรวงยตุ ธิ รรม
๑๕.หนว่ ยงานภายใตส้ งั กดั กระทรวงแรงงาน
๑๖.หนว่ ยงานภายใต้สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม
๑๗.หนว่ ยงานภายใตส้ ังกัดกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
๑๘.หนว่ ยงานภายใตส้ ังกดั กระทรวงศึกษาธิการ
๑๙.หนว่ ยงานภายใต้สงั กดั กระทรวงสาธารณสุข
๒๐.หน่วยงานภายใตส้ ังกดั กระทรวงอุตสาหกรรม
๒๑.หน่วยงานนอกสงั กดั สานักนายกและสังกดั กระทรวง หน่วยงานอสิ ระ ฯลฯ

หน่วยงานระดับจงั หวดั จานวน ๒๐ หนว่ ยงานต่อจงั หวดั รวม ๑,๕๒๐ หน่วยงาน ประกอบดว้ ย
๑. สานกั งานจงั หวัด
๒. สานักงานคลงั จังหวดั
๓. สานักงานจัดหางานจังหวัด
๔. ศูนย์พัฒนาฝมี อื แรงงานจงั หวัด
๕. สานกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวัด
๖. สานกั งานการท่องเทยี่ วและกีฬาจังหวดั
๗. สานักงานสรรพากรพ้ืนที่จังหวัด
๘. สานกั งานขนสง่ จังหวัด

๙. สานักงานพลงั งานจังหวัด
๑๐.สานักงานท่ีดนิ จงั หวดั
๑๑.สานักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัด
๑๒.สานักงานสถิติจงั หวดั
๑๓.สานกั งานอุตสาหกรรมจังหวดั
๑๔.สานกั งานประกันสังคมจงั หวัด
๑๕.สานักงานศึกษาธิการจงั หวดั
๑๖.สานกั งานพาณชิ ย์จงั หวดั
๑๗.สานกั งานสาธารณสุขจังหวัด
๑๘.สานักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั
๑๙.สานักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั
๒๐.ทที่ าการปกครองจังหวดั

๕. ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ

ต้ังแต่ ๘ ก.พ. ๒๕๖๒ – ๖ ธ.ค. ๒๕๖๒ รวม ๓๐๒ วัน

๖. ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั

๑. ประเทศไทยมีกรอบการสารวจ ตัวช้ีวัด เกณฑ์การประเมิน และแบบสารวจระดับความพร้อมของ
รัฐบาลดิจิทัลท่ีสามารถสะท้อนภาพรวมของความพร้อมด้านดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐท้ังประเทศ
สอดคลอ้ งกับบริบทของประเทศไทย

๒. ประเทศไทยมีผลการสารวจระดับความพร้อมรัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐของประเทศไทย ซ่ึง
จะเป็นข้อมูลกลางที่รวบรวมรายละเอียดเก่ียวกับการกาหนดนโยบายและกฎระเบียบของรัฐบาล
ดิจิทัล การบริการอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานภาครัฐ และสภาพแวดล้อมในการส่งเสริมให้เกิด
รัฐบาลดิจิทัล เพ่ือจะได้ทราบถึงสถานภาพการดาเนินงานและใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการวางแผน
การกาหนดนโยบาย ตลอดจนการดาเนินโครงการที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศ อีกทั้งหน่วยงาน
ต่างๆ จะได้ทราบถึงสถานการณ์การพัฒนาด้านรัฐบาลดิจิทัลของตนเอง เพ่ือนาไปสู่การปรับปรุง
พฒั นา และยกระดบั ขดี ความสามารถในการพัฒนารัฐบาลดจิ ิทัลภายในหนว่ ยงาน


Click to View FlipBook Version