The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่มสร้างสรรค์ชยราชบุรี22.11.22

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Titi Wethaka, 2022-11-22 04:17:35

รูปเล่มสร้างสรรค์ชยราชบุรี22.11.22

รูปเล่มสร้างสรรค์ชยราชบุรี22.11.22

เอกสารประกอบการแขง่ ขนั งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครง้ั ท่ี 70 ปี การศึกษา 2565
กล่มุ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแขง่ ขนั นาฏศลิ ป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดับประถมศึกษาปี ที่ 1-6

นาฏศลิ ป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบรุ ”ี

บทนำ

“ราชบุรี” เปน็ จงั หวดั ที่มีประวัติความเปน็ มายาวนาน เป็นแหลง่ วฒั นธรรมเก่าแก่ซึง่ มหี ลักฐานแสดง
พฒั นาการของมนษุ ยชาติ จากเทอื กเขาตะนาวศรสี ลู่ มุ่ นำ้ แม่กลองอยา่ งชัดเจน สะท้อนวิถีการดำรงชีวติ ของผูค้ น
หลากหลายชาตพิ ันธ์ ทไ่ี ดเ้ ขา้ มาต้งั ถิ่นฐานกระจายอยู่ในพ้ืนท่ตี า่ งๆ แหลง่ โบราณคดสี มัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ใน
จงั หวดั ราชบุรี ไดถ้ กู ค้นพบเป็นจำนวนมาก บอกเลา่ เรอ่ื งราวการดำเนินชีวิตของผู้คนในสงั คมล่าสัตว์ และสังคม
เกษตรกรรม ในดนิ แดนชายขอบทางตะวนั ตกของประเทศไทย หนง่ึ ในโบราณสถานทเี่ ป็นแหล่งรวมศิลปวัฒนธรรม
และยังมีร่องรอยเมอื งโบราณอยู่ นั้นกค็ ือเมืองโบราณบ้านคูบัว ซงึ่ เป็นศิลปวฒั นธรรมสมัยทวารวดี มีชาวกลุ่มชาติ
พันธุล์ าวยวน หรอื ไทยยวน ถูกกวาดตอ้ นมาต้งั แตค่ ร้งั ตน้ รัตนโกสนิ ทร์ มีสินค้าข้นึ ช่ือ คือ ผา้ ทอลายตีนจก นับเป็น
เมืองโบราณทีส่ มควรคณุ คา่ แห่งการอนุรักษ์และเผยแพรค่ วามรไู้ ปสู่ชนรนุ่ หลงั เป็นอยา่ งมาก

“ชยราชบรุ ี” เปน็ ระบำชุดใหม่ที่คดิ ประดิษฐ์ขน้ึ เพ่อื ให้ผูศ้ ึกษาไดร้ บั ความรูเ้ ก่ียวประวตั ิความเปน็ มาของ
โบราณสถานบา้ นคบู ัว วฒั นธรรมประเพณี ผา้ ลายตีนจก และเมอื งราชบรุ ี ซึง่ เปน็ เมอื งแห่งพระราชา คณะผู้จัดทำ
ได้ศกึ ษาจากภาพจำหลัก และแหลง่ การเรียนรู้ท่เี มืองโบราณบ้านคบู วั และนำมาดดั แปลงใชก้ ระบวนทา่ รำ โดยใช้
ทำนองเพลงที่คดิ ประดิษฐข์ ้นึ ใหม่ จากทำนองทวารวดี และมอญผสมผสานเครอ่ื งดนตรสี มยั ใหม่ใหม้ ีความนา่ สนใจ
และไพเราะและสามารถนำไปเผยแพร่ ไปสู่รุน่ ลกู รุ่นหลาน และอนรุ ักษ์ศิลปวัฒนธรรมสืบไป

คณะผจู้ ัดทำ

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ครงั้ ที่ 70 ปี การศึกษา 2565
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ สาระนาฏศลิ ป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดับประถมศกึ ษาปี ที่ 1-6

สารบญั นาฏศลิ ปไ์ ทยสรา้ งสรรค์ ชดุ “ชยราชบรุ ”ี

แรงบนั ดาลใจในการสรา้ งสรรค์ผลงานการแสดง หนา้
กรอบแนวคิดในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานการแสดง 1
การดำเนนิ การสร้างสรรค์ผลงานตามขั้นตอน 2
สรปุ ผลการดำเนินงาน/อภิปรายผลการดำเนนิ งาน 6
บรรณานุกรม 10

เอกสารประกอบการแขง่ ขนั งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ครง้ั ท่ี 70 ปี การศึกษา 2565
กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศลิ ป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดบั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1-6

นาฏศิลปไ์ ทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบรุ ”ี

นาฏศลิ ป์ไทยสรา้ งสรรค์ชุด ชยราชบรุ ี
แรงบนั ดาลใจในการสร้างสรรคผ์ ลงานการแสดง

ราชบุรเี ป็นจังหวดั ท่มี ปี ระวัติความเปน็ มายาวนาน เปน็ แหลง่ วฒั นธรรมเกา่ แก่ซงึ่ มีหลักฐานแสดงพฒั นาการ
ของมนษุ ยชาติ จากเทอื กเขาตะนาวศรีสู่ล่มุ น้ำแมก่ ลองอยา่ งชัดเจน แหล่งโบราณคดีสมยั ก่อนประวัติศาสตร์ใน
จงั หวัดราชบุรไี ด้ถกู ค้นพบเป็นจำนวนมาก หลักฐานด้านโบราณคดมี ีท้งั รอ่ งรอยเมอื งโบราณ โบราณสถาน และ
โบราณวัตถุ แสดงใหเ้ หน็ ว่ามชี มุ ชนเมืองโบราณหลายแห่งต้ังกระจายอยตู่ ามสองฝากฝ่งั แมน่ ้ำแม่กลอง ในเขตอำเภอ
เมอื งราชบุรี อำเภอวัดเพลง อำเภอบ้านโปง่ รวมทั้งพน้ื ทีเ่ ชงิ เขาใน อำเภอสวนผ้งึ
ล้วนมรี ูปแบบและลักษณะคล้ายคลงึ กับวัฒนธรรมทวาราวดี ท่พี บในเมอื งนครปฐมโบราณ เมืองโบราณ –อูท่ อง
จังหวดั สพุ รรณบรุ ี และเมอื งโบราณพงตงึ ในจังหวัดกาญจนบุรี

จากประวัตทิ ่ีน่าสนใจของจงั หวดั ราชบรุ ี ทำให้นักเรียนชมุ นุมนาฏศลิ ป์ มคี วามสนใจอยากเรยี นรเู้ กย่ี วกับ
ประวัตทิ างด้านโบราณคดรี อ่ งรอยเมอื งโบราณ ภาพจำหลักในโบราณสถาน ที่แสดงถงึ ศิลปะวฒั นธรรมสมยั ทวารวดี
นำมาคดิ สร้างสรรค์เป็นชุดการแสดงที่สามารถถ่ายทอด สบื สานศิลปวฒั นธรรม และประชาสมั พันธเ์ มอื งราชบุรี ไดอ้ ย่าง
สวยงาม

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น คร้งั ท่ี 70 ปี การศึกษา 2565
กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ สาระนาฏศลิ ป์ “การแขง่ ขนั นาฏศลิ ป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดับประถมศึกษาปี ที่ 1-6

นาฏศลิ ปไ์ ทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบรุ ”ี 2

กรอบแนวคิดในการสร้างสรรคผ์ ลงานการแสดง ชยราชบุรี

ประวตั ิความเป็นมาของจังหวัดราชบรุ ี

จากหลกั ฐานด้านโบราณคดีของจังหวัดราชบรุ ีท่มี ีรอ่ งรอยเมืองโบราณ แหลง่ วฒั นธรรมเก่าแก่
ล้วนมรี ปู แบบและลกั ษณะคล้ายคลงึ กับวฒั นธรรมทวาราวดี จงึ เป็นสง่ิ ที่ทรงคณุ ค่าท่เี ราทกุ คน
ควรตระหนักระลกึ ถงึ อยู่เสมอโดยถา่ ยทอดออกมาในรูปแบบของกระบวการท่ารำทีส่ รา้ งสรรค์
ขนึ้ มาใหม่ จากกลุม่ นักเรียนทส่ี นใจในวิชานาฏศิลปไ์ ทย

การประยกุ ตอ์ อกแบบ
-กาหนดรูปแบบการแสดง
- เนือ้ ร้อง ทำนอง ดนตรีทีใ่ ชใ้ นการบรรเลง
-การออกแบบลีลาท่ารำ
-การออกแบบเคร่อื งแต่งกายและเครอ่ื งประดับ

การแสดงชดุ “ชยราชบรุ ”ี

เอกสารประกอบการแขง่ ขันงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น ครั้งท่ี 70 ปี การศกึ ษา 2565
กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ สาระนาฏศิลป์ “การแขง่ ขันนาฏศลิ ป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดบั ประถมศึกษาปี ท่ี 1-6

นาฏศิลปไ์ ทยสร้างสรรค์ ชดุ “ชยราชบรุ ”ี 3

ประวตั ิเมืองราชบุรี

"เมอื งชยราชบุร"ี หรือในปจั จบุ นั เรียกว่า เมืองราชบุรี ซ่ึงเป็นเมืองเก่าโบราณในวฒั นธรรมทวาราวดี
ปรากฏหลักฐานท่ีสำคัญ ได้แก่ เมอื งโบราณคูบวั เป็นร่องรอยเมอื งโบราณอยูใ่ นทอ้ งท่ี ตำบลคูบัว อำเภอเมือง
ราชบรุ ี แผนผงั เมืองเป็นรปู ส่ีเหล่ียมผนื ผ้า ขนาดกวา้ งประมาณ ๘๐๐ เมตร ยาวประมาณ ๒,๐๐๐ เมตร มีคนู ้ำ
และคันดินลอ้ มรอบและมลี กั ษณะคล้ายคลึงกบั เมืองโบราณนครชยั ศรี หรือ นครปฐมโบราณในอดตี ท่ตี ั้งของเมือง –
โบราณคบู ัว และเมืองโบราณอนื่ ๆ ในวฒั นธรรมทวาราวดี ตง้ั อยู่ไมไ่ กลจากทะเลเท่าใดนัก เนอื่ งจากแนวชายฝ่งั
ทะเลเดมิ อยู่ลกึ เข้าไปในแผ่นดินปัจจุบนั มาก ยงั ปรากฏรอ่ งรอยของเปลือกหอยทะเลในชัน้ ดนิ แสดงว่าบริเวณเมอื ง
โบราณคบู วั เป็นพน้ื ที่ ทน่ี ้ำทะเลเคยท่วมถึงการมีท่ีต้งั อย่บู รเิ วณลุ่มน้ำแมก่ ลอง ทำให้เมืองคูบัวมีเส้นทางคมนาคม
ติดตอ่ กบั ชมุ ชนภายนอกได้ –สะดวก ภายในตวั เมอื งและนอกเมอื งที่มีร่องรอยฐานของสถูปเจดยี ์ เนื่องใน
พระพทุ ธศาสนาในลัทธเิ ถรวาทและมหายาน สว่ นใหญก่ ่อด้วยแผน่ อิฐขนาดใหญ่ บางแห่งประดบั ตกแตง่ อาคาร
โบราณดว้ ยภาพดินเผา และรูปปั้น ซึ่งมที งั้ รูปพระโพธิสัตว์ พระพุทธรปู เทวดา อมนุษย์ เช่น นาค ครุฑ คนธรรม์
ยกั ษ์ คนแคระ และสัตว์ต่างๆ ทีง่ ดงามมาก แสดงถึงฝีมอื ช่างช้ันสงู ที่มอี ยใู่ นเมืองโบราณคูบวั

ปัจจุบันโบราณสถานคูบัว ตง้ั อยู่ภายในวัดโขลงสุวรรณครี ี ตำบล คูบัว อำเภอ เมอื งราชบรุ ี มกี ารเก็บ
รกั ษา โบราณวตั ถุมากมาย ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตริ าชบุรี และวัดโขลงสวุ รรณคริ ี สถานที่ตั้งอย่หู ่างจากตัวเมืองไป
ทางทิศใตข้ องตวั จังหวัด ประมาณ ๕ กิโลเมตร ในทอ้ งที่ ตำบล คูบวั
รปู จำหลกั ปญั จดุริยสตรี

ปญั จดุรยิ สตรี เป็นศิลปะสมยั ทวาราวดี พบท่ีเมืองโบราณคบู ัว จงั หวัด ราชบรุ ี ปกตจิ ดั แสดง
อยทู่ ่พี ิพิธภณั ฑสถานแห่งชาตพิ ระนคร กรุงเทพฯ มอี ายปุ ระมาณ ๑,๒๐๐ – ๑,๓๐๐ ปี ทกุ นางเกลา้ มวยผมสูง
สวมต้มุ หทู รงกลมขนาดใหญ่ ตุม้ หูห้อยต่ำลงมาถึงบ่า ห่มสไบเฉียง ทกุ นางน่ังพบั เพียบ คนแรกจากซา้ ยไปขวาตกี รับ
คนท่สี องร้องนำ คนกลางดีดพิณ คนท่ีสต่ี ีฉิง่ คนท่ีหา้ เลน่ เครอื่ งดนตรีคล้ายกับพิณนำ้ เตา้ –
ศิลปินผปู้ ้ันแสดงบรรยากาศของการบรรเลงดนตรี ไดอ้ ยา่ งลกึ ซ้งึ ถอื เปน็ โบราณวตั ถุช้ินเอกของพิพธิ ภัณฑ์

ปญั จดรุ ิยสตรี ไดแ้ สดงใหเ้ หน็ ถึงเอกลกั ษณ์ของทวาราวดี ท่นี กั ดนตรชี ั้นสูงเปน็ หญงิ ในขณะทใ่ี นอินเดีย
นกั ดนตรีจะเป็นชาย แสดงใหเ้ ห็นวา่ ลัทธิชายเป็นใหญ่ของอินเดีย ถกู ผสมผสานด้วยพน้ื เมืองนยิ ม
ดึงสทิ ธสิ ตรขี องสุวรรณภมู ไิ ม่ไดต้ ำ่ ไปกว่าชาย

เอกสารประกอบการแขง่ ขันงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น ครัง้ ท่ี 70 ปี การศึกษา 2565
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศลิ ป์ ไทยสรา้ งสรรค”์ ระดับประถมศึกษาปี ที่ 1-6

นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชดุ “ชยราชบรุ ”ี 4

ทเี่ มืองโบราณคบู วั มชี าวกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุลาวยวน หรือไทยยวน ถกู กวาดตอ้ นมาตง้ั แตค่ รง้ั
ตน้ รัตนโกสนิ ทร์ มสี ินค้าข้ึนช่ือ คอื ผา้ ทอลายตีนจก อนั เป็นสินคา้ ข้นึ ช่อื ของคบู ัว
ผ้าทอลายตีนจก

การทอผ้าจกเป็นการทอ และทำให้เกดิ ลวดลายผา้ ไปพรอ้ มๆกนั การจกคือการทอลวดลายบนผืนผา้
ด้วยวธิ ีการเพม่ิ ด้ายเส้นพุง่ พเิ ศษเขา้ ไปเป็นชว่ งๆ ไม่ติดตอ่ กันตลอดหน้ากว้างของผา้ การจกจะใชไ้ มห้ รือขนเมน่ หรือน้วิ
ยกขึน้ จก (ควกั ) เส้นดา้ ยสีสันต่างๆขึน้ มาบนเส้นยืน ให้เกดิ ลวดลายตามตอ้ งการ
ผา้ จก ไทย - ยวน

ผ้าจกไทย- ยวน เป็นผ้าท่ีสรา้ งสรรค์ข้นึ พบในหมู่ช่างทอผ้าชาวไทย – ยวน ในจงั หวดั ราชบรุ ี
ท่ีสืบเชือ้ สายจากบรรพบรุ ษุ ทอี่ พยพมาต้ังถิน่ ฐานในจังหวัดราชบรุ ี เกือบ ๒๐๐ ปี มาแล้ว

การต้ังถ่นิ ฐานของชาวไทย-ยวน ยงั คงรักษาชวี ติ ประเพณี วฒั นธรรมอย่างเครง่ ครดั แตด่ ้วยความ
เจรญิ รุ่งเรืองของบา้ นเมอื ง การดำเนนิ ชวี ิตไดแ้ ปรเปลยี่ นไปตามสภาพสงิ่ แวดลอ้ ม วิถีชวี ติ ความเช่ือ และ ความศรทั ธา
เร่ิมหายไป พรอ้ มรับวัฒนธรรมใหมๆ่ เข้ามาแทนท่ี คงเหลือเพียงผูเ้ ฒา่ ผูแ้ ก่ที่ยงั คงใช้-ภาษาพดู สอื่ สารกันและกนั
ตระกลู ผ้าจกไทย – ยวน ท่ียังคงเหลืออยู่มีแหล่งกำเนิดแตกตา่ งกันไป

เอกสารประกอบการแขง่ ขนั งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น คร้ังท่ี 70 ปี การศกึ ษา 2565
กล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแขง่ ขันนาฏศลิ ป์ ไทยสรา้ งสรรค”์ ระดบั ประถมศึกษาปี ที่ 1-6

นาฏศลิ ป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบุร”ี 5

ผ้าจกตระกูลคูบัว
ผา้ จกตระกูลคูบัว จะมลี ายเปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะของตวั เอง เชน่ ลายดอกเซีย ลายหกั นกคู่ ลายโก้งเกง้

ลายหนา้ หมอน และลายนกคู่กนิ น้ำอ่วมเตา้ ผ้าจกตระกูลคูบัว จะพบมากในตำบลคูบวั ตำบล
ดอนตะโก เพราะเป็นชมุ ชนที่มีคนไทย ยวนอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากในการจกจะใชเ้ สน้ ยนื สดี ำ พุง่ ดำ พน้ื ผา้ เวน้ พน้ื ตำ่
ไมม่ ากตามแบบฉบับของลวดลาย เพ่อื จกให้เหน็ ลายชดั เจน สว่ นสีสันของเสน้ ใยท่ีใช้ทอ จะใช้เส้นใยที่มสี ีสนั หลากหลาย
เชน่ จะใช้พุง่ ต่ำดำ จกแดงแซมเหลือง หรือเขยี ว เปน็ ต้น โดยตนี ซ่ินจะมคี วามกว้างประมาณ ๙ – ๑๑ นว้ิ

นอกจากนย้ี ังมี จปิ าถะภัณฑ์สถานบ้านคูบวั อันเปน็ ทร่ี วบรวมประวัติศาสตร์สงั คม และวถิ ีชีวิตของชาวคู
บวั มาตงั้ แต่ครั้งทวารวดี

พพิ ธิ ภณั ฑ์แหง่ นจ้ี ดั ตงั้ ข้นึ จากความริเร่ิมของหลายองค์กร เชน่ วัดโขลงสุวรรณครี ี มูลนธิ พิ ฒั นาประชากร
ตำบลคบู ัว สมาคมศิษย์เกา่ โรงเรยี นวัดแคทราย ศนู ย์สบื ทอดศิลปะผา้ จกราชบรุ ี ชมรมชาวไทย-ยวนราชบรุ ี เป็นตน้
โดยได้รบั การสนบั สนนุ งบประมาณการกอ่ สร้าง และปรับปรงุ อาคารจากองค์การ –บริหารสว่ นจงั หวดั ราชบุรี และ
สมาคมต่างๆ ตัวอาคารกอ่ สรา้ งเสร็จเม่อื พ.ศ. ๒๕๔๖ หลงั จากกอ่ สร้างอาคารพพิ ธิ ภณั ฑเ์ สร็จแล้ว ได้มอบหมายให้
ดร.อุดม สมพร (มูลนธิ พิ ัฒนาประชากร ตำบลคูบัว) เปน็ ประธานกรรมการ จดั ตกแตง่ และจดั แสดงภายใน

จุดประสงคใ์ นการกอ่ ตั้งพิพิธภัณฑแ์ ห่งนี้ กเ็ พอื่ รวบรวมสิ่งทเ่ี ป็นรอ่ งรอยภมู ิปญั ญาของบรรพชน
ไทย-ยวน ทีอ่ พยพมาจากเมอื งเชยี งแสน เมื่อกวา่ ๒๐๙ ปที ่ีผา่ นมา
"…อยากให้ลกู หลานเหลยี วหลังมาดูอดีตบา้ ง บรรพชนไดส้ รา้ งสรรคอ์ ะไรไวม้ ากมาย
ถ้าเราไมร่ จู้ ักอดีต จะหมดความเป็นชาติ หมดเอกลกั ษณ์ เนอ้ื หาของวถิ ีชีวติ มีรากแก้วทัง้ สน้ิ หลายคนอนรุ ักษผ์ า้ เพอ่ื เก็บ
แตเ่ ราคดิ อยากสร้างสรรคง์ านผ้าให้เกิดมากกวา่ ลายผา้ ทุกลายล้านเป็นมรดกของบรรพชน ถา้ เราเก็บไวเ้ พียงผา้ นานไป
ผา้ เกา่ ไปเรื่อย ๆ คณุ ค่ามันอยู่ท่คี วามเกา่ หรือเปล่า? หากวันหนงึ่ ไฟเผาจะหมดไปไหม? แต่ถา้ เราเก็บ ส่งิ ท่เี คยมไี ว้เปน็
องค์ความรู้ ไฟเผาก็ไม่หมด สืบสานตอ่ ได้ อีกไมน่ านที่นีจ่ ะมจี ิปาถะภณั ฑ์สถาน บ้านคูบวั เราจะเก็บเอาองคค์ วามรเู้ รอื่ ง
งานผ้าจกไว้ทนี่ ี่..." โดย ดร. อดุ ม สมพร

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น คร้ังที่ 70 ปี การศึกษา 2565
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแขง่ ขนั นาฏศลิ ป์ ไทยสรา้ งสรรค”์ ระดับประถมศกึ ษาปี ท่ี 1-6

นาฏศลิ ปไ์ ทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบรุ ี” 6

การดำเนินการสรา้ งสรรค์ผลงานตามขั้นตอน
1.นกั เรียนในชมุ นุมนาฏศิลปล์ งมตเิ ลือกหัวข้อทสี่ นใจ โดยในปีการศึกษา 2565 นกั เรียนได้ลงมติ และมี
ความสนใจเกีย่ วกบั ประวตั ิเมอื งราชบุรี โบราณสถาน แหล่งท่องเที่ยวเอกลกั ษณข์ องจังหวัดราชบุรีจึงนำมาส่กู าร
สรา้ งสรรค์ผลงานชุด “ชยราชบรุ ี”

2.การคัดเลอื กหัวหน้าทมี และทมี งานเพื่อร้บู ทบาทหน้าท่ีของตน เปน็ ขั้นตอนการลงคะแนนเสียงของสมาชิก

กล่มุ ในการเลือกหวั หน้ากลุ่ม รองหวั หนา้ เลขานุการ โดยถือเอามตสิ ่วนใหญ่เป็นเอกฉันท์ และต้องมีการผลัดเปลย่ี น

หมุนเวยี นกันเป็นหัวหน้ากลุ่มเพ่อื ฝกึ ใหส้ มาชิกทกุ คนมีความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและสมาชิกในกลมุ่ โดยมสี มาชกิ ใน

ทมี งานดังนี้

1.ด.ญ.อินธีวรา แสนสดุ สวาท ชน้ั ป.6/3 หัวหนา้

2.ด.ญ.สโรชา มณนี ารถ ชนั้ ป.6/7 รองหวั หนา้

3.ด.ญ.พิชามญช์ ศริ พิ งษ์ ชั้น ป.4/3

4.ด.ช.ปราชญ์ ตัณฑกลุ นนิ าท ชั้น ป.5/2

5.ด.ญ.จรสั วลั ย์ เพช็ รธรรมชาติ ชน้ั ป.5/7

6.ด.ญ.ฉตั รจารีย์ อุดมสนั ตธิ รรม ช้ัน ป.5/7

7.ด.ญ.พชั ริดา ธรรมรงค์ ชั้น ป.5/7

8.ด.ญ.ชดิ ชญา กาญจนไตรภพ ชั้น ป.6/2

9.ด.ญ.บณั ฑติ า มากนาม ชน้ั ป.6/2

10.ด.ญ.ธญั ญารตั น์ เกตุกุญชร ชั้น ป.6/2

11.ด.ญ.อริญชยา ดำเนิน ชน้ั ป.6/2

12.ด.ญ.เตชินี เรืองกฤษ ชั้น ป.6/2

13.ด.ญ.ปุณยวยี ์ ศิริจรรยาพงษ์ ชั้น ป.6/3

14.ด.ญ.ปาลิตา วเิ ศษสาธร ชน้ั ป.6/3

15.ด.ช.ภูมิวถิ ี เจดยี ์พราหมณ์ ชั้น ป.6/4

16.ด.ญ.ณฐั กมล ชศู รี ชนั้ ป.6/3 เลขานกุ าร

3.การกำหนดเปา้ หมาย เป็นขั้นตอนการตกลงรว่ มกันระหว่างสมาชกิ ในกลุ่มว่ามเี ปา้ หมายหรือวตั ถุประสงคใ์ น
การสร้างชิน้ งานแต่ละชนดิ อยา่ งไร เพ่อื เปน็ แนวทางในการวางแผนการทำงาน

โดยการแสดงนาฏศิลปส์ ร้างสรรค์ชุด “ชยราชบุรี” มวี ตั ถปุ ระสงค์เป้าหมายดังน้ี

1.มีความรู้เกย่ี วกับประวัติความเป็นมาของจงั หวัดราชบรุ ี
2.มคี วามตระหนกั ถึงคุณคา่ ของศิลปวัฒนธรรมประเพณขี องชาวจงั หวดั ราชบุรตี งั้ แต่อดีตจนถงึ ปัจจุบัน
3.สามารถแสดงเผยแพร่นาฏศิลป์ไทยสรา้ งสรรค์ในชดุ “ชยราชบรุ ี” ให้เป็นที่ประจกั ษต์ ่อประชาชนทั่วไป

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น คร้งั ที่ 70 ปี การศึกษา 2565
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ “การแขง่ ขนั นาฏศลิ ป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดับประถมศกึ ษาปี ท่ี 1-6

นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบรุ ”ี 7

4.การวางแผนการทำงาน ศกึ ษาคน้ ควา้ กำหนดรปู แบบของชุดการแสดง ชอ่ื ชุดการแสดง วสั ดุอปุ กรณท์ ่จี ะใช้
ในการแสดง สถานท่ีทำงาน เวลาทำงาน และวธิ กี ารทำงานร่วมกันของสมาชกิ ในกลุ่ม

4.1 ศึกษาคน้ คว้าข้อมลู จากสถานท่ีจริง เช่น พพิ ิธภณั ฑ์บา้ นคบู ัว โบราณสถาน วัดโขลงสุวรรณครี ี
หาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ จากเวป็ ไซคต์ ่างๆทเ่ี ก่ียวข้อง ห้องสมุด

4.2 การออกแบบรูปแบบชุดการแสดง เนื่องจากการเกบ็ ขอ้ มูลทำให้คณะผู้จดั ทำไดแ้ นวความคดิ ใน
การสรา้ งสรรค์ซ่ึงนำมาจาก ภาพจำหลกั โบราณสถานบ้านคูบัว คณะผู้จดั ทำจงึ คดิ การนำเสนอ โดยแบ่งช่วงการแสดง
เปน็ 3 รูปแบบดงั นี้

ชว่ งที่ 1 “เลา่ ขานราชบรุ ี” โดยการเกรนิ่ นำด้วยเนอ้ื เพลงทก่ี ล่าวถึงการเล่าเรื่องราวของจงั หวัดราชบุรี
ทำนองเพลงมอญดงั้ เดิมทค่ี ิดสร้างสรรค์ข้ึนมาใหม่ มีการรา่ ยรำถึงความอดุ มสมบรู ณ์ของแมน่ ้ำแมก่ ลองซง่ึ เป็นแมน่ ำ้ สาย
หลกั ของชาวจังหวัดราชบรุ ี ความสัมพันธ์ระหวา่ งชาวมอญ ไทยวน

ชว่ งที่ 2 “ความอุดมสมบรู ณ์ของจงั หวดั ราชบุรี”เป็นการสร้างสรรคเ์ น้อื รอ้ งและทา่ รำทีเ่ ลา่ ขานประวัติ
ความเป็นมา และเอกลักษณ์ผา้ ทอจกของจังหวัดราชบุรี

ช่วงท่ี 3 “ ปัญจดรุ ยิ สตรี ”จากการศกึ ษาพบวา่ เมืองโบราณบ้านคูบัวมจี ำหลักหนึง่ ซง่ึ เปน็ หลักฐาน
ทางด้านการแสดงคอื รปู จำหลกั ปัญจดุรยิ สตรี ซึง่ ปญั จดุริยสตรี เปน็ ศิลปะสมัยทวาราวดี พบท่ีเมืองโบราณคูบวั
จังหวัด ราชบุรี ปกตจิ ดั แสดงอยู่ทพ่ี ิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาตพิ ระนคร กรงุ เทพฯ มีอายปุ ระมาณ ๑,๒๐๐ – ๑,๓๐๐ ปี
ปญั จดรุ ยิ สตรี ไดแ้ สดงใหเ้ ห็นถงึ เอกลักษณข์ องทวารวดี และมีการจีบที่บง่ ช้ีใหภ้ าพจำหลักดงั น้ี

เอกสารประกอบการแขง่ ขนั งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน ครงั้ ท่ี 70 ปี การศกึ ษา 2565
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ สาระนาฏศลิ ป์ “การแข่งขันนาฏศลิ ป์ ไทยสรา้ งสรรค”์ ระดับประถมศกึ ษาปี ที่ 1-6

นาฏศลิ ป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบรุ ี” 8

จึงทำให้คณะผจู้ ัดทำได้คิดสร้างสรรคก์ ารจบี โดยอิงจากภาพจำหลกั การจีบและท่าทางจากภาพจำหลกั ที่
โบราณสถานบา้ นคบู วั และสรา้ งสรรคท์ ่าเพิ่มเตมิ ปรับใหเ้ หมาะสมกับการแสดง เพอื่ ใหม้ ีความสวยงามขึน้ ดงั นี้

4.4 การออกแบบเครื่องแตง่ กาย จากการศึกษาและสรุปองค์ความรูเ้ กี่ยวกับประวัตเิ มอื งราชบุรีมี
ขอ้ ความตอนหน่งึ กลา่ ววา่ “ปัญจดุรยิ สตรี ทุกนางเกลา้ มวยผมสงู สวมตุ้มหทู รงกลมขนาดใหญ่ ตมุ้ หหู อ้ ยต่ำลง
มาถึงบา่ ห่มสไบเฉียง” ตามภาพจำหลักดังนี้

โดยคณะผู้จัดทำช่วยกนั รา่ งออกแบบเครอื่ งแต่งกายใหด้ ูเหมาะสมสวยงามสอดแทรกการใช้ผ้าทอคบู ัว ซงึ่ เปน็ เอกลักษณ์
ของชาวจังหวดั ราชบรุ ี

เอกสารประกอบการแขง่ ขนั งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ปี การศกึ ษา 2565
กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศลิ ป์ “การแข่งขนั นาฏศลิ ป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดับประถมศกึ ษาปี ท่ี 1-6

นาฏศลิ ป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบรุ ี” 9

4.4 การสรา้ งสรรคเ์ นอ้ื ร้องและทำนองเพลง เมอื งโบราณสถานบา้ นคูบวั มปี ระวตั ศิ าสตร์ที่เก่ยี วกับ
ศลิ ปวฒั นธรรมของ ไทยทวารวดี มอญ และญวน การทำทำนองเพลงในการแสดงชุดนจ้ี ึงได้นำเคร่อื งดนตรีมอญเขา้ มา
ผสมผสานเพอื่ ให้ผูช้ มได้รบั รสถึงวัฒนธรรมของชาวไทย มอญ ญวน เข้าด้วยกัน เพิม่ เติมดว้ ยเครือ่ งดนตรสี มัยใหม่
ประกอบกับเพิ่มบทรอ้ งใหผ้ ชู้ มไดร้ ู้ถงึ ประวตั ิ ความหมาย และการอนุรักษ์วัฒนธรรมให้คงอยคู่ ู่ชาวไทยและเผยแพร่ได้
อย่างชัดเจน ดังมเี น้ือร้องดังต่อไปนี้

บทร้อง เพลง ระบำราชาบรุ ี นครครี ีคูบัว

เมืองแห่งกษัตรยิ ร์ าชบรุ ี สมบูรณน์ ้ำและดนิ ดีลุ่มแม่กลอง

มอญไทยญวนล้วนปรองดอง เปน็ พีน่ อ้ งเครอื ญาติกนั (ทำนอง)

ดนิ แดนแหง่ ความรุ่งเรือง สืบเนอื่ งสมยั ทวารวดี

บ้านคูบัวหลักฐานบง่ ช้ี วดั โขลงสวุ รรณครี ีคือท่ปี จั จุบนั (ทำนอง)

เอกลกั ษณ์งานผา้ ทอจก หยิบยกมากล่าวเลา่ ขาน

มรดกบรรพชนแต่ก่อนกาล เรง่ สืบสานงานศิลป์ของไทย (ทำนอง)

4.4 การตั้งชือ่ ชุดการแสดงชดุ น้ี คอื ชือ่ เดมิ ของจงั หวัดราชบรุ ีท่เี รียกกนั ว่าเมือง ชยราชบุรี

4.5 นำผลงานการแสดงทดลองเผยแพรใ่ นโรงเรียนถา้ มจี ุดบกพรอ่ งกด็ ำเนนิ การแกไ้ ข

5. การแบ่งงานกนั ตามความสามารถ แบง่ หน้าที่ใหส้ มาชิกในกลุ่ม โดยพิจารณาจากความสามารถและความ
ถนัดของแตล่ ะบคุ คล แตจ่ ะชว่ งกันออกความคดิ เห็นยอมรับขอ้ ดีข้อเสียของเพอื่ นในกลุม่

6.การลงมือปฏบิ ตั ิงาน เปน็ การปฏบิ ัติงานของสมาชกิ ในกลุ่มตามหนา้ ทีท่ ี่ได้รับมอบหมายและตามแผนงานท่ี
วางไวใ้ ห้สำเร็จตามเป้าหมาย

7. การประเมนิ ผลและปรับปรุงการทำงาน เป็นการพิจารณาการทำงานร่วมกันของสมาชิกในกลุม่ ทัง้ ในขณะ
วางแผนการทำงานและในขณะปฏบิ ัติงานว่าพบปัญหาในการทำงานหรือไม่ เมื่อพบปญั หา ก็แกไ้ ขปัญหา รวมถึงการ
ประเมินผลงานร่วมกนั วา่ มขี อ้ บกพร่องหรอื ไม่ ถ้ามีขอ้ บกพร่องควรปรับปรุงผลงานให้ดีขึน้ โดยมีคุณครชู ่วยให้
คำแนะนำและเป็นทปี่ รกึ ษา

เอกสารประกอบการแขง่ ขนั งานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น คร้ังท่ี 70 ปี การศึกษา 2565
กลุม่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ สาระนาฏศลิ ป์ “การแข่งขนั นาฏศิลป์ ไทยสรา้ งสรรค”์ ระดบั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1-6

นาฏศลิ ปไ์ ทยสรา้ งสรรค์ ชุด “ชยราชบรุ ”ี 10

สรปุ ผลการดำเนินงาน/อภิปรายผลการดำเนนิ งาน
จากการศึกษาและประดิษฐ์ท่ารำนาฏศลิ ปไ์ ทยสร้างสรรค์ ในชดุ “ชยราชบรุ ี” เพอื่ เผยแพรศ่ ิลปวัฒนธรรมท่ี
แสดงใหผ้ ู้ชมไดต้ ระหนักถึงคุณคา่ ของศิลปวัฒนธรรมประเพณี ประวตั ิความเปน็ มาของจงั หวดั ราชบุรีใหเ้ ปน็ ท่ีประจกั ษ์
ต่อประชาชนท่วั ไป ทำให้สรา้ งความดึงดดู ความสนใจให้กับนกั เรียนและบคุ คลภายนอกเมอ่ื ไดช้ มการแสดง ทำให้รสู้ กึ
รักหวงแหนบา้ นเกดิ ของตนเอง รวมถงึ การประชาสมั พนั ธ์ให้รู้จักจกั หวัดราชบุรี สืบสานความเปน็ วฒั นธรรมประเพณี
ไทยไดอ้ ย่างชดั เจน
สรุปผลการศกึ ษา

จากการประดิษฐก์ ารแสดงนาฏศิลปไ์ ทยสรา้ งสรรค์ในชุด “ชยราชบุรี” สรุปผลการศกึ ษาได้ดงั นี้
1.มีความรเู้ ก่ียวกบั ประวัติความเป็นมาของจังหวดั ราชบรุ ี
2.มีความตระหนกั ถึงคุณคา่ ของศิลปวฒั นธรรมประเพณขี องชาวจังหวัดราชบรุ ตี ง้ั แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั
3.สามารถแสดงเผยแพร่นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ในชุด “ชยราชบุรี” ใหเ้ ปน็ ท่ีประจักษ์ตอ่ ประชาชน

ทวั่ ไป

อภปิ รายผล

จากการศึกษาคิดประดิษฐก์ ารแสดงนาฏศิลป์ไทยสรา้ งสรรคใ์ นชุด “ชยราชบรุ ี” อภิปรายผลได้ ดังนี้

“ชยราชบรุ ี” คือ เมืองราชบุรีแตโ่ บราณ ราชบุรีมชี ือ่ อนั เป็นมงคลย่งิ หมายถงึ "เมืองพระราชา" “ราชบุร”ี
(บาลี,ราช + ปรุ หมายถงึ เมืองแหง่ พระราชา) ราชบรุ ีเปน็ เมืองเก่าแก่เมอื งหนึ่งของประเทศไทย จากการศึกษาและขุด
ค้นของนกั ประวัตศิ าสตร์ นักโบราณคดี พบวา่ ดนิ แดนแถบลุ่มแมน่ ้ำแม่กลองแหง่ น้ี เป็นถนิ่ ฐานท่อี ยู่อาศยั ของคนหลาย
ยคุ หลายสมัย และมีความร่งุ เรืองมาตงั้ แตอ่ ดตี จากหลักฐานทางโบราณสถานและโบราณวัตถุมาก ทำให้เช่ือไดว้ า่ มผี ู้คน
ต้ังถน่ิ ฐานอย่ใู นบริเวณน้ีต้ังแต่ยคุ หนิ กลาง ตลอดจนได้คน้ พบเมืองโบราณสมยั ทราวดีท่เี มอื งคูบัว

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ปฐมกษัตรยิ แ์ ห่งราชวงศจ์ ักรี ได้เคยดำรงตำแหน่งหลวง
ยกกระบตั รเมืองราชบุรีในสมัยกรุงศรีอยธุ ยาตอนปลาย ซึ่งในชว่ งปลายสมยั กรุงศรอี ยุธยาและตอนต้นกรุงรัตนโกสนิ ทร์
ปรากฎหลักฐานทางประวตั ิศาสตรพ์ บว่าเมืองราชบรุ ีเปน็ เมืองหน้าด่านท่ีสำคัญ และเปน็ สมรภมู ิการรบหลายสมยั
โดยเฉพาะในสมยั สมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกไดย้ กทัพมาตง้ั รบั ศึกพม่าในเขตราชบุรหี ลายครั้ง ครั้งสำคญั ที่สุดคือ
สงครามเก้าทพั ต่อมาใน พ.ศ. 2360 ในสมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัยไดโ้ ปรดเกล้าฯ ให้สร้างกำแพง
เมอื งใหมท่ างฝงั่ ซา้ ยของแม่นำ้ แม่กลองตลอดมาจนถึงปจั จบุ ัน คร้นั ถงึ สมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว
ใน พ.ศ. 2437 ไดท้ รงเปล่ียนการปกครองส่วนภูมภิ าคโดยรวมหัวเมอื งตา่ งๆ ที่อยชู่ ิดกัน ต้งั ขึ้นเปน็ มณฑล โดยรวมเมอื ง
ราชบุรี เมืองกาญจนบรุ ี เมอื งสมทุ รสงคราม เมืองเพชรบุรี เมืองปราณบรุ ี เมอื งประจวบคีรขี ันธ์ 6 เมือง ต้ังขึ้นเป็น
มณฑลราชบรุ ี ตั้งท่ีบญั ชาการมณฑล ณ เมืองราชบรุ ี ฝงั่ ขวาของแม่น้ำแม่กลอง (ปจั จบุ ันคือศาลากลางจังหวัดราชบุรี
หลังเก่า) ต่อมาใน พ.ศ. 2440 ไดย้ า้ ยทบี่ ัญชาการเมอื งราชบรุ จี ากฝ่งั ซา้ ย กลับมาตั้งรวมอยแู่ หง่ เดียวกบั ศาลาว่าการ
มณฑลราชบรุ ีทางฝัง่ ขวาของแม่น้ำแมก่ ลอง จนถงึ พ.ศ. 2476 เมือ่ ไดม้ ีการยกเลกิ การปกครองแบบมณฑลทง้ั หมด
มณฑลราชบรุ ีจึงถกู ยกเลกิ และคงฐานะเป็นจงั หวดั ราชบุรีจนถึงปจั จุบนั

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ครง้ั ที่ 70 ปี การศึกษา 2565
กล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขนั นาฏศิลป์ ไทยสรา้ งสรรค”์ ระดบั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1-6

นาฏศลิ ป์ไทยสรา้ งสรรค์ ชดุ “ชยราชบรุ ”ี 11

การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรคช์ ุดนี้จงึ นำเอาเรื่องราวอันทรงคณุ ค่าทางวฒั นธรรมมาเรยี งรอ้ ย หลอมรวม
เปน็ การแสดงทสี่ อื่ ใหต้ ระหนกั ถงึ คณุ ค่าผ่านลีลาการร่ายรำในชดุ ชยราชบุรี

การแสดงชดุ น้ไี ดร้ บั คำแนะนำจากอาจารยห์ ลายๆทา่ น เป็นการแสดงที่เป็นประโยชน์ตอ่ นกั เรยี น นกั ทอ่ งเทย่ี ว
บคุ คลทว่ั ไป ซงึ่ การแสดงน้ไี ด้สำเร็จลุลว่ งไปด้วยดีตามวัตถุประสงค์ท่ีตัง้ ไว้
ข้อเสนอแนะ

1.ควรเผยแพร่การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ชยราชบุรีใหก้ บั สถานศึกษา เพอื่ เป็นส่ือการเรยี นรู้
2.สามารถนำการแสดงชุดนี้บูรณาการเขา้ สู่หลกั สูตรท้องถ่ินของโรงเรียนได้

เอกสารประกอบการแขง่ ขันงานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน ครงั้ ท่ี 70 ปี การศึกษา 2565
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดับประถมศกึ ษาปี ท่ี 1-6

นาฏศลิ ป์ไทยสร้างสรรค์ ชดุ “ชยราชบรุ ”ี 12

บรรณานุกรม
ราชบุรี : เสน่หว์ ฒั นธรรม งามล้ำหบุ เขาตะนาวศรี วถิ ลี ุ่มนำ้ แมก่ ลอง / สำนักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ,
กรุงเทพฯ : / สำนกั งานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน , 2556.
จิปาถะภัณฑ์สถานบ้านคบู ัว . จิปาถะภณั ฑส์ ถานบา้ นคูบวั ราชบรุ ี . พมิ พค์ รง้ั ท่ี 3 . ม.ป.ท.5842 .
ปาถะภัณฑ์สถานบ้านคบู ัว ทต่ี ง้ั ภายในบรเิ วณวดั โขลงสุวรรณคีรี ต.คูบวั อ.เมอื ง จ.ราชบุรี หากต้ังต้น บรเิ วณวดั คูบัว
เม่อื ออกจากวัดคูบัวแลว้ ใหเ้ ล้ยี วขวามุ่งตรงมาจนถงึ สามแยก จากน้นั ใหเ้ ล้ียวซ้ายก็จะถึงวดั โขลงสวุ รรณคีรี ซ่ึงเปน็ ท่ีตงั้
ของจิปาถะภณั ฑ์สถานบ้านคบู วั

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ครง้ั ที่ 70 ปี การศึกษา 2565
กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศลิ ป์ “การแขง่ ขนั นาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดับประถมศึกษาปี ท่ี 1-6

นาฏศิลปไ์ ทยสรา้ งสรรค์ ชดุ “ชยราชบรุ ี” 13

ภาคผนวก

เอกสารประกอบการแขง่ ขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ครงั้ ที่ 70 ปี การศกึ ษา 2565
กล่มุ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ สาระนาฏศิลป์ “การแขง่ ขันนาฏศลิ ป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดบั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1-6

นาฏศิลปไ์ ทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบุร”ี 14

ประชุมนกั เรยี นเลอื กเรอ่ื งท่สี นใจในการแสดง

4 ก.ค.2565

หาขอ้ มลู ที่ต้องการจากหอ้ งสมดุ โรงเรียน

7 ก.ค.2565

เอกสารประกอบการแขง่ ขันงานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น คร้ังท่ี 70 ปี การศึกษา 2565
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแขง่ ขันนาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดับประถมศึกษาปี ท่ี 1-6

นาฏศลิ ปไ์ ทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบรุ ”ี 15

หาข้อมูลจากชอ่ งทางอนิ เตอร์เน็ต

8 ก.ค.2565

ลงพน้ื ที่หาข้อมูลจากสถานทจี่ รงิ (วดั โขลงสวุ รรณคีรี)

18 ก.ค.2565

เอกสารประกอบการแขง่ ขันงานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน ครง้ั ที่ 70 ปี การศึกษา 2565
กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ สาระนาฏศลิ ป์ “การแข่งขันนาฏศลิ ป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดบั ประถมศึกษาปี ท่ี 1-6

นาฏศลิ ป์ไทยสรา้ งสรรค์ ชดุ “ชยราชบรุ ”ี 16

ลงพ้ืนที่หาข้อมูลจากสถานทจี่ รงิ (วดั โขลงสวุ รรณคีร)ี

18 ก.ค.2565

ลงพน้ื ทห่ี าข้อมลู จากสถานทจ่ี ริง (วดั โขลงสวุ รรณคีรี)

18 ก.ค.2565

เอกสารประกอบการแข่งขนั งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ครั้งท่ี 70 ปี การศึกษา 2565
กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขันนาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดบั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1-6

นาฏศิลปไ์ ทยสร้างสรรค์ ชดุ “ชยราชบรุ ”ี 17

นำข้อมูลมาสรุปผลเพ่อื กำหนดกรอบการแสดง

25 ก.ค.2565

ต่อท่ารำโดยมีครูคอยให้คำปรกึ ษา

2 ส.ค.2565

เอกสารประกอบการแขง่ ขันงานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น คร้งั ท่ี 70 ปี การศึกษา 2565
กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศลิ ป์ “การแข่งขนั นาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดับประถมศกึ ษาปี ท่ี 1-6

นาฏศลิ ป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบรุ ี” 18

ฝึกซอ้ มการแสดง

11 ส.ค.2565

ฝึกซอ้ มการแสดง

11 ส.ค.2565

เอกสารประกอบการแข่งขันงานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ครั้งท่ี 70 ปี การศึกษา 2565
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขนั นาฏศลิ ป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดับประถมศกึ ษาปี ที่ 1-6

นาฏศลิ ปไ์ ทยสร้างสรรค์ ชดุ “ชยราชบรุ ี” 19

นำผลงานแสดงที่เวทขี องโรงเรียน

8 พ.ย..2565

นำผลตอบรบั จากผ้ชู มการแสดงมาแกไ้ ขปรับปรงุ ให้ดีขึน้

8 พ.ย..2565

เอกสารประกอบการแขง่ ขันงานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน ครง้ั ที่ 70 ปี การศกึ ษา 2565
กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ “การแข่งขนั นาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดบั ประถมศึกษาปี ท่ี 1-6

นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด “ชยราชบุร”ี 20

เอกสารประกอบการแขง่ ขันงานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน คร้งั ที่ 70 ปี การศกึ ษา 2565
กล่มุ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ สาระนาฏศลิ ป์ “การแขง่ ขันนาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค”์ ระดบั ประถมศกึ ษาปี ที่ 1-6


Click to View FlipBook Version