สารบัญ หน้า 1. สถานการณ์ของจังหวัด 1.1 สถานการณ์ทั่วไป 1 1.1.1 ลักษณะภูมิประเทศ 1 1.1.2 แหล่งน้ำต้นทุนของจังหวัดนครปฐม 4 1.1.3 แผนบริหารจัดการน้ำฤดูฝนในพื้นที่จังหวัดนครปฐม 6 1.1.4 ข้อมูลพื้นที่การเกษตร 6 1.1.5 พื้นที่เศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่สำคัญของจังหวัดนครปฐม 8 1.2 สถานการณ์เฉพาะ 8 1.2.1 สถานการณ์อุทกภัยจังหวัดนครปฐม 9 1.2.2 สถิตการเกิดอุทกภัยย้อนหลัง 3 ปี 9 1.2.3 พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยจังหวัดนครปฐม 10 1.2.4 เกณฑ์ที่ใช้ในการเฝ้าระวังปัญหาอุทกภัยและน้ำทะเลหนุนสูง 12 1.3 สถานการณ์ปัจจุบัน 14 1.3.1 การคาดหมายลักษณะอากาศช่วงฤดูฝน 14 1.3.2 การคาดหมายปรากฏการณ์เอลนีโญ/ลานีญา 15 2. ขอบเขต 17 3. ภารกิจ 17 4. หลักการปฏิบัติ 17 5. การปฏิบัติ 17 5.1 ช่วงเตรียมความพร้อม 18 5.2 แนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ 20 5.3 แนวทางปฏิบัติหลังสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่สิ้นสุดลง 21 6. การติดต่อประสานงาน 22 7. การแจกจ่าย 22 8. ภาคผนวก ผนวก ก ข้อมูลทรัพยากรการจัดการสาธารณภัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผนวก ข พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดนครปฐม ผนวก ค แนวเขตตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกากำหนดลุ่มน้ำ พ.ศ.2564 ผนวก ง แผนที่แสดงโครงการชลประทาน ผนวก จ แผนที่เส้นทางน้ำระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำท่าจีน ผนวก ฉ ศูนย์พักพิงชั่วคราวจังหวัดนครปฐม ผนวก ช บัญชีผู้ประสานงานหน่วยทหารในพื้นที่/บัญชีรายชื่อองค์กรสาธารณกุศลจังหวัดนครปฐม ผนวก ซ รายชื่อสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เสี่ยงได้รับผลกระทบ จากปัญหาอุทกภัย ปีพ.ศ. 2566 -----------------------------
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 1 ของ 22 หน้า แผนเผชิญเหตุอุทกภัย จังหวัดนครปฐม พ.ศ. 2567 กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม ศาลากลางจังหวัดนครปฐม วันที่ 20 พฤษภาคม 2567 อ้างถึง 1. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 2. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติพ.ศ. 2564 - 2570 3. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอันเกิดจากน้ำ (ฤดูฝน) พ.ศ. 2566 4. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม พ.ศ. 2564 - 2570 5. แผนการจัดสรรและเพาะปลูกพืชฤดูฝนในเขตชลประทาน จังหวัดนครปฐม ปี2567 6. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านการเกษตรในช่วงฤดูฝนจังหวัดนครปฐม (ช่วงเดือนมิถุนายน - ธันวาคม 2567) 1. สถานการณ์ของจังหวัด 1.1 สถานการณ์ทั่วไป 1.1.1 ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดนครปฐมพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดเป็นพื้นที่ราบถึงค่อนข้างราบเรียบไม่มีภูเขา และป่าไม้ระดับความแตกต่างของความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 2 - 10 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง สภาพพื้นที่โดยทั่วไปสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางประมาณ 6 เมตร โดยมีความลาดเทของพื้นที่จากทิศเหนือ สู่ทิศใต้และทิศตะวันตกสู่ทิศตะวันออก โดยมีแม่น้ำท่าจีนไหลผ่านจากทิศเหนือลงสู่ทิศใต้พื้นที่ทางตอนเหนือ และทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เป็นที่ดอน มีระดับความสูงประมาณ 6 - 10 เมตร จากระดับน้ำทะเล ปานกลาง พื้นที่ทางตอนกลางของจังหวัดเป็นที่ราบลุ่มมีที่ดอนกระจายเป็นแห่งๆและมีแหล่งน้ำกระจายอยู่ทั่วไป พื้นที่ด้านตะวันออกและด้านใต้เป็นที่ราบลุ่มริมฝั่งแม่น้ำท่าจีน มีคลองธรรมชาติและคลองซอยที่ขุดขึ้น เพื่อการเกษตรและการคมนาคม มีระดับความสูงประมาณ 2 - 4 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 2 ของ 22 หน้า จังหวัดนครปฐมเป็นจังหวัดที่มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์เนื่องจากตั้งอยู่ระหว่างลุ่มน้ำสำคัญ 3 ลุ่มน้ำ ได้แก่ลุ่มน้ำ เจ้าพระยา ลุ่มน้ำท่าจีน และลุ่มน้ำแม่กลอง มีแม่น้ำสำคัญได้แก่ แม่น้ำท่าจีน ซึ่งเป็นแม่น้ำสำคัญ สายหนึ่งใน พื้นที่ภาคกลาง แยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่บ้านปากคลองมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์จังหวัดชัยนาท ไหลผ่าน จังหวัดสุพรรณบุรีนครปฐม ลงสู่อ่าวไทยที่จังหวัดสมุทรสาคร มีความยาวตลอดลำน้ำ 325 กิโลเมตร ในส่วนของ จังหวัดนครปฐม ไหลผ่านอำเภอบางเลน อำเภอนครชัยศรีและอำเภอสามพราน ความยาวประมาณ 97 กิโลเมตร มีคลองแยกจากแม่น้ำท่าจีนที่สำคัญคือ คลองบางเลน คลองพระพิมล คลองบางหลวง คลองโยงคลองมหาสวัสดิ์ คลองจินดา คลองนกกระทุง คลองอ้อมใหญ่ และคลองเจดีย์บูชา แผนภาพเส้นทางรับน้ำจังหวัดนครปฐม
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 3 ของ 22 หน้า ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกากำหนดลุ่มน้ำ พ.ศ. 2564 หมายเลข 10/23 มาตรา 13 ให้ลุ่มน้ำเจ้าพระยา มีเขตพื้นที่ครอบคลุมในท้องที่จังหวัดนครปฐม ดังต่อไปนี้ ก) อำเภอบางเลน ในพื้นที่บางส่วนของตำบลคลองนกกระทุง ตำบลนราภิรมย์ตำบลบางภาษี และตำบลบางระกำ ข) อำเภอพุทธมณฑล ในพื้นที่บางส่วนของตำบลคลองโยง และตำบลศาลายา ค) อำเภอสามพราน ในพื้นที่บางส่วนของตำบลกระทุ่มล้ม ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกากำหนดลุ่มน้ำ พ.ศ. 2564 หมายเลข 13/23 มาตรา 16 ให้ ลุ่มน้ำท่าจีน มีเขตพื้นที่ครอบคลุมในท้องที่จังหวัดนครปฐม ดังต่อไปนี้ ก) อำเภอกำแพงแสน อำเภอดอนตูม และอำเภอนครชัยศรี ข) อำเภอบางเลน ในพื้นที่ตำบลดอนตูม ตำบลไทรงาม ตำบลนิลเพชร ตำบลบัวปากท่า ตำบลบางไทรป่า ตำบลบางปลา ตำบลบางเลน ตำบลบางหลวง ตำบลไผ่หูช้าง ตำบลลำพญา และตำบลหินมูล และในพื้นที่บางส่วนของตำบลคลองนกกระทุง ตำบลนราภิรมย์ตำบลบางภาษีและตำบลบางระกำ ค) อำเภอพุทธมณฑล ในพื้นที่ตำบลมหาสวัสดิ์และในพื้นที่บางส่วนของตำบลคลองโยง และตำบลศาลายา ง) อำเภอเมืองนครปฐม ในพื้นที่ตำบลตาก้อง ตำบลทุ่งน้อย ตำบลธรรมศาลา ตำบลบ่อพลับ ตำบลมาบแค ตำบลสามควายเผือก และตำบลหนองงูเหลือม และในพื้นที่บางส่วนของตำบลดอนยายหอม ตำบลถนนขาด ตำบลทัพหลวง ตำบลนครปฐม ตำบลบ้านยาง ตำบลพระปฐมเจดีย์ตำบลพระประโทน ตำบลโพรงมะเดื่อ และตำบลวังตะกู จ) อำเภอสามพราน ในพื้นที่ตำบลคลองจินดา ตำบลคลองใหม่ตำบลทรงคนอง ตำบลท่าข้าม ตำบลท่าตลาด ตำบลบางกระทึก ตำบลบางช้าง ตำบลบางเตย ตำบลบ้านใหม่ ตำบลยายชา ตำบลไร่ขิง ตำบลสามพราน ตำบลหอมเกร็ดและตำบลอ้อมใหญ่ และในพื้นที่บางส่วนของตำบลกระทุ่มล้ม และตำบลตลาดจินดา ภายในแนวเขตตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกากำหนดลุ่มน้ำ พ.ศ. 2564 หมายเลข 14/23 มาตรา 17 ให้ลุ่มน้ำแม่กลอง มีเขตพื้นที่ครอบคลุมในท้องที่จังหวัดนครปฐม ดังต่อไปนี้ ก) อำเภอเมืองนครปฐม ในพื้นที่ตำบลบางแขม ตำบลลำพยา ตำบลวังเย็น ตำบลสนามจันทร์ ตำบลสระกะเทียม ตำบลสวนป่าน ตำบลหนองดินแดง ตำบลหนองปากโลง และตำบลห้วยจรเข้และในพื้นที่ บางส่วนของตำบลดอนยายหอม ตำบลถนนขาดตำบลทัพหลวงตำบลนครปฐม ตำบลบ้านยางตำบลพระปฐมเจดีย์ ตำบลพระประโทน ตำบลโพรงมะเดื่อ และตำบลวังตะกู ข) อำเภอสามพราน ในพื้นที่บางส่วนของตำบลตลาดจินดา (รายละเอียดตามภาคผนวก ค )
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 4 ของ 22 หน้า 1.1.2 แหล่งน้ำต้นทุนของจังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐมไม่มีแหล่งน้ำต้นทุนของตนเอง แต่อาศัยรับน้ำจาก 2 ลุ่มน้ำหลัก คือ 1) ลุ่มน้ำแม่กลอง ซึ่งต้นน้ำมาจากเขื่อนวชิราลงกรณ และเขื่อนศรีนครินทร์ระบายน้ำลงมา ตามแควน้อยและแควใหญ่ ตามลำดับมาบรรจบกันที่จังหวัดกาญจนบุรีรวมเป็นแม่น้ำแม่กลอง โดยมีประตู ระบายน้ำเขื่อนแม่กลอง ตั้งอยู่ที่อำเภอท่าม่วง ทำหน้าที่บังคับน้ำและผันน้ำเข้าสู่คลองส่งน้ำสายใหญ่ สายซอย คลองส่งน้ำ 2 ซ้าย คลองท่าสาร-บางปลา คลองส่งน้ำ 5 ซ้าย คลองระบายน้ำ ท่าผา-บางแก้ว
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 5 ของ 22 หน้า 2) ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ซึ่งต้นน้ำมาจากเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน และ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โดยน้ำจากทั้งสี่เขื่อนหลักจะไหลมารวมกันที่หน้าเขื่อนเจ้าพระยาแล้วจึงทำการทดน้ำและ ส่งน้ำผ่านแม่น้ำสายหลักๆ เช่น แม่น้ำท่าจีน และแม่น้ำน้อย เป็นต้น โดยจะส่งน้ำผ่านแม่น้ำท่าจีนเข้าสู่เขตพื้นที่ จังหวัดนครปฐม
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 6 ของ 22 หน้า 1.1.3 แผนการบริหารจัดการน้ำฤดูฝนในพื้นที่จังหวัดนครปฐม ปริมาณน้ำที่จังหวัดนครปฐมได้รับจัดสรรน้ำตามแผนการจัดสรรน้ำและเพาะปลูกพืชฤดูฝนใน เขตชลประทาน ด้านเกษตร 926.31 ล้าน ลบ.ม. รักษาระบบนิเวศและอื่นๆ 146.28 ล้าน ลบ.ม. ด้านการอุปโภค - บริโภค 123.28 ล้าน ลบ.ม. ด้านอุตสาหกรรม 1.82 ล้าน ลบ.ม. รวมทั้งหมด 1,197.69 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : (ร่าง) แผนการจัดสรรและเพาะปลูกพืชฤดูฝนในเขตชลประทานปี2567 : โครงการชลประทานนครปฐม 1.1.4 ข้อมูลพื้นที่การเกษตร การเกษตรกรรมเป็นสาขาการผลิตที่สำคัญของจังหวัดนครปฐม ประชากรส่วนใหญ่ที่ประกอบ อาชีพด้านเกษตรกรรม ที่สำคัญ ได้แก่ การทำนา ทำไร่ ทำสวนผลไม้และพืชผัก การเลี้ยงสัตว์ และการประมง (การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ) ระบบการเกษตรในจังหวัดนครปฐม จัดเป็นเขตเกษตรก้าวหน้า เพราะมีระบบชลประทาน ที่ดีโดยอาศัยแหล่งน้ำจากลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา และลุ่มน้ำแม่กลอง ข้อมูลด้านพืช จังหวัดนครปฐมมีเกษตรกรด้านพืช 39,365 ครัวเรือน พื้นที่เพาะปลูก 587,002 .38 ไร่ พืช เศรษฐกิจที่ทำรายได้ให้จังหวัด ได้แก่ ข้าว ไม้ผล พืชผักต่างๆ และไม้ดอกไม้ประดับ โดยพืชเศรษฐกิจที่มีเนื้อที่ เพาะปลูก10 อันดับแรก มีดังนี้ข้าวนาปีข้าวนาปรัง อ้อยโรงงาน มะพร้าวน้ำหอม ฝรั่งกิมจูมะม่วง กล้วยน้ำว้า ลำไย กระชายและส้มโอขาวน้ำผึ้ง ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดนครปฐม
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 7 ของ 22 หน้า ข้อมูลด้านปศุสัตว์ จังหวัดนครปฐมมีเกษตรกรด้านปศุสัตว์17,693 ราย จำนวนสัตว์10,002,862 ตัว มีการเลี้ยง สัตว์เพื่อการบริโภคและการค้า สัตว์เลี้ยงที่เกษตรกรนิยมเลี้ยง 3 ลำดับแรก ได้แก่ ไก่พื้นเมือง โคเนื้อและ เป็ดเทศ ที่มา : สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนครปฐม
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 8 ของ 22 หน้า ข้อมูลด้านประมง จังหวัดนครปฐมประกอบอาชีพประมงน้ำจืดเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งผลผลิตของสาขาประมง โดยทั่วไปได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ มีเกษตรกรด้านการประมงทั้งสิ้น จำนวน 9,610 ราย พื้นที่ทำการประมง มีจำนวนทั้งสิ้น 97,586.70 ไร่ ที่มา : สำนักงานประมงจังหวัดนครปฐม 1.1.5 พื้นที่เศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่สำคัญของจังหวัดนครปฐม 1) องค์พระปฐมเจดีย์ อ.เมืองนครปฐม 2) พระราชวังสนามจันทร์อ.เมืองนครปฐม 3) พุทธมณฑล อ.พุทธมณฑล 4) เขตอุตสาหกรรมอ้อมใหญ่ อ.สามพราน 5) วัดไร่ขิงพระอารามหลวง อ.สามพราน 6) ตลาดริมน้ำวัดดอนหวาย อ.สามพราน 7) ตลาดท่านา อ.นครชัยศรี 8) ตลาดบางหลวง ร.ศ. 122 อ.บางเลน 9) ตลาดน้ำวัดลำพญา อ.บางเลน 1.2 สถานการณ์เฉพาะ 1.2.1 สถานการณ์อุทกภัยจังหวัดนครปฐม แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ 1) ปัญหาอุทกภัยในเขตเมือง 2) ปัญหาอุทกภัยจากน้ำหลาก น้ำล้นตลิ่ง 3) สถานการณ์น้ำทะเลหนุนในแม่น้ำท่าจีน
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 9 ของ 22 หน้า 1.2.2 สถิติการเกิดอุทกภัยย้อนหลัง 3 ปี พ.ศ. อำเภอ ประกาศเขต พื้นที่ประสบ สาธารณภัย (ฉบับ) ราษฎรได้รับผลกระทบ ความสียหายเบื้องต้นจากรายงานเหตุด่วน สาธารณภัย ประมาณ มูลค่าความ เสียหาย (บาท) บ้านเรือน ราษฎร (หลัง) โรงงาน/ บริษัท/ โรงเรือน/ สาธารณ ประโยชน์ /อื่นๆ (แห่ง) พื้นที่และทรัพย์สิน ทางการเกษตร คน ครัวเรือน นา/ พืชไร่/ พืชสวน (ไร่) บ่อ ปลา/ กุ้ง (บ่อ) 2564 7 อำเภอ 51 77,681 28,671 11,769 100 12,180 1,675 11,506,299 บางเลน 12 23,972 7,462 1,589 44 3,752 1,305 1,454,000 ดอนตูม 2 1,430 790 54 - 300 24 - นครชัยศรี 8 26,136 12,124 9,259 33 4,414 71 4,070,650 กำแพงแสน 10 4,932 1,233 491 7 2,946 - 5,200,000 สามพราน 8 6,304 1,929 153 6 170 3 105,000 เมืองนครปฐม 9 11,787 3,656 208 8 584 272 676,649 พุทธมณฑล 2 3,120 1,477 15 2 14 - - 2565 7 อำเภอ 65 56,597 26,930 5,319 213 12,484 86 3,398,200 บางเลน 12 15,689 5,394 2,338 56 1,447 7 2,530,000 ดอนตูม 2 2,298 934 82 11 320 74 0 นครชัยศรี 7 11,199 10,366 1,556 34 2,239 2 560,000 กำแพงแสน 11 6,624 2,147 694 54 2,312 1 90,000 สามพราน 7 8,392 4,099 115 17 3,242 0 168,200 เมืองนครปฐม 23 8,964 3,069 390 37 2,718 2 50,000 พุทธมณฑล 3 3,431 921 144 4 206 0 0 2566 7 อำเภอ 50 6,550 3,365 905 26 263 1 432,000 บางเลน 2 992 314 0 11 0 0 0 ดอนตูม 0 0 0 0 0 0 0 0 นครชัยศรี 17 2,149 958 517 8 71 0 100,000 กำแพงแสน 6 194 74 34 3 105 0 0 สามพราน 14 2,201 1,545 221 4 0 0 300,000 เมืองนครปฐม 11 1,014 474 133 0 87 1 32,000 พุทธมณฑล 0 0 0 0 0 0 0 0 รวม 166 140,828 58,966 17,993 339 24,927 3,351 15,336,499 ที่มา : สรุปสาธารณภัย ประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัย และประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม ประจำปี2566
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 10 ของ 22 หน้า 1.2.3 พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยจังหวัดนครปฐม (รายละเอียดตามภาคผนวก ข) 1) พื้นที่เสี่ยงนอกคันกั้นน้ำที่ได้รับผลกระทบจากน้ำหลาก น้ำเอ่อล้นตลิ่งริมสองฝั่ง แม่น้ำท่าจีน
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 11 ของ 22 หน้า 2) พื้นที่ประสบปัญหาน้ำท่วมขังในเขตเมือง บริเวณน้ำท่วมหนัก ▪บริเวณถนนราชวิถี (แยกสระน้ำจันทร์ หน้าโรงแรมเวล) ▪บริเวณริมถนนเพชรเกษม (หน้าโลตัสนครปฐม) ▪บริเวณถนนหลังพระ (หน้าโรงเรียนวัดพระปฐมเจดีย์ - ประตูด้านข้างองค์พระปฐมเจดีย์) ▪บริเวณถนนขวาพระ (หน้ากองกำกับการตำรวจภูธรเขต 3) ▪บริเวณถนนทรงพล รวมถึงถนนสนามจันทร์(หน้ามหาวิทยาลัยศิลปากร) ▪บริเวณรอบอ่างเก็บน้ำประปา ▪บริเวณถนนทหารบก (หน้าร้านโรส-ปากทางเข้าซอยทหารบกซอย 10) ▪บริเวณถนนพุทธรักษา (ด้านหลังวัดพระปฐมเจดีย์) ▪บริเวณถนนภายในตลาดตั้งเซียฮวด ▪บริเวณถนนไผ่เตย ▪บริเวณแยกถนนนาสร้าง (หน้าสถานีดับเพลิงศูนย์ประปา)
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 12 ของ 22 หน้า 1.2.4 เกณฑ์ที่ใช้ในการเฝ้าระวังปัญหาอุทกภัยและน้ำทะเลหนุนสูง แบ่งเป็น 2 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 การเตือนภัยก่อนที่น้ำหลากจะมาถึงพื้นที่จังหวัดนครปฐม แยกเป็น 1) แม่น้ำท่าจีน จุดเฝ้าระวัง มี 2 จุด คือ •จุดที่ 1 ปตร.พลเทพ (จ.ชัยนาท) ถ้าปริมาณน้ำไหลผ่านประตูระบายน้ำมีค่ามากกว่า 200 ลบ.ม./วินาทีมีแนวโน้มจะทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วม •จุดที่ 2 ปตร.โพธิ์พระยา (จ.สุพรรณบุรี) ถ้าปริมาณน้ำไหลผ่านประตูระบายน้ำมีค่า มากกว่า 200 ลบ.ม./วินาทีจะทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ในเขตตัวเมืองสุพรรณบุรี และจะส่งผลกระทบมายัง จังหวัดนครปฐม
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 13 ของ 22 หน้า 2) พื้นที่ด้านใต้ของจังหวัดนครปฐม จุดเฝ้าระวังมี 1 จุด คือ ปากแม่น้ำท่าจีน ในเขต จังหวัดสมุทรสาคร จะส่งผลกระทบต่อพื้นที่ในเขตอำเภอสามพรานและอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระยะที่ 2 การเตือนภัยในพื้นที่จังหวัดนครปฐม แยกการเตือนภัยออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1) การเตือนภัยจากระดับน้ำในแม่น้ำท่าจีน มีจุดเฝ้าระวังอยู่ 4 จุด ประกอบด้วย • สถานีวัดน้ำบ้านบางการ้อง(T13)ระดับน้ำมีค่ามากกว่า3.00 ม.รทก.จะเกิดสภาวะน้ำท่วม • สถานีวัดน้ำต.บางไทรป่า(T15)ระดับน้ำมีค่ามากกว่า2.20 ม.รทก.จะเกิดสภาวะน้ำท่วม •สถานีวัดน้ำหน้าที่ว่าการอำเภอนครชัยศรี(T1) ระดับน้ำมีค่ามากกว่า 1.70 ม. รทก. จะเกิดสภาวะน้ำท่วม •สถานีวัดน้ำสามพราน (T14) ระดับน้ำมีค่ามากกว่า 1.42 ม. รทก. จะเกิดสภาวะน้ำท่วม
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 14 ของ 22 หน้า 2) การเตือนภัยจากระดับน้ำที่ประตูระบายน้ำต่าง ๆ มีจุดเฝ้าระวังอยู่ 11 จุด ประกอบด้วย •ปตร.พระยาบรรลือ (G1) ระดับน้ำมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 2.80 ม.รทก. จะเกิด สภาวะน้ำท่วม •ปตร.บางไทรป่า(G2)ระดับน้ำมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 2.50 ม.รทก.จะเกิดสภาวะน้ำท่วม •ปตร.ประชาศรัย(G3)ระดับน้ำมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 2.00 ม.รทก.จะเกิดสภาวะน้ำท่วม •ปตร.พระพิมล(G4) ระดับน้ำมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 2.00 ม.รทก.จะเกิดสภาวะน้ำท่วม •ปตร.บางภาษี(G5) ระดับน้ำมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 1.60 ม. รทก.จะเกิดสภาวะน้ำท่วม •ปตร.ลำพญา (G6) ระดับน้ำมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 2.00 ม. รทก. จะเกิดสภาวะน้ำท่วม •ปตร.มหาสวัสดิ์(G7) ระดับน้ำมีค่ามากกว่า 1.80 ม. รทก. จะเกิดสภาวะน้ำท่วม •ทรบ.พร้าว (G8) ระดับน้ำมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 2.50 ม. รทก. จะเกิดสภาวะน้ำท่วม •ปตร.บางหลวง (G9) ระดับน้ำมีค่ามากกว่า 2.50 ม. รทก. จะเกิดสภาวะ น้ำท่วม •ปตร.บางปลา (G10) ระดับน้ำมีค่ามากกว่า 2.00 ม. รทก. จะเกิดสภาวะ น้ำท่วม •ปตร.กลางคลองทวีวัฒนา (G11) ระดับน้ำมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 2.00 ม. รทก. จะเกิดสภาวะน้ำท่วม 3) การเตือนภัยจากปริมาณน้ำฝนที่ตก มีจุดเฝ้าระวังทั้งหมด 19 จุด ประกอบด้วย ปตร. ญี่ปุ่นใต้(R1) , ปตร.ปากคลองทวีวัฒนา(R2) ,ปตร.บางใหญ่(R3) , ปตร.ฉิมพลี(R4) , ที่ทำการ ชป.บางเลน(R5) , ทรบ.4R-2L(R6) ,อบต.หนองกระทุ่ม(R7) ,อบต.รางพิกุล(R8) ,สถานีอุตุนิยมวิทยากำแพงแสน(R9) , ที่ทำการชป. กำแพงแสน(R10) , ทรบ.5L-1R-1L-5L(R11) , ทรบ.1L-2R-1R-1L-5L(R12) , ทรบ. 4R-5L(R13) , ทรบ. 7R5L(R14) , ที่ทำการฝ่ายส่งน้ำฯ 2(R15) , กม.40+240 คลอง 5L(R16) , ที่ทำการฝ่ายส่งน้ำฯ 3 (R17) , ทรบ. 2R-8R-5L(R18) และ ทรบ.1L-3L-1R-9L(R19) เกณฑ์ที่ใช้ในการเตือนภัย คือถ้าปริมาณฝนที่ตกสะสม 1 วัน มีค่า มากกว่า 90 มม. จะทำให้เกิดสภาวะน้ำท่วม คาดการณ์จากสถานีอุตุนิยมวิทยานครปฐม ปริมาณฝน ปีพ.ศ. 2564 คาดว่าจะมากค่าค่าปกติ5-10% 1.3 สถานการณ์ปัจจุบัน 1.3.1 การคาดหมายลักษณะอากาศช่วงฤดูฝน ฤดูฝนของประเทศไทยปีนี้คาดว่าจะเริ่มประมาณ สัปดาห์ที่ 4 ของเดือนพฤษภาคม 2567 ซึ่งจะช้ากว่าปกติ1 - 2 สัปดาห์และจะสิ้นสุดประมาณปลายเดือน ตุลาคม 2567 โดยปริมาณฝนรวมของทั้งประเทศในช่วงฤดูฝนปีนี้จะใกล้เคียงค่าเฉลี่ยปกติและใกล้เคียงกับปีที่ แล้ว (ปีที่แล้วในช่วงฤดูฝนปริมาณ ฝนรวมมากกว่าค่าเฉลี่ยปกติร้อยละ 1 ส่วนปริมาณฝนรวมทั้งปีน้อยกว่า ค่าเฉลี่ยปกติร้อยละ 6) โดยในช่วงครึ่งแรกของฤดูฝน (ตั้งแต่วันเริ่มต้นถึงเดือนกรกฎาคม) ปริมาณฝนรวมส่วน ใหญ่จะใกล้เคียงค่าเฉลี่ยปกติส่วนในช่วงครึ่งหลังฤดูฝน (เดือนสิงหาคมถึงปลายเดือนตุลาคม) ปริมาณฝนรวม ส่วนใหญ่จะมากกว่า ค่าเฉลี่ยปกติประมาณร้อยละ 5
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 15 ของ 22 หน้า 1.3.2 การคาดหมายปรากฏการณ์เอลนีโญ/ลานีญา เอลนีโญ มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า “El Niño – Southern Oscillation” เรียกอย่างสั้นว่า “ENSO” หมายถึง ความผันผวนซึ่งเกิดขึ้นบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ในสภาวะปกติของมหาสมุทร แปซิฟิกตอนใต้ จะมี“กระแสลมในมหาสมุทรแปซิฟิก” พัดจากทิศตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก (ชายฝั่ง ประเทศเปรู ทวีปอเมริกาใต้) ไปทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก อินโดนีเซียและออสเตรเลีย) เป็นสภาพ อากาศที่สมดุลทั้งกระแสลมและกระแสน้ำอุ่นในทะเล หากปีใดเกิดปรากฏการณ์ “เอลนีโญ” จะพบว่า มหาสมุทรแปซิฟิกมีความกดอากาศและอุณหภูมิที่ผิดปกติไปจากเดิม ทำให้ “กระแสลมในมหาสมุทรแปซิฟิก” อ่อนกำลังลง เกิดกระแสลมเปลี่ยนทิศเป็นตรงกันข้าม คือ พัดจากทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก (อินโดนีเซียและออสเตรเลีย) ไปทางทิศตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก (ชายฝั่งประเทศเปรู ทวีปอเมริกา ใต้) เมื่อกระแสลมเปลี่ยนทิศ ก็ทำให้ “กระแสน้ำอุ่น-น้ำเย็น” แปรปรวนและไหลผิดทิศทางไปด้วย
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 16 ของ 22 หน้า ผลกระทบของ “เอลนีโญ” จากการเปลี่ยนทิศทางของกระแสลมและกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ดังกล่าวทำให้ มีผลกระทบที่จะเกิดขึ้นคือ 1. ทางฝั่งของอินโดนีเซียและออสเตรเลีย (ใกล้กับไทย) : จะเกิดภัยแล้งหนัก ฝนขาดช่วง ปริมาณ น้ำฝนน้อยกว่าทุกปีผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ รวมถึงระบบนิเวศและห่วงโซ่อาหารในมหาสมุทรจะแย่ลง ฝูงปลามีจำนวนลดลง นกชายฝั่งขาดอาหาร ชาวประมงขาดรายได้ 2. ทางชายฝั่งประเทศเปรูทวีปอเมริกาใต้: จะเกิดพายุฝนอย่างหนัก อาจมีน้ำท่วมและดินถล่ม อย่างรุนแรง สถ าน ก ารณ์ป ราก ฏ การณ์ เอน โซ ปัจ จุ บั น พ บ ว่า อ ยู่ ใน ส ภ าว ะเอ ล นี โญ ก ำลั งอ่ อ น โดยอุณหภูมิผิวน้ำทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณเขตศูนย์สูตรในเดือนที่ผ่านมาเริ่มเย็นลงแล้ว แต่ยังคงสูงกว่าปกติเกือบทั่วทั้งบริเวณ
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 17 ของ 22 หน้า คาดว่าปรากฏการณ์เอนโซที่อยู่ในสภาวะเอลนีโญกำลังอ่อนนี้จะอ่อนลงและเปลี่ยนเข้าสู่สถาวะเป็น กลางในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน จากนั้นมีความน่าจะเป็นร้อยละ 49 ที่จะเข้าสู่สภาวะลานีญาในช่วง เดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม 2567 2. ขอบเขต ขอบเขตให้เป็นไปตามความหมาย “ภัยจากอุทกภัย” ตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570 ดังนี้ ภัยจากอุทกภัย หมายถึง เหตุการณ์ที่มีน้ำท่วมพื้นดินสูงกว่าระดับปกติซึ่งมีสาเหตุจากมีปริมาณน้ำฝนมาก จนทำให้มีปริมาณน้ำส่วนเกินมาเติมปริมาณน้ำผิวดินที่มีอยู่ตามสภาพปกติจนเกินขีดความสามารถการระบายน้ำ ของแม่น้ำ ลำคลอง และยังมีสาเหตุมาจากการกระทำของมนุษย์โดยการปิดกั้นการไหลของน้ำตามธรรมชาติ ทั้งเจตนาและไม่เจตนา จนเป็นอันตรายต่อชีวิต ทรัพย์สินของประชาชนและสิ่งแวดล้อม สามารถจำแนกตาม ลักษณะการเกิดได้ดังนี้ 2.1 น้ำท่วมขัง/น้ำล้นตลิ่ง หมายถึง สภาวะน้ำท่วมหรือสภาวะน้ำล้นตลิ่งที่เกิดขึ้นเนื่องจากระบบระบายน้ำ ไม่มีประสิทธิภาพ มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป อันเป็นผลจากการเกิดฝนตกหนัก ณ บริเวณนั้นๆ ติดต่อกันเป็น เวลาหลายวัน มักเกิดขึ้นบริเวณที่ราบลุ่มริมแม่น้ำและบริเวณชุมชนเมืองใหญ่ๆ น้ำท่วมขัง ส่วนใหญ่จะเกิด บริเวณท้ายน้ำและแผ่เป็นบริเวณกว้างเนื่องจากไม่สามารถระบายน้ำได้ทัน 2.2 น้ำท่วมฉับพลัน หมายถึง สภาวะน้ำท่วมที่เกิดอย่างฉับพลันในพื้นที่เนื่องจากฝนตกหนักในบริเวณพื้นที่ ซึ่งมีความชันมาก และมีคุณสมบัติในการกักเก็บน้ำหรือต้านน้ำน้อยหรืออาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่น เขื่อนหรือ อ่างเก็บน้ำพังทลาย น้ำท่วมฉับพลัน มักเกิดขึ้นหลังจากฝนตกหนัก และมักเกิดขึ้นในบริเวณที่ราบระหว่างหุบเขา ซึ่งอาจจะไม่มีฝนตกหนักในบริเวณนั้นมาก่อนเลย แต่มีฝนตกหนักมากบริเวณต้นน้ำที่อยู่ห่างออกไป การเกิด น้ำท่วมฉับพลันมีความรุนแรงและเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมาก โอกาสที่จะป้องกันและหลบหนีจึงมีน้อย 3. ภารกิจ การตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดตามแผนเผชิญเหตุอุทกภัย จังหวัดนครปฐม พ.ศ. 2567 3.1 เป้าหมาย บริหารจัดการตั้งแต่ก่อนเกิด และขณะเกิดอุทกภัย พื้นที่เสี่ยงภัย ตามแผนการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม พ.ศ. 2564 - 2570 และพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 3.2 วัตถุประสงค์เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการบัญชาการเหตุการณ์หน่วยงานในการเผชิญเหตุอุทกภัยของ จังหวัดนครปฐม 4. หลักการปฏิบัติ แนวความคิดในการเผชิญเหตุในกรณีหรือคาดว่าจะเกิดภาวะอุทกภัย (จากภาวะฝนตกหนักหรือ การระบายน้ำ เพิ่มเติม)
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 18 ของ 22 หน้า แนวความคิดของ ผู้อำนวยการจังหวัดนครปฐม 1) ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด แจ้งเตือนภัยล่วงหน้า และจัดการภัยโดยชุมชุนเป็นฐาน 2) ป้องกันพื้นที่ชุมชน สถานที่สำคัญ โดยวางกระสอบทราย ติดตั้งเครื่องสูบน้ำทุกชุมชน มีการพร่องน้ำออก จากพื้นที่เสี่ยงไว้ก่อน 3) ติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำที่ใต้สะพานข้ามแม่น้ำท่าจีนในเขตอำเภอนครชัยศรีและอำเภอสามพรานทุกแห่ง เพื่อเร่งการระบายน้ำออกสู่ทะเลที่จังหวัดสมุทรสาคร 4) ให้การช่วยเหลือฉุกเฉินตามแผนปฏิบัติการ โดยประสานหน่วยทหาร หน่วยงานตามแผนเผชิญเหตุ แต่ละ อำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5)การแบ่งมอบบุคลากร พื้นที่รับผิดชอบในบริหารจัดการก่อนเกิดภัยขณะเกิดภัยและหลังเกิดภัย • นางสาวอโรชา นันทมนตรีรองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม รับผิดชอบพื้นที่อำเภอดอนตูม อำเภอกำแพงแสน • นายธีรยุทธ์ จันทร์ดิษฐวงษ์รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม รับผิดชอบพื้นที่อำเภอนครชัยศรี และอำเภอบางเลน • นายยงยุทธ สวนทอง รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม รับผิดชอบพื้นที่อำเภอเมืองนครปฐม • นายอรรถวุฒิ พึ่งเนียม รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม รับผิดชอบพื้นที่อำเภอสามพรานและ อำเภอพุทธมณฑล • ให้นายอำเภอแต่ละอำเภอเป็นผู้รับผิดชอบในเขตพื้นที่ร่วมกับผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ 5. การปฏิบัติ 5.1 ช่วงเตรียมความพร้อม 1) สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม ในฐานะเลขานุการกองอำนวยการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม • จัดประชุมคณะทำงานประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์สาธารณภัยในพื้นที่จังหวัดนครปฐม เพื่อติดตาม เฝ้าระวังสถานการณ์น้ำของจังหวัด • จัดประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ แนวโน้มการเกิดปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ • จัดทำแผนเผชิญเหตุอุทกภัยจังหวัดนครปฐม เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานร่วมกัน • จัดการฝึกศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดตามแผนเผชิญเหตุอุทกภัยจังหวัดนครปฐม
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 19 ของ 22 หน้า 2) โครงการชลประทานนครปฐม บริหารจัดการน้ำในฤดูฝน เพื่อป้องกันและบรรเทาปัญหาอุทกภัย • ดำเนินการพร่องน้ำในคลองสายต่างๆ ตรวจสอบและซ่อมแซมอาคารชลประทาน ขุดลอกคลอง ระบายน้ำ • ติดตามสถานการณ์น้ำที่ส่งมาจากภาคเหนือ น้ำที่ส่งผ่านเขื่อนเจ้าพระยา ประตูระบายน้ำพลเทพ ประตูระบายน้ำโพธิ์พระยาและ สถานการณ์น้ำทะเลหนุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำมาวิเคราะห์ แนวโน้มการเกิดปัญหาอุทกภัย • ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ หากมีแนวโน้มการเกิดปัญหาอุทกภัยและน้ำทะเลหนุนสูง ให้กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกระดับ แจ้งเตือนประชาชนตามกระบวนการ แจ้งเตือนภัยที่ระบุไว้ในแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม พ.ศ.2564-2570 • ติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำในแม่น้ำท่าจีนและเครื่องสูบน้ำเพื่อเร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่ลงสู่ทะเล โดยเร็ว 3) สถานีอุตุนิยมวิทยานครปฐม ติดตามสภาพอากาศ ปริมาณน้ำฝนและพายุ 4) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอ/กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตรวจสอบจุดอพยพ พื้นที่ปลอดภัย ศูนย์พักพิงชั่วคราว ให้มีความพร้อมรองรับการ อพยพของประชาชน และสร้างการรับรู้ให้ประชาชนทราบถึงเส้นทางและสถานที่ปลอดภัยที่กำหนด 5) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม • เตรียมความพร้อมในการดูแลรักษาสุขภาพประชาชน โดยการป้องกันและควบคุมโรคที่มักเกิด การระบาดในช่วงฤดูฝน อาทิโรคระบบทางเดินอาหารและน้ำ (ท้องเสีย,บิด,ทัยฟอยด์,อาหาร เป็นพิษ,อหิวาตกโรค) โรคระบบทางเดินหายใจ โรคที่เกิดจากพาหะนำโรง เช่น Leptospirosis, โรคตาแดง • จัดเตรียมทรัพยากรเวชภัณฑ์วัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรค • จัดระบบการรายงานการเฝ้าระวังที่ได้มาตรฐาน • ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันโรคติดต่อ ภาวะฉุกเฉิน (งูกัด,จมน้ำ,อุบัติเหตุ) • จัดทำแผน/สื่อสาร แก่ เจ้าหน้าที่อสม. • จัดเตรียมสถานที่ หน่วยบริการประชาชน/การจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม/เส้นทางการส่งต่อผู้ป่วย 6) สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดนครปฐม ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อทุกประเภท สร้างการรับรู้ให้ ประชาชน พร้อมทั้งติดตามข่าวสารความเดือดร้อนของประชาชนที่อาจปรากฏตามสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนถึงการดำเนินการของภาครัฐพร้อมทั้งสื่อสารถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ เร่งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นโดยทันทีดำเนินกิจการที่เกี่ยวกับสื่อสารมวลชน เช่น การแถลงข่าว การจัดให้สัมภาษณ์ การนำสื่อมวลชนลงพื้นที่ 7) ให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เตรียมความพร้อมด้านกำลังคน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักรกล เครื่องมือ เครื่องใช้ในการบรรเทาความเดือดร้อนจากอุทกภัย (ภาคผนวก ก) ให้พร้อมใช้การได้ทันที
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 20 ของ 22 หน้า 5.2 แนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ 1) ให้กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด/อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดตั้งศูนย์ บัญชาการเหตุการณ์จังหวัด/อำเภอ และศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำรวจสถานการณ์ อุทกภัย รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบตามลำดับชั้น โดยประกอบด้วยข้อมูลจำนวนความเสียหาย ความเดือดร้อน ของพื้นที่ประสบภัย จำนวนราษฎร และทรัพย์สินที่เสียหาย โดยให้ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัดนครปฐม เป็นศูนย์กลางในการประสานการปฏิบัติรายงานและสรุปสถานการณ์อุทกภัยไปยังผู้อำนวยการกลาง และผู้บัญชาการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติตามลำดับเพื่อประสานการปฏิบัติร่วมกัน จนกว่าเหตุการณ์จะยุติ หมายเหตุ : โครงสร้างดังกล่าวสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์โดยยึดหลักมาตรฐาน เอกภาพในการจัดการ และความยืดหยุ่นของโครงสร้างองค์กรการจัดการในภาวะฉุกเฉิน 2) กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐมแจ้งเตือนประชาชน ส่วนราชการ และภาคเอกชน ให้เตรียมพร้อมรับสถานการณ์หรือเตรียมอพยพ โดยให้กำหนดแนวทางปฏิบัติและข้อแนะนำ แก่ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องทุกครั้ง ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 21 ของ 22 หน้า 3) ให้ประชาสัมพันธ์จังหวัดนครปฐม ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ข้อเท็จจริงด้านสาธารณภัยและการให้ ความช่วยเหลือ ผ่านสื่อต่าง ๆ ให้ประชาชนได้รับทราบอย่างถูกต้องทันเหตุการณ์และต่อเนื่องทุกวันเพื่อมิให้เกิด ความสับสนและตื่นตระหนกจนกว่าสถานการณ์ภัยจะคลี่คลาย (การปฏิบัติการข่าวสาร Information Operation : IO) กรณีที่มีข่าวเชิงลบ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบข้อมูลข่าวสารพร้อมชี้แจงข้อเท็จจริงให้ สาธารณชนทราบ 4) เมื่อเกิดสาธารณภัยหรือภัยพิบัติในท้องที่ใดในจังหวัด ให้สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม จัดทำประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัย/ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ กรณีฉุกเฉิน ตามแนวทางปฏิบัติฯ เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งเป็นผู้มีอำนาจลงนาม 5) การพิจารณามอบหมายให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มูลนิธิ และภาคเอกชน ดำเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 5.3 แนวทางปฏิบัติหลังสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่สิ้นสุดลง การพิจารณามอบหมายให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันฟื้นฟูสภาพหลังสาธารณภัย โดยการประเมิน ความเสียหาย ฟื้นฟูสภาพร่างกายจิตใจของผู้ประสบภัย ฟื้นฟูระบบสาธารณูปโภค ฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ระบบนิเวศ เศรษฐกิจให้กลับสู่ภาวะปกติ
ชุดที่ ของ ชุด หน้าที่ 22 ของ 22 หน้า 6. การติดต่อประสานงาน การติดต่อสื่อสารกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม โทรศัพท์ 0 3434 0230, 0 3434 0232 โทรสาร 0 3434 0231 ,0 3434 0241 วิทยุสื่อสารความถี่ 161.200 Mhz. นามเรียกขาน “ปภ.นครปฐม” กลุ่ม Line รายงานสาธารณภัย , ปภ. อปท. งานป้องกัน ,ปภ. & อำเภอ, ปภ. & อปท. 7. การแจกจ่าย 7.1 เป็นรูปเล่ม 7.2 up load ขึ้น web site สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม 7.3 ดาวน์โหลดตาม QR-Code 8. ภาคผนวก ลงนาม ผู้เสนอแผน (นายนพดล คำนึงเนตร) หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม กรรมการและเลขานุการกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม ลงนาม ผู้ให้ความเห็นชอบแผน (นายธีรยุทธ์จันทร์ดิษฐวงษ์) รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม รองผู้อำนวยการกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครปฐม ลงนาม ผู้อนุมัติแผน (นายสุรศักดิ์ เจริญศิริโชติ) ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม ผู้อำนวยการจังหวัดนครปฐม ��,- ;r.,._.✓
ภาคผนวก ก ทรัพยากรสนับสนุนจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดนครปฐม ล าดับ รายการ จ านวน 1 เครื่องสูบน ้ำ 1 เครื่อง สามารถขอสนับสนุนเพิ่มเติม ส ำนักงำนชลประทำนที่ 13 ต.ท่ำม่วง อ.ม่วงชุม จ.กำญจนบุรี 91 เครื่อง ส่วนบริหำรเครื่องจักรกลที่ 6 ต.บำงตลำด อ.ปำกเกร็ด จ.นนทบุรี 52 เครื่อง 2 รถขุด 4 คัน สามารถขอสนับสนุนเพิ่มเติม ส่วนบริหำรเครื่องจักรกลที่ 6 ต.บำงตลำด อ.ปำกเกร็ด จ.นนทบุรี 96 คัน 3 รถแทรกเตอร์ 12 คัน สามารถขอสนับสนุนเพิ่มเติม ส่วนบริหำรเครื่องจักรกลที่ 6 ต.บำงตลำด อ.ปำกเกร็ด จ.นนทบุรี 97 คัน 4 รถบรรทุก 32 คัน สามารถขอสนับสนุนเพิ่มเติม ส่วนบริหำรเครื่องจักรกลที่ 6 ต.บำงตลำด อ.ปำกเกร็ด จ.นนทบุรี 63 คัน 5 รถบรรทุกน ้ำ 6 คัน สามารถขอสนับสนุนเพิ่มเติม ส่วนบริหำรเครื่องจักรกลที่ 6 ต.บำงตลำด อ.ปำกเกร็ด จ.นนทบุรี 12 คัน 6 รถยนต์รำชกำร (หน่วยงำนในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จ.นฐ.) 10 คัน 7 เรือขุดก ำจัดวัชพืช 2 ล ำ สามารถขอสนับสนุนเพิ่มเติม ส่วนบริหำรเครื่องจักรกลที่ 6 ต.บำงตลำด อ.ปำกเกร็ด จ.นนทบุรี 10 ล ำ 8 เมล็ดพันธุ์ผัก (ศูนย์วิจัยและพัฒนำกำรเกษตรนครปฐม) 1,000 ซอง 9 น ้ำหมักชีวภำพ พด.6 (สถำนีพัฒนำที่ดินนครปฐม) 3,000 ลิตร 10 หญ้ำแห้ง (ปศุสัตว์จังหวัดนครปฐม) 10 ตัน 11 ยำเวชภัณฑ์ (ปศุสัตว์จังหวัดนครปฐม) 3,000 ซอง
ภาคผนวก ก ทรัพยากรสนับสนุนจากส านักงานทรัพยากรน ้าที่ 7 ล าดับ รายการ จ านวน 1 เครื่องสูบน ้ำหอยโข่ง ขนำด 8 นิ้ว อัตรำกำรสูบ 480 ลบ.ม./ชม. 2 เครื่อง 2 เครื่องสูบน ้ำหอยโข่ง ขนำด 10 นิ้ว อัตรำกำรสูบ 720 ลบ.ม./ชม. 2 เครื่อง 3 เครื่องสูบน ้ำหอยโข่ง ขนำด 12 นิ้ว อัตรำกำรสูบ 1,620 ลบ.ม./ชม. 25 เครื่อง 4 เครื่องสูบน ้ำหอยโข่ง ขนำด 24 นิ้ว อัตรำกำรสูบ 5,400 ลบ.ม./ชม. 2 เครื่อง 5 เครื่องสูบน ้ำหอยโข่ง ขนำด 30 นิ้ว อัตรำกำรสูบ 5,400 ลบ.ม./ชม. 2 เครื่อง 6 รถบรรทุกน ้ำ ควำมจุ 6,000 ลิตร 2 คัน 7 รถบรรทุก 6 ล้อ ติดตั้งเครน 2 คัน 8 รถบรรทุก 6 ล้อ 3 คัน 9 รถบรรทุก 10 ล้อ เทท้ำย 4 คัน 10 รถหัวลำกพร้อหำงพ่วง 1 คัน 11 รถขุดตักไฮดรอลิก 2 คัน ผู้ประสำนงำนประจ ำจังหวัดนครปฐม นำยวีรยุทธ ยุทธสูงเนิน โทร 089 828 1229
ภาคผนวก ก ทรัพยากรสนับสนุนจากส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ล าดับ รายการ จ านวน 1 รถรับส่งผู้ป่วยระดับพื้นฐำนของมูลนิธิ อำสำสมัคร 154 คัน - อ ำเภอเมือง 23 คัน - อ ำเภอก ำแพงแสน 14 คัน - อ ำเภอสำมพรำน 38 คัน - อ ำเภอนครชัยศรี 16 คัน - อ ำเภอบำงเลน 18 คัน - อ ำเภอดอนตูม 14 คัน - อ ำเภอพุทธมณฑล 31 คัน 2 รถรับส่งผู้ป่วยระดับสูง ALS ของโรงพยำบำลภำครัฐ 42 คัน - โรงพยำบำลนครปฐม 5 คัน - โรงพยำบำลก ำแพงแสน 3 คัน - โรงพยำบำลสำมพรำน 6 คัน - โรงพยำบำลเมตตำประชำรักษ์ (วัดไร่ขิง) 2 คัน - โรงพยำบำลพุทธมณฑล 4 คัน - ศูนย์กำรแพทย์กำญจนำภิเษก 2 คัน - โรงพยำบำลนครชัยศรี 5 คัน - โรงพยำบำลห้วยพลู 5 คัน - โรงพยำบำลหลวงพ่อเปิ่น 3 คัน - โรงพยำบำลดอนตูม 2 คัน - โรงพยำบำลบำงเลน 5 คัน 3 รถรับส่งผู้ป่วยระดับสูง ALS ของโรงพยำบำลภำคเอกชน 7 คัน - โรงพยำบำลกรุงเทพสนำมจันทร์ 2 คัน - โรงพยำบำลเทพำกร 1 คัน - โรงพยำบำลกรุงเทพคริสเตียน 1 คัน - โรงพยำบำลสินแพทย์ 1 คัน - โรงพยำบำลอินเตอร์ก ำแพงแสน 2 คัน
ภาคผนวก ก ทรัพยำกรด้ำนสำธำรณสุข อ าเภอ โรงพยาบาล บุคลากร เตียง ห้อง พิเศษ เครื่องช่วย หายใจ ALS รพ. สต. อสม. เมือง นครปฐม รพ.นครปฐม 2,016 860 192 186 1 31 2,694 สามพราน รพ.สำมพรำน 365 152 24 11 1 22 2,438 ก าแพงแสน รพ.ก ำแพงแสน 255 80 12 1 1 24 1,832 บางเลน รพ.บำงเลน 125 79 18 1 1 18 1,319 นครชัยศรี รพ.ห้วยพลู 183 56 18 2 1 24 1,502 รพ.นครชัยศรี 142 55 26 0 1 รพ.หลวงพ่อ เปิ่น 119 30 10 1 1 ดอนตูม รพ.ดอนตูม 179 38 7 2 1 10 609 พุทธมณฑล รพ.พุทธมณฑล 121 30 8 1 1 5 363 รวม 3,595 1,380 315 205 9 134 10,757 เครื่องมือพิเศษ 1. ตู้พระรำชทำนตรวจ Covid-19 2. เครื่องช่วยหำยใจ 3. รถ X-ray เคลื่อนที่ 4. ระบบสื่อสำรทำงไกล 5. เตียงเคลื่อนย้ำยผู้ป่วยควำมดันลบ
รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำระยะไกล รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำท่วม/ขัง รถปฏิบัติกำรบรรเทำอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบน้้ำขนำดใหญ่ รถปฏิบัติกำรเคลื่อนย้ำยผู้ประสบภัยพร้อมอุปกรณ์ เครื่องสูบน้้ำขนำดท่อส่ง 14 นิ้ว เรือยนต์ท้องแบน เรือยำง รถตรวจกำร รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนเดียว รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่ง 2 ตอน รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อติดตั้งปั้นจั่นขนำดน้อยกว่ำ 6 ตัน รถแทรคเตอร์ล้อยำง รถตักตีนตะขำบ รถตักหน้ำขุดหลัง เครื่องบดอัดแบบแผ่นสั่นสะเทือน รถยกของในโรงงำนแบบงำแซะ รถขุดตักไฮดรอลิคแบบแขนตักยำว(200 แรงม้ำ)1 ก้ำแพงแสน อบต.กระตีบ 2 2 ก้ำแพงแสน อบต.ก้ำแพงแสน 3 ก้ำแพงแสน อบต.ทุ่งกระพังโหม 1 4 ก้ำแพงแสน อบต.ทุ่งขวำง 1 1 1 5 ก้ำแพงแสน อบต.ทุ่งบัว 6 ก้ำแพงแสน อบต.ทุ่งลูกนก 7 ก้ำแพงแสน อบต.รำงพิกุล 1 8 ก้ำแพงแสน อบต.วังน้้ำเขียว 2 1 1 2 ภาคผนสรุปบัญชีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้ที่อ้ำเภอ หน่วยงาน (อปท.) เครื่องจักรกลปฏิบัติการ เครื่องจักรกล อ านวยการ ชุดเครื่องจักรกลสนับสนุน (ด้านการป้องกันและฟนื้ฟ)ู
ุ รถไฟฟ้ำส่องสว่ำงพร้อมเสำสูง 9 เมตร รถเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำด200 kVA. รถบริกำรน้้ำดื่ม รถบรรทุกน้้ำขนำด 5,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 6,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 10,000 ลิตร รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อ รถบรรทุกขนำดกลำงขนำด 4 ตัน 4 ล้อหรือ 6 ล้อ รถบรรทุกเทท้ำยขนำด6 ตัน 6 ล้อ เครื่องส่งเสียงระยะไกล รถยนต์ติดตั้งเครื่องขยำยเสียง เครื่องสูบน้้ำ๑๐นิ้วแบบเครื่องยนต์ ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ ซัพเมอร์ไฟฟ้ำ เครื่องดับเพลิง(ชนิดหำบหำม) เลื่อยโซ่ยนต์ขนำด 1 แรงม้ำ เครื่องสูบน้้ำ 8 นิ้ว รถบรรทุกน้้ำ 12000 ลิตร ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ รถบรรทุกน้้ำ๓๐๐๐ลิตรติดเครนกระเช้ำ รถบรรทุกติดเครนกระเช้ำ เครื่องสูบน้้ำแบบท่อพญำนำค รถบรรทุกติดตั้งเครนไฮดรอลิคพร้อมกระเช้ำซ่อมไฟฟ้ำขนำด6 ล้อ รถบรรทุกน้้ำ 4000 ลิตร รถกระเช้ำซ่อมไฟเอนกประสงค์ เครื่องสูบน้้ำ รถยนต์ 1 1 1 1 1 1 1 - - - 1 1 1 ด้าน คมนาคม ด้าน สื่อสาร และ ประชาสั มพันธ์ อื่นๆ นวก ก อมใช้งานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ด้าน ไฟฟ้า และ ส่อง สว่าง ด้านอุปโภค บริโภค
รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำระยะไกล รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำท่วม/ขัง รถปฏิบัติกำรบรรเทำอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบน้้ำขนำดใหญ่ รถปฏิบัติกำรเคลื่อนย้ำยผู้ประสบภัยพร้อมอุปกรณ์ เครื่องสูบน้้ำขนำดท่อส่ง 14 นิ้ว เรือยนต์ท้องแบน เรือยำง รถตรวจกำร รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนเดียว รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่ง 2 ตอน รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อติดตั้งปั้นจั่นขนำดน้อยกว่ำ 6 ตัน รถแทรคเตอร์ล้อยำง รถตักตีนตะขำบ รถตักหน้ำขุดหลัง เครื่องบดอัดแบบแผ่นสั่นสะเทือน รถยกของในโรงงำนแบบงำแซะ รถขุดตักไฮดรอลิคแบบแขนตักยำว(200 แรงม้ำ)ภาคผนสรุปบัญชีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้ที่อ้ำเภอ หน่วยงาน (อปท.) เครื่องจักรกลปฏิบัติการ เครื่องจักรกล อ านวยการ ชุดเครื่องจักรกลสนับสนุน (ด้านการป้องกันและฟนื้ฟ)ู 9 ก้ำแพงแสน อบต.สระพัฒนำ 10 ก้ำแพงแสน อบต.หนองกระทุ่ม 1 2 11 ก้ำแพงแสน อบต.ห้วยขวำง 1 12 ก้ำแพงแสน อบต.ห้วยม่วง 1 13 ก้ำแพงแสน อบต.ห้วยหมอนทอง 14 ดอนตูม อบต.ดอนพุทรำ 3 15 ดอนตูม อบต.ดอนรวก 2 16 ดอนตูม ทต.สำมง่ำม 1 8 1
ุ รถไฟฟ้ำส่องสว่ำงพร้อมเสำสูง 9 เมตร รถเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำด200 kVA. รถบริกำรน้้ำดื่ม รถบรรทุกน้้ำขนำด 5,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 6,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 10,000 ลิตร รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อ รถบรรทุกขนำดกลำงขนำด 4 ตัน 4 ล้อหรือ 6 ล้อ รถบรรทุกเทท้ำยขนำด6 ตัน 6 ล้อ เครื่องส่งเสียงระยะไกล รถยนต์ติดตั้งเครื่องขยำยเสียง เครื่องสูบน้้ำ๑๐นิ้วแบบเครื่องยนต์ ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ ซัพเมอร์ไฟฟ้ำ เครื่องดับเพลิง(ชนิดหำบหำม) เลื่อยโซ่ยนต์ขนำด 1 แรงม้ำ เครื่องสูบน้้ำ 8 นิ้ว รถบรรทุกน้้ำ 12000 ลิตร ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ รถบรรทุกน้้ำ๓๐๐๐ลิตรติดเครนกระเช้ำ รถบรรทุกติดเครนกระเช้ำ เครื่องสูบน้้ำแบบท่อพญำนำค รถบรรทุกติดตั้งเครนไฮดรอลิคพร้อมกระเช้ำซ่อมไฟฟ้ำขนำด6 ล้อ รถบรรทุกน้้ำ 4000 ลิตร รถกระเช้ำซ่อมไฟเอนกประสงค์ เครื่องสูบน้้ำ รถยนต์ ด้าน คมนาคม ด้าน สื่อสาร และ ประชาสั มพันธ์ อื่นๆ นวก ก อมใช้งานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ด้าน ไฟฟ้า และ ส่อง สว่าง ด้านอุปโภค บริโภค 1 1 1 1 1 1 1 1 3 1
รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำระยะไกล รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำท่วม/ขัง รถปฏิบัติกำรบรรเทำอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบน้้ำขนำดใหญ่ รถปฏิบัติกำรเคลื่อนย้ำยผู้ประสบภัยพร้อมอุปกรณ์ เครื่องสูบน้้ำขนำดท่อส่ง 14 นิ้ว เรือยนต์ท้องแบน เรือยำง รถตรวจกำร รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนเดียว รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่ง 2 ตอน รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อติดตั้งปั้นจั่นขนำดน้อยกว่ำ 6 ตัน รถแทรคเตอร์ล้อยำง รถตักตีนตะขำบ รถตักหน้ำขุดหลัง เครื่องบดอัดแบบแผ่นสั่นสะเทือน รถยกของในโรงงำนแบบงำแซะ รถขุดตักไฮดรอลิคแบบแขนตักยำว(200 แรงม้ำ)ภาคผนสรุปบัญชีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้ที่อ้ำเภอ หน่วยงาน (อปท.) เครื่องจักรกลปฏิบัติการ เครื่องจักรกล อ านวยการ ชุดเครื่องจักรกลสนับสนุน (ด้านการป้องกันและฟนื้ฟ)ู 17 ดอนตูม อบต.ล้ำเหย 1 18 ดอนตูม อบต.ห้วยพระ 1 1 1 19 นครชัยศรีทต.ขุนแก้ว 1 2 1 1 1 - 20 นครชัยศรีอบต.โคกพระเจดีย์ 1 6 1 1 1 21 นครชัยศรีอบต.งิ้วรำย 1 2 22 นครชัยศรีอบต.ดอนแฝก 23 นครชัยศรีอบต.ท่ำกระชับ 8 2 24 นครชัยศรีอบต.ท่ำพระยำ 1 1 1 1 1
ุ รถไฟฟ้ำส่องสว่ำงพร้อมเสำสูง 9 เมตร รถเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำด200 kVA. รถบริกำรน้้ำดื่ม รถบรรทุกน้้ำขนำด 5,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 6,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 10,000 ลิตร รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อ รถบรรทุกขนำดกลำงขนำด 4 ตัน 4 ล้อหรือ 6 ล้อ รถบรรทุกเทท้ำยขนำด6 ตัน 6 ล้อ เครื่องส่งเสียงระยะไกล รถยนต์ติดตั้งเครื่องขยำยเสียง เครื่องสูบน้้ำ๑๐นิ้วแบบเครื่องยนต์ ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ ซัพเมอร์ไฟฟ้ำ เครื่องดับเพลิง(ชนิดหำบหำม) เลื่อยโซ่ยนต์ขนำด 1 แรงม้ำ เครื่องสูบน้้ำ 8 นิ้ว รถบรรทุกน้้ำ 12000 ลิตร ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ รถบรรทุกน้้ำ๓๐๐๐ลิตรติดเครนกระเช้ำ รถบรรทุกติดเครนกระเช้ำ เครื่องสูบน้้ำแบบท่อพญำนำค รถบรรทุกติดตั้งเครนไฮดรอลิคพร้อมกระเช้ำซ่อมไฟฟ้ำขนำด6 ล้อ รถบรรทุกน้้ำ 4000 ลิตร รถกระเช้ำซ่อมไฟเอนกประสงค์ เครื่องสูบน้้ำ รถยนต์ ด้าน คมนาคม ด้าน สื่อสาร และ ประชาสั มพันธ์ อื่นๆ นวก ก อมใช้งานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ด้าน ไฟฟ้า และ ส่อง สว่าง ด้านอุปโภค บริโภค 1 1 3 1 1 1 1 1 1 3 1 1
รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำระยะไกล รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำท่วม/ขัง รถปฏิบัติกำรบรรเทำอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบน้้ำขนำดใหญ่ รถปฏิบัติกำรเคลื่อนย้ำยผู้ประสบภัยพร้อมอุปกรณ์ เครื่องสูบน้้ำขนำดท่อส่ง 14 นิ้ว เรือยนต์ท้องแบน เรือยำง รถตรวจกำร รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนเดียว รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่ง 2 ตอน รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อติดตั้งปั้นจั่นขนำดน้อยกว่ำ 6 ตัน รถแทรคเตอร์ล้อยำง รถตักตีนตะขำบ รถตักหน้ำขุดหลัง เครื่องบดอัดแบบแผ่นสั่นสะเทือน รถยกของในโรงงำนแบบงำแซะ รถขุดตักไฮดรอลิคแบบแขนตักยำว(200 แรงม้ำ)ภาคผนสรุปบัญชีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้ที่อ้ำเภอ หน่วยงาน (อปท.) เครื่องจักรกลปฏิบัติการ เครื่องจักรกล อ านวยการ ชุดเครื่องจักรกลสนับสนุน (ด้านการป้องกันและฟนื้ฟ)ู 25 นครชัยศรีอบต.ไทยยำวำส 2 3 1 2 26 นครชัยศรีอบต.นครชัยศรี 27 นครชัยศรีอบต.บำงพระ 1 28 นครชัยศรีอบต.บำงระก้ำ 1 1 1 1 1 29 นครชัยศรีอบต.ลำนตำกฟ้ำ 1 30 นครชัยศรีอบต.วัดแค 1 1 1 1 31 นครชัยศรีอบต.วัดละมุด 1 1 1 1 1 32 นครชัยศรีอบต.แหลมบัว 1
ุ รถไฟฟ้ำส่องสว่ำงพร้อมเสำสูง 9 เมตร รถเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำด200 kVA. รถบริกำรน้้ำดื่ม รถบรรทุกน้้ำขนำด 5,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 6,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 10,000 ลิตร รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อ รถบรรทุกขนำดกลำงขนำด 4 ตัน 4 ล้อหรือ 6 ล้อ รถบรรทุกเทท้ำยขนำด6 ตัน 6 ล้อ เครื่องส่งเสียงระยะไกล รถยนต์ติดตั้งเครื่องขยำยเสียง เครื่องสูบน้้ำ๑๐นิ้วแบบเครื่องยนต์ ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ ซัพเมอร์ไฟฟ้ำ เครื่องดับเพลิง(ชนิดหำบหำม) เลื่อยโซ่ยนต์ขนำด 1 แรงม้ำ เครื่องสูบน้้ำ 8 นิ้ว รถบรรทุกน้้ำ 12000 ลิตร ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ รถบรรทุกน้้ำ๓๐๐๐ลิตรติดเครนกระเช้ำ รถบรรทุกติดเครนกระเช้ำ เครื่องสูบน้้ำแบบท่อพญำนำค รถบรรทุกติดตั้งเครนไฮดรอลิคพร้อมกระเช้ำซ่อมไฟฟ้ำขนำด6 ล้อ รถบรรทุกน้้ำ 4000 ลิตร รถกระเช้ำซ่อมไฟเอนกประสงค์ เครื่องสูบน้้ำ รถยนต์ ด้าน คมนาคม ด้าน สื่อสาร และ ประชาสั มพันธ์ อื่นๆ นวก ก อมใช้งานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ด้าน ไฟฟ้า และ ส่อง สว่าง ด้านอุปโภค บริโภค 1 1 1 1 1 1 1 1 4 1 1 1 1 1
รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำระยะไกล รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำท่วม/ขัง รถปฏิบัติกำรบรรเทำอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบน้้ำขนำดใหญ่ รถปฏิบัติกำรเคลื่อนย้ำยผู้ประสบภัยพร้อมอุปกรณ์ เครื่องสูบน้้ำขนำดท่อส่ง 14 นิ้ว เรือยนต์ท้องแบน เรือยำง รถตรวจกำร รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนเดียว รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่ง 2 ตอน รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อติดตั้งปั้นจั่นขนำดน้อยกว่ำ 6 ตัน รถแทรคเตอร์ล้อยำง รถตักตีนตะขำบ รถตักหน้ำขุดหลัง เครื่องบดอัดแบบแผ่นสั่นสะเทือน รถยกของในโรงงำนแบบงำแซะ รถขุดตักไฮดรอลิคแบบแขนตักยำว(200 แรงม้ำ)ภาคผนสรุปบัญชีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้ที่อ้ำเภอ หน่วยงาน (อปท.) เครื่องจักรกลปฏิบัติการ เครื่องจักรกล อ านวยการ ชุดเครื่องจักรกลสนับสนุน (ด้านการป้องกันและฟนื้ฟ)ู 33 บำงเลน อบต.ดอนตูม 34 บำงเลน อบต.นรำภิรมย์ 35 บำงเลน อบต.นิลเพชร 1 1 1 36 บำงเลน อบต.บำงภำษี 1 1 37 บำงเลน บำงระก้ำ 1 38 บำงเลน ทต.บำงเลน 3 1 1 1 2 2 39 บำงเลน อบต.บำงเลน 1 40 บำงเลน ทต.บำงหลวง 1 1 1 2
ุ รถไฟฟ้ำส่องสว่ำงพร้อมเสำสูง 9 เมตร รถเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำด200 kVA. รถบริกำรน้้ำดื่ม รถบรรทุกน้้ำขนำด 5,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 6,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 10,000 ลิตร รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อ รถบรรทุกขนำดกลำงขนำด 4 ตัน 4 ล้อหรือ 6 ล้อ รถบรรทุกเทท้ำยขนำด6 ตัน 6 ล้อ เครื่องส่งเสียงระยะไกล รถยนต์ติดตั้งเครื่องขยำยเสียง เครื่องสูบน้้ำ๑๐นิ้วแบบเครื่องยนต์ ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ ซัพเมอร์ไฟฟ้ำ เครื่องดับเพลิง(ชนิดหำบหำม) เลื่อยโซ่ยนต์ขนำด 1 แรงม้ำ เครื่องสูบน้้ำ 8 นิ้ว รถบรรทุกน้้ำ 12000 ลิตร ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ รถบรรทุกน้้ำ๓๐๐๐ลิตรติดเครนกระเช้ำ รถบรรทุกติดเครนกระเช้ำ เครื่องสูบน้้ำแบบท่อพญำนำค รถบรรทุกติดตั้งเครนไฮดรอลิคพร้อมกระเช้ำซ่อมไฟฟ้ำขนำด6 ล้อ รถบรรทุกน้้ำ 4000 ลิตร รถกระเช้ำซ่อมไฟเอนกประสงค์ เครื่องสูบน้้ำ รถยนต์ ด้าน คมนาคม ด้าน สื่อสาร และ ประชาสั มพันธ์ อื่นๆ นวก ก อมใช้งานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ด้าน ไฟฟ้า และ ส่อง สว่าง ด้านอุปโภค บริโภค 1 3 3 6 1 1 2 2 1 1 1 1
รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำระยะไกล รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำท่วม/ขัง รถปฏิบัติกำรบรรเทำอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบน้้ำขนำดใหญ่ รถปฏิบัติกำรเคลื่อนย้ำยผู้ประสบภัยพร้อมอุปกรณ์ เครื่องสูบน้้ำขนำดท่อส่ง 14 นิ้ว เรือยนต์ท้องแบน เรือยำง รถตรวจกำร รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนเดียว รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่ง 2 ตอน รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อติดตั้งปั้นจั่นขนำดน้อยกว่ำ 6 ตัน รถแทรคเตอร์ล้อยำง รถตักตีนตะขำบ รถตักหน้ำขุดหลัง เครื่องบดอัดแบบแผ่นสั่นสะเทือน รถยกของในโรงงำนแบบงำแซะ รถขุดตักไฮดรอลิคแบบแขนตักยำว(200 แรงม้ำ)ภาคผนสรุปบัญชีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้ที่อ้ำเภอ หน่วยงาน (อปท.) เครื่องจักรกลปฏิบัติการ เครื่องจักรกล อ านวยการ ชุดเครื่องจักรกลสนับสนุน (ด้านการป้องกันและฟนื้ฟ)ู 41 บำงเลน อบต.บำงหลวง 1 1 2 1 42 บำงเลน อบต.ไผ่หูช้ำง 1 1 2 43 บำงเลน ทต.ล้ำพญำ 1 44 บำงเลน อบต.หินมูล 1 4 45 พุทธมณฑล ทต.คลองโยง 1 1 1 1 1 46 พุทธมณฑล ทต.ศำลำยำ 1 1 1 1 1 1 47 พุทธมณฑล อบต.มหำสวัสดิ์ 1 1 1 1 48 เมืองนครปฐม ทต.ดอนยำยหอม
ุ รถไฟฟ้ำส่องสว่ำงพร้อมเสำสูง 9 เมตร รถเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำด200 kVA. รถบริกำรน้้ำดื่ม รถบรรทุกน้้ำขนำด 5,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 6,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 10,000 ลิตร รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อ รถบรรทุกขนำดกลำงขนำด 4 ตัน 4 ล้อหรือ 6 ล้อ รถบรรทุกเทท้ำยขนำด6 ตัน 6 ล้อ เครื่องส่งเสียงระยะไกล รถยนต์ติดตั้งเครื่องขยำยเสียง เครื่องสูบน้้ำ๑๐นิ้วแบบเครื่องยนต์ ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ ซัพเมอร์ไฟฟ้ำ เครื่องดับเพลิง(ชนิดหำบหำม) เลื่อยโซ่ยนต์ขนำด 1 แรงม้ำ เครื่องสูบน้้ำ 8 นิ้ว รถบรรทุกน้้ำ 12000 ลิตร ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ รถบรรทุกน้้ำ๓๐๐๐ลิตรติดเครนกระเช้ำ รถบรรทุกติดเครนกระเช้ำ เครื่องสูบน้้ำแบบท่อพญำนำค รถบรรทุกติดตั้งเครนไฮดรอลิคพร้อมกระเช้ำซ่อมไฟฟ้ำขนำด6 ล้อ รถบรรทุกน้้ำ 4000 ลิตร รถกระเช้ำซ่อมไฟเอนกประสงค์ เครื่องสูบน้้ำ รถยนต์ ด้าน คมนาคม ด้าน สื่อสาร และ ประชาสั มพันธ์ อื่นๆ นวก ก อมใช้งานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ด้าน ไฟฟ้า และ ส่อง สว่าง ด้านอุปโภค บริโภค 1 7 1 1 1 1 1 3 1 3 2 1 1 1 1 1
รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำระยะไกล รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำท่วม/ขัง รถปฏิบัติกำรบรรเทำอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบน้้ำขนำดใหญ่ รถปฏิบัติกำรเคลื่อนย้ำยผู้ประสบภัยพร้อมอุปกรณ์ เครื่องสูบน้้ำขนำดท่อส่ง 14 นิ้ว เรือยนต์ท้องแบน เรือยำง รถตรวจกำร รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนเดียว รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่ง 2 ตอน รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อติดตั้งปั้นจั่นขนำดน้อยกว่ำ 6 ตัน รถแทรคเตอร์ล้อยำง รถตักตีนตะขำบ รถตักหน้ำขุดหลัง เครื่องบดอัดแบบแผ่นสั่นสะเทือน รถยกของในโรงงำนแบบงำแซะ รถขุดตักไฮดรอลิคแบบแขนตักยำว(200 แรงม้ำ)ภาคผนสรุปบัญชีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้ที่อ้ำเภอ หน่วยงาน (อปท.) เครื่องจักรกลปฏิบัติการ เครื่องจักรกล อ านวยการ ชุดเครื่องจักรกลสนับสนุน (ด้านการป้องกันและฟนื้ฟ)ู 49 เมืองนครปฐม อบต.ถนนขำด 1 2 2 50 เมืองนครปฐม ทต.ธรรมศำลำ 1 1 2 51 เมืองนครปฐม ทม.นครปฐม 1 1 1 4 1 52 เมืองนครปฐม ทต.บ่อพลับ 1 2 2 53 เมืองนครปฐม อบต.บำงแขม 1 2 54 เมืองนครปฐม อบต.พระประโทน 1 55 เมืองนครปฐม ทต.โพรงมะเดื่อ 1 56 เมืองนครปฐม อบต.โพรงมะเดื่อ 1 1 1 1 3 1
ุ รถไฟฟ้ำส่องสว่ำงพร้อมเสำสูง 9 เมตร รถเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำด200 kVA. รถบริกำรน้้ำดื่ม รถบรรทุกน้้ำขนำด 5,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 6,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 10,000 ลิตร รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อ รถบรรทุกขนำดกลำงขนำด 4 ตัน 4 ล้อหรือ 6 ล้อ รถบรรทุกเทท้ำยขนำด6 ตัน 6 ล้อ เครื่องส่งเสียงระยะไกล รถยนต์ติดตั้งเครื่องขยำยเสียง เครื่องสูบน้้ำ๑๐นิ้วแบบเครื่องยนต์ ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ ซัพเมอร์ไฟฟ้ำ เครื่องดับเพลิง(ชนิดหำบหำม) เลื่อยโซ่ยนต์ขนำด 1 แรงม้ำ เครื่องสูบน้้ำ 8 นิ้ว รถบรรทุกน้้ำ 12000 ลิตร ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ รถบรรทุกน้้ำ๓๐๐๐ลิตรติดเครนกระเช้ำ รถบรรทุกติดเครนกระเช้ำ เครื่องสูบน้้ำแบบท่อพญำนำค รถบรรทุกติดตั้งเครนไฮดรอลิคพร้อมกระเช้ำซ่อมไฟฟ้ำขนำด6 ล้อ รถบรรทุกน้้ำ 4000 ลิตร รถกระเช้ำซ่อมไฟเอนกประสงค์ เครื่องสูบน้้ำ รถยนต์ ด้าน คมนาคม ด้าน สื่อสาร และ ประชาสั มพันธ์ อื่นๆ นวก ก อมใช้งานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ด้าน ไฟฟ้า และ ส่อง สว่าง ด้านอุปโภค บริโภค 1 1 1 2 2 1 1 1 1 2 1 1 1 1 1 1 1
รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำระยะไกล รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำท่วม/ขัง รถปฏิบัติกำรบรรเทำอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบน้้ำขนำดใหญ่ รถปฏิบัติกำรเคลื่อนย้ำยผู้ประสบภัยพร้อมอุปกรณ์ เครื่องสูบน้้ำขนำดท่อส่ง 14 นิ้ว เรือยนต์ท้องแบน เรือยำง รถตรวจกำร รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนเดียว รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่ง 2 ตอน รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อติดตั้งปั้นจั่นขนำดน้อยกว่ำ 6 ตัน รถแทรคเตอร์ล้อยำง รถตักตีนตะขำบ รถตักหน้ำขุดหลัง เครื่องบดอัดแบบแผ่นสั่นสะเทือน รถยกของในโรงงำนแบบงำแซะ รถขุดตักไฮดรอลิคแบบแขนตักยำว(200 แรงม้ำ)ภาคผนสรุปบัญชีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้ที่อ้ำเภอ หน่วยงาน (อปท.) เครื่องจักรกลปฏิบัติการ เครื่องจักรกล อ านวยการ ชุดเครื่องจักรกลสนับสนุน (ด้านการป้องกันและฟนื้ฟ)ู 57 เมืองนครปฐม ทต.มำบแค 4 1 58 เมืองนครปฐม อบต.ล้ำพยำ 1 1 1 59 เมืองนครปฐม อบต.วังตะกู 1 1 60 เมืองนครปฐม อบต.สนำมจันทร์ 61 เมืองนครปฐม อบต.สระกระเทียม 62 เมืองนครปฐม ทม.สำมควำยเผือก 1 1 1 63 เมืองนครปฐม อบต.หนองดินแดง 1 1 1 1 1 1 1 1 64 เมืองนครปฐม อบต.หนองปำกโลง 1 1
ุ รถไฟฟ้ำส่องสว่ำงพร้อมเสำสูง 9 เมตร รถเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำด200 kVA. รถบริกำรน้้ำดื่ม รถบรรทุกน้้ำขนำด 5,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 6,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 10,000 ลิตร รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อ รถบรรทุกขนำดกลำงขนำด 4 ตัน 4 ล้อหรือ 6 ล้อ รถบรรทุกเทท้ำยขนำด6 ตัน 6 ล้อ เครื่องส่งเสียงระยะไกล รถยนต์ติดตั้งเครื่องขยำยเสียง เครื่องสูบน้้ำ๑๐นิ้วแบบเครื่องยนต์ ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ ซัพเมอร์ไฟฟ้ำ เครื่องดับเพลิง(ชนิดหำบหำม) เลื่อยโซ่ยนต์ขนำด 1 แรงม้ำ เครื่องสูบน้้ำ 8 นิ้ว รถบรรทุกน้้ำ 12000 ลิตร ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ รถบรรทุกน้้ำ๓๐๐๐ลิตรติดเครนกระเช้ำ รถบรรทุกติดเครนกระเช้ำ เครื่องสูบน้้ำแบบท่อพญำนำค รถบรรทุกติดตั้งเครนไฮดรอลิคพร้อมกระเช้ำซ่อมไฟฟ้ำขนำด6 ล้อ รถบรรทุกน้้ำ 4000 ลิตร รถกระเช้ำซ่อมไฟเอนกประสงค์ เครื่องสูบน้้ำ รถยนต์ ด้าน คมนาคม ด้าน สื่อสาร และ ประชาสั มพันธ์ อื่นๆ นวก ก อมใช้งานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ด้าน ไฟฟ้า และ ส่อง สว่าง ด้านอุปโภค บริโภค 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำระยะไกล รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำท่วม/ขัง รถปฏิบัติกำรบรรเทำอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบน้้ำขนำดใหญ่ รถปฏิบัติกำรเคลื่อนย้ำยผู้ประสบภัยพร้อมอุปกรณ์ เครื่องสูบน้้ำขนำดท่อส่ง 14 นิ้ว เรือยนต์ท้องแบน เรือยำง รถตรวจกำร รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนเดียว รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่ง 2 ตอน รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อติดตั้งปั้นจั่นขนำดน้อยกว่ำ 6 ตัน รถแทรคเตอร์ล้อยำง รถตักตีนตะขำบ รถตักหน้ำขุดหลัง เครื่องบดอัดแบบแผ่นสั่นสะเทือน รถยกของในโรงงำนแบบงำแซะ รถขุดตักไฮดรอลิคแบบแขนตักยำว(200 แรงม้ำ)ภาคผนสรุปบัญชีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้ที่อ้ำเภอ หน่วยงาน (อปท.) เครื่องจักรกลปฏิบัติการ เครื่องจักรกล อ านวยการ ชุดเครื่องจักรกลสนับสนุน (ด้านการป้องกันและฟนื้ฟ)ู 65 เมืองนครปฐม อบต.ห้วยจรเข้ 1 2 66 สำมพรำน ทม.กระทุ่มล้ม 2 67 สำมพรำน อบต.คลองจินดำ 1 5 68 สำมพรำน ทม.สำมพรำน 4 1 69 สำมพรำน อบต.คลองใหม่ 1 1 70 สำมพรำน อบต.ตลำดจินดำ 1 2 71 สำมพรำน อบต.ทรงคนอง 1 1 1 72 สำมพรำน อบต.ท่ำข้ำม 2
ุ รถไฟฟ้ำส่องสว่ำงพร้อมเสำสูง 9 เมตร รถเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำด200 kVA. รถบริกำรน้้ำดื่ม รถบรรทุกน้้ำขนำด 5,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 6,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 10,000 ลิตร รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อ รถบรรทุกขนำดกลำงขนำด 4 ตัน 4 ล้อหรือ 6 ล้อ รถบรรทุกเทท้ำยขนำด6 ตัน 6 ล้อ เครื่องส่งเสียงระยะไกล รถยนต์ติดตั้งเครื่องขยำยเสียง เครื่องสูบน้้ำ๑๐นิ้วแบบเครื่องยนต์ ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ ซัพเมอร์ไฟฟ้ำ เครื่องดับเพลิง(ชนิดหำบหำม) เลื่อยโซ่ยนต์ขนำด 1 แรงม้ำ เครื่องสูบน้้ำ 8 นิ้ว รถบรรทุกน้้ำ 12000 ลิตร ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ รถบรรทุกน้้ำ๓๐๐๐ลิตรติดเครนกระเช้ำ รถบรรทุกติดเครนกระเช้ำ เครื่องสูบน้้ำแบบท่อพญำนำค รถบรรทุกติดตั้งเครนไฮดรอลิคพร้อมกระเช้ำซ่อมไฟฟ้ำขนำด6 ล้อ รถบรรทุกน้้ำ 4000 ลิตร รถกระเช้ำซ่อมไฟเอนกประสงค์ เครื่องสูบน้้ำ รถยนต์ ด้าน คมนาคม ด้าน สื่อสาร และ ประชาสั มพันธ์ อื่นๆ นวก ก อมใช้งานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ด้าน ไฟฟ้า และ ส่อง สว่าง ด้านอุปโภค บริโภค 1 2 1 1 1 1 2 3 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำระยะไกล รถบรรทุกติดตั้งเครื่องสูบน้้ำท่วม/ขัง รถปฏิบัติกำรบรรเทำอุทกภัยพร้อมเครื่องสูบน้้ำขนำดใหญ่ รถปฏิบัติกำรเคลื่อนย้ำยผู้ประสบภัยพร้อมอุปกรณ์ เครื่องสูบน้้ำขนำดท่อส่ง 14 นิ้ว เรือยนต์ท้องแบน เรือยำง รถตรวจกำร รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนเดียว รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่งตอนครึ่ง รถบรรทุกขนำดเล็กแบบที่นั่ง 2 ตอน รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อติดตั้งปั้นจั่นขนำดน้อยกว่ำ 6 ตัน รถแทรคเตอร์ล้อยำง รถตักตีนตะขำบ รถตักหน้ำขุดหลัง เครื่องบดอัดแบบแผ่นสั่นสะเทือน รถยกของในโรงงำนแบบงำแซะ รถขุดตักไฮดรอลิคแบบแขนตักยำว(200 แรงม้ำ)ภาคผนสรุปบัญชีเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องมืออุปกรณ์ที่พร้ที่อ้ำเภอ หน่วยงาน (อปท.) เครื่องจักรกลปฏิบัติการ เครื่องจักรกล อ านวยการ ชุดเครื่องจักรกลสนับสนุน (ด้านการป้องกันและฟนื้ฟ)ู 73 สำมพรำน อบต.ท่ำตลำด 4 2 2 74 สำมพรำน อบต.บำงเตย 1 1 1 1 75 สำมพรำน อบต.บ้ำนใหม่ 2 1 1 76 สำมพรำน อบต.ยำยชำ 1 1 1 77 สำมพรำน ทม.ไร่ขิง 2 78 สำมพรำน อบต.สำมพรำน 1 2 79 สำมพรำน อบต.หอมเกร็ด 1 1 2 80 สำมพรำน ทต.อ้อมใหญ่ 1 1 1 1 3
ุ รถไฟฟ้ำส่องสว่ำงพร้อมเสำสูง 9 เมตร รถเครื่องก้ำเนิดไฟฟ้ำขนำด200 kVA. รถบริกำรน้้ำดื่ม รถบรรทุกน้้ำขนำด 5,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 6,000 ลิตร รถบรรทุกน้้ำขนำด 10,000 ลิตร รถบรรทุกขนำดใหญ่ขนำด 6 ตัน 6 ล้อ รถบรรทุกขนำดกลำงขนำด 4 ตัน 4 ล้อหรือ 6 ล้อ รถบรรทุกเทท้ำยขนำด6 ตัน 6 ล้อ เครื่องส่งเสียงระยะไกล รถยนต์ติดตั้งเครื่องขยำยเสียง เครื่องสูบน้้ำ๑๐นิ้วแบบเครื่องยนต์ ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ ซัพเมอร์ไฟฟ้ำ เครื่องดับเพลิง(ชนิดหำบหำม) เลื่อยโซ่ยนต์ขนำด 1 แรงม้ำ เครื่องสูบน้้ำ 8 นิ้ว รถบรรทุกน้้ำ 12000 ลิตร ท่อสูบน้้ำแบบข้องอ๙๐ติดมอเตอร์ไฟฟ้ำ รถบรรทุกน้้ำ๓๐๐๐ลิตรติดเครนกระเช้ำ รถบรรทุกติดเครนกระเช้ำ เครื่องสูบน้้ำแบบท่อพญำนำค รถบรรทุกติดตั้งเครนไฮดรอลิคพร้อมกระเช้ำซ่อมไฟฟ้ำขนำด6 ล้อ รถบรรทุกน้้ำ 4000 ลิตร รถกระเช้ำซ่อมไฟเอนกประสงค์ เครื่องสูบน้้ำ รถยนต์ ด้าน คมนาคม ด้าน สื่อสาร และ ประชาสั มพันธ์ อื่นๆ นวก ก อมใช้งานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดนครปฐม ด้าน ไฟฟ้า และ ส่อง สว่าง ด้านอุปโภค บริโภค 1 2 10 2 2 1 1 1 1 1 1 1 1 2 1 1 1 1 1 2 2
ภาคผนพื้นที่เสี่ยงอุทกภัยในพืข้อมูลพื้นที่เสี่ยงอุทกภัยตามโครงการพัฒนาตำ