บทท่ี 4
ส่ือการเรยี นการสอน
สือ่ เป็นสิ่งทม่ี ีบทบาทสาคัญมากในการเรยี นการสอน เพราะสอื่ เปน็ ตวั กลางท่ีชว่ ยให้การ
สอื่ สารระหว่างผูส้ อนและผู้เรียนดาเนนิ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ ช่วยให้ผเู้ รยี นเข้าใจความหมายของ
เนือ้ หาบทเรยี นไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามที่ผูส้ อนตอ้ งการ ในการใช้ส่อื การเรยี นการสอนน้ันผู้สอนจาเป็นตอ้ ง
ศกึ ษาถงึ ลักษณะเฉพาะและคุณสมบตั ิของส่อื แต่ละชนิด เพ่ือเลือกสื่อใหต้ รงกับวตั ถุประสงค์ของการ
เรียนการสอน และสามารถจัดประสบการณเ์ รียนร้ใู หแ้ กผ่ ู้เรยี นโดยมีการวางแผนการใช้สอ่ื อยา่ งเป็น
ระบบ สอ่ื ท่ีใชใ้ นการเรยี นการสอนบางทา่ นเรียนว่า สอ่ื การสอน บางท่านเรียกว่า ส่อื การเรยี นการสอน
แต่ในท่นี เี้ รยี กว่า ส่อื การเรียนการสอน
ความหมายของสือ่ การเรียนการสอน
สอื่ การเรยี นการสอน ตรงกบั ภาษาอังกฤษวา่ Instructional Media นักเทคโนโลยกี ารศึกษา
หลายทา่ นได้ใหค้ วามหมายของส่อื การเรยี นการสอนไว้ ดังน้ี
เปรอื่ ง กมุ ุท (2519 : 1) ไดใ้ ห้ความหมายไว้วา่ สื่อการเรยี นการสอน หมายถึง สง่ิ ตา่ ง ๆ
ที่ใชเ้ ปน็ เครื่องมอื หรอื ชอ่ งทางสาหรับทาใหก้ ารสอนของครูถึงผู้เรียน และทาให้ผเู้ รยี นได้เรียนรูต้ าม
วัตถปุ ระสงค์หรือจดุ มุ่งหมายทคี่ รวู างไว้ไดเ้ ป็นอย่างดี
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2543 : 111) ไดใ้ หค้ วามหมายไวว้ ่า ส่ือการเรียนการสอน หมายถึง วสั ดุ
(สง่ิ สนิ้ เปลอื ง) อุปกรณ์ (เครือ่ งมือท่ไี มผ่ พุ งั ได้งา่ ย) และวธิ กี าร (กจิ กรรม ละคร เกม การทดลอง ฯลฯ)
ทีใ่ ชเ้ ปน็ ส่ือกลางใหผ้ สู้ อนสามารถส่งหรอื ถา่ ยทอดความรู้ เจตคติ (อารมณ์ ความรูส้ ึก ความสนใจ
ทศั นคติ และค่านิยม) และทกั ษะไปยังผู้เรียนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
บราวน์ และคนอื่น ๆ (Brown and Others, 1985 : 32) ไดก้ ลา่ วไว้วา่ สอ่ื การเรยี นการ
สอนได้แก่ อุปกรณท์ ้ังหลายที่ช่วยเสนอความร้ใู หแ้ ก่ผ้เู รียนจนเกิดผลการเรยี นที่ดี ทงั้ นมี้ ีความหมาย
รวมถงึ กิจกรรมต่าง ๆ ทไ่ี มเ่ ฉพาะแตส่ ่งิ ที่เปน็ วัตถหุ รือเครื่องมอื เท่านนั้ เช่น การศกึ ษานอกสถานท่ี
การแสดงบทบาทสมมุติ นาฏการ การสาธิต การทดลอง ตลอดจนการสัมภาษณ์ และการสารวจ เปน็ ตน้
จากนิยามดงั กลา่ ว ส่อื การเรียนการสอนจึงหมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ หรอื เทคนิควธิ ี ทีเ่ ปน็ ตวั กลาง
ชว่ ยนาและถ่ายทอดเน้ือหาสาระความรู้ต่าง ๆ จากผสู้ อนหรอื จากแหล่งความรูไ้ ปยังผู้เรียน เปน็ สง่ิ ที่
ช่วยให้เนื้อหาบทเรียนมีความกระจา่ งชดั ทาให้ผู้เรียนสามารถเขา้ ใจเนอื้ หาได้งา่ ยข้ึน
42
การจาแนกประเภทของสอื่ การเรยี นการสอน
การจาแนกประเภทของสอ่ื การเรยี นการสอน มีการแบง่ ไวแ้ ตกต่างกนั ขนึ้ อยู่กับแนวคิดและ
หลักการของนกั การศกึ ษาแต่ละคน ในทนี่ ีจ้ ะพจิ ารณาการจาแนกประเภทของสอื่ การเรียนการสอน
ออกเป็น 3 มุมมอง ดังนี้
ก. การจาแนกประเภทสื่อการเรียนการสอนตามทรพั ยากรการเรยี นรู้
ข. การจาแนกประเภทสื่อการเรียนการสอนตามลักษณะใช้งาน
ค. การจาแนกประเภทสือ่ การเรยี นการสอนตามระดบั ประสบการณเ์ รียนร้ทู ่ีผ้เู รียนไดร้ ับ
ก. การจาแนกประเภทของสอ่ื ตามทรัพยากรการเรยี นรู้
ทรัพยากรการเรยี นรู้ (Learning resources) หมายถงึ ทกุ สิ่งทม่ี ีอยใู่ นโลก ไม่วา่ จะ
เกดิ ขึน้ เองโดยธรรมชาติ หรอื มนุษยป์ ระดิษฐข์ นึ้ เพ่ือนามาใช้ในการเรยี นการเรียนรู้
โดนลั ด์ พี. อีลี (Ely, 1972 : 36-43) ไดจ้ าแนกสื่อการเรียนการสอนตามทรัพยากรการเรยี นรู้
เปน็ 5 แบบ ดงั น้ี
1. คน (People) หมายถงึ บุคคลท่เี กย่ี วข้องอย่ใู นระบบการเรียนการสอน ได้แกบ่ ุคลากร
ในสายงานการบริหารการศกึ ษา บุคลากรท่ีทาหน้าทส่ี อน และวิทยากรผ้เู ชย่ี วชาญ ตา่ ง ๆ ฯลฯ
2. วัสดุ (Material) หมายถึง วัสดใุ นรปู แบบตา่ ง ๆ ที่ใชบ้ รรจุเนอื้ หาบทเรียน เช่น หนงั สอื
แผ่นซดี ี สไลด์ แผ่นเกม ฯลฯ
3. อาคารสถานที่ (Setting) หมายถึง อาคาร พื้นท่วี า่ ง ส่งิ แวดลอ้ มท่ใี ช้ในการเรียนการสอน
ไดแ้ ก่ อาคารเรียน อาคารประกอบ และบรเิ วณในสถานศกึ ษา เช่น ห้องเรียน ห้องสมดุ ห้องประชมุ
สวนหย่อม ฯลฯ หรือสถานที่อ่ืนในชมุ ชนทนี่ ามาใชป้ ระโยชน์ในการเรยี นการสอน เชน่ วัด โรงละคร
พพิ ธิ ภณั ฑ์ ฯลฯ
4. เครือ่ งมือและอุปกรณ์ (Tools and Equipment) หมายถงึ เครื่องมอื อุปกรณท์ ่ีชว่ ยใน
การผลติ หรือใชร้ ว่ มกบั สื่อการเรียนการสอนอ่ืน ๆ เช่น เครอ่ื งฉายภาพขา้ มศีรษะ คอมพิวเตอร์ เครอ่ื ง
ถ่ายเอกสาร ตะปู ไขควง ฯลฯ
5. กิจกรรม (Activities) หมายถึง การดาเนนิ งานทจ่ี ัดทาขน้ึ เพอ่ื วัตถุประสงคเ์ ฉพาะทาง
การเรียนการสอน หรือเป็นเทคนิควธิ กี ารพิเศษเพื่อการเรียนการสอน หรือเปน็ การดาเนนิ งานทจี่ ัดขึ้น
เพอื่ กระทาร่วมกับทรพั ยากรอื่น ๆ เชน่ เกม การสัมมนา การจดั ทัศนศึกษา การจดั นิทรรศการ ฯลฯ
ข. การจาแนกประเภทสอ่ื การเรียนการสอนตามลกั ษณะการใชง้ าน
การจาแนกส่ือการเรยี นการสอนลักษณะนี้ เป็นแนวความคดิ ของ เดอ คฟี เฟอร์ (De Kieffer,
1965 : 1) ยดึ ลักษณะการใช้งานมาเปน็ เกณฑใ์ นการพิจารณาจาแนกประเภท โดยแบง่ สอ่ื การเรียนการ
สอนออกเป็น 3 ประเภท เรยี กว่า “โสตทศั นูปกรณ์” (Audio – Visual Aids) ประกอบด้วย
43
1. สือ่ ประเภทใชเ้ คร่อื งฉาย (Projected Aids) ไดแ้ ก่ เครอื่ งฉายขา้ มศีรษะ เคร่อื งฉาย -
ภาพยนตร์ เครื่องฉายสไลด์ เปน็ ต้น นอกจากนีย้ งั อาจรวมถงึ เคร่ืองแอลซีดีทใ่ี ชถ้ ่ายทอดสญั ญาณจาก
คอมพิวเตอร์หรอื เครือ่ งเล่นวีซีดเี ขา้ ไว้ในประเภทเครื่องฉายด้วย เนื่องจากนาสญั ญาณภาพจากอุปกรณ์
เหลา่ นนั้ ข้นึ จอ
2. สื่อประเภทไม่ใชเ้ คร่อื งฉาย (Nonprojected Aids) ได้แก่ แผนภูมิ รูปภาพ ของจรงิ
ของจาลอง กระดานผ้าสาลี กระดานแม่เหลก็ กิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น
3. สอ่ื ประเภทเคร่อื งเสยี ง (Audio Aids) ไดแ้ ก่ เครือ่ งบนั ทึกเสยี ง เครือ่ งเล่นซดี ี วิทยุ แผ่นซีดี
เทปบันทกึ เสียง เป็นต้น
ค. การจาแนกประเภทส่ือการเรยี นการสอนตามประสบการณเ์ รียนรู้ทผ่ี เู้ รียนได้รบั
การจัดประเภทส่อื การเรียนการสอนลักษณะน้ีเป็นแนวความคดิ ของเอดการเ์ ดล (Dale, 1969 :
105-135) ยึดประสบการณ์เรยี นรู้ท่ผี ้เู รียนไดร้ บั เป็นตวั แบ่ง โดยเร่มิ ตน้ จากส่อื การเรียนการสอนท่ี
ผเู้ รียนเปน็ ผู้มีส่วนรว่ มในเหตกุ ารณจ์ รงิ ของการสอนซงึ่ ถอื วา่ เป็นรปู ธรรมมากทสี่ ดุ ไปสู่ระดบั ท่ผี ้เู รียน
เป็นเพยี งผ้สู งั เกตการณแ์ ละเรยี นรู้จากสัญลกั ษณซ์ ึ่งถือวา่ เปน็ นามธรรม
เดล (Edgar Dale, 1969 : 107) ใหห้ ลกั การว่า มนุษยจ์ ะเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ท่เี ปน็
รปู ธรรมไดด้ กี ว่าการเรยี นรูจ้ ากประสบการณ์ทเ่ี ปน็ นามธรรม และได้จดั ส่อื ตามลาดบั ประสบการณ์ใน
ลักษณะภาพกรวยคว่า เรยี กวา่ กรวยประสบการณ์ (Cone of Experiences) เขาไดก้ าหนดให้
ประสบการณท์ ี่เปน็ รปู ธรรมมากทส่ี ดุ ไวท้ ฐี่ านและความเป็นรปู ธรรมจะคอ่ ย ๆ ลดลงจนมคี วามเป็น
นามธรรมมากทสี่ ดุ จะอยู่ท่สี ่วนยอดของกรวย แบง่ ได้เปน็ 11 กลมุ่ ดังนี้
1. ประสบการณต์ รง(Direct or Purposeful Experiences)เป็นส่ือการเรยี นการสอน
ที่เปน็ รูปธรรมมากที่สุด โดยใหผ้ ู้เรยี นไดล้ งมอื ปฎบิ ัตกิ จิ กรรมดว้ ยตนเอง เข้าไปอย่ใู นสถาณการณจ์ รงิ
และได้สมั ผัสด้วยตนเองจากประสาทสมั ผสั ท้ังห้า เช่น การฝึกทาอาหาร การทดลองผสมสารเคมี
การฝึกตดั เย็บเส้อื ผา้ การนั่งรถไฟใต้ดนิ การรับประทานพรกิ เพือ่ รบั รู้รสเผด็ ฯลฯ เป็นต้น
2. ประสบการณ์รอง (Contrived Experiences) เปน็ สื่อการเรยี นการสอนท่ีให้
ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรูจ้ ากสง่ิ ท่ีใกล้เคียงความเปน็ จรงิ มากทีส่ ุด แตไ่ มใ่ ช่ความเปน็ จรงิ เนอื่ งจากไมส่ ะดวก
หรอื ไมส่ ามารถเรียนรู้จากของจรงิ หรือเหตุการณ์จริงได้ จงึ ให้เรียนรจู้ ากสง่ิ ของจาลองหรือสถานการณ์
จาลองแทน เช่น หุน่ จาลองแสดงอวัยวะภายในร่างกายมนุษย์ การฝึกหดั ขบั เคร่อื งบินดว้ ยเคร่ือง (Flight
Simulator) เปน็ ต้น
3. ประสบการณน์ าฏการ (Dramatized Experiences) เป็นการใหผ้ ้เู รยี นได้
เรยี นรู้จากการแสดงบทบาทสมมุตหิ รือการแสดงละคร นยิ มใช้สอนในเนือ้ หาทีม่ ีขอ้ จากัดเรือ่ งยคุ สมัย
หรือเวลา เชน่ ให้ผูเ้ รยี นแสดงละครหรือบทบาทสมมตุ เิ ก่ยี วกบั เหตุการณใ์ นประวตั ิศาสตร์
4. การสาธติ (Demonstration) เป็นการใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรจู้ ากการดูการแสดงหรอื
44
การกระทาประกอบคาอธบิ ายใหเ้ หน็ ลาดับขนั้ ตอนของการกระทานน้ั ๆ เช่น การสาธิตการทาดอกไม้ -
กระดาษ การสาธติ การแกะสลกั ผลไม้ เป็นตน้
5. การศึกษานอกสถานท่ี (Field Trip) เปน็ การให้ผูเ้ รยี นได้เรียนรู้และรบั
ประสบการณต์ ่าง ๆ จากภายนอกชัน้ เรยี น อาจเปน็ การท่องเทย่ี ว หรอื เย่ยี มชมสถานทต่ี ่าง ๆ โดยมีการ
จดบนั ทึกส่งิ ท่พี บเหน็ คาสมั ภาษณข์ องบุคคลตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง เป็นต้น
6. นิทรรศการ (Exhibits) เป็นการจัดแสดงสงิ่ ของตา่ ง ๆ หรือการจดั ปา้ ยนิเทศ
เพอื่ ใหค้ วามรู้ เนือ้ หา สาระ แก่ผู้เรียน
7. โทรทศั น์ (Television) เป็นการใชโ้ ทรทศั น์เปน็ ส่อื ในการเรยี นการสอน
ทั้งโทรทศั นก์ ารศึกษาและโทรทศั นเ์ พ่อื การสอน เพื่อให้ความรูแ้ ก่ผเู้ รยี นหรอื ผู้ชมทีอ่ ยใู่ นหอ้ งเรยี น
หรอื อยูท่ างบา้ น ทั้งระบบวงจรปิดและวงจรเปดิ ซงึ่ อาจเป็นการสอนสดหรือบันทึกลงวดี ทิ ศั น์กไ็ ด้
8. ภาพยนตร์ (Motion Picture) เป็นการใช้ภาพยนตร์ซึ่งเป็นภาพเคลื่อนไหวที่
บนั ทึกเรอื่ งราวลงบนฟลิ ์มมาเปน็ สือ่ ในการสอน ผู้เรยี นจะได้รบั ประสบการณจ์ ากภาพและเสยี ง
หรืออาจเป็นภาพอยา่ งเดียวในกรณที ี่เป็นภาพยนตรเ์ งียบไม่มเี สียงพากย์
9. การบันทึกเสยี ง วิทยุ ภาพนิ่ง (Recording, Radio, and Still Picture)
เป็นการนาสื่อดา้ นการบนั ทึกเสียง เชน่ ซดี ี แผน่ เสียง เทปบันทกึ เสยี ง หรือวทิ ยุ และภาพนงิ่ เช่น รูปภาพ
สไลด์ ภาพวาด ภาพลอ้ หรือภาพเหมือนจรงิ มาใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้ สือ่ เหล่าน้ีเปน็ ส่ือที่ผเู้ รียนสามารถ
สมั ผสั ได้เพียงด้านเดยี ว โดยทสี่ อ่ื บนั ทกึ เสียง และวิทยุ ผูเ้ รียนจะเรียนรู้จากการฟัง ส่วนภาพน่งิ ผ้เู รยี นจะ
เรยี นรูจ้ ากการดูภาพ แมผ้ ูเ้ รยี นจะอา่ นหนังสือไมอ่ อกก็สามารถเขา้ ใจเนือ้ หาเรอ่ื งราวท่สี อนได้ เนื่องจาก
เปน็ การฟงั หรือดภู าพเทา่ นนั้ ไม่ตอ้ งอา่ น
10. ทศั นสญั ลกั ษณ์ (Visual Symbols) เปน็ สอ่ื การเรยี นการสอนประเภท วสั ดุ
กราฟิก เชน่ แผนภูมิ แผนภาพ แผนสถติ ิ แผนที่ เครือ่ งหมาย และสญั ลกั ษณร์ ูปแบบต่าง ๆ ซ่งึ ผ้เู รียนจะ
รบั รู้ทางตา และต้องมีพื้นฐานในการทาความเข้าใจในสิ่งทน่ี ามาส่อื ความหมายก่อนจึงจะช่วยให้เขา้ ใจ
ไดด้ ี
11. วจนสัญลกั ษณ์ (Verbal Symbols) เป็นส่ือการเรยี นการสอนท่อี ยู่ในรปู ของ
ตัวหนังสอื ตวั เลข สญั ลกั ษณ์พิเศษต่าง ๆ ที่ใชใ้ นภาษาเขียน และเสยี งของคาพดู คาบรรยาย ท่ีใช้ใน
ภาษาพูด ซ่งึ ประสบการณท์ ผ่ี เู้ รยี นได้รับในขัน้ นี้ถอื วา่ เป็นนามธรรมมากทสี่ ุด
การจาแนกส่อื การเรยี นการสอน ไม่วา่ จะอยใู่ นรปู แบบใดกต็ าม ถ้าจาแนกได้ครอบคลมุ สอื่ ทุก
ประเภทกถ็ อื วา่ ถกู ต้องทงั้ สนิ้ แต่ในทัศนของผเู้ ขยี นซึง่ เปน็ นักเทคโนโลยีคนหน่งึ มคี วามเห็นว่า ในทาง
เทคโนโลยีการศกึ ษาอาจจาแนกส่ือการเรียนการสอนไดเ้ ป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่
1. เคร่ืองมือ อุปกรณ์ (Hardware) ซ่ึงเปน็ สื่อใหญ่ (Big Media) มเี ครอ่ื งกลไกตา่ ง ๆ
45
เป็นส่วนประกอบสาหรับการทางานภายในตัวสื่อ เช่น เคร่ืองฉายประเภทต่าง ๆ เครือ่ งรบั วิทยุ และ
โทรทัศน์ เคร่ืองบนั ทกึ เสียง เคร่อื งเลน่ ซดี ี ดวี ีดี เคร่ืองมอื อปุ กรณ์เหล่านตี้ ้องใชร้ ว่ มกับสอื่ ประเภท วสั ดุ
เพือ่ นาสารในวสั ดุนั้น ๆ สง่ ออกไปสู่ผรู้ บั สาร
2. วสั ดุ (Software) เป็นส่อื เล็ก (Small Media) เกบ็ ความรอู้ ยใู่ นตวั เอง ซ่งึ จาแนกยอ่ ยได้
เป็น 2 ลกั ษณะ คอื
2.1 วัสดุทสี่ ามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตวั เองโดยไม่จาเปน็ ตอ้ งอาศัย เครอ่ื งมือ อปุ กรณ์
อน่ื ชว่ ย เช่น แผนที่ ลูกโลก รูปภาพ หุน่ จาลอง ฯลฯ เปน็ ตน้
2.2 วัสดุทไ่ี ม่สามารถถ่ายทอดความรไู้ ดด้ ้วยตัวเอง จาเปน็ ตอ้ งอาศัย เคร่อื งมอื อุปกรณอ์ ่นื
ช่วย เช่น แผ่นซดี ี ดีวีดี ฟลิ ม์ ภาพยนตร์ สไลด์ ฯลฯ เป็นตน้
3. เทคนิคหรอื วิธีการ (Techniques or Methods) เปน็ แนวความคดิ กจิ กรรม หรือรูปแบบ
ขน้ั ตอนทใ่ี ชใ้ นการเรียนการสอน โดยสามารถนาสื่อ วสั ดุ อุปกรณ์ มาช่วยในการจัดการเรียนการสอน
ได้ เชน่ เกม สถานการณ์จาลอง การทดลอง การสาธิต การสอนแบบจุลภาค ฯลฯ เป็นต้น
คุณคา่ ของสอ่ื การเรยี นการสอน
สื่อการเรยี นการสอนมคี ณุ ประโยชนต์ ่อผ้เู รียนและผสู้ อน ดงั น้ี
คุณค่าของส่ือการเรียนการสอนต่อผเู้ รียน
1. ช่วยกระตุ้นและเรา้ ความสนใจของผูเ้ รยี น
2. ช่วยใหผ้ ู้เรียนเขา้ ใจเนื้อหาบทเรยี นทยี่ ่งุ ยากซบั ซ้อนไดง้ ่ายข้นึ ในระยะเวลาอันสนั้ และเกดิ
ความคดิ รวบยอดในเรอ่ื งนัน้ ไดถ้ กู ต้อง เชน่ ใช้หนุ่ จาลองแสดงให้เหน็ ถึงลกั ษณะและตาแหนง่ ท่ีตั้งของ
อวยั วะภายในรา่ งกายมนุษย์
3. ช่วยแกป้ ญั หาดา้ นความแตกต่างระหว่างบคุ คลของผเู้ รยี น เช่น บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วย-
สอน ทาใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นร้ไู ปตามความสามารถของตนเอง
4. ชว่ ยใหเ้ กิดปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งครกู บั ผู้เรยี นและผเู้ รยี นกบั ผูเ้ รยี น ทาใหบ้ รรยากาศใน
การเรียนการสอนมชี วี ิตชวี าขนึ้
5. ช่วยทาให้นาเน้ือหาท่ีมีขอ้ จากดั มาสอนในชนั้ เรยี นได้ เช่น เนือ้ หาที่มอี ันตรายหรือ
เหตกุ ารณ์ในอดีต ก็บันทกึ เปน็ วีดทิ ัศน์มาใช้สอนได้
6. ช่วยให้ผเู้ รียนมีความกระตือรอื รน้ ในการเรยี น
7. ช่วยให้ผเู้ รียนเรียนรู้อย่างสนกุ สนานเพลดิ เพลินไม่รู้สกึ นา่ เบ่อื หน่าย
คณุ คา่ ของสอ่ื การเรยี นการสอนต่อผ้สู อน
1. ชว่ ยใหผ้ ู้สอนมคี วามมัน่ ใจในการสอนมากขึน้
2. ช่วยสรา้ งบรรยากาศทดี่ ใี นการสอน
3. ชว่ ยลดภาระของครูผ้สู อนในด้านการบรรยายลง เพราะบางคร้ังอาจให้ผเู้ รียนศกึ ษาเนอ้ื หา
46
จากสือ่ ด้วยตนเอง
4. ช่วยกระตุ้นใหค้ รผู สู้ อนตืน่ ตัวอยเู่ สมอ ต้งั แต่ขัน้ เตรียมผลิตสื่อการเรียนการสอน การเลอื ก
สอ่ื การเรียนการสอนหรือการจดั หาสอื่ การเรยี นการสอน ตลอดจนการแสวงหาเทคนคิ ใหม่ ๆ มาใชส้ อน
หลักการเลือกสื่อการเรยี นการสอน
สื่อการสอนมีอยู่หลากหลายรปู แบบหลากหลายประเภท การเลือกสอื่ การสอนมีความสาคญั
มากตอ่ กระบวนการเรยี นการสอน อยา่ งไรก็ตามในการเลอื กสือ่ การสอนพงึ ระลึกไว้เสมอว่า "ไม่มีส่ือ
การสอนอันใดทใี่ ช้ไดด้ ที ี่สดุ ในทกุ สถานการณ์" ในการตดั สนิ ใจเลอื กใชส้ ือ่ การสอนต้องพจิ ารณาถงึ
ปัจจัยหลายๆ อย่างร่วมกัน ผู้ใช้สื่อไม่ควรยกเอาความสะดวก ความถนดั หรอื ความพอใจส่วนตัวเปน็
ปัจจยั สาคญั ในการเลือกส่ือการสอนเพราะอาจเกดิ ผลเสียตอ่ กระบวนการเรยี นการสอนได้
แนวคิดเก่ยี วกบั การเลอื กสอื่ การสอนกเ็ ปน็ อกี ประเด็นหนง่ึ ทมี่ ผี ้ใู หค้ วามสนใจและให้คาแนะนาไว้
หลากหลายมุมมอง ในทนี่ ีจ้ ะนาเสนอเฉพาะแนวคิดของโรมสิ ซอวส์ ก้ี และแนวคดิ ของเคมพ์และสเมล
ไล ซง่ึ มีรายละเอียดดงั น้ี
1.1 แนวคดิ การเลอื กสอ่ื การสอนของโรมสิ ซอวส์ ก้ี
A. J. Romiszowski (1999) ไดเ้ สนอแนวทางอย่างงา่ ยในการพจิ ารณาเลอื กใชส้ ่ือการสอน
ไว้ว่า ในการเลอื กสอื่ การสอนนั้นมีปจั จัยหลายอย่างทม่ี ีผลต่อการเลือกสอ่ื ที่จาเปน็ ตอ้ งนามาพิจารณา
ปจั จัยเหลา่ นนั้ ได้แก่
1. วิธีการสอน (Instructional Method) การเลอื กวธิ กี ารสอนเป็นปจั จยั แรกทค่ี วบคมุ การ
เลอื กส่อื หรอื อย่างน้อยท่ีสุดกเ็ ปน็ ส่ิงทจี่ ากดั ทางเลือกของการใช้ส่ือการสอนในการนาเสนอ เชน่ ถ้า
เลือกใชว้ ิธกี ารสอนแบบอภปิ รายกลุม่ ( Group Discussion) เพ่ือแบง่ ปนั ประสบการณซ์ ึง่ กนั และกัน
ระหว่างผเู้ รียน ยอ่ มเปน็ สง่ิ ทเี่ หน็ ไดช้ ัดวา่ การเลอื กใชเ้ ทปเสียง หรือ ใชโ้ ทรทัศนย์ ่อมไม่เหมาะสม ทั้งน้ี
เนือ่ งจากส่อื ดังกล่าวมีขอ้ จากดั ในเรอื่ งของการให้ผลยอ้ นกลบั หรอื การแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ เปน็ ตน้
2. งานการเรยี นรู้ (Learning Task) ส่ิงที่มีอิทธพิ ลตอ่ ทางเลือกในการเลอื กสอ่ื การสอนอีก
ประการหนง่ึ คอื งานการเรียนรู้สาหรบั ผู้เรยี น เพราะสงิ่ นี้จะเป็นสิ่งท่จี ากดั หรือควบคุมการเลอื กวิธกี าร
สอน ตวั อย่างเช่น การฝึกอบรมผู้ตรวจการ หรอื ทกั ษะการบริหารงาน ซ่งึ มกั จะนิยมใช้วิธกี ารสอนแบบ
การอภปิ รายกลุ่ม เพื่อผู้ตรวจการแต่ละคนแบง่ ปันประสบการณ์ของตนกับผเู้ ขา้ รับการอบรมอนื่ ๆ การ
ใช้กรณศี ึกษาซึ่งนาเสนอด้วยภาพยนตร์ กเ็ ปน็ ตัวอยา่ งทางเลือกหน่งึ ทถ่ี กู กาหนดใหเ้ ลือกจากวธิ ีการสอน
3. ลักษณะของผู้เรียน ( Learner Characteristics) ลักษณะพิเศษเฉพาะของผูเ้ รียนกเ็ ปน็
ปัจจัยหน่งึ ทมี่ อี ิทธพิ ลโดยตรงต่อการเลือกส่อื การสอน ตัวอยา่ งเช่น การสอนผเู้ รียนที่เรยี นรู้ไดช้ ้า โดย
การใชห้ นงั สือหรือเอกสารเป็นสือ่ การสอน จะเปน็ ส่ิงที่ยิง่ ทาให้เกิดปญั หาอืน่ ๆ ตามมาในกระบวนการ
เรยี นการสอน ผู้เรยี นกลมุ่ น้คี วรเรยี นรจู้ ากสอ่ื อื่นๆ ทที่ าการรบั รู้และเรียนรไู้ ด้งา่ ยกวา่ น้ัน
47
4. ข้อจากดั ในทางปฏบิ ตั ิ ( Practical Constrain) ข้อจากดั ในทางปฏิบัตใิ นทนี่ ้หี มายถงึ
ขอ้ จากดั ทงั้ ทางด้านการจัดการ และทางดา้ นเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นปจั จัยทมี่ ีอทิ ธพิ ลตอ่ ทางเลือกในการ
เลอื กใช้วธิ กี ารสอนและสอ่ื การสอน เชน่ สถานท่ใี ช้ส่อื การสอน ส่งิ อานวยความสะดวก ขนาดพ้ืนท่ี
งบประมาณ เปน็ ต้น
5. ผู้สอนหรอื ครู ( Teacher) สื่อการสอนแต่ละชนิดไม่วา่ จะมขี ้อดีอย่างไร แต่อาจไม่ถกู
นาไปใช้เพยี งเพราะผู้สอนไม่มที กั ษะในการใชส้ อื่ น้นั ๆ นอกจากประเดน็ ในเรอื่ งทักษะของผสู้ อนแลว้
ประเดน็ ในเรื่องทัศนคตขิ องผูส้ อนกเ็ ป็นส่งิ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อการเลอื กส่อื การสอนเชน่ กนั
1.2 แนวคดิ การเลือกส่ือการสอนของเคมพ์และสเมลไล
Jerrold E. Kemp และ Don C. Smelle (1989) เสนอว่า นอกจากงานการเรียนรู้หรอื
สถานการณก์ ารเรียนรซู้ ง่ึ เปน็ สิ่งสาคญั ที่กาหนดถงึ สื่อทจี่ ะเลอื กใชแ้ ลว้ สิ่งสาคัญประการต่อมาในการ
พิจารณาเลือกใชส้ ่อื การสอนคอื คณุ ลักษณะของสือ่ ซึง่ ผู้สอนควรศึกษาคุณลกั ษณะของสื่อแตล่ ะชนดิ
ประกอบในการเลือกสือ่ การสอนด้วย
คุณลกั ษณะของสอื่ ( Media Attributes) หมายถงึ ศกั ยภาพของส่อื ในการแสดงออกซง่ึ
ลกั ษณะต่างๆ เช่น การเคลื่อนไหว สี และเสียง เป็นตน้ คาถามพนื้ ฐานในการเลือกสื่อคอื "คุณลักษณะ
ของสอ่ื แบบใดทจ่ี าเปน็ สาหรับสถานการณ์การเรียนรูใ้ นแบบที่กาหนดให้" คุณลกั ษณะของสื่อที่สาคญั
ไดแ้ ก่
1. การแสดงแทนด้วยภาพ (เชน่ ภาพถา่ ย ภาพกราฟกิ )
2. ปัจจัยทางดา้ นขนาด (เช่น การใช้/ไม่ใช้เครื่องฉายเพื่อขยายขนาด)
3. ปจั จยั ทางดา้ นสี (เชน่ สสี ันต่างๆ ขาว-ดา)
4. ปัจจยั ทางดา้ นการเคลอื่ นไหว (เช่น ภาพนิง่ ภาพเคลอื่ นไหว)
5. ปจั จยั ทางด้านภาษา (เช่น ข้อความ/ตวั อกั ษร เสียงพดู )
6. ความสัมพันธ์ของภาพและเสยี ง (เช่น ภาพทม่ี ี/ไม่มเี สียงประกอบ)
7. ปัจจยั ทางด้านการจดั ระเบยี บขอ้ มลู (กาหนดให้ดทู ีละภาพตามลาดบั หรือตามลาดบั ที่
ผูช้ มเลือก)
นอกจากนี้ Kemp และ Smellie ได้แนะนาอีกว่า ในการเลอื กสื่อการสอน อาจเรม่ิ ตน้ จาก
การตอบคาถาม 3 ข้อดงั ต่อไปนี้ (Kemp และ Smellie 1989)
1. วิธกี ารสอนแบบใดจึงจะเหมาะสมทส่ี ุดกับวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรแู้ ละลกั ษณะของ
ผู้เรยี น เชน่ ควรใช้การนาเสนอ การเรียนรดู้ ้วยตนเองตามจังหวะการเรยี นรูข้ องผเู้ รียนแต่ละคน หรอื
การเรียนแบบกล่มุ ยอ่ ย เปน็ ตน้
2. ประสบการณก์ ารเรียนรู้แบบใดเหมาะสมทสี่ ุดกับวตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ เช่น
ประสบการณ์ตรง ฟงั คาบรรยาย อ่านเอกสาร/ตารา
48
3. ถ้ามีการเลอื กใหผ้ ้เู รยี นมีประสบการณก์ ารเรียนรโู้ ดยผ่านการรบั รู้หรือการรบั สมั ผสั
ตอ้ งใชส้ อ่ื ท่ีมีคุณลกั ษณะอย่างไรจึงจะเหมาะสมกับการรบั รหู้ รือการรับสมั ผสั นัน้ ๆ มากท่สี ดุ
อยา่ งไรกต็ ามจากคาแนะนาข้างต้นในการตัดสนิ ใจเลือกใชส้ ือ่ การสอน ควรเปน็ การตัดสินใจในการใช้
สอ่ื การสอนสาหรบั การเรยี นรใู้ นแตล่ ะหลักการหรือแต่ละหัวขอ้ หรอื แตล่ ะประเด็นของบทเรยี น ไมค่ วร
เปน็ การตัดสินใจเพื่อการเรยี นรใู้ นภาพโดยรวมท้ังหมดของเน้อื หาทั้งหลักสูตร เพราะเนื้อหาแต่ละหัวข้อ
หรอื แต่ละส่วนยอ่ มมีลักษณะธรรมชาตขิ องเนอ้ื หาแตกต่างกนั ออกไป
โดยสรุป การเลือกส่ือการสอนตามคาแนะนาของ โรมิสซอวส์ ก้ี และ เคมพ์และสเมลไล
นนั้ ควรเรม่ิ ตน้ จากการพิจารณางานการเรยี นรูห้ รอื สถานการณ์การเรียนรู้ และนามาพิจารณาเลอื ก
คุณลกั ษณะของส่อื การสอนท่ีเหมาะสมจะใช้กับงานการเรียนรู้/สถานการณ์เรียนร้นู ้นั ๆ เม่อื ไดก้ าหนด
คุณลักษณะของสือ่ ท่เี หมาะสมแล้ว จะเปน็ สงิ่ ที่บง่ บอกถึงกลมุ่ หรอื ประเภทของสอื่ การสอนทส่ี ามารถ
เลือกมาใชง้ านได้
จากแนวคดิ ของผูเ้ ชยี่ วชาญต่างๆ สามารถสรุปเป็นหลกั การอย่างง่ายในการเลือกสื่อการเรยี น
การสอนไดด้ งั นี้
1. เลอื กสอ่ื การสอนที่สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
ผูส้ อนควรศกึ ษาถงึ วัตถปุ ระสงค์การเรยี นร้ทู หี่ ลกั สูตรกาหนดไว้ วัตถปุ ระสงค์ในทนี่ ้ี
หมายถึงวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะในแต่ละส่วนของเนื้อหายอ่ ย ไมใ่ ช่วตั ถุประสงค์ในภาพรวมของหลกั สูตร
เช่น หลกั สูตรกาหนดวัตถปุ ระสงคไ์ ว้ว่า หลังการเรยี นผูเ้ รียนควรจาแนกรสเปร้ียวและรสหวานได้
ดังนน้ั งานการเรยี นรูค้ วรเป็นประสบการณต์ รง ผ้สู อนควรพจิ ารณาวา่ สอื่ การสอนทเี่ หมาะสมจะใช้กับ
การใหป้ ระสบการณ์ตรงไดแ้ ก่อะไรบา้ ง ซึ่งจากตวั อยา่ ง อาจเลอื กใช้ผลไมท้ ม่ี ีรสเปรยี้ ว กบั ขนมหวาน
ใหผ้ เู้ รียนได้ชมิ รสด้วยตนเอง เป็นต้น
2. เลอื กส่ือการสอนทีต่ รงกบั ลกั ษณะของเนอ้ื หาของบทเรียน
เนื้อหาของบทเรียนอาจมลี ักษณะแตกต่างกันไป เช่น เป็นขอ้ ความ เป็นแนวคดิ เป็น
ภาพนิง่ ภาพเคลอื่ นไหว เป็นเสียง เป็นสี ซงึ่ การเลือกสื่อการสอนควรเลอื กใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะของ
เนือ้ หา ตวั อยา่ งเช่น การสอนเรอื่ งสตี ่างๆ ส่อื กค็ วรจะเปน็ ส่ิงทแ่ี สดงออกไดถ้ งึ ลักษณะของสีต่างๆ ตามท่ี
สอน ดงั นั้นควรเลอื กสือ่ การสอนทใี่ ห้เนอื้ หาสาระครอบคลมุ ตามเน้อื หาที่จะสอน มีการให้ข้อเทจ็ จริงที่
ถูกต้อง และมีรายละเอียดมากเพยี งพอท่จี ะให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ตามวตั ถปุ ระสงค์ทีก่ าหนดไว้
3. เลือกสือ่ การสอนให้เหมาะสมกับลกั ษณะของผู้เรียน
ลักษณะเฉพาะตัวต่างๆ ของผเู้ รยี นเปน็ สิง่ ทีม่ ีอิทธพิ ลต่อการรับร้สู อ่ื การสอน ในการ
เลอื กสือ่ การสอนต้องพจิ ารณาลักษณะต่างๆ ของผเู้ รยี น เช่น อายุ เพศ ความถนัด ความสนใจ ระดับ
สตปิ ัญญา วัฒนธรรม และประสบการณ์เดิม ตวั อย่างเช่น การสอนผเู้ รยี นท่ีเป็นนกั เรียนระดบั
ประถมศึกษาควรใชเ้ ปน็ ภาพการต์ นู มีสีสนั สดใส ในขณะทก่ี ารสอนนกั เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาอาจใช้
49
เปน็ ภาพเหมอื นจรงิ ได้ ซึง่ ขอ้ มลู เกยี่ วกับการเลอื กส่ือให้เหมาะสมกบั ลักษณะผเู้ รยี นน้นั ควรศกึ ษาจาก
ผลงานวิจัย
4. เลือกสอื่ การสอนใหเ้ หมาะสมกับจานวนของผู้เรียน และกจิ กรรมการเรยี นการสอน
ในการสอนแตล่ ะคร้งั จานวนของผู้เรยี นและกิจกรรมที่ใชใ้ นการเรยี นสอน ในหอ้ งก็
เปน็ ส่ิงสาคัญทตี่ อ้ งนามาพิจารณาควบค่กู นั ในการใชส้ ื่อการสอน เช่น การสอนผเู้ รียนจานวนมาก
จาเป็นต้องใช้วธิ กี ารสอนแบบบรรยาย ซึ่งส่อื การสอนที่นามาใช้อาจเปน็ เครอื่ งฉายต่าง ๆ และเคร่ือง
เสียง เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมองเห็นและไดย้ นิ อยา่ งทัว่ ถึง สว่ นการสอนผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คล อาจเลือกใชว้ ธิ กี าร
สอนแบบค้นควา้ สื่อการสอนอาจเป็นหนังสอื บทเรยี นแบบโปรแกรม หรอื บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ย
สอน เป็นต้น
5. เลอื กส่อื การสอนทเ่ี หมาะสมกับสภาพแวดล้อม
สภาพแวดลอ้ มในท่นี อ้ี าจได้แก่ อาคาร สถานท่ี ขนาดพ้นื ที่ แสง ไฟฟา้ เสียงรบกวน
อุปกรณ์อานวยความสะดวก หรือ บรรยากาศ สิ่งเหลา่ นค้ี วรนามาประกอบการพจิ ารณาเลือกใชส้ ื่อการ
สอน ตวั อยา่ งเชน่ การสอนผเู้ รียนจานวนมากซง่ึ ควรจะใชเ้ ครือ่ งฉายและเครื่องเสยี ง แตส่ ถานทส่ี อนเป็น
ลานโล่งมหี ลังคา ไม่มผี นังห้อง มีแสงสวา่ งจากภายนอกส่องเขา้ มาถงึ ดงั นั้นการใช้เครื่องฉายท่ีต้องใช้
ความมดื ในการฉายกต็ ้องหลีกเล่ียง มาเป็นเคร่อื งฉายประเภทท่ีสามารถฉายโดยมีแสงสวา่ งได้ เปน็ ตน้
6. เลอื กสือ่ การสอนที่มลี กั ษณะน่าสนใจและดึงดดู ความสนใจ
ควรเลอื กใช้สื่อการสอนทีม่ ีลกั ษณะนา่ สนใจและดงึ ดูดความสนใจผู้เรยี นได้ ซ่งึ
อาจจะเป็นเรอื่ งของ เสียง สสี นั รูปทรง ขนาด ตลอดจนการออกแบบและการผลิตด้วยความประณตี สง่ิ
เหลา่ นีจ้ ะช่วยทาใหส้ ื่อการสอนมีความนา่ สนใจและดึงดดู ความสนใจของผู้เรียนได้ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ
บรรยากาศการเรียนร้ทู ส่ี นกุ สนาน น่าสนใจ หรือสรา้ งความพงึ พอใจให้แกผ่ เู้ รยี น
7. เลือกสือ่ การสอนท่มี ีวิธกี ารใชง้ าน เก็บรกั ษา และบารุงรกั ษา ไดส้ ะดวก
ในประเดน็ สุดทา้ ยของการพจิ ารณา ควรเลือกสอื่ การสอนทีม่ ีวิธีการใช้งานได้สะดวก
ไม่ยุ่งยาก และหลังใชง้ านควรเก็บรกั ษาได้ง่ายๆ ตลอดจนไมต่ อ้ งใชว้ ธิ ีการบารงุ รักษาท่ีสลบั ซับซ้อน
หรือมคี ่าใชจ้ า่ ยในการบารงุ รกั ษาสงู
การออกแบบส่ือการเรียนการสอน
การออกแบบสอื่ การสอน เปน็ ขน้ั ตอนท่ีมคี วามสาคญั ต่อสมั ฤทธผิ ลของแผนการสอนทีว่ างไว้
ความนา่ สนใจและความเข้าใจในบทเรียนเปน็ ผลมาจากประเภท ลกั ษณะ และความเหมาะสมของสอื่ ที่
ใช้
การออกแบบสอ่ื การสอน คือ การวางแผนสร้างสรรค์สื่อการสอนหรือการปรบั ปรงุ สอ่ื การสอน
ใหม้ ีประสทิ ธิภาพและมสี ภาพทด่ี ี โดยอาศัยหลักการทางศลิ ปะ รู้จกั เลือกสอ่ื และวิธีการทา เพื่อใหส้ ือ่ นั้น
มีความสวยงาม มีประโยชนแ์ ละมีความเหมาะสมกบั สภาพการเรียนการสอน
50
1. ลักษณะการออกแบบที่ดี (Characteristics of Good Design)
1.1 ควรเปน็ การออกแบบทีเ่ หมาะสมกับความม่งุ หมายของการนาไปใช้
1.2 ควรเป็นการออกแบบทม่ี ีลกั ษณะง่ายตอ่ การทาความเขา้ ใจ การนาไปใชง้ านและ
กระบวนการผลิต
1.3 ควรมสี ดั ส่วนทีด่ ีและเหมาะสมตามสภาพการใชง้ านของสอ่ื
1.4 ควรมีความกลมกลืนของส่วนประกอบ ตลอดจนสอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มของ
การใช้และการผลิตสอ่ื ชนดิ น้ัน
2. ปัจจัยพ้นื ฐานของการออกแบบสือ่ การสอน
1. เปา้ หมายของการเรียนการสอน เปน็ สิ่งท่ีกาหนดพฤตกิ รรมข้นั สดุ ท้ายของผู้เรยี นวา่ จะ
มีลกั ษณะเช่นไร โดยทั่วไปนิยมกาหนดพฤตกิ รรมท่เี ปน็ เปา้ หมายของการเรยี นการสอนไวเ้ ปน็ 3
ลักษณะ คอื
1.1 พฤติกรรมดา้ นพุทธพิ ิสยั (Cognitive Domain)เปน็ พฤตกิ รรมทีแ่ สดงวา่ ไดเ้ กดิ
ปัญญาความร้ใู นเนอ้ื หาวชิ านน้ั ๆ แล้ว สามารถท่จี ะบอก อธิบาย วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ หรือแกป้ ญั หา
เกย่ี วกบั เนอ้ื หาความรูน้ น้ั ได้
1.2 พฤตกิ รรมด้านทักษะพิสยั (Pyschomotor Domain) เปน็ พฤตกิ รรมดา้ นทักษะของ
รา่ งกายในการเคลอ่ื นไหว ลงมอื ทางาน หรือความวอ่ งไวในการแก้ปัญหา
1.3 พฤติกรรมด้านเจตตพสิ ัย (Affective Domain) เปน็ พฤติกรรมท่แี สดงถึง
ความรสู้ ึกด้านอารมณ์ทีม่ ตี อ่ สงิ่ ท่ีเรียนรแู้ ละสภาพแวดล้อม
ในการเรยี นการสอนครง้ั หนึง่ ๆ ย่อมประกอบด้วยพฤตกิ รรมท่เี ปน็ เปา้ หมายหลาย
ประการด้วยกนั สอื่ การสอนท่ีจะนามาใช้ หากจะตอ้ งสนองต่อทุกพฤติกรรมแล้ว ยอ่ มมลี กั ษณะสบั สน
หรอื ซับซอ้ น ในการออกแบบส่อื การสอน จงึ ต้องพจิ ารณาเลือกเฉพาะพฤตกิ รรมทเี่ ป็นจดุ เดน่ ของการ
เรียนการสอนน้ันมาเป็นพื้นฐานของการพิจารณาส่อื
2. ลกั ษณะของผเู้ รยี น เนอื้ หาและรายละเอียดของส่อื ชนิดหนึง่ ๆ ยอ่ มแปรตามอายุ และ
ความรพู้ ื้นฐานของผเู้ รียน แต่โดยสภาพความเปน็ จริงแล้ว ผเู้ รยี นแต่ละคนยอ่ มมคี วามแตกตา่ งกนั หาก
จะนามาเป็นเกณฑใ์ นการพิจารณาส่ือยอ่ มทาไม่ได้ ในทางปฏิบตั จิ งึ ใช้ลกั ษณะของผูเ้ รียนในกลมุ่ หลกั
เปน็ พื้นฐานของการพจิ ารณาสือ่ ก่อน หากจาเปน็ จึงคอ่ ยพจิ ารณาส่ือเฉพาะสาหรับผ้เู รยี นในกลุ่มพเิ ศษ
ต่อไป
3. ลกั ษณะแวดล้อมของการผลติ สือ่ ได้แก่
1. ลกั ษณะกิจกรรมการเรียน ซง่ึ ครูอาจจัดไดห้ ลายรูปแบบ เชน่
- การสอนกลมุ่ ใหญ่ ในลกั ษณะของการบรรยาย การสาธิต
- การสอนกลมุ่ เลก็
- การสอนเป็นรายบคุ คล
51
กจิ กรรมการเรียนการสอนแต่ละลักษณะยอ่ มต้องการสอ่ื ต่างประเภท ตา่ งขนาด
เชน่ สอื่ ประเภทสไลด์ ภาพยนตรม์ ีความเหมาะสมกบั การเรียนในลกั ษณะกลุ่มใหญ่ วดี ีโอ ภาพขนาด
กลาง เหมาะกับการสอนกลุ่มเล็ก ส่วนสือ่ สาหรบั รายบุคคลจะตอ้ งในลักษณะเฉพาะตัวทีจ่ ะเปิดโอกาส
ให้เดก็ ได้เรยี นรู้ และวดั ผลด้วยตนเอง
2. สง่ิ อานวยความสะดวกในการใชส้ ื่อ ได้แกไ่ ฟฟ้าเป็นองคป์ ระกอบสาคญั การ
ออกแบบสื่อสาหรับโรงเรียน หรอื ทอ้ งถิ่นทไ่ี ม่มีไฟฟา้ ใช้ ย่อมต้องหลีกเลี่ยงส่ือวัสดุฉาย
3. วสั ดุพนื้ บา้ น หรอื วสั ดทุ อ้ งถ่ิน นอกจากจะหาใชไ้ ดง้ า่ ยแล้วยงั จะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนได้
มองเหน็ ความสัมพนั ธ์ของสิ่งท่เี รียนรกู้ บั สภาพจรงิ ในชวี ติ ประจาวนั ไดด้ ีกว่าอกี ดว้ ย ดงั น้นั สอ่ื เพ่ือการ
สอนบรรลุเปา้ หมายเดียวกัน อาจจะมลี ักษณะแตกต่างกนั ตามสภาพของวสั ดุพืน้ บ้าน
4. ลักษณะของสื่อ ในการออกแบบและผลติ สือ่ จาเปน็ อย่างยิ่งทผ่ี ู้ผลติ ตอ้ งมีความรู้
เก่ยี วกับส่อื ในเร่ืองตอ่ ไปน้ี
1. ลกั ษณะเฉพาะตวั ของสือ่ สอ่ื บางชนิดมีความเหมาะสมกับผูเ้ รียนบางระดบั หรอื
เหมาะกบั จานวนผเู้ รยี นที่แตกต่างกนั เชน่ แผนภาพจะใชก้ บั ผูเ้ รียนที่มีพน้ื ฐานหรอื ประสบการณ์ในเร่อื ง
นน้ั ๆ มาก่อน ภาพการต์ นู เหมาะสมกับเดก็ ประถมศกึ ษา ภาพยนตร์เหมาะกบั ผเู้ รยี นท่เี ปน็ กลุ่มใหญ่ วิทยุ
เหมาะกับการสอนมวลชน ฯลฯ
2. ขนาดมาตรฐานของสอ่ื แมว้ ่ายังไม่มีการกาหนดเปน็ ตวั เลขทแ่ี น่นอน แต่ก็ถือเอา
ขนาดขั้นตา่ ทส่ี ามารถจะมองเหน็ ได้ชัดเจน และทวั่ ถึงเป็นเกณฑ์ในการผลิตส่อื
ส่วนส่ือวัสดฉุ ายจะต้องได้รับการเตรียมต้นฉบบั ให้พอดที ่จี ะไม่เกิดปัญหาในขณะ
ถา่ ยทาหรือมองเห็นรายละเอยี ดภายในชัดเจน เม่ือถ่ายทาข้ึนเป็นสอื่ แล้ว การกาหนดขนาดของตน้ ฉบับ
ใหถ้ อื หลกั 3 ประการ ตอ่ ไปนี้ คือ
- การวาดภาพและการเขยี นตัวหนังสือได้สะดวก
- การเก็บรกั ษาตน้ ฉบบั ทาได้สะดวก
- สดั ส่วนของความกว้างยาวเปน็ ไปตามชนิดของวัสดฉุ าย
3. องคป์ ระกอบของการออกแบบ
1. จุด ( Dots )
2. เสน้ ( Line )
3. รปู ร่าง รปู ทรง ( Shape- Form )
4. ปริมาตร ( Volume )
5. ลกั ษณะพืน้ ผิว ( Texture )
6. บรเิ วณว่าง ( Space )
7. สี ( Color )
8. นา้ หนักส่ือ ( Value )
52
4. การออกแบบผลติ สอื่ ใหม่ ควรคานึงถงึ
1. จดุ มุ่งหมาย ตอ้ งพจิ ารณาวา่ ตอ้ งการให้ผ้เู รยี นไดเ้ รียนอะไร
2. ผเู้ รยี น ควรไดพ้ ิจารณาผู้เรยี นท้งั โดยรวมวา่ เป็นใคร มีความรู้พ้ืนฐานและทักษะอะไร
มากอ่ น
3. ค่าใชจ้ า่ ย มงี บประมาณเพยี งพอหรือไม่
4. ความเชี่ยวชาญดา้ นเทคนคิ ถ้าตนเองไม่มที ักษะจะหาผูเ้ ชี่ยวชาญแตล่ ะด้านมาจาก
แหลง่ ใด
5. เครื่องมืออุปกรณ์ มเี คร่อื งมืออปุ กรณท์ ่ีจาเป็นพอเพียงตอ่ การผลติ หรอื ไม่
6. สง่ิ อานวยความสะดวก มีอย่แู ล้วหรอื สามารถจะจัดหาอย่างไร
7. เวลา มีเวลาพอสาหรับการออกแบบหรือไม่
การสร้างส่ือการเรยี นการสอน
การสร้างสอ่ื การเรียนการสอน จะต้องทาดว้ ยความรอบคอบ และคานึงถึงวธิ ีการของระบบ
(System approach) เพราะว่าส่อื การสอนที่ดีแต่ละชนิดย่อมตอ้ งมีวัตถุประสงค์ทห่ี วงั ผลชดั เจนและมี
ประสทิ ธภิ าพ และยังต้องผา่ นการทดสอบ และประเมินสอื่ กอ่ นทจี่ ะนาไปใช้หรือเผยแพร่ ดังนั้นใน
ขั้นตอนของการสร้างสอื่ จงึ มคี วามสาคัญอยา่ งยิง่ ซึง่ มีวิธีการดังตอ่ ไปน้ี
1. ศกึ ษาหลักสตู รและผ้เู รยี น เพื่อใหท้ ราบถึงรายละเอยี ดของสาระในรายวชิ าที่กาหนดใน
หลักสตู รว่า เน้อื หาท้งั หมดเปน็ อย่างไร ระดบั ใด ควรใช้เวลาในการสอนเท่าไร ผเู้ รยี นมีความรู้พ้ืนฐาน
เพยี งใด ความพรอ้ มของผู้เรยี นเป็นอยา่ งไรนอกจากนี้อาจต้องศึกษาประสบการณก์ ารสอนวิชานนั้ ๆ ของ
ตนเอง หรือผู้สอนคนอืน่ ๆเพือ่ เปน็ ข้อมลู ประกอบในการวางแผนการสอนต่อไป
2. กาหนดจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม หรือจดุ ประสงคอ์ น่ื ๆ ทส่ี ามารถวดั ได้ว่าผู้เรยี นเกดิ การ
เรยี นรแู้ ลว้ หรอื ไม่ การกาหนดจดุ ประสงค์นนั้ ผอู้ อกแบบอาจกาหนดวัตถปุ ระสงค์เฉพาะเองเพอื่ ให้ผล
สุดทา้ ยเกิดผลลัพธเ์ ป็นไปตามวตั ถุประสงคท์ ่วั ไป ทก่ี าหนดไว้ในหลักสูตร เพอ่ื ให้ผู้เรยี นไดร้ ับ
ความร้สู อดรบั กับมาตรฐานความรู้(Academic Content Standard) มาตรฐานความสามารถ (Performance
Standard)มาตรฐานกระบวนการ (Procedural Standard) และมาตรฐานความรูท้ เ่ี ป็นองค์รวม
(Declarative Standard)
3. เรียบเรียงจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม และคาถามนาร่องของวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อให้การเรยี นรมู้ ี
ความตอ่ เนือ่ งและเสริมซึง่ กันและกัน
4. วเิ คราะหเ์ น้อื หาจดั เป็นแผนภูมิขา่ ยงาน โดยอาศยั วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรมและคาถามนา
รอ่ งทจ่ี ัดทาไวน้ ามาประกอบในการวิเคราะหจ์ ัดเรยี งเนื้อหาวชิ าให้มคี วามสัมพันธ์ต่อเนอื่ งกนั และเสรมิ
ซง่ึ กันและกันโดยการจัดเรยี งหัวเรอื่ งในรปู แผนภูมิขา่ ยงานท่สี มบูรณ์ แสดงลาดับก่อนหลงั ของหวั เร่อื ง
ต่างๆ พร้อมทง้ั ลาดบั ทางตรรกะของเนือ้ หาทสี่ มบรู ณ์ดว้ ย
53
5. จดั ซอยเนอ้ื หาเปน็ สว่ นยอ่ ย การซอยเนื้อหาออกเป็นหน่วยยอ่ ยที่มคี วามสมบูรณใ์ นแตล่ ะ
หน่วยยอ่ ยพอสมควร จะทาใหส้ ร้างสื่อได้เฉพาะเจาะจงมากขึน้ และผเู้ รียนสามารถเรยี นรูไ้ ดช้ ดั เจนมาก
ขึ้น โดยไมส่ ับสนหรอื ขาดตอน
6. สรา้ งสือ่ ตามเนอื้ หาที่กาหนด
6.1 ส่วนหลกั (Set Frame) เป็นข้อมูลส่วนท่เี ปน็ สือ่ ทีผ่ ูเ้ รยี นสามารถจะเรยี นรู้ในเรื่อง
ตา่ งๆ ที่ไมเ่ คยรู้มากอ่ น
6.2 สว่ นแบบฝึกหัดหรือกิจกรรม (Practice Frame) เปน็ กรอบทีจ่ ะใหผ้ เู้ รยี นได้ฝกึ หัด
ขอ้ มลู ท่ีได้จากสว่ นหลกั หรือทากิจกรรมท่เี สริมความเขา้ ใจมากข้ึน
6.3 ส่วนทดสอบหรือส่งทา้ ย (Terminal Frame) เปน็ สว่ นทดสอบโดยผู้เรยี นจะต้องนา
ความรคู้ วามเขา้ ใจจากสว่ นหลักมาตอบ
6.4 สว่ นเสริม (Subterminal Frame ) เปน็ ส่วนที่จะแกไ้ ขความเข้าใจผดิ จากสว่ นสง่ ท้าย
เป็นส่วน ทจ่ี ะเสริมความเข้าใจให้ถูกตอ้ งยง่ิ ขึน้
7. ตรวจสอบความเรียบร้อยของส่อื แก้ไขปรับปรุงบางจดุ ท่ีบกพร่อง
8. ทดสอบบทเรยี นกับผเู้ รยี นเป้าหมาย เพ่ือตรวจดูว่าเป็นไปตามเป้าหมาย หรอื ไม่ เพียงใด ถ้า
จาเปน็ ต้องปรบั ปรุงกค็ วรแก้ไขกอ่ นนาไปใชจ้ รงิ
9. ทดสอบกบั ผ้เู รยี นเป้าหมาย
10. ติดตามผลการเรียนของผเู้ รยี นเปา้ หมาย เปน็ ปจั จยั ท่ีจาเป็นมากเพราะจะทาให้ทราบผลการ
เรยี นจากกลมุ่ เปา้ หมายต่างๆ เปน็ ไปตามที่คาดหวังไวอ้ ย่างไร มจี ดุ อ่อนหรือขอ้ บกพร่อง หรอื ประเดน็ ที่
ควรแกไ้ ขอย่างไรควรติดตามรวบรวมไว้เปน็ ข้อมลู ในการพัฒนาสื่อนีใ้ ห้ดีขึน้ ตอ่ ไป
การประเมนิ ผลสอื่ การเรยี นการสอน
ทุกวันนีส้ ่อื การเรียนการสอนมีบทบาทสูงในสงั คมการศึกษา ทง้ั ในและนอกระบบการศกึ ษา
ประเทศย่ิงเจรญิ เทคโนโลยยี ง่ิ กา้ วหน้า สื่อการศกึ ษายงิ่ มมี ากชนิดและรปู แบบประสทิ ธิภาพของ
สือ่ การศกึ ษาเป็นปัจจัยสาคัญหนง่ึ ที่ชว่ ยให้การส่อื สารการศกึ ษาเป็นไปอย่างมีคณุ ภาพ รวดเรว็ และ
สามารถตอบสนองความต้องการทีห่ ลากหลายของบคุ คลในสังคม สอ่ื ทม่ี ีประสิทธภิ าพสูงยอ่ มจะยังผล
สูง การวัด และการประเมินผลสื่อการเรียนการสอนเปน็ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทีช่ ว่ ยชศ้ี กั ยภาพ
และประสิทธิภาพของส่ือวา่ สอ่ื นน้ั ทาหน้าท่ตี ามที่วัตถุประสงค์กาหนดไดแ้ ค่ไหน ระดับใด กระบวน
การนเี้ องนาไปสู่การปรบั ปรงุ แกไ้ ขส่ือใหม้ ศี กั ยภาพในระดับมาตรฐาน
การสารวจเก่ยี วกบั การนาสื่อการเรียนการสอนทมี่ ไิ ด้ผา่ นการวัดและประเมนิ ผลไปใช้มีขึน้ อยู่
เสมอ ๆ เพอ่ื เตือนสติ เมือ่ เร็วนี้ ๆ ในปี พ.ศ. 1990 Rothe (ใน Nichols Randall G.,Robinson, Rhonda S.
และ Wilgmann, Betar, 1993) กล่าววา่ ครูทีพ่ จิ ารณาประสิทธิภาพส่อื และเทคนิค การผลติ สื่อมนี อ้ ยมาก
จากการศกึ ษาของ Komoski ในปี 1974 (Komoski, 1974) พบว่า วสั ดุการสอนเพยี งร้อยละ 1 เท่านัน้ ท่ี
54
ไดร้ บั การประเมินผลหน่งึ คร้งั หรือมากกวา่ เพือ่ ปรับปรงุ สอ่ื เมอ่ื เวลาลว่ งเลยมาเกือบ 20 ปี คิดหวงั กัน
ว่าการประเมนิ ผลส่ือเพ่ือให้ไดส้ อื่ ที่มีคณุ ภาพสงู น่าจะมขี ึ้นมาก แตจ่ ากการศึกษาของ Rothe มไิ ด้ยนื ยนั
วา่ ความหวังนีเ้ ปน็ จริง อันทีจ่ ริงโดยอุดมการณแ์ ล้ว ส่ือการเรียนการสอนทกุ ช้นิ จะต้องได้รบั การ
ประเมนิ ผล และปรับปรงุ จนมีมาตรฐานดีตามเกณฑท์ ่ีกาหนดกอ่ นทจี่ ะนาออกใช้ เพ่ือเป็นการประกนั
และใหค้ วามม่นั ใจแก่ผใู้ ชส้ ื่อว่าส่อื นน้ั มศี ักยภาพสามารถทางานได้ตามทก่ี าหนด ภายใต้เงอื่ นไขที่
เหมาะสมสาหรับผู้ใช้กล่มุ เปา้ หมายเฉพาะหน่งึ ๆ การประเมินผลทจี่ ะทาหน้าที่ข้างตน้ ได้ น่าจะเปน็ การ
ประเมินผลทใ่ี ช้การวดั การประเมินผลแบบองิ เกณฑ์ เพ่อื ให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี าหนด (Criterion
– base standards) ในที่น้ี จะเสนอแนะวธิ ีการวัดและประเมินผลส่ือการเรยี นการสอนแบบองิ เกณฑ์ อัน
เป็นวธิ ที ี่นาไปสู่การพจิ ารณาปรบั ปรุงส่ืออย่างมรี ะบบ
1. ความหมายของการประเมินผลสื่อการเรียนการสอน
การประเมนิ ผลส่อื การเรียนการสอน หมายถึง การวัดผลสื่อการเรยี นการสอนม าตี
ความหมาย (Interpretation) และตัดสนิ คณุ ค่า (Value judgment) เพ่อื ทจ่ี ะรูว้ ่า สื่อน้ันทาหนา้ ทต่ี าม
วตั ถุประสงค์ที่กาหนดไวไ้ ด้แค่ไหน มคี ณุ ภาพดหี รือไมเ่ พียงใด มลี กั ษณะถกู ตอ้ งตามทีต่ อ้ งการ หรอื ไม่
ประการใด จะเห็นว่า การประเมินผลสอื่ การเรียนการสอน กระทาได้โดยการพจิ ารณาข้อมูลทไี่ ด้ จาก
การวดั ผลสือ่ นน้ั เทียบกบั วัตถปุ ระสงค์ที่กาหนดไวข้ อ้ มูลท่ีได้จากการวัดผลซึง่ มคี วามสาคญั การวัดผล
จงึ ต้องกระทาอย่างมหี ลกั การเหตผุ ล และเป็นระบบเพือ่ ทจ่ี ะได้ข้อมูลทีเ่ ทีย่ งตรง สามารถบอกศกั ยภาพ
ของสอื่ ไดถ้ ูกต้องตรงตามความเปน็ จริงเพ่ือประโยชนข์ องการประเมนิ ผลส่ืออย่างเทีย่ งตรงตอ่ ไป
การวัดผลสอ่ื การเรียนการสอน หมายถงึ การกาหนดตัวเลข หรอื สัญลักษณ์อย่างมี
กฎเกณฑ์ใหก้ บั สอ่ื การเรียนการสอน
เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวดั และประเมินผลส่ือการเรียนการสอนมหี ลายรูปแบบ ผกู้ ระทาการ
วัดและประเมนิ ผลอาจเลือกใช้ตามความเหมาะสม ทน่ี ิยมกันมากไดแ้ ก่ แบบทดสอบ แบบสงั เกต แบบ
ตรวจสอบรายการ (Checklist) เปน็ ตน้
2. การวดั และการประเมนิ ผลสอื่ การเรียนการสอน
ในทีน่ ี้จะกลา่ วถึงการวดั และการประเมนิ ผลสอ่ื การเรียนการสอนท่มี ขี ั้นตอนการ
ตรวจสอบทพ่ี ิถพี ิถนั เพอ่ื ให้ได้สื่อทีม่ คี ุณภาพอย่างแท้จริง ในเบอื้ งแรก การตรวจสอบแบ่งออกได้เป็น
สองสว่ นใหญ่ คือ การตรวจสอบโครงสร้างภายในสื่อ (Structural) และการตรวจสอบคุณภาพสอ่ื
(Qualitative) ดงั จะไดก้ ล่าวรายละเอยี ดการตรวจสอบท้ังสองสว่ นตามลาดบั ต่อไปนี้
ขน้ั 1 การตรวจสอบโครงสรา้ งภายในสือ่ (Structural basis)
การตรวจสอบในขนั้ น้ีเปน็ การตรวจสอบสงิ่ ที่ปรากฏในสอื่ ซ่งึ สามารถสมั ผัสได้
ดว้ ยประสาทสมั ผัส ตา หู จมูก ล้นิ และกาย ถ้าสว่ นทปี่ รากฏนน้ั มลี ักษณะชัดเจน งา่ ย และสะดวกแก่
การรับรู้ ส่อื น้นั เปน็ ส่ือที่มีศักยภาพสงู ในการส่อื สาร การตรวจสอบทส่ี าคัญในข้นั ตอนนป้ี ระกอบดว้ ย
สองสว่ น คือ ลกั ษณะสอ่ื และเนื้อหาสาระในส่ือ
55
1. ลกั ษณะสอื่
ปจั จัยหลักที่มีผลตอ่ การผลิตสอื่ ใหม้ ีลักษณะตา่ ง ๆ คือ ลักษณะเฉพาะตาม
ประเภทของสอื่ การออกแบบ เทคนคิ วิธีและความงาม ดังน้นั ในการตรวจสอบลกั ษณะสอ่ื ผู้
ตรวจสอบจะมุ่งตรวจสอบทงั้ สปี่ ระเดน็ ข้างต้นเป็นหลกั
1.1 ลกั ษณะเฉพาะตามประเภทของส่อื
สื่อแต่ละประเภทมลี กั ษณะ และคณุ สมบตั ิเฉพาะ สือ่ การเรยี นการสอนบาง
ประเภทจะทาหน้าท่ีเพยี งใหส้ าระข้อมูล บางประเภทจะใหท้ ้งั สาระ และกาหนดให้ผเู้ รยี นตอบสนอง
ด้วยสื่อบางประเภท เชน่ ส่ือสาหรับการศกึ ษารายบุคคล สอื่ ที่เสนอเนอ้ื หาสาระขอ้ มูลอาจเสนอไดห้ ลาย
รปู แบบ ซึ่งอาจจะใหค้ วามเป็นรูปธรรม หรอื นามธรรมมากนอ้ ยแตกต่างกนั ทีเ่ ปน็ รูปธรรมมากทส่ี ุด คือ
ของจริง ซง่ึ อาจเปดิ โอกาสใหบ้ คุ คลใช้ประสาทสัมผัส สมั ผัสไดม้ ากชอ่ งรับสัมผสั กว่าสื่ออน่ื ทมี่ ีความ
เป็นรปู แบบรองลงมา ได้แก่ ของตัวอยา่ ง ของจาลอง เป็นตน้ ส่อื บางชนิดให้สาระเปน็ รายละเอียดมาก
บางชนดิ ใหน้ อ้ ย บางชนิดให้แต่หัวข้อ เช่น แผน่ โปรง่ ใส สอ่ื บางประเภทส่ือสารดว้ ยการดู บางประเภท
สื่อสารทางเสียง หรือบางประเภทสื่อสารดว้ ยการสมั ผัส ดมกล่นิ หรือล้ิมรส เชน่ การส่อื สารดว้ ยภาพ
ซ่ึงมีหลายชนดิ ตง้ั แตส่ อ่ื ประเภทกราฟฟกิ อยา่ งง่ายไปจนถงึ ภาพเหมอื นจริง สือ่ ประเภทกราฟฟกิ นั้น
ตอ้ งเสนอความคดิ หลกั เพียงความคดิ เดียว ภาพก็มีหลายชนดิ ภาพ 2 มติ ิ หรอื ภาพ 3 มิติ ภาพอาจจะ
อยู่นง่ิ หรือเคลื่อนไหวช้า – เร็ว บางชนดิ เป็นลายเส้น รายละเอียดน้อย เชน่ ภาพการต์ นู ซ่ึงต่างจาก
ภาพเหมอื นจริงทใ่ี ห้รายละเอยี ดมาก เป็นตน้ รปู แบบของเสนอภาพนั้น อาจจะเสนอภาพหลายภาพ
พรอ้ มกนั (Simultaneous Images หรือ Multi – images) หรอื อาจจะเสนอภาพทลี ะภาพตอ่ เนอ่ื งกนั
(Sequential Images) เหลา่ น้เี ป็นต้น ลกั ษณะที่แตกตา่ งกันนย้ี อ่ มใหค้ ณุ ค่าแตกต่างกัน
จะเห็นวา่ ในปจั จบุ ันส่อื แต่ละประเภทมีความหลากหลายในรูปแบบสว่ นหนงึ่
เนอื่ งจากความเจริญกา้ วหน้าของเทคโนโลยีและของวิธีการสอน การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยใี หม่ และ
ทฤษฎีการเรยี นการสอนท่ีนามาเนน้ ใหม่ เชน่ การประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎีจติ วทิ ยาพุทธิปญั ญา (Cognitive
Psychology) ในการเรียนการสอน ทาให้สือ่ การเรียนการสอนแตล่ ะประเภทมีมากรปู แบบอนั นามาซง่ึ
ประโยชนต์ ่อการสือ่ สาร เช่น บทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ซึ่งแตเ่ ดมิ ได้ประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎี
จิตวทิ ยาพฤติกรรมในการสรา้ งบทเรียน (Behavioral Psychology) CAI น้ันมลี กั ษณะเปน็ บทเรยี น
สาเร็จรูป แต่ในปจั จบุ นั การประยกุ ตใ์ ช้ทฤษฎจี ติ วทิ ยาพทุ ธปิ ญั ญา (Cognitive Psychology) ทาใหเ้ กดิ
CAI ในลักษณะของเกม (Games) สถานการณจ์ าลอง (Simulation) และโปรแกรมปญั ญาประดษิ ฐ์ตา่ ง ๆ
(Artificial Intelligence) แตอ่ ย่างไรกต็ ามถงึ แม้ส่อื การเรียนการสอนจะมรี ูปแบบท่หี ลากหลาย สือ่ ท่ีผลิต
กจ็ ะตอ้ งคงลกั ษณะเฉพาะตามประเภทส่อื ไว้ได้
ดังน้นั ในการตรวจสอบสอ่ื ผตู้ รวจสอบจะต้องพิจารณาความถกู ต้องของ
ลักษณะสอ่ื ทั้งแตล่ ะองคป์ ระกอบ และโดยส่วนร่วมในอันทีจ่ ะนาไปสู่การทางานท่สี มบูรณ์ตามศกั ยภาพ
ของสื่อแต่ละประเภท และตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการผลิตสือ่
56
1.2 มาตรฐานการออกแบบ (Design Standards)
การออกแบบสอื่ การเรียนการสอนเป็นการสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ใหมด่ ว้ ยการนา
สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ตามประเภทของส่อื และองคป์ ระกอบการเรียนการสอนที่เก่ียวข้องมาพิจารณาเพื่อ
ประโยชนข์ องการส่อื สาระตามความคาดหมาย องค์ประกอบการเรยี นการสอนท่เี กยี่ วข้องในทน่ี ี้ไดแ้ ก่
จติ วทิ ยาการเรยี นรเู้ ฉพาะกลุ่มเป้าหมาย หลักการสอน กระบวนการสือ่ สาร และลักษณะเฉพาะเรอ่ื งเปน็
ตน้ การออกแบบสือ่ ทด่ี ีจะต้องช่วยทาให้การส่อื สารคลุมเครอื และสบั สนจนเป็นอุปสรรคตอ่ การสอ่ื
ความเข้าใจ ดังนั้น ในการตรวจสอบสือ่ ในขนั้ นี้ ส่งิ ที่ผตู้ รวจสอบส่อื จะต้องพิจารณา คือ การช้ี หรอื
แสดงสาระสาคญั ตามทตี่ อ้ งการได้อยา่ งนา่ สนใจ กระชับ และได้ใจความสาคัญตามท่ตี ้องการได้อยา่ ง
นา่ สนใจ กระชบั และได้ใจความครบถว้ น มีความเหมาะสมกบั การจัดการเรยี นการสอน หรือการ
ฝกึ อบรม เชน่ จานวนเวลาเรยี น จานวนบุคคลผูใ้ ช้ส่ือ เปน็ ต้น มีความน่าสนใจ ตื่นหู ตน่ื ตา เร้าใจ และ
น่าเชอื่ ถือ อนง่ึ หากส่อื นนั้ มีกิจกรรมหรือตัวอยา่ งประกอบ กิจกรรมจะตอ้ งสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์
และเนื้อหาสาระ ทัง้ กจิ กรรมและตวั อยา่ งต้องสามารถจุด และตรึงความสนใจของกลมุ่ เปา้ หมายได้
ตลอดเวลา และนาไปสู่การขยาย หรือเสริมสาระทตี่ ้องการเรยี นรใู้ หก้ ระจ่างชดั แต่ถา้ สือ่ น้ันเปน็ วสั ดุ
กราฟิกก็จะต้องเป็นการออกแบบท่ลี งตวั มคี วามสมดุลในตวั
นอกจากน้ี ในบางครัง้ อาจใชก้ ารออกแบบแก้ขอ้ จากัด หรอื ข้อเสียเปรียบของ
ลักษณะเฉพาะบางประการของส่ือ แตก่ ารกระทาเชน่ น้ี จาเปน็ ต้องมผี ลงานวิจัยรองรับ ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมการสอนด้วยไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer–based instructional Program) ซ่ึงเปน็
บทเรยี นสาเร็จรูปรายบคุ คล ตามปกตบิ ทเรยี นลกั ษณะนี้ เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนใชเ้ วลาเรียนนานเทา่ ไรก็
ได้ แตน่ ักวิจยั กลมุ่ หนึง่ อันประกอบดว้ ย Belland, Tatlor, Canelos, Dwyer และ Baker (1985) ตงั้
ประเด็นสงสยั วา่ การให้ผ้เู รยี นมีโอกาสใช้เวลาเรยี นนานเท่าไรกไ็ ดน้ ั้น อาจจะเป็นผลทาใหผ้ ้เู รยี นไม่
ตง้ั ใจเรยี น ซ่ึงเป็นทีย่ อมรับกันโดยท่วั ไปแลว้ วา่ ความตั้งใจเรยี นเปน็ ปจั จยั สาคัญในการเรยี นรู้ คณะวจิ ยั
จึงได้ทาการวจิ ยั โดยกาหนดเวลาเรยี นในโปรแกรมการสอนดว้ ยไมโครคอมพวิ เตอร์ ซ่งึ การ
กาหนดเวลาเรยี นในบทเรยี น และการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีคอมพวิ เตอรท์ ่ีสามารถกาหนดเวลาเรยี น
สาเรจ็ รปุ รายบุคคลได้เป็นอย่างดี งานวิจยั ในลกั ษณะนีจ้ ะชว่ ยนกั ออกแบบสอื่ ใหม้ คี วามม่นั ใจในการ
ตดั สินใจเลอื กใชส้ อื่ ทพ่ี สิ จู น์แลว้ ว่ามีประสิทธภิ าพในการออกแบบ
1.3 มาตรฐานทางเทคนิควิธี (Technical Standards)
เทคนิควธิ ีการเสนอส่อื เปน็ ปัจจยั สาคัญอีกปจั จยั หน่ึงท่ชี ว่ ยใหส้ ่อื มคี วาม
น่าสนใจ และสามารถสอื่ สารได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ทีส่ าคัญประการหน่งึ ทีค่ วรเนน้ ในท่ีน้ีคอื เทคนคิ
วิธกี ารใช้ส่ือการเรียนการสอน ตอ้ งเป็นเทคนิควิธกี ารทางการศึกษา กล่าวคือ เปน็ เทคนิควธิ กี ารทช่ี ว่ ยให้
การเสนอสาระเปน็ ไปไดอ้ ย่างชัดเจน ไม่คลุมเครือ หรือไม่ซอ่ นเร้นสาระเพ่อื ใหม้ กี ารเดา ในด้านการ
นาเสนอเน้ือหาสาระ ผู้ตรวจสอบควรจะได้พจิ ารณาถงึ รปู แบบการนาเสนอ การนาเสนอต้องนา่ สนใจ
ตน่ื หู ตน่ื ตา ในกรณีทมี่ กี ารเปรยี บเทียบตอ้ งสามารถช้ใี ห้เหน็ ถงึ ความแตกตา่ งและความเหมือน
57
ก่อให้เกิดความเข้าใจง่าย มคี วามกระชบั และสามารถสรปุ กนิ ความไดค้ รบถ้วยถกู ตอ้ งตามท่ี
วตั ถปุ ระสงค์กาหนด อีกท้ังเปน็ เทคนคิ วิธีท่ีช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเกิดความรสู้ กึ เป็นจริงเปน็ จงั
ส่วนในด้านการใช้ส่อื ควรเป็นเทคนิควธิ ที ่ชี ว่ ยใหม้ คี วามคลอ่ งตัวในการใช้
ใชง้ า่ ย และมคี วามปลอดภัย
ตวั อย่างแบบฟอรม์ การตรวจสอบส่อื
แบบฟอรม์ การตรวจสอบวสั ดกุ ราฟกิ รูปแบบ
ช่ือ / เนื้อเรื่องวัสดกุ ราฟกิ [ ] ภาพวาด
ผผู้ ลติ [ ] แผนภมู ิ
ชุด (ถ้าม)ี [ ] กราฟ
วันท่ีผลิต [ ] โปสเตอร์
[ ] การ์ตูน
วตั ถุประสงคข์ องสื่อ :
สงู กลาง ต่า
รายละเอียดโดยสรุป : [] [] []
ความรู้ความสามารถทผี่ ้เู รยี นตอ้ งมีมากอ่ น [] [] []
ความรู้เนอื้ หาสาระพืน้ ฐาน [] [] []
ทักษะการดู [] [] []
อนื่ ๆ [] [] []
ความเห็น [] [] []
ความง่าย(องค์ประกอบและความคิด) [] [] []
ความคดิ หลกั ทสี่ าคัญมีหนงึ่ ความคดิ
สัมพนั ธก์ บั วตั ถุประสงค์
สี (ดึงดดู และตรึงความสนใจ)
ภาษมี สี าระ และสนับสนุนความคดิ ทีเ่ สนอในส่ือ
ความเข้าใจของผู้เรียน
ขนาดเหมาะสมกับการใช้ในหอ้ งเรียน
จุดเด่น :
จุดออ่ น :
ส่ิงทค่ี วรปฏิบัติ ผตู้ รวจสอบ
ตาแหนง่
วนั ท่ี
58
ตวั อย่างแบบฟอร์มการตรวจสอบสื่อ
แบบฟอร์มการตรวจสอบวสั ดเุ สยี ง
ช่อื สอื่ .......................................................................... รูปแบบ
ความเรว็
ผูผ้ ลิต / ผู้เผยแพร.่ ........................................................ - แผน่ เสียง
- รอบต่อวนิ าที - นาที
ชุด (ถา้ ม)ี ................................................. - เทปม้วน
- น้ิวต่อวนิ าที
วนั ทผี่ ลิต.................................................... ราคา..................................................................
- เทปตลับ
วตั ถุประสงคข์ องส่อื :
รายละเอยี ดโดยสรุป :
ความรู้ความสามารถท่ีผู้เรียนต้องมีมาก่อน
ความรเู้ นื้อหาสาระพื้นฐาน
ทักษะการดู
อนื่ ๆ
ความเหน็ สูง กลาง ต่า
ความถูกตอ้ ง [] [] []
คุณภาพเสยี ง [] [] []
คุณภาพการใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนรว่ ม [] [] []
ระดบั ความน่าสนใจ [] [] []
ระดับความยากของศพั ท์ [] [] []
คณุ คา่ โดยสว่ นรวม [] [] []
จุดเดน่ :
จดุ ออ่ น :
สงิ่ ท่คี วรปฏิบัติ ผตู้ รวจสอบ
ตาแหนง่
วนั ท่ี
59
ตวั อย่างแบบฟอร์มการตรวจสอบส่ือ
แบบฟอรม์ การตรวจสอบ INTERACTIVE VIDEO SOFTWARE
ชือ่ โปรแกรม :
ผผู้ ลิต / ผู้เผยแพร่ :
ท่อี ยู่ :
โทรศพั ท์ :
ความต้องการขน้ั ต่าในการใชส้ ่อื
คอมพิวเตอร์
[ ] แอปเปิ้ล (II,II อี, II จีเอส) [ ] ไอบีเอ็ม [ ] แมคอินทอส [ ] อืน่ ๆ
หน่วยความจา [ ] อนื่ ๆ
[ ] 1M [ ] 2M [ ] 3M [ ] 4M CD-ROM
ส่ิงทต่ี อ้ งการ ฉบบั
น้าหนกั
[ ] เคร่ืองพิมพ์ [ ] เมาส์ [ ] จอสี [ ] วดิ โี อดิส [ ] (คะแนน)
ราคา 3
3
ชดุ สมบูรณ์ : ชดุ เครอื ข่าย : 3
3
ชดุ ปฏบิ ัติการ : สาหรับสาเนา :
3
เนอื้ หาสาระ ใช่ 3
3
วัตถปุ ระสงค์การสอนกาหนดไวช้ ดั เจน 3
สาระเน้ือหาตรงกบั วตั ถุประสงคก์ ารสอน 3
สาระมคี วามถูกต้องและคาตอบที่ใหถ้ กู ต้อง 3
ความตอ่ เนื่องของบทเรยี นและการสอนมีความเป็นตรรกะและชัดเจน 3
การสอน 3
วิธีการสอนเป็นเทคนคิ ทางการศกึ ษา 3
การบอกผลการตอบสนองของผเู้ รียน 2
ปริมาณการเรยี นรู้สมั พันธก์ บั เวลาทผ่ี ู้เรียนใชเ้ ป็นอย่างดี
การเสนอคาถามเป็นแบบสุม่
ผเู้ รยี นเรียนอย่างกระฉับกระเฉง
ผู้เรียนสามารถสรปุ การทางานของเขาได้
ผเู้ รียนควบคมุ อัตราการนาเสนอ
ระบบสามารถแสดงผลสรปุ การทางานของผูเ้ รยี นท้งั ช้นั
ระบบการจัดการงา่ ยตอ่ การใชแ้ ละยืดหยนุ่
ป่มุ กดสาหรบั ให้คาสั่งปฏบิ ัติการเหมอื นกันตลอดโปรแกรม
60
คาชแี้ จงบนจอภาพ
>สามารถข้ามไปได้ถ้าผู้เรียนร้แู ล้ว 2
2
>ง่าย ชัดเจน และกะทัดรดั 2
2
>มีทัง้ ในโปรแกรมและคมู่ อื 3
3
>ช้ีแนะผู้เรยี นถึงควรปฏิบตั ใิ นโปรแกรม
3
การบรรจุ (load) โปรแกรมงา่ ย และคาแนะนาวิธกี ารบรรจชุ ดั เจน 3
2
โปรแกรมยอมรบั อกั ษรยอ่ สาหรับการตอบสนองพน้ื ฐาน 3
3
(เช่น Y สาหรบั Yes และ N สาหรบั No)
1
>ระบบจะทางานตามหนา้ ที่ 2
2
>ผเู้ รียนไม่จาเป็นตอ้ งมีความร้เู กย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ 2
>มคี วามต้องการใช้คูม่ ือนอ้ ย 3
3
>ผู้เรยี นสามารถย้อนกลับไปดเู ฟรมทมี่ าก่อน 2
2
>คาอธิบายสรปุ การทางานของโปรแกรมชดั เจน 2
3
การออกแบบ 3
2
ผูส้ อนปรบั เปลยี่ นอตั ราเรว็ การสอนและระดับการประสบความสาเร็จ 2
2
การใช้สอื่ เหมาะสม
2
กีใ่ ช้กราฟิกและภาพเคลือ่ นท่ี (animation) เหมาะสม 1
1
การใช้เสียงเหมาะสม 3
การเสนอบนจอภาพ
>ชัดเจน และไมส่ บั สน
>หลกี เล่ยี งการใชอ้ ักษรย่อหรอื รหัสลบั
การใชข้ อ้ ความกระพรบิ หรอื รูปแบบอนื่ ๆ เพ่ือเน้นขอ้ ความสาคญั
เม่อื ตอ้ งการย้ายจากจอหน่ึงไปยงั จออื่นไม่ใช้วธิ ีการเลอื่ นบรรทัด
การจัดใหม้ ีการตอบสนองของผู้เรยี นกอ่ นท่ีจะไปสูห่ นา้ ถัดไป
การเลือกคาส่ังผดิ หรอื ปมุ่ กดผดิ ไม่ทาใหโ้ ปรแกรมตอ้ งยกเลิก
รายการท่ีให้เลอื กเมนู มลี กั ษณะงา่ ยและสะดวก
การปฏิบัตกิ ารคาส่ังใด ๆ จานวนครง้ั ที่กดป่มุ กดนอ้ ย
การบอกให้ผูเ้ รยี นทราบถึงการพกั ในระหวา่ งโปรแกรม
การชแี้ นะผเู้ รยี นถงึ การตอบสนองทีม่ ุง่ หวัง
โปรแกรมสาเร็จรูป
การให้คาแนะนาสาหรบั การบรู ณาการเขา้ กับหลักสตู ร
การจดั ให้มวี สั ดเุ สรมิ
การแนะนากิจกรรมตดิ ตามผลที่น่าสนใจและ /หรอื โครงการงานต่าง ๆ
เอกสารตา่ ง ๆ เขียนอยา่ งชดั เจนและสมบรู ณแ์ บบ
รวมคะแนน 1.4 มาตรฐานความงาม(Aesthetic standards)
61
สื่อการเรยี นการสอนจะตอ้ งมีความงามตามลกั ษณะและประเภทของสื่อ ตอ้ งมี
ความประณีต เรียบร้อย และน่าจับตอ้ ง สิง่ เหลา่ นเ้ี กิดจากการออกแบบ และการผลติ ด้วยคณุ ภาพสงู
ความงามของสอ่ื เกดิ จาการออกแบบท่ลี งตัว และการขจัดส่งิ ทไี่ ม่เรยี บร้อยซึง่ อาจจะเป็นส่งิ รบกวนใน
กระบวนการสอื่ สาร ทีเ่ รียกว่า Noise ส่ิงทไ่ี มเ่ รียบร้อยนี้ก่อใหเ้ กดิ ความไมช่ ดั เจนข้นึ ได้ ท่สี าคัญอกี
ประการหน่ึงคือ สอ่ื ทดี่ ตี ้องมีความงามตามวัฒนธรรมไทย ตอ้ งไม่มสี ่วนใดของส่ือทก่ี ระทบกระเทอื น
ตอ่ วิถีชีวติ วถิ สี ังคม และวฒั นธรรมไทย นอกจากนส้ี อ่ื ตอ้ งมีความงามเหมาะสมกบั วัยร่นุ กลุม่ เป้าหมาย
ผตู้ รวจสอบลักษณะสอ่ื การเรียนการสอน
ผทู้ จ่ี ะทาหน้าทต่ี รวจสอบสอื่ ในขัน้ นี้ได้ดที ี่สดุ คือ นักโสตทศั นศกึ ษา หรือ นกั
เทคโนโลยกี ารศกึ ษาซงึ่ ถือว่าเป็นผู้เชย่ี วชาญดา้ นส่อื การเรียนการสอน ในการตรวจสอบสือ่ ชิน้ หนง่ึ ๆ
ควรมจี านวนผูเ้ ชี่ยวชาญอย่างน้อย 3 คน โดยใชฟ้ อรม์ การตรวจสอบเฉพาะประเภทสื่อ (ดตู ัวอยา่ ง
แบบฟอรม์ การตรวจสอบสื่อ 1, 2, 3) อาจจะมกี ารแสดงความคดิ เห็นเพิม่ เตมิ ได้ นาผลการตรวจสอบมา
ประเมนิ ผลรวมกัน เพอื่ ชี้แนะการปรับปรุงหรอื การดาเนนิ การเพือ่ ตรวจสอบเนอ้ื หาสาระในขนั้ ต่อไป
2. เนื้อหาสาระ
เนอ้ื หาสาระที่ปรากฏในสือ่ การเรยี นการสอนนนั้ ผผู้ ลิตส่อื ไดบ้ รรจุลงในสอ่ื โดย
ผ่านการวิเคราะห์เน้ือหา การออกแบบและการใชเ้ ทคนิควิธกี ารดาเนนิ การเพอื่ เสนอสาระให้ปรากฏตาม
ลักษณะประเภทของสอื่ เนอื้ หาทีป่ รากฏในสื่อจะต้องครบถว้ นและถูกต้อง ความถูกตอ้ งนจี้ ะถูกต้องตาม
เน้อื หารสาระจริง ซง่ึ อาจบอกขนาด ปรมิ าณ และหรือเวลา เป็นต้น สาระ หรือมโนทัศน์ท่สี าคญั ต้อง
ปรากฏอย่างชัดเจน อีกทั้งต้องมลี าดับของการเสนอเนือ้ หาสาระทกี่ อ่ ใหเ้ กิดความเข้าใจงา่ ย ไมส่ บั สน
หรอื วกวน การยกตัวอยา่ ง และหรือการกาหนดกิจกรรมตอ้ งมีความสัมพันธ์สอดคลอ้ งกับเนอื้ หาสาระ
และช่วยสนบั สนนุ เนือ้ หาสาระให้มีความกระจา่ ง และนา่ สนใจ
ผู้ตรวจสอบเนอื้ หาสาระ
ในการตรวจสอบเนื้อหาสาระท่ปี รากฏในสอ่ื ผตู้ รวจสอบได้แก่ ผเู้ ช่ยี วชาญใน
เนอ้ื หาสาระเฉพาะ และครูผสู้ อนกลุม่ เป้าหมายเป็นจานวนอยา่ งน้อย 3 คน กระทาการตรวจสอบโดย
ใชแ้ บบฟอรม์ การตรวจสอบเน้ือหาเป็นหลัก แสดงความเห็นเพื่อการปรับปรุงในส่วนทค่ี วรปรับปรงุ
หรือให้ความเห็นชอบเพื่อดาเนนิ การตอ่ ไป
เม่ือผูต้ รวจสอบทง้ั สองกลุ่มให้ข้อมลู จากการพิจารณาลักษณะสอ่ื และเนอื้ หา
สาระในส่อื การเรียนการสอนแล้ว ทาให้ทราบวา่ จะตอ้ งมกี ารปรบั ปรุงสอื่ หรือไม่ อยา่ งไร หากพบวา่ มี
ความจาเปน็ ตอ้ งมีการปรบั ปรงุ ทจ่ี ดุ ใด ก็ตอ้ งมกี ารปรับปรงุ ทจี่ ุดนั้น และจดุ ที่มผี ลกระทบอนั เกิดจากการ
ปรบั ปรุง หลังจากการปรบั ปรุงแลว้ จะต้องมกี ารตรวจสอบตามมา เปน็ วงจรเช่นน้ี จนกระทง่ั
ผเู้ ชี่ยวชาญเหน็ ว่า โครงสรา้ งภายในของสอื่ มมี าตรฐานดพี อ การประเมนิ ผลเพือ่ ปรับปรงุ นค้ี ือ
Formative Evaluation สือ่ ที่ผา่ นการประเมนิ ผลในข้ันน้ี จะไปสู่กระบวนการข้ันที่ 2 ตอ่ ไป
62
ขั้น 2 การตรวจสอบคุณภาพส่ือ (Qualitative basis)
เนือ่ งจากสอ่ื ทตี่ รวจสอบเปน็ ส่อื การเรยี นการสอน การตรวจสอบในข้ันนี้ จงึ เปน็ การ
ตรวจสอบประสทิ ธิภาพของส่ือ ตรวจดูการทางานของสือ่ วา่ เมอื่ ใช้สอ่ื นน้ั กบั ผเู้ รียนเปา้ หมายผู้เรียน
สามารถบรรลุวัตถปุ ระสงค์ท่ีกาหนดไวข้ อ้ ใดบา้ ง ตามเกณฑท์ ่ีกาหนดไวห้ รือไม่ ควรจะต้องมีการ
ปรบั ปรุงส่ือหรือไม่ อยา่ งไร ในการตรวจสอบประสิทธิภาพสอื่ การเรียนการสอน มีผ้เู สนอแนะวธิ ีการ
ประเมินผลและไดป้ ฏิบตั ิกนั มาหลายวธิ ี ในท่ีน้ผี เู้ ขียนจะกล่าวถึงการวดั และประเมนิ ผลสอ่ื การเรยี นการ
สอนท่ี เน้นความหมายของคุณภาพสือ่ ทีก่ ารบรรลุวัตถุประสงค์ทกุ ข้อในระดับมาตรฐาน เปน็ วธิ กี ารที่
ใหค้ วามสาคัญแก่ทุกวัตถปุ ระสงค์เทา่ กนั ดังนั้น ในการตรวจสอบ ผตู้ รวจสอบจะพิจารณาขอ้ มลู ท่ีได้
จากการวดั ผลในทุกวตั ถุประสงค์ วตั ถุประสงค์ใดท่ีผลการวดั แสดงว่ายงั ไม่บรรลุในระดบั มาตรฐานที่
กาหนด กจ็ ะต้องพิจารณาปรบั ปรุงส่อื ในสว่ นน้นั การพิจารณาปรับปรุงต้องพจิ ารณาทุกอย่างท่ี
เก่ยี วข้อง เชน่ การออกแบบเนือ้ หาสาระ รปู แบบการเสนอเน้อื หาสาระกิจกรรมการเรยี นการสอน (ถา้
มี) ความยากง่ายของภาษา หรือภาพท่ีใชส้ ่อื สาร ตัวอยา่ งประกอบแบบทดสนอบเพ ื่อการวดั ผลในสว่ น
นนั้ ๆ ลกั ษณะกล่มุ เป้าหมาย หรือแม้กระทงั่ วัตถปุ ระสงคท์ ีก่ าหนดไว้ทงั้ ในสว่ นนนั้ ๆ ลกั ษณะ
กลมุ่ เป้าหมาย หรือแมก้ ระทง่ั วตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไวท้ ้ังในสว่ นของเน้ือหาสาระและเกณฑ์ เป็นตน้
จะเหน็ ว่า การวดั และการประเมนิ ผลด้วยวธิ นี ี้ นอกจากจะใหค้ วามสาคัญแกท่ กุ วตั ถปุ ระสงค์เทา่ กัน
แลว้ ยงั เปน็ การชจ้ี ุด หรือส่วนทีค่ วรไดร้ ับการปรบั ปรงุ แกไ้ ข เป็นการทางานอย่างมีระบบ โอกาสทจ่ี ะได้
พฒั นาสือ่ ทม่ี คี ณุ ภาพมาตรฐานสูงย่อมเปน็ ไปไดโ้ ดยไม่ยาก
วธิ กี ารตรวจสอบคุณภาพสอื่ การเรยี นการสอน โดยปกติจะดาเนนิ การโดยการทดลอง
ใช้ส่ือกับตัวแทนกล่มุ เปา้ หมายในสภาพการณจ์ ริงปกติ ซึ่งแบ่งการดาเนินการออกเปน็ 3 ขั้นตอน คือ
ก) การทดสอบหน่ึงตอ่ หน่งึ ข) การทดสอบกลมุ่ เล็ก และ ค) การทดสอบกล่มุ ใหญ่ ดังจะได้กล่าวถงึ
รายละเอียดต่อไป อนึ่งกอ่ นการทดลองใชส้ อื่ ผู้ตรวจสอบต้องจัดเตรียมเคร่อื งมือ และตวั แทน
กลุ่มเปา้ หมาย
เครื่องมือ
เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการทดสอบคุณภาพส่ือการเรียนการสอน ทีน่ ิยมใช้กันมากมี
2 แบบ คือ
1. แบบทดสอบ
แบบทดสอบ ท่ใี ช้ในที่น้ี เป็นแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ควร
เปน็ แบบทดสอบทมี่ คี วามตรงเชิงเนอื้ หา (Content validity) สงู และสามารถวัดได้ตามเกณฑท์ ก่ี าหนด
ในแตล่ ะจุดประสงค์ โดยทัว่ ไปการพฒั นาแบบทดสอบมขี ้ันตอนดงั น้ี
1.1 กาหนดจานวนข้อของแบบทดสอบ
1.2 พิจารณากาหนดนา้ หนกั วัตถุประสงคแ์ ตล่ ะข้อของการพัฒนาส่อื แล้ว
คานวณจานวนขอ้ ทดสอบสาหรบั วตั ถุประสงคแ์ ตล่ ะข้อ
63
1.3 สร้างขอ้ สอบตามจานวนท ี่กาหนดไว้ในข้อ 1.2 โดยสามารถวดั ตาม
เกณฑท์ ่กี าหนดได้ในวัตถปุ ระสงคแ์ ต่ละข้อ โดยปกตคิ วรจะสร้างข้อสอบสาหรับวดั แต่ละวัตถุประสงค์
ใหม้ ีจานวนขอ้ อย่างนอ้ ยทีส่ ุดเปน็ 2 เท่าของจานวนข้อสอบที่ต้องการเพอ่ื การคัดเลือกข้อทเี่ หมาะสม
หลังจากทีไ่ ดน้ าไปทดลองใช้และวเิ คราะห์ขอ้ สอบ
1.4 พิจารณาตรวจเพอ่ื ความถูกต้อง และการแกไ้ ขปรบั ปรงุ แบบทดสอบ
โดยผูเ้ ช่ยี วชาญสร้างแบบทดสอบ
1.5 นาแบบทดสอบไปทดลองใชก้ ับตวั แทนกลุ่มเป้าหมายท่ีมคี วามรเู้ ร่ือง
เนอ้ื หาในสือ่ แล้ว
1.6 วิเคราะหแ์ บบทดสอบโดยตรวจค่าความเชอ่ื มนั่ ความตรงเชงิ เน้อื หา และ
ค่าความยากงา่ ย
1.7 คัดเลอื กขอ้ สอบให้มจี านวนขอ้ ตามความตอ้ งการ และสามารถวดั ตาม
เกณฑ์กาหนดสาหรบั แตล่ ะวัตถุประสงค์
2. แบบสงั เกต
ในระหวา่ งการทดลองใชส้ ่อื ผูต้ รวจสอบควรจะสังเกตและบนั ทึกการแสดง
ของสอ่ื และพฤตกิ รรมการใชส้ ือ่ ในการเรยี นการสอนของผใู้ ช้ เพ่ือประโยชนใ์ นการปรบั ปรงุ ส่งิ สาคญั
ที่ควรสงั เกต และบันทกึ ไว้เป็นรายการในแบบสังเกต คือ
ก. ความสามารถเข้าใจได้งา่ ย (Understandable)
ข. การใช้ประสาทสัมผสั ไดง้ า่ ย เชน่ มีขนาด อ่านงา่ ย หรอื ดูงา่ ย คุณภาพ
ของเสียงดี ฟงั ง่าย ฯลฯ
ค. การเสนอตวั ช้ีแนะ (Cuing) สาหรับสาระสาคัญเดน่ ชัดเจน สงั เกตงา่ ย
(Noticeable)
ง. ระยะเวลาทกี่ าหนดเหมาะสม ทัง้ เวลาการนาเสนอ และตอบสนองอกี ท้งั
ระยะเวลาในการส่อื สารเหมาะสมกบั วัยของผเู้ รยี น
จ. วิธกี ารใช้ทงี่ ่าย สะดวก ไมย่ ุง่ ยาก หรอื สลับซบั ซ้อนผ้เู รยี นสนใจ และ
ติดตามการแสดงของสอื่ โดยตลอด
ตัวแทนกลมุ่ เป้าหมาย
ตัวแทนกลมุ่ เป้าหมาย ได้แก่ ผเู้ รียน หรอื บุคคลทอ่ี ยใู่ นกลมุ่ เป้าหมายซ่ึงคดั เลอื ก
มาโดยวิธีการสมุ่ ตัวอยา่ งตามจานวนท่ตี อ้ งการในแต่ละครงั้ ของการทดสอบ ตัวแทนกลุ่มเป้าหมายคนใด
ทไ่ี ด้รับเลอื กเปน็ ตวั แทนในการทดสอบแลว้ จะไมเ่ ป็นตัวแทนของกล่มุ เป้าหมายในการทดสอบคร้ัง
ต่อไป กลา่ วคือ สมาชกิ แต่ละคนสามารถเป็นตัวแทนกลุ่มเปา้ หมายไดเ้ พยี งครัง้ เดยี ว
อนึง่ ตวั แทนกลุ่มเปา้ หมายจะต้องเป็นบุคคลท่ีไม่เคยเรยี น หรอื ไม่มคี วามรู้
เนือ้ หาสาระทเี่ สนอในส่อื มาก่อน
64
การทดสอบสื่อ
การทดสอบสอื่ เป็นการนาส่อื ไปทดลองใชก้ บั ตวั แทนกลมุ่ เป้าหมายตาม
สภาพการณ์จริงปกติ เพื่อทจี่ ะดวู า่ สอื่ ท่ผี า่ นการประเมนิ ผลโดยผเู้ ช่ยี วชาญแลว้ มีความเหมาะสมในการ
ส่อื สารกบั ผู้เรยี นกลุ่มเปา้ หมายได้หรอื ไม่ ดังนนั้ ในการทดสอบส่อื ขน้ั นี้ จะให้ผู้เรียนซงึ่ เป็นตัวแทน
กลมุ่ เปา้ หมายใชส้ ือ่ สภาพการณ์จรงิ ทุกอย่าง การทดลองใช้สื่อนีด้ าเนินเป็น 3 ขั้น ตามลาดบั ขา้ งลา่ งนี้
แตท่ ุกขน้ั จะดาเนนิ การเหมือนกนั คอื ใหต้ ัวแทนกลมุ่ เปา้ หมายใชส้ ือ่ สภาพการณเ์ ปน็ จรงิ ตามกาหนด
ในระหว่างการใชส้ ่ือผตู้ รวจสอบจะสงั เกตพฤติกรรมผู้ใชส้ อ่ื และลกั ษณะสือ่ ทีป่ รากฏโดยใชแ้ บบสงั เกต
ทเ่ี ตรยี มไว้ เมอื่ สนิ้ สุดการใช้ ผ้ตู รวจสอบจะสังเกตพฤติกรรมผู้ใช้ส่อื และลักษณะสือ่ ท่ีปรากฏ โดยใช้
แบบสงั เกตทีเ่ ตรียมไว้ นาผลการสังเกต และผลการทดสอบมาวเิ คราะห์เพอ่ื เป็นข้อมลู สาหรบั การ
ปรับปรุงแกไ้ ขส่อื กอ่ นทีจ่ ะนาไปทดลองใช้ในขน้ั ตอ่ ไป
1. การทดสอบหนึง่ ตอ่ หนง่ึ (One-on-one testing)
ในข้นั น้ี ให้ตัวแทนกลุ่มเป้าหมาย 1 คน เรยี นกบั สอื่ ในระหว่างการทดลอง
ใชส้ อ่ื ใหผ้ ู้ตรวจสอบทาการสังเกตการใชส้ ่ือการเรียนการสอนอยา่ งใกลช้ ดิ โดยใช้แบบสงั เกต และ
บนั ทึกผลการสังเกตเพ่อื เปน็ ขอ้ มูลในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขส่อื
2. การทดสอบกลุ่มเลก็ (Small group testing)
การทดสอบสื่อด้วยตวั แทนกล่มุ เปา้ หมายกลุม่ เลก็ จานวนประมาณ 5 – 10 คน
การทดสอบส่อื ในขั้นนี้ บางครงั้ อาจจะต้องการทามากกว่าหน่ึงครั้ง เพ่ือตรวจสอบดวู ่าสิ่งท่ีแกไ้ ข
ปรับปรงุ ในสอ่ื แลว้ นน้ั ช่วยใหผ้ ู้เรยี นสามารถบรรลุวัตถุประสงคไ์ ด้ดขี น้ึ ถงึ ระดบั เกณฑ์มาตรฐานแลว้
หรือยัง
3. การทดสอบกลุ่มใหญ่ (Large group testing)
การทดสอบสอื่ ในขั้นน้ี เปน็ การทดสอบดว้ ยกลมุ่ ตัวแทนกลมุ่ เปา้ หมายกลุ่ม
ใหญ่ประมาณ 30 คน เปน็ ขน้ั ตอนการทดสอบทหี่ ลงั จากสื่อได้รบั การปรับปรุงแกไ้ ขจนมคี ุณภาพ
มาตรฐานสูง ในบางครง้ั การทดสอบขัน้ นอ้ี าจให้ระดับมาตรฐานแกส่ อื่ ถ้าผตู้ รวจสอบพบผลจากการ
วเิ คราะหว์ า่ สอ่ื อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐานที่นา่ พอใจตามท่กี าหนดไว้โดยทฤษฎี หรือผลงานวิจัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ก็
จะหยุดการทดสอบสอื่ ทีข่ ัน้ น้ี และแจง้ ผลการทดสอบสอื่ ข้นั นี้เปน็ มาตรฐานของสือ่ การประเมินผลใน
ขน้ั นก้ี ารประผลรวม หรอื Summative Evaluation
ในบางกรณผี ู้ตรวจสอบบางคนอาจจะให้มีการทดสอบภาคสนาม (Field
Testing) ตอ่ จากการทดสอบกลมุ่ ใหญ่ และถอื ผลการทดสอบภาคสนามเป็นมาตรฐานของส่ือ การ
ทดสอบน้ี เปน็ การประเมนิ ผลรวม
65
อน่ึง การประเมนิ ผลแตง่ ตั้งข้ันการทดสอบหน่ึงตอ่ หนึ่งจนกระทั่งข้นั กอ่ น
การประเมินผลรวมเป็นการวดั และประเมนิ ผลเพอื่ ปรบั ปรงุ สือ่ ใหม้ ีคุณภาพสูงตามเกณฑท์ ก่ี าหนด การ
ประเมนิ ผลเหล่าน้ันจดั วา่ เปน็ Formative Evaluation
การวิเคราะห์ผลการทดสอบ
แนวคิดในการสะทอ้ นประสิทธภิ าพสอ่ื การเรยี นการสอนทีน่ ิยมปฏิบตั ิมี 2
แนวทาง คอื เกณฑม์ าตรฐาน 90/90 (The 90/90 standard) และ E1/E2
ในท่ีนีข้ อยกตวั อยา่ งเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 ซ่ึงในแต่ละขนั้ การทดสอบสื่อ
ข้างตน้ เมอื่ สนิ้ สดุ การทดสอบในแต่ละขนั้ ผตู้ รวจสอบจะนาแบบทดสอบของผูใ้ ช้สอ่ื แตล่ ะคนมาตรวจ
ให้คะแนน เช่น ให้คะแนน 1 คะแนน สาหรบั คาตอบถูก และให้ 0 คะแนน สาหรับคาตอบผิด แล้ว
บันทกึ ลงในแบบการวิเคราะห์ผลการทดสอบดงั แสดงในตารางท่ี 4.1 จะเห็นวา่ ชอ่ งขวามอื สดุ เป็น
คะแนนรวมของผเู้ รียนแตล่ ะคน เมื่อคานวณคะแนนรวมเฉลีย่ คิดเปน็ รอ้ ยละของกลมุ่ พบว่า มีค่า
เทา่ กบั 70 แตเ่ มอ่ื พจิ ารณาคะแนนรวมของผู้เรียนในแตล่ ะวตั ถปุ ระสงค์ โดยคดิ เป็นรอ้ ยละ พบวา่
ผูเ้ รยี นมีคะแนนรวมคิดเปน็ ร้อยละ 92 สาหรับวัตถปุ ระสงคท์ ่หี น่งึ และรอ้ ยละ 48 สาหรบั
วตั ถปุ ระสงคท์ ี่สอง ผลการวิเคราะห์นี้แสดงวา่ ผูเ้ รยี นบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ทสี่ องได้ไม่ถงึ คร่ึง ถ้ากาหนด
มาตรฐานของสื่อที่ระดับร้อยละ 90 วตั ถปุ ระสงค์แรกเท่านนั้ ทีบ่ รรลตุ ามเกณฑ์นี้ การพิจารณาชใี้ หเ้ หน็
วา่ ควรจะต้องมีการปรบั ปรุงท่วี ัตถุประสงค์ท่สี อง
เม่ือส่ือได้รับการพจิ ารณาปรับปรงุ ในทุกสว่ นทเ่ี กยี่ วข้องกบั วตั ถุประสงคท์ ี่
สองแลว้ ใหน้ าส่ือไปทดลองใช้กบั ตัวแทนกลุม่ เปา้ หมายกลมุ่ ใหม่ ภายหลงั จากการทดลองใชส้ อ่ื และ
ให้ทาการทดสอบแลว้ นาผลทดสอบมาวเิ คราะห์เช่นในครง้ั แรก หากการปรับปรุงแกไ้ ขไดผ้ ลดี การทา
แบบทดสอบเพื่อการวดั ผลวัตถปุ ระสงค์ท่ีสองกจ็ ะปรับตวั สูงขึ้น การปรบั ปรุงสือ่ ในลกั ษณะน้ีจะดาเนนิ
ไปจนกระทัง่ วัตถุประสงคข์ องส่ือบรรลุผลตามเกณฑ์ทีต่ ้ังไว้ น่นั ก็คือ ส่ือการเรยี นการสอนน้นั มี
คณุ ภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ดังตัวอยา่ งแสดงในตารางที่ 4.2 ผูต้ รวจสอบอาจสรุปว่า สือ่ การเรยี นการ
สอนที่ประเมินนม้ี คี ณุ ภาพได้มาตรฐานได้ในระดบั 90/90
เกณฑ์มาตรฐาน
1. ความหมาย
ในทีน่ ถี้ ้ากาหนดเกณฑม์ าตรฐาน 90/90
90 ตัวแรก หมายถึง คะแนนรวมเฉลย่ี ของกล่มุ (Class Mean) คดิ เปน็ รอ้ ยละ
90 ตวั หลัง หมายถงึ ร้อยละ 90 ของผเู้ รียนบรรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ตล่ ะข้อของสอ่ื
การเรยี นการสอน
66
ความหมายของ E1/E2
การกาหนดเกณฑ์ประสิทธภิ าพ E1/E2 สามารถกระทาไดโ้ ดยการประเมินผล
พฤติกรรมของผู้เรยี น2 ลกั ษณะคือ พฤตกรรมตอ่ เนอื่ ง(กระบวนการ) และพฤตกรรมขั้นสดุ ท้าย(ผลลัพธ)์
โดยกาหนดให้คา่ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการเป็นE1 และประสิทธภิ าพของผลลพั ธเ์ ป็นE2
2. การกาหนดเกณฑม์ าตรฐาน
เกณฑ์มาตรฐาน เป็นเกณฑ์ทเ่ี ป็นทย่ี อมรบั กนั โดยทัว่ ไป กาหนดโดยทฤษฎี
หรอื ผลงานวจิ ยั เชน่ ถา้ เป็นบทเรียนสาเรจ็ รูปแบบเสน้ ตรง Skinner ซ่งึ เป็นผู้ใหก้ าเนดิ บทเรยี น
สาเรจ็ รูปแบบเส้นตรง ไดก้ าหนดว่า บทเรียนสาเร็จรปู แบบเส้นตรงบทเรยี นใดท่ีผู้เรยี นเม่ือเรียนแลว้ มี
ขอ้ ผิดพลาดเกินรอ้ ยละ 5 – 10 (ขอ้ กาหนดนี้เท่ากับว่าต้องมีมาตรฐานไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 90 – 95)
บทเรียนนั้นจะต้องได้รับการปรบั ปรุงแกไ้ ข เปน็ ต้น
ตารางท่ี 4.1 แสดงการวิเคราะหผ์ ลการทดสอบสือ่ การเรียนการสอน
วัตถปุ ระสงค์
12
ข้อสอบ / นักเรียน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวมคะแนน(%)
ดา 111111101 0 8
แดง 111100000 0 4
เขยี ว 111111111 1 10
ขาว 111111100 0 7
นวล 111011001 0 6
รวมคะแนน 555555313 1 35
รวมคะแนน (%) 23(92 %) 12 (48 %) (70 %)
ตารางที่ 4.2 แสดงการวิเคราะหผ์ ลการทดสอบสอื่ การเรยี นการสอนหลังจากผ่านการปรับปรุงสอื่
วตั ถปุ ระสงค์
12
ขอ้ สอบ / นกั เรยี น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวมคะแนน(%)
เขียน 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 9
วาด 111111111 1 10
แวว 111111101 1 9
อบ 111111111 0 9
อิม่ 111011111 1 9
รวมคะแนน 5554455454 46
รวมคะแนน (%) (96 %) (92 %) (94 %)
67
การวิเคราะหจ์ ดุ เดน่ จุดดอ้ ย ของส่ือการเรยี นการสอน
สอ่ื การเรียนการสอนแต่ละประเภทที่นามาใชใ้ นการเรียนการสอนน้ัน มีจดุ เดน่ (ข้อด)ี และจุด
ด้อย(ข้อจากัด) ทแ่ี ตกต่างกนั ออกไปตามคุณลักษณะของส่ือ ดังนัน้ ในการเลอื กใชส้ อ่ื จงึ ควรคานงึ ถึง
จุดเดน่ จดุ ดอ้ ยเหล่านแี้ ลว้ เลอื กใช้ส่ือให้เหมาะสม ดงั น้ี
ตารางท่ี 4.3 แสดงการวเิ คราะห์จดุ เดน่ จุดด้อย ของส่อื การเรียนการสอน (ท่ีมา:กิดานินท์ มลิทอง,
2548:121-132)
สอ่ื การเรียนการสอน ขอ้ ดี ข้อจากดั
ส่ิงพิมพต์ ่าง ๆ เชน่ สามารถอ่านไดต้ ามอตั รา ถ้าจะใหไ้ ด้ส่ิงพิมพท์ ีม่ ี
หนงั สอื ตาราเรียน คู่มือ ความสามารถของแต่ละ คุณภาพดี ตอ้ งใช้ต้นทุน
วารสาร ฯลฯ บุคคล สงู
เหมาะสาหรับการอา้ งอิง ไมส่ ะดวกในการแก้ไข
สะดวกในการพกพา ปรับปรงุ เน้ือหาใหม่
ทาสาเนาจานวนมากไดง้ ่าย ผู้ที่ไมร่ หู้ นงั สอื ไม่สามารถ
อา่ นทาความเขา้ ใจได้
ของจรงิ ของตัวอย่าง แสดงภาพได้ตามความ อาจลาบากในการจัดหา
เปน็ จรงิ ของบางอยา่ งอาจมขี นาด
เปน็ ลักษณะ 3 มิติ ใหญเ่ กินกวา่ จะนามาแสดง
สมั ผัสได้ดว้ ยประสาท ได้ หรือราคาแพงเกนิ ไป
สมั ผัสท้งั ห้า อาจเสียหายง่าย
สามารถจบั ตอ้ งและ เกบ็ รักษาลาบาก
พิจารณารายละเอยี ดได้
ของจาลอง ห่นุ จาลอง เป็นลักษณะ 3 มิติ ต้องอาศยั ความชานาญใน
ขนาดเทา่ ยอ่ สว่ น สามารถจบั ต้องเพื่อ การผลิต
หรอื ขยายสว่ น พจิ ารณารายละเอียดได้ สว่ นมากราคาแพง
เหมาะในการนาเสนอทไี่ ม่ ปกตเิ หมาะสาหรบั การ
สามารถมองเหน็ ได้ดว้ ยตา แสดงต่อกลุ่มยอ่ ย
เปลา่ เช่น ลกั ษณะของ ชารดุ เสียหายง่าย
อวัยวะภายในร่างกาย ถ้าทาไดไ้ ม่เหมือนของจรงิ
สามารถใช้แสดงหน้าท่ี ทกุ ประการ บางครัง้ ทาให้
และสว่ นประกอบ เกิดความเขา้ ใจผดิ ได้
68
สือ่ การเรยี นการสอน ข้อดี ข้อจากดั
วัสดุกราฟกิ เช่น แผนภูมิ
แผนภาพ กราฟ การ์ตนู ช่วยในการเรียนรแู้ ละ
ภาพถา่ ย ภาพวาด ฯลฯ
ปฏิบตั ทิ กั ษะชนดิ ต่าง ๆ
การจัดทัศนศึกษานอกสถานที่
ชว่ ยในการชใ้ี หเ้ ห็น เหมาะสาหรับการเรยี นใน
เกม
ความสมั พันธ์ระหว่าง กล่มุ เลก็
แผน่ โปร่งใส
และเครือ่ งฉายขา้ มศีรษะ เนือ้ หา งานกราฟิกทม่ี ีคณุ ภาพดี
ชว่ ยแสดงลาดบั ของเนื้อหา จาเป็นตอ้ งใช้ช่างเทคนคิ ที่
สามารถจัดหาไดง้ ่ายจาก มคี วามชานาญในการผลติ
สง่ิ พมิ พต์ า่ ง ๆ การใช้ภาพบางประเภท
ผลิตได้งา่ ยและผลิตได้ เช่นภาพตัดส่วน หรอื ภาพ
จานวนมาก การต์ นู อาจไมช่ ่วยให้
เกบ็ รักษาไดง้ ่ายด้วยวธิ ี กลุ่มเปา้ หมายเกดิ ความ
ผนึกภาพ เขา้ ใจดีขึน้ เพราะไม่
สามารถสมั พันธก์ บั ของ
จรงิ ได้
ผู้เรียนสามารถ ตอ้ งใชเ้ วลาและคา่ ใชจ้ า่ ย
สงั เกตการณแ์ ละมสี ่วน ในการเดนิ ทาง
ร่วมไดด้ ้วยตนเอง
เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนรว่ ม จดั เฉพาะผู้เรียนกลมุ่ ย่อย
ทางานเป็นกลุ่มและ ตอ้ งเตรียมการและ
สร้างสรรคค์ วาม วางแผนโดยละเอยี ดรอบ
รบั ผิดชอบรว่ มกนั ครอบ
สามารถจงู ใจเปน็
รายบคุ คลไดด้ ี
ดงึ ดูดความสนใจให้สนกุ ผเู้ รยี นบางคนไม่ชอบเกม
กบั การเรียน การแขง่ ขนั
สรา้ งบรรยากาศให้รสู้ ึก เกิดความไขว้เขวในการ
พอใจและผ่อนคลายแก่ เลน่ เกมได้งา่ ย จึงต้อง
ผเู้ รยี น อธิบายกฎเกณฑว์ ิธเี ล่นให้
ชัดเจน
สามารถใช้ได้ในทมี่ แี สง ถ้าจะผลิตแผน่ โปรง่ ใสทมี่ ี
สวา่ ง ลกั ษณะพิเศษจะตอ้ งลงทนุ
69
สือ่ การเรยี นการสอน ข้อดี ขอ้ จากดั
เหมาะสาหรบั ผ้เู รยี นกล่มุ สูง
ใหญ่
ผู้สอนสามารถหันหนา้ เขา้
หาผู้เรียนได้
ผสู้ อนสามารถเตรยี มแผน่
โปร่งใสไวใ้ ชล้ ว่ งหนา้
หรือสามารถเขยี นลงไป
พรอ้ มทาการบรรยายเพอื่
เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจ
แผน่ โปรง่ ใสบางประเภท
สามารถแสดงใหเ้ ห็นการ
เคลอื่ นไหวไดบ้ ้าง
เครือ่ งวชิ วลไลเซอร์ สามารถใชใ้ นการเสนอ เปน็ อุปกรณท์ ่มี ีราคาสูง
วัสดไุ ด้ทกุ ประเภททงั้ การตดิ ตง้ั ตอ้ งต่อพ่วงกับ
วสั ดุทึบแสง 3 มิติ เครอ่ื งแอลซีดี หรือ
กง่ึ โปร่งแสงและโปร่งใส จอมอนเิ ตอร์จึงจะเสนอ
ให้ภาพท่ีชัดเจน สามารถ ภาพได้
ขยายภาพและข้อความจาก ต้องใช้ความระมดั ระวงั ใน
สง่ิ พิมพ์ใหอ้ า่ นไดอ้ ย่าง การติดตั้งและเกบ็ เครือ่ ง
ท่ัวถึง อย่างดี
ใชเ้ ปน็ กลอ้ งโทรทศั น์
วงจรปิดเพ่อื เสนอ
ภาพเคลือ่ นไหวของวัตถุ
และการสาธติ ภายใน
ห้องเรยี นได้
เคร่ืองวดิ ีโอโพรเจคเตอร์ หรือ ใช้ตอ่ เชื่อมกบั อปุ กรณ์ได้ ต้องมีความรใู้ นการตอ่ สาย
เคร่อื งแอลซดี ี หลายประเภทเพื่อฉายขน้ึ เข้ากบั เครือ่ งใหถ้ กู ตอ้ ง
จอ เช่น คอมพิวเตอร์ ตอ้ งระมัดระวงั ในการใช้
งานและการปดิ เปดิ เครอ่ื ง
เพื่อถนอมหลอดฉาย
วีดีทัศน์ สามารถใช้ไดก้ ับผเู้ รียน ต้นทุนอปุ กรณ์และการ
70
สอื่ การเรยี นการสอน ข้อดี ขอ้ จากัด
แผน่ วซี ีดี
วทิ ยุ กล่มุ เล็กและกลมุ่ ใหญ่ ผลิตทมี่ ีคณุ ภาพดีมีราคาสูง
สามารถฉายซา้ เมอ่ื ผเู้ รยี น และตอ้ งใชช้ า่ งเทคนิคใน
ไม่เขา้ ใจหรือทบทวน การผลิต
แสดงการเคลือ่ นไหวของ ตวั อักษรทีป่ รากฏบน
ภาพประกอบเสยี งทีใ่ ห้ จอโทรทศั น์มขี นาดเลก็
ความร้สู กึ ใกล้เคียงของจริง อ่านยาก
มาก แถบเทปเสือ่ มสภาพงา่ ย
คณุ ภาพของภาพบนแผ่น ผู้ใชอ้ าจไมส่ ะดวกในการ
วซี ีดีให้ความคมชัด บนั ทกึ ภาพยนตร์ลงแผน่
มากกวา่ แถบวดี ิทัศน์ ได้เองเหมอื นการใช้แถบ
ไมม่ กี ารยืดเหมือนแถบ วดี ทิ ัศน์
วีดทิ ศั น์
เคร่อื งเล่นแผน่ วีซีดี
สามารถเล่นแผน่ ซีดไี ด้ด้วย
ทาความสะอาดไดง้ า่ ยหาก
เกดิ ความสกปรกบนแผ่น
สามารถใชก้ ับผู้เรียนกลมุ่ ต้องใช้หอ้ งที่ทาขน้ึ เฉพาะ
เล็ก กลุ่มใหญ่ หรือ เพือ่ การกระจายเสียง
รายบคุ คล เป็นการส่ือสารทางเดยี วทา
สามารถให้ความรู้แก่ผู้ท่ี ให้ผ้บู รรยายไมส่ ามารถ
ไมส่ ามารถอ่านเขียนได้ ทราบปฏิกริ ิยาสนองกลับ
เนอื่ งจากใช้ทกั ษะในการ ของผู้ฟงั
ฟงั เพียงอย่างเดียว
กระจายเสียงได้กว้างขวาง
และถ่ายทอดไดใ้ น
ระยะไกล ๆ
ดงึ ดูดความสนใจได้ดี
สามารถใชร้ ว่ มกบั สื่ออน่ื
เช่น สง่ิ พิมพ์ เพ่ือ
ประกอบการเรยี น
71
สอ่ื การเรยี นการสอน ขอ้ ดี ขอ้ จากดั
เทปบนั ทึกเสยี ง
เหมาะกับการเรยี นรู้ด้วย การบนั ทกึ เสยี งท่ีมีคุณภาพ
แผ่นซีดี
ตนเองหรือกบั กลุ่มย่อย ดีจาเป็นตอ้ งใช้ห้องและ
บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน
ใชไ้ ด้ในหลากหลาย อปุ กรณท์ ีด่ มี ีคุณภาพสูง
(CAI)
สภาวการณ์ เช่น ต้องมคี วามชานาญในการ
อนิ เทอรเ์ น็ต
ใช้ประกอบสไลด์ ตัดตอ่ เทป
ใช้บันทกึ เสียงทไี่ ม่ ต้องระมดั ระวงั ในการเกบ็
สามารถฟังได้ทว่ั ถงึ เชน่ รักษา
ฟงั การเตน้ ของหวั ใจ
บันทึกเสยี งประเภทต่าง ๆ แผน่ CD-R ทใ่ี ช้ทั่วไป
ในระบบดิจติ อลที่ให้ความ ไมส่ ามารถบนั ทกึ ทับได้
คมชดั สงู ตอ้ งใช้แผ่น CD-RW
ไม่มีการเผลอลบเสยี งที่
บันทึกไว้
มีความคงทนในการใช้งาน
เรียกคน้ ข้อมูลเสียงไดร้ วดเรว็
ผูเ้ รียนมีปฏสิ มั พันธ์ ต้องอาศัยผู้เชย่ี วชาญในการ
โตต้ อบกบั บทเรยี นตาม เขยี นโปรแกรมบทเรยี น
ความสามารของตนเอง โปรแกรมซอฟต์แวรบ์ าง
สามารถให้ผลปอ้ นกลับได้ ประเภทมรี าคาสูงพอควร
ทันที
มีรปู แบบบทเรยี นให้
เลือกใช้มากมาย เช่น
การสอน ทบทวน เกม
การจาลอง
เสนอบทเรยี นไดท้ งั้ ลกั ษณะ
ตัวอักษร ภาพ และเสียง
คน้ ควา้ ขอ้ มูลไดท้ ั่วมมุ โลก ขอ้ มลู ทไ่ี ด้อาจไมถ่ ูกต้อง
ตดิ ตามข่าวสารความรแู้ ละ เนอ่ื งจากไม่มีผู้ใดรับรอง
ความเคล่ือนไหวตา่ ง ๆ ผเู้ รยี นอาจเขา้ ไปค้นหา
ได้อยา่ งรวดเร็ว ขอ้ มูลทีไ่ มเ่ หมาะสมต้อง
สนทนากับผู้ที่อย่หู ่างไกล ควบคุมดแู ลให้ดี
72
ส่ือการเรยี นการสอน ขอ้ ดี ข้อจากัด
ได้ทงั้ ในลกั ษณะขอ้ ความ ตอ้ งมกี ารศึกษาการใชง้ าน
ภาพ และเสียง เพื่อการสืบคน้ ขอ้ มูล
รว่ มกลุ่มอภิปรายกบั ผทู้ ี่ บางพ้นื ทม่ี จี านวน
สนใจในเร่ืองเดยี วกนั เพอ่ื คอมพวิ เตอร์และการวาง
ขยายวสิ ัยทศั น์ สายโทรศัพทย์ งั ไมท่ ว่ั ถึง
รบั สง่ ไปรษณยี ์ ทาใหไ้ มส่ ามารถเช่ือมตอ่
อิเล็กทรอนกิ ส์ในรูปแบบ อินเทอร์เนต็ ได้
ข้อความ ภาพ และเสยี งได้
ใชใ้ นการเรียนการสอนได้
มากมายหลายรปู แบบ เชน่
การสอนบนเว็บ การศึกษา
ทางไกล
การวางแผนการใช้สอ่ื การเรยี นการสอนอยา่ งเป็นระบบ
สอ่ื การเรียนการสอนจะมคี ุณคา่ มากถา้ หากครูผูส้ อนไดว้ างแผนการใชส้ อื่ การเรยี นการสอน
อยา่ งเปน็ ระบบ ซึง่ วิธรี ะบบจะชว่ ยทาใหก้ ารวางแผนการใช้สอื่ การเรยี นการสอนเปน็ ไปอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ โดยจะนาสิง่ ท่ีเกี่ยวข้องมาพจิ ารณาได้อย่างครบถว้ น และสามารถตรวจสอบจุดบกพร่อง
เพ่ือนามาซึง่ การปรับปรงุ พฒั นาการใช้สอ่ื การเรยี นการสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพย่ิงขึน้
การวางแผนการใชส้ อ่ื การเรยี นการสอนอยา่ งเป็นระบบนัน้ เราสามารถใช้รูปแบบจาลองท่ี
เรียกวา่ “ASSURE MODEL” (Heinich and others, 1999 : 32-59) ซ่ึงไดร้ บั ความนิยมมาก
มาเป็นแนวทางในการวางแผนการใชส้ อื่ การเรยี นการสอน ตามขัน้ ตอนดังนี้
A nalyze Learner Characteristics การวเิ คราะห์ลักษณะผู้เรียน
S tate Objectives การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์
S elect, Modify, or Design Materials การเลือก ดดั แปลง หรอื ออกแบบส่ือใหม่
U tilize Materials การใชส้ ื่อ
R equire Learner Response การกาหนดการตอบสนองของผูเ้ รยี น
E valuation การประเมนิ ผล
73
ขนั้ ที่ 1 การวิเคราะห์ผู้เรยี น
เปน็ การวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียนเพือ่ ผู้สอนจะไดท้ ราบวา่ ผ้เู รยี นมคี วามพร้อมในการเรียนน้ัน
มากน้อยเพียงใด และจะต้องเลือกส่ือใหม้ คี วามสมั พนั ธ์กับลักษณะของผเู้ รียน ซง่ึ แยกออกเป็นลกั ษณะ
ทั่วไปและลกั ษณะเฉพาะ
ลกั ษณะท่ัวไป ไดแ้ ก่ อายุ ระดบั ความรู้ สังคม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรมของผู้เรียนแตล่ ะคน
ถึงแมว้ า่ ลกั ษณะทว่ั ไปของผู้เรยี นจะไม่มีความเกีย่ วข้องกับเนอื้ หาบทเรยี นก็ตาม แต่กเ็ ปน็ สิ่งท่ีชว่ ยให้
ผสู้ อนสามารถตัดสินระดบั ของบทเรียน และเลือกตัวอยา่ งของเน้อื หาและเลอื กเนื้อหาใหเ้ หมาะสมกบั
ผเู้ รียนได้
สาหรับลักษณะเฉพาะของผเู้ รยี นแตล่ ะคนนน้ั นบั วา่ มีสว่ นสาคัญโดยตรงกบั เน้อื หาบทเรียน
ตลอดจนสอื่ การเรยี นการสอน และวธิ ีทีจ่ ะนามาใชส้ อน สงิ่ ท่ตี อ้ งนามาวเิ คราะหไ์ ดแ้ ก่
1. ทกั ษะท่ีมากอ่ น (Prerequisite Skills) เพอื่ ทราบวา่ ก่อนท่ีผเู้ รยี นจะเรียนเนอื้ หาดงั กลา่ ว
ผู้เรยี นมีพ้นื ความรแู้ ละทกั ษะด้านใดมาก่อนบา้ ง
2. ทกั ษะเปา้ หมาย (Target Skills) การท่จี ะให้ผูเ้ รยี นเรยี นรู้ได้ตามวัตถุประสงคท์ ีต่ ั้งไว้
ผเู้ รยี นตอ้ งมีความรู้ ทกั ษะในการเรียน (ความสามารถด้านภาษา การอ่าน เขยี น คานวณ ฯลฯ) ตลอดจน
ทัศนคติอย่างไรบ้าง
การวเิ คราะหล์ ักษณะผ้เู รยี นนี้ สามารถนาไปใช้ในการเลือกสื่อทเ่ี หมาะสม เช่น หากผู้เรียน
มที กั ษะในการอ่านตา่ กว่าเกณฑ์ ก็สามารถช่วยได้ดว้ ยการใชส้ อื่ ประเภทที่ไม่ใช่สอื่ สิง่ พมิ พ์ หรือถ้า
ผู้เรียนในกล่มุ นนั้ มีความแตกต่างกนั มากก็สามารถใหเ้ รยี นดว้ ยชุดการเรยี นรายบคุ คล เปน็ ตน้
ข้นั ท่ี 2 การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้
วตั ถุประสงค์ เป็นส่งิ ทต่ี ้งั ขนึ้ เพือ่ คาดหวงั ว่าผู้เรยี นจะสามารถบรรลถุ ึงสิ่งใด หรอื มี
ความสามารถอะไรบา้ งในการเรียนนนั้ ทาให้ผู้เรยี นทราบว่าเม่อื เรียนบทเรียนแลว้ จะสามารถเรยี นรูแ้ ละ
ทาอะไรไดบ้ า้ ง นอกจากนว้ี ตั ถุประสงคท์ าให้ผ้สู อนทราบเปา้ หมายในการสอนของตนเอง และช่วยใน
การประเมนิ ผลผู้เรยี นเพราะการประเมินผลจะประเมินตามวตั ถุประสงคท์ ี่ต้งั ไว้
การกาหนดวตั ถุประสงคใ์ นการเรียนรู้ นิยมต้งั เปน็ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ซ่ึงตามแนวคดิ
ของ Instructional Development Institutes (IDI) ของสหรฐั อเมริกา ไดเ้ สนอแนะวธิ ีเขียน
วัตถุประสงค์ไว้ในรูปแบบ “ABCD” มีส่วนประกอบทสี่ าคญั 4 ส่วน คือ
A (Audience) คอื ผเู้ รยี น
B (Behavior) คอื พฤตกิ รรมของผเู้ รียนท่ตี ้องการใหเ้ กิดขน้ึ หลงั จาก
เรียนแลว้ พฤติกรรมเหลา่ นีเ้ ป็นสง่ิ ท่สี ังเกตได้ เชน่
บอกความหมาย อธบิ ายขนั้ ตอน วาดรูปการ์ตูน
74
C (Condition) คือ ข้อจากัด เงอื่ นไข หรอื สภาพแวดล้อมของการแสดง
พฤติกรรมน้ัน เชน่ โดยไมม่ ตี วั อย่างดู
ภายในเวลา 3 นาที
D (Degree) คอื ระดับของการแสดงพฤตกิ รรม ซ่ึงเปน็ เกณฑ์ทีย่ อมรับ
ได้วา่ ผเู้ รยี นแสดงพฤติกรรมได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ เช่น
เขียนถกู ต้องอยา่ งน้อย 10 คา
วัตถุประสงค์ทีเ่ ขียนขึน้ ไม่จาเปน็ วา่ จะต้องเรียงลาดับประโยคเป็น ABCD เสมอไป แตใ่ ห้
เรยี งลาดับแล้วได้ภาษาทม่ี ใี จความถูกต้องเป็นที่เข้าใจ เชน่ นกั เรียนสามารถวาดภาพหนา้ การ์ตูนโดยไม่
ดูตัวอยา่ งไดอ้ ย่างน้อย 5 หน้า
นักเรียน =A
วาดภาพการต์ นู =B
โดยไม่ดตู ัวอยา่ ง =C
ได้อยา่ งน้อย 5 หนา้ = D
นักกฬี าใช้เทา้ เดาะลูกฟตุ บอลได้ 50 ครง้ั ภายในเวลา 2 นาที
นกั กีฬา =A
ใช้เทา้ เดาะลูกฟตุ บอล =B
ได้ 50 ครงั้ =D
ภายในเวลา 2 นาที = C
วัตถุประสงค์การเรียนร้แู บ่งออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่
1. ดา้ นพุทธิพสิ ัย (Cognitive Domain) เป็นวตั ถุประสงค์ทีต่ ง้ั ไวเ้ พอื่ วดั การเรียนร้ขู อง
ผูเ้ รียนเกี่ยวกับ ความรู้ ความเขา้ ใจ สตปิ ัญญา และการพฒั นา
2. จติ ตพสิ ยั (Affective Domain) เปน็ วตั ถุประสงค์ดา้ นความคิด ทศั นคติ ความรู้สกึ
ค่านิยม และการเสรมิ สรา้ งทางปัญญา
3. ทกั ษะพิสัย (Psychomotor Domain) เป็นวตั ถุประสงคท์ เ่ี ก่ยี วกับ การกระทา
การแสดงออก หรือการปฏิบัติ
ข้นั ท่ี 3 การเลอื ก ดัดแปลง หรือออกแบบ
การท่จี ะมสี ือ่ การเรยี นการสอนทีเ่ หมาะสมในการเรียนการสอน สามารถทาได้ 3 วธิ ี คอื
1. เลอื กจากสื่อทมี่ ีอยแู่ ลว้ ในสถาบนั การศกึ ษาต่าง ๆ มักมีทรัพยากรทส่ี ามารถใชเ้ ป็นสื่อได้ดี
อย่แู ล้ว ผู้สอนควรตรวจสอบดูวา่ มสี งิ่ ใดทพ่ี อจะใช้เป็นสอ่ื ไดบ้ ้าง โดยเลอื กให้ตรงกับลักษณะของผู้เรียน
และวัตถปุ ระสงคข์ องการเรียน
75
2. ดดั แปลงส่อื ที่มีอยูแ่ ล้ว ให้ใช้ได้ดีและเหมาะสมยง่ิ ขึ้น เช่น มวี ีดิทศั น์ทีไ่ ม่มเี สยี งบรรยาย
ประกอบ เราอาจปรบั ปรุงโดยบนั ทกึ เสยี งบรรยายเพม่ิ เตมิ ลงไป
3. การออกแบบส่อื ใหม่ เมอ่ื ไมม่ ีส่อื เดิมอยู่หรอื มีอยู่แล้วแต่ไมส่ ามารถนามาดัดแปลงใหใ้ ชไ้ ด้
ตามความต้องการ ก็ตอ้ งออกแบบและจดั ทาส่ือขน้ึ ใหม่ ให้ตรงกบั วตั ถปุ ระสงคแ์ ละลักษณะของผู้เรียน
ซึ่งต้องคานงึ ถึงองค์ประกอบอน่ื ๆ ประกอบดว้ ย เช่น งบประมาณ ผูช้ านาญการในการจัดทาสอื่ เปน็ ตน้
ในการเลือกส่อื การเรยี นการสอนน้ันมีผเู้ ชีย่ วชาญไดเ้ สนอแนวคิดในการเลอื กไว้มากมาย
สามารถสรุปเปน็ หลกั การอยา่ งง่ายในการเลอื กสือ่ การเรียนการสอน ไดด้ งั นี้
1. สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
2. ตรงกบั ลักษณะเน้อื หาของบทเรยี น
3. เหมาะสมกบั ลกั ษณะของผเู้ รยี น
4. เหมาะสมกับจานวนของผู้เรยี นและกิจกรรมการเรียนการสอน
5. เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เชน่ ห้องเรียน หรือหอ้ งปฏิบัตกิ าร ทีท่ าการสอน
6. มลี กั ษณะนา่ สนใจและดงึ ดดู ความสนใจไดด้ ี
7. มีคุณภาพทางเทคนคิ ดี เชน่ ภาพคมชดั เสียงชัดเจน
ขน้ั ท่ี 4 การใชส้ ือ่
เปน็ การลงมือใชส้ อ่ื การเรยี นการสอนของผสู้ อน ซงึ่ ควรดาเนนิ การตามขนั้ ตอนดังนี้
1. เตรยี มตัวผสู้ อนเอง โดยศึกษาและทาความเขา้ ใจสอ่ื น้นั ในดา้ นเนอ้ื หา องคป์ ระกอบ
ลักษณะการทางาน และวิธกี ารใชส้ ่อื เพื่อจะได้นาไปใชไ้ ด้ถกู ต้อง
2. เตรยี มสือ่ โดยตรวจดสู อื่ นั้นว่าอย่ใู นสภาพสมบรู ณ์พร้อมที่จะใช้หรอื ไม่ เตรียมส่ิงที่จาเป็น
ท่จี ะต้องใช้ควบคูก่ ับสอ่ื ใหพ้ รอ้ ม และถา้ เปน็ ไปได้ควรทดลองใช้ส่ือนน้ั ก่อนนาไปใช้จรงิ
3. เตรียมผเู้ รียน การเตรียมผ้เู รียนเปน็ การอนุ่ เครื่องให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการรบั รูเ้ นอื้ หา
การเรยี นทจ่ี ะนาเสนอจากส่อื การเรยี นการสอน เชน่ แนะนาภาพรวมของเนื้อหาบทเรยี น การให้เหตผุ ล
ว่าเนอื้ หามีความสมั พนั ธก์ บั หัวขอ้ การเรยี นอย่างไร การบอกประโยชนท์ ีผ่ ู้เรียนจะไดร้ บั จากการใหค้ วาม
สนใจต่อการเรยี น ฯลฯ เป็นต้น
4. การเตรียมสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ ม ผู้สอนควรเตรียมสถานทีแ่ ละสภาพแวดลอ้ มให้
พรอ้ มกอ่ นใช้สื่อการเรยี นการสอน เช่น เตรียมทีน่ ัง่ ทีต่ ิดต้ังสื่อ ส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ รวมท้ังการ
ระบายอากาศและการควบคุมแสงสวา่ งให้เหมาะสม เพือ่ ให้การนาเสนอสอ่ื เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
5. นาเสนอส่ือ ผูส้ อนจะตอ้ งปฏิบตั ิตามกระบวนการสอนและขน้ั ตอนที่ได้วางแผนเอาไวแ้ ละ
ควบคมุ ช้นั เรียนให้ดี เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามสนใจในสง่ิ ที่นาเสนอนั้น
76
ขนั้ ท่ี 5 การกาหนดการตอบสนองของผเู้ รยี น
เป็นการใหผ้ ้เู รยี นได้มสี ว่ นร่วมในส่ิงที่เขาเรียน และเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนตอบสนองออกมาใน
รปู ตา่ ง ๆ เชน่ ตอบคาถาม การเขียน การทาแบบฝึกหัด และรว่ มใชส้ ื่อการเรียนการสอน เปน็ ต้น และ
เมอ่ื ผเู้ รยี นมีการตอบสนองแลว้ ผู้สอนควรให้ผเู้ รียนไดร้ ับข้อมูลย้อนกลับ คือใหร้ ้ผู ลทนั ทเี พอ่ื ให้ผเู้ รียน
ทราบว่าตนเองมีความเขา้ ใจและเกิดการเรียนรู้ทถี่ ูกตอ้ งหรอื ไม่
ขั้นที่ 6 การประเมินผล
เป็นการประเมินให้ทราบถงึ ปัญหา อุปสรรค ความเหมาะสม ของการจดั การเรยี นการสอนว่า
เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์มากนอ้ ยเพียงไร มีอะไรท่ีควรปรับปรงุ แก้ไขบา้ ง การประเมนิ ผลสามารถ
กระทาได้ 3 ลกั ษณะ คือ
1. การประเมนิ ความสาเร็จของผูเ้ รียน เปน็ การประเมินว่าหลงั จากทผี่ ูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้แล้ว
มคี วามสามารถตามวัตถปุ ระสงค์ท่ีตง้ั ไวห้ รือไม่ การวดั และประเมนิ ผลกระทาไดด้ ้วยการทดสอบ
ขอ้ เขยี น การสอบปากเปล่า หรอื ดูจากผลงานของผ้เู รียน ตลอดจนสงั เกตจากการปฏิบตั แิ ละการ
แสดงออกของผเู้ รยี นนัน้
2. การประเมนิ กระบวนการสอน เพอ่ื ดูความเหมาะสมว่ากระบวนการสอนนั้นบรรลุตาม
วตั ถุประสงคท์ ่ตี งั้ ไว้หรือไม่ ทง้ั ในด้านครูผู้สอน สื่อการเรยี นการสอน และวธิ กี ารสอน การประเมิน
กระบวนการสอน สามารถทาได้ทง้ั ในระยะก่อนสอน ระหวา่ งสอน และหลังการสอน
3. การประเมนิ ผลสื่อและวธิ ีใชส้ ่ือ เปน็ การประเมนิ ประสิทธภิ าพ ความเหมาะสม ความคุ้มคา่
ของสอื่ การเรยี นการสอน รวมทัง้ ปญั หาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ขน้ึ ระหว่างการใชส้ ่ือว่ามีอะไรบา้ ง
เป็นเพราะสาเหตุใด อาจให้ผเู้ รยี นอภิปรายและวิจารณก์ ารใช้ส่ือวา่ เหมาะสมมากน้อยเพยี งใด หรือใชว้ ิธี
สงั เกตขณะใช้สอื่ เพอ่ื นาผลมาปรบั ปรงุ สอื่ และวธิ ีการใช้สื่อให้เหมาะสมต่อไป
จะเหน็ ไดว้ า่ แบบจาลอง ASSURE MODEL เนน้ การวางแผนอยา่ งเป็นระบบในการใช้
ส่อื การเรียนการสอนในสภาพแวดล้อมทเี่ ปน็ จรงิ ของหอ้ งเรยี น หากผู้สอนสามารถดาเนินกระบวนการ
ได้อยา่ งถกู ต้องทุกข้ันตอน จะทาใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี
77
สรปุ
สอ่ื การเรียนการสอน หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ หรือเทคนคิ วิธี ทเี่ ปน็ ตวั กลางชว่ ยนาและถา่ ยทอด
เน้อื หาสาระความร้ตู า่ ง ๆ จากผู้สอนหรือจากแหล่งความร้ไู ปยงั ผู้เรียน เป็นสง่ิ ทช่ี ว่ ยให้เนือ้ หาบทเรยี น
มีความกระจา่ งชัด ทาให้ผ้เู รยี นสามารถเขา้ ใจเนือ้ หาไดง้ า่ ยข้ึน
ในทางเทคโนโลยีการศกึ ษาอาจจาแนกสือ่ การเรียนการสอนได้เปน็ 3 ประเภท ได้แก่ เครือ่ งมือ
อปุ กรณ์ (Hardware) วัสดุ (Software) และเทคนิคหรอื วิธกี าร (Techniques or Methods)
สื่อการเรียนการสอนมคี ณุ ประโยชน์ ทั้งตอ่ ผู้สอนและต่อผู้เรยี นทาให้การเรียนการสอนมี
ประสิทธิภาพยิ่งขนึ้ ซงึ่ สอ่ื การเรียนการสอนแต่ละประเภทท่นี ามาใชใ้ นการเรียนการสอนนน้ั มีจดุ เด่น
(ข้อด)ี และจุดด้อย(ขอ้ จากดั ) ท่ีแตกตา่ งกันออกไปตามคุณลกั ษณะของสื่อ ดังนั้นในการเลอื กใชส้ อื่ จงึ
ควรคานงึ ถงึ จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยเหล่านแ้ี ลว้ เลือกใชส้ ่ือใหเ้ หมาะสม สว่ นการออกแบบและพัฒนาสอื่ การ
เรยี นการสอนควรคาถึงองคป์ ระกอบหลาย ๆ อยา่ ง เช่น วตั ถุประสงค์ เนอื้ หา คุณลักษณะของผูเ้ รียน
คุณสมบัตขิ องสื่อ เปน็ ตน้ และควรมีการตรวจสอบคุณภาพของสอ่ื การเรยี นการสอนปรับปรุงใหม้ ี
ประสิทธภิ าพต่อการเรยี นการสอน
การนาส่ือไปใช้อย่างมีประสทิ ธิภาพนน้ั ต้องวางแผนการใชอ้ ย่างเป็นระบบท่เี รียกว่า
ASSURE MODEL ประกอบดว้ ย 6 ข้ันตอน คอื การวเิ คราะหผ์ ู้เรยี น การกาหนดวัตถปุ ระสงค์
การเรยี นรู้ การคดั เลอื ก/ดัดแปลง/หรือออกแบบ การใช้ การกาหนดการตอบสนองของผเู้ รยี น และ
การประเมนิ ผล
แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท
1. สื่อการเรยี นการสอนหมายความวา่ อะไร
2. ส่ือการเรียนการสอนจาแนกตามทรพั ยากรการเรียนรู้ ได้กป่ี ระเภท อะไรบา้ ง
3. สือ่ การเรียนการสอนจาแนกตามลกั ษณะการใชง้ าน ไดก้ ่ีประเภท อะไรบ้าง
4. สอื่ การเรยี นการสอนจาแนกตามประสบการณเ์ รยี นร้ทู ีผ่ ูเ้ รียนไดร้ บั ได้กีป่ ระเภท อะไรบา้ ง
5. สื่อการเรยี นการสอนมคี ณุ ค่าอยา่ งไร
6. จงบอก จดุ เดน่ -จดุ ดอ้ ย ของสอ่ื การเรียนการสอน มา 10 ชนิด
7. กระบวนการวางแผนการใช้สอ่ื การเรยี นการสอนอยา่ งเป็นระบบมขี น้ั ตอนอยา่ งไร