The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bunyanut.ha, 2023-03-10 04:51:04

รายงานคำพ้อง

รายงานคำพ้อง

รายงาน เรื่อง คำพ้อง เสนอ นางสาวฐานิตย์ นาคศิริ จัดทำโดย นายพีรพล เสน่ห์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา อำเภอแกลง จังหวัดระยอง


กิตติกรรมประกาศ โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำพ้อง นี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาช่วยเหลือ แนะนำ ให้ คำปรึกษา ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่งจาก ครูฐานิตย์ นาคศิริครูผู้สอนรายวิชาโครงงานภาษาไทย ท 30208 ผู้เขียนกราบขอบพระคุณ เป็นอย่างสูง ขอขอบพระคุณครูฐานิตย์ นาคศิริกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนสุนทรภู่ พิทยา ที่กรุณาให้ผู้เขียนได้สัมภาษณ์เรื่องเกี่ยวกับคำพ้อง ขอขอบคุณครูบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนสุนทรภู่พิทยาที่ให้ความอนุเคราะห์และ ความสะดวกในการค้นคว้าหาข้อมูล ขอขอบคุณนางสาวฐานิตย์ นาคศิริและญาติพี่น้องทุกคนที่ช่วยเหลือสนับสนุนทั้งด้าน กำลังใจและกำลังทรัพย์ด้วยดีตลอดมา นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลืออีกหลายท่าน ซึ่ง ผู้เขียนไม่สามารถกล่าวนามในที่นี้ได้หมด จึงขอขอบคุณทุกท่านเหล่านั้นไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย คุณค่าทั้งหลายที่ได้รับจากรายงานการศึกษาความเรียงขั้นสูงฉบับนี้ ผู้เขียนขอมอบ เป็นกตัญญูกตเวทีแด่บิดามารดา และบูรพาจารย์ที่เคยอบรมส่งสอน รวมทั้งผู้มีพระคุณทุกท่าน พีรพล เสน่ห์


บทคัดย่อ โครงงานภาษาไทย เรื่องคำพ้อง จัดทำขึ้นเพื่ออยากให้ทุกคนได้รู้จักคำพ้องรูป พ้องเสียง วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ศึกษาคำพ้อง 2.เพื่อให้เรียนวิชาภาษาไทยได้ง่ายขึ้น


สารบัญ เรื่อง หน้า กิตติกรรมประกาศ ก บทคัดย่อ ข บทที่ 1 บทนำ 1-2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3-5 บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา 6 บทที่ 4 ผลการศึกษา 7 -คำพ้องรูป 7-8 -คำพ้องเสียง 8-9 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา 10 บรรณานุกรรม


1 บทที่ 1 บทนำ 1.ที่มาของโครงงาน คำพ้องความหมาย คือ คำที่มีความหมายเหมือนกันหรือซ้ำกัน เขียนต่างกัน อ่านออกเสียงต่างกัน การใช้จะใช้ในบริบทต่างกัน และอาจมีที่มาจากภาษาต่างๆ นิยมนำมาใช้ในการแต่งกลอน แต่งโคลง หรือบทเพลง คำที่มีรูปหรือเสียงเหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน จึงได้ทำโครงงานนี้เพื่ออยากให้ทุกคนได้รู้จักคำพ้องรูป พ้องเสียง 2.วัตถุประสงค์ -เพื่อให้ศึกษาคำพ้อง -เพื่อให้เรียนวิชาภาษาไทยได้ง่ายขึ้น 3.ขอบเขตของโครงสร้าง คำพ้อง 4.วิธีดำเนินการ 1.คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2.ศึกษาค้นคว้าเอกสารและแหล่งข้อมูล 3.จัดทำเค้าโครงของโครงที่จะทำ 4.การลงมือทำโครงงาน 5.การเขียนรายงานและจัดทำคู่มือการใช้


2 5.ประโยชน์ที่ได้รับ เพื่ออยากให้ทุกคนได้รู้จักคำพ้องรูป พ้องเสียง


3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง โครงงานภาษาไทยเรื่องคำพ้อง ได้ศึกษาและรวบรวมเอกสารดังนี้ คำพ้อง คำพ้อง คือคำที่มีการเขียนหรืออ่านออกเสียงเหมือนกัน แบ่งเป็น 3 ชนิดคือ คำพ้องรูปและคำพ้อง เสียง คำพ้องรูป คือ คำที่เขียนเหมือนกัน แต่ออกเสียงต่างกันและมีความหมายต่างกัน ในการอ่านจึงต้อง ระวัง การอ่านคำพ้องรูปให้ถูกต้องและสื่อความหมายได้ตรงตามเจตนาของสารต้องอาศัยบริบท คำพ้องรูป มี 3 ลักษณะ คือ • เขียนเหมือนกัน • ออกเสียงต่างกัน • ความหมายต่างกัน ตัวอย่าง คำพ้องรูป • แหน แหน (หน + แ-) ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง แหน (ห + แ- + น) ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง • สระ สะ แอ่งน้ำ สะ - หระ ตัวอักษรที่ใช้ประกอบกับพยัญชนะ


4 • เพลา เพลา แกนสำหรับสอดในดุมรถ เพ - ลา เวลา • แขม ไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง ขะ - แม ชาวเขมร • ปักเป้า ปัก - เป้า ว่าวชนิดหนึ่ง ปัก – กะ - เป้า ว่าวชนิดหนึ่ง คำพ้องเสียง คือ คำที่อ่านออกเสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน และมีความหมายต่างกัน คำพ้องเสียง มี 3 ลักษณะ คือ • อ่านออกเสียงเหมือนกัน • เขียนต่างกัน • ความหมายต่างกัน ตัวอย่าง คำพ้องเสียง • จัน ผลไม้ที่สุกเหลืองหอม จันทน์ ต้นไม้ที่มีเนื้อ ดอก และผลมีกลิ่นหอม จันทร์ ดวงเดือน ชื่อวันลำดับที่ 2 ของสัปดาห์ จรร วามประพฤติ • โจษ เล่าลือ กล่าวขาน โจทก์ ผู้ฟ้อง ผู้กล่าวหา โจทย์ คำถามในวิชาเรียน


5 • พัน จำนวน 10 ร้อย หรือมัดโดยรอบ เกี่ยวข้องกัน พันธ์ ผูกมัด พันธุ์ เชื้อสาย เหล่าก่อ พรรณ สีผิว ชนิด ภัณฑ์ สิ่งของ • สัน แนวที่สูงขึ้น สันต์ แนวที่สูงขึ้น สรร คัด เลือก สรรค์ สร้าง สัณฑ์ ป่า คำพ้องทั้งรูปและเสียง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คำหลายความหมาย ซึ่งหมายถึง คำที่มีรูปเหมือนกัน อ่านออกเสียงอย่างเดียวกัน เเต่มีความหมายหลายอย่างเเล้วเเต่จะนำไปใช้ คำพ้องทั้งรูปและเสียง มี 3 ลักษณะ คือ • เขียนเหมือนกัน • อ่านออกเสียงเหมือนกัน • ความหมายต่างกัน ตัวอย่าง คำพ้องทั้งรูปและเสียง • ขัน ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ, ทำให้ตึงหรือเเน่นด้วยวิธีหมุนเข้าไป เช่น ขันนอต, อาการ ร้องเป็นเสียงอย่างหนึ่งของไก่, หัวเราะ รู้สึกตลก • แกะ ชื่อสัตว์ 4 เท้า ประเภทหนึ่ง, เอาเล็บมือค่อยๆ แกะ เพื่อให้หลุดออก


6 บทที่ 3 วิธีการดำเนินการโครงงาน ผู้จัดทำโครงงานมีวิธีดำเนินงานโครงงานตามขั้นตอนดังนี้ -ศึกษาจาก https://www.sanook.com/campus/1401280/ ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน 1.ขั้นเตรียมการ ศึกษาและค้นคว้าหาคำพ้อง 2.ขั้นวางแผนดำเนินการ เรียบเรียงข้อมูลที่หามา 3.ขั้นดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ จัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิก 4.ขั้นติดตามและประเมินผล คาดหวังว่าจะตรงตามวัตถุประสงค์


7 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน จากการศึกษาคำพ้องนั้น สามารถรวบรวมคำพ้อง ได้ดังนี้ คำพ้อง คำพ้อง คือคำที่มีการเขียนหรืออ่านออกเสียงเหมือนกัน แบ่งเป็น 3 ชนิดคือ คำพ้องรูปและคำพ้อง เสียง คำพ้องรูป คือ คำที่เขียนเหมือนกัน แต่ออกเสียงต่างกันและมีความหมายต่างกัน ในการอ่านจึงต้อง ระวัง การอ่านคำพ้องรูปให้ถูกต้องและสื่อความหมายได้ตรงตามเจตนาของสารต้องอาศัยบริบท คำพ้องรูป มี 3 ลักษณะ คือ • เขียนเหมือนกัน • ออกเสียงต่างกัน • ความหมายต่างกัน ตัวอย่าง คำพ้องรูป • แหน แหน (หน + แ-) ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง แหน (ห + แ- + น) ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง • สระ สะ แอ่งน้ำ สะ - หระ ตัวอักษรที่ใช้ประกอบกับพยัญชนะ


8 • เพลา เพลา แกนสำหรับสอดในดุมรถ เพ - ลา เวลา • แขม ไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง ขะ - แม ชาวเขมร • ปักเป้า ปัก - เป้า ว่าวชนิดหนึ่ง ปัก – กะ - เป้า ว่าวชนิดหนึ่ง คำพ้องเสียง คือ คำที่อ่านออกเสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน และมีความหมายต่างกัน คำพ้องเสียง มี 3 ลักษณะ คือ • อ่านออกเสียงเหมือนกัน • เขียนต่างกัน • ความหมายต่างกัน ตัวอย่าง คำพ้องเสียง • จัน ผลไม้ที่สุกเหลืองหอม จันทน์ ต้นไม้ที่มีเนื้อ ดอก และผลมีกลิ่นหอม จันทร์ ดวงเดือน ชื่อวันลำดับที่ 2 ของสัปดาห์ จรร วามประพฤติ • โจษ เล่าลือ กล่าวขาน โจทก์ ผู้ฟ้อง ผู้กล่าวหา โจทย์ คำถามในวิชาเรียน


9 • พัน จำนวน 10 ร้อย หรือมัดโดยรอบ เกี่ยวข้องกัน พันธ์ ผูกมัด พันธุ์ เชื้อสาย เหล่าก่อ พรรณ สีผิว ชนิด ภัณฑ์ สิ่งของ • สัน แนวที่สูงขึ้น สันต์ แนวที่สูงขึ้น สรร คัด เลือก สรรค์ สร้าง สัณฑ์ ป่า คำพ้องทั้งรูปและเสียง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คำหลายความหมาย ซึ่งหมายถึง คำที่มีรูปเหมือนกัน อ่านออกเสียงอย่างเดียวกัน เเต่มีความหมายหลายอย่างเเล้วเเต่จะนำไปใช้ คำพ้องทั้งรูปและเสียง มี 3 ลักษณะ คือ • เขียนเหมือนกัน • อ่านออกเสียงเหมือนกัน • ความหมายต่างกัน ตัวอย่าง คำพ้องทั้งรูปและเสียง • ขัน ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ, ทำให้ตึงหรือเเน่นด้วยวิธีหมุนเข้าไป เช่น ขันนอต, อาการ ร้องเป็นเสียงอย่างหนึ่งของไก่, หัวเราะ รู้สึกตลก • แกะ ชื่อสัตว์ 4 เท้า ประเภทหนึ่ง, เอาเล็บมือค่อยๆ แกะ เพื่อให้หลุดออก


10 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา 1.ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำโครงงาน เพื่ออยากให้ทุกคนได้รู้จักคำพ้องรูป พ้องเสียง 2.การนำผลการศึกษาไปใช้ ใช้ในการเรียนรู้และศึกษาคำพ้อง 3.ข้อเสนอแนะ 1.ทำโครงงานเรื่องนี้ต่อไป รวบรวมข้อมูลคำพ้องให้ได้มากที่สุด


บรรณานุกรม https://www.sanook.com/campus/1401280/ http://elsd.ssru.ac.th/nattakan_da/pluginfile.php/67/block_html/content/%E 0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3 %E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%888.pdf


Click to View FlipBook Version