The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การขยายพันธ์พืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปิติ เกตุ, 2021-03-22 04:21:41

การขยายพันธ์พืช

การขยายพันธ์พืช

คํานาํ

การทาํ งานสง เสรมิ การเกษตร เปน การทาํ งานทมี่ งุ ปรบั ปรงุ คณุ ภาพชวี ติ และความเปน อยขู อง
เกษตรกร โดยเจา หนา ทสี่ ง เสรมิ การเกษตร เปน ผนู าํ ความรแู ละเทคโนโลยที เ่ีหมาะสม ถา ยทอดสเูกษตรกร
กลุม เปา หมาย

ป 2556 กรมสงเสรมิ การเกษตรไดจัดทาํ “คูมอื ปฏิบัตงิ านเจา หนาที่สง เสรมิ การเกษตร”
เพ่ือเปน องคค วามรใูหเจาหนา ที่สงเสริมการเกษตร ไดใชเปนแนวทางการปฏบิ ตั งิ านสงเสริมการเกษตร
ในพน้ื ที่ โดยไดรวบรวมและเรยี บเรยี งเนือ้ หาตามหลกั วิชาการที่ถูกตอง สามารถอางอิงได และถอด
บทเรยี นจากหลกั ปฏิบัติจริง สามารถประยุกตใชก ับงานสง เสรมิ การเกษตรในแตละพนื้ ที่ จํานวน 24
รายการ แบงเปน เนอ้ื หา ดานการเพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิตพชื เศรษฐกิจ ดานเคหกจิ เกษตรและการ
เพิ่มมลู คา สนิ คา เกษตร และดานเทคนคิ การทํางานสงเสริมการเกษตร

คมู ือปฏิบตั งิ านเจาหนาท่ีสง เสรมิ การเกษตร เรื่อง “องคค วามรเู พิม่ ประสทิ ธิภาพการผลิต..
สกู ารเปน smart officer : การขยายพนั ธพุ ชื ” เลม นป้ี ระกอบดว ยเนอื้ หาเกยี่ วกบั การขยายพนั ธพุ ชื
ดว ยวธิ ีตา งๆอยา งมปี ระสิทธภิ าพ ซ่งึ เจา หนา ทสี่ งเสริมการเกษตร สามารถนําไปปรบั ใชใหเหมาะสมกบั
ลักษณะการทํางานตามบทบาทและหนาท่ีความรับผิดชอบ และหวังใหเกิดแนวคิด การพัฒนาทักษะ
ในการทาํ งานสง เสริมการเกษตรเพอ่ื ประโยชนข องเกษตรกรตอไป

กรมสงเสริมการเกษตร ขอขอบคุณในความรวมมืออยางดยี ่ิงจากหนวยงานและเจาหนาท่ี
ทีเ่ กีย่ วขอ ง ในการใหขอ มูลและภาพประกอบสาํ หรบั การจดั ทําหนงั สือเลม นี้ และหากเจา หนา ทีส่ ง เสรมิ
การเกษตร มีขอเสนอแนะเพิ่มเติม ขอไดโปรดแจงมายังกรมสงเสริมการเกษตรใหทราบดวย ท้ังนี้
เพือ่ ประโยชนในการปรบั ปรงุ สําหรบั การใชงานครงั้ ตอไป

(นางพรรณพิมล ชัญญานวุ ัตร)
อธิบดีกรมสง เสรมิ การเกษตร
สงิ หาคม 2556

สารบัญ หนา

บทนํา 9
• การขยายพนั ธุพชื 10
• แผนภาพการขยายพันธุพชื
11
การขยายพันธุแ บบอาศยั เพศหรือดวยเมลด็ 11
• สวนตางๆ ของเมล็ด 12
• ประโยชนของเมลด็ คุณภาพดี 12
• การงอกของเมล็ด 13
• ปจ จยั ท่มี ีผลตอการงอกของเมล็ด 16
• การพกั ตัวของเมลด็ พืช 16
• วธิ ีแกการพกั ตวั ของเมล็ดพชื หรอื เรงความงอก 17
• ความแข็งแรงของเมลด็ พชื 17
• การทดสอบความงอกของเมล็ดพชื 21
• การเพาะเมลด็ พืชในภาชนะหรือแปลงเพาะ
24
การขยายพันธุพชื ดวยวิธีปก ชํา 24
• การปกชําก่งิ 25
• การปก ชําใบ 27
• การปก ชาํ ราก 27
• การยายปลกู 28
• การปกชําไมดอกไมประดบั เพอ่ื การคา
29
การขยายพันธพุ ืชดว ยวิธกี ารตอนกงิ่ 29
• หลักการตอนกิง่ 29
• วิธีการตอนกง่ิ 29
• การตอนกิง่ ในอากาศ 31
• การตอนกิ่งแบบโนมก่ิง

การขยายพันธโุ ดยการตดิ ตา ตอ กิ่ง และทาบกง่ิ หนา

• การขยายพันธุโดยการติดตา 33
• การขยายพนั ธุโดยการตอกิง่
• การขยายพันธุโดยการทาบก่งิ 33
39
การขยายพันธโุ ดยการแบงสว น และแยกสว น 46

• การขยายพนั ธุโดยการแยกสวน 50
• การขยายพันธุโดยการแบงสวน
50
การขยายพันธโุ ดยการเพาะเล้ียงเน้อื เย่อื พืช 51

• ขอดขี องการเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยอื่ พืช 55
• ขอกําจัดของการเพาะเลีย้ งเน้อื เยอื่ พืช
• ประโยชนของการเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยอื่ พชื 55
• หองปฏิบัติการเพาะเลีย้ งเนอ้ื เยื่อพชื 55
• ขั้นตอนวิธกี ารเพาะเลีย้ งเนื้อเยอ่ื พชื 55
• วิธีการเพาะเลย้ื งเนอื้ เยอื่ พืช 60
• การเพาะเลี้ยงเนือ้ เยือ่ พืชในเชงิ พาณิชย 64
• เงือ่ นไขการดําเนินธุรกจิ 64
• ตนทนุ การผลติ และผลตอบแทน 66
• ขน้ั ตอนที่ควรดาํ เนนิ การ 66
• พชื ทค่ี วรดําเนนิ การในเชงิ การคา 67
67
บทสรปุ การขยายพนั ธพุ ชื 67

สบื คนแหลง ขอ มลู เพม่ิ เตมิ 68
70

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หนา

1 ตัวอยางเมลด็ พนั ธุทไ่ี มตองการแสงในการงอก 14
2 ตวั อยางเมล็ดพนั ธุทต่ี องการแสงในการงอก 15
3 ตัวอยางพชื ทน่ี าํ มาเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอื่ ไดสําเร็จในประเทศไทย 56
4 เครื่องมือและอปุ กรณทีจ่ าํ เปน ในการเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอื่ พชื 61
5 สารเคมที ีใ่ ชสาํ หรับเพาะเล้ยี งเนื้อเย่ือ 62
6 วสั ดุอปุ กรณท่ใี ชในการเพาะเลี้ยงเนอื้ เยื่อ 63
7 ชนดิ พืชและวิธกี ารขยายพนั ธุ 71
8 แหลงผลิตขยายพนั ธุไมดอกไมประดับเพ่อื การคา 76
9 แหลงผลิตขยายพนั ธุสมนุ ไพรเพอื่ การคา 81
10 แหลงผลติ ขยายพันธุพชื ไรเพือ่ การคา 82
11 ผูประกอบการดานผลิตพันธุพชื เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเชงิ พาณิชย 83

สารบญั ภาพ

ภาพท่ี หนา

1 สวนประกอบภายในเมล็ดพืชใบเลยี้ งเดีย่ ว 11

2 สวนประกอบภายในเมลด็ พชื ใบเลยี้ งคู 11

3 กระบวนการงอกของเมล็ด 13

4 การทดสอบความงอกของเมลด็ พชื 19

5 การทดสอบความงอกของเมล็ดถ่วั เหลอื ง 20

ดวยวิธกี ารเพาะทรายในกระบะ

6 การเพาะเมล็ดในภาชนะ 21

7 การเพาะเมล็ดพริกในภาชนะ 23

8 การปก ชํา 24

9 การปก ชาํ ใบทีม่ กี านใบ (ใบกลอกซเี นยี ) 26

10 การปกชําแผนใบ (ใบล้ินมงั กร) 26

11 การปกชาํ ก่งิ ชบาเพือ่ การคา 28

ณ ศนู ยไมดอกไมประดับ ต.คลองใหญ อ.องครักษ จ.นครนายก

12 การทําแผลก่ิงตอนแบบคว่นั กิ่ง 29

13 การทาํ แผลก่งิ ตอนแบบปาดก่ิง 30

14 การทําแผลกิง่ ตอนแบบกรดี กิง่ 30

15 การตอนก่งิ แบบโนมก่งิ 32

16 การตอนกงิ่ ฝรง่ั แบบควั่นกง่ิ 32

ภาพที่ หนา

17 การตดิ ตาแบบตัวที (T - Budding) 34

18 การทาํ แผลบนตนตอแบบตวั เอช (H - Budding) 35

19 การทาํ แผลบนตนตอแบบตัวไอ (I - Budding) 35

20 การติดตายางพาราโดยวิธีการติดตาแบบปะหรือแบบแพทช 36

21 การติดตาขนนุ แบบตวั เอช (H - Budding) 37-38

22 การตอก่งิ มะนาวบนตนตอสมโอแบบเสียมลมิ่ 40

23 การตอกง่ิ มะมวงแบบเสียบขาง 41-42

24 การเสียบเปลอื กไมดอกไมประดับ 44

25 การตอกง่ิ แบบเสียบเปลือก 45

26 การทาบก่ิงแบบเสียบ 47

27 การทาบก่งิ มะมวงแบบเสียบ 48-49

28 สวนของเหงาท่ีใชในการขยายพนั ธุ 51

29 สวนของหวั ทเ่ี กดิ จากตนทใ่ี ชในการขยายพันธุ 52

30 สวนของแงงที่ใชในการขยายพนั ธุ 52

31 สวนของไหลท่ใี ชในการขยายพนั ธุ 53

32 การขยายพนั ธุสับปะรดโดยใชจกุ และหนอ 54

33 ผงั หองปฏบิ ัตกิ ารเพาะเล้ียงเนอื้ เย่ือ 60

34 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยอ่ื ปเู ล 65

8

บทนํา

ความกา วหนา ทางการเกษตรสว นหนงึ่ เกดิ จากการคดั เลอื ก
พนั ธุ และพฒั นาพชื พนั ธดุ ใี หมลี กั ษณะตามตอ งการ เพอื่ ใหมกี าร
ดํารงพันธุที่ดีไวจึงตองทําการขยายพันธุ เพื่อเพ่ิมจํานวนตนพืช
ใหมีปริมาณมากเพียงพอกับความตองการ การขยายพันธุพืช
จึงเปนหัวใจสําคัญทางการเกษตรท่ีผูเก่ียวของในวงการเกษตร
ตองทราบ และเรียนรูวิธีการขยายพันธุพืชจนเกิดความชํานาญ
ซง่ึ เปน ทง้ั ศาสตรแ ละศลิ ปจ งึ สามารถนาํ มาปรบั ใชใ หเ กดิ ประโยชน
ตอการเกษตรในดานตางๆ เพื่อทําใหพืชดํารงสายพันธุน้ันไว
เกบ็ รกั ษาพนั ธพุ ชื ไมใหสญู พนั ธแุ ละรกั ษาพชื สายพนั ธดุ เี พอื่ ใชใ น
การเพม่ิ ปรมิ าณผลผลติ ทางการเกษตร

ในอดีตการขยายพันธุพืชสวนใหญมักใชวิธีการเพาะเมล็ด
ทาํ ใหต น พชื มลี กั ษณะผนั แปรทางพนั ธกุ รรมไมเ หมอื นตน แมพ นั ธเุ ดมิ
ใหผลผลิตชา ดังน้ันในปจุบันจึงไดนําเทคโนโลยีและวิทยาการ
ใหมๆ ในการปลกู พชื มาใชแ ทนวธิ กี ารเดมิ คอื การขยายพนั ธแุ บบ
ไมอ าศยั เพศไดแ ก การตอนกง่ิ การทาบกง่ิ การตอ กง่ิ การแบง สว น
การแยกสวน และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช สงผลใหการขยาย
พันธุพืชขยายขอบเขตกวางขวาง และสามารถกระจายพันธุพืช
ไดอยางเพียงพอกบั ความตองการ สามารถตอบสนองตอธุรกิจ
ภาคการเกษตรที่มีการแขงขันสูงไดเปนอยางดี สวนการขยาย
พนั ธพุ ชื แบบเพาะเมลด็ กย็ งั คงใชอ ยแู ตใ ชเ ฉพาะบางวตั ถปุ ระสงค
เทานนั้

9

การขยายพนั ธพุ ืช

การขยายพันธุพืช หมายถึง การเพิ่มปริมาณตนพืชจากตนท่ีมีอยูดวยวิธีการตางๆ
เพ่อื ใหพชื ดํารงสายพนั ธุน้นั ไวไมใหสูญพนั ธุ และรกั ษาลักษณะประจาํ พนั ธุท่มี ีอยูในพืชนัน้ ๆ
ใหคงอยู หากลักษณะประจําพันธุของพืชนั้นๆ หายไปแสดงวาการขยายพันธุพืชไมประสบ
ผลสาํ เรจ็ ดังนนั้ การขยายพันธุพชื จึงเปนส่งิ จําเปน และเปนปจจัยสําคญั ในการพัฒนางาน
ดานการเกษตร โดยแบงเปน 2 ประเภท ซึ่งแตละประเภทจะมวี ธิ ีการและเทคนิคทแ่ี ตกตาง
กนั ตามแตละชนดิ ของพืชและวัตถุประสงค ซึ่งมที ั้งขอดีและขอเสยี ทแ่ี ตกตางกันออกไป

1. การขยายพันธุแบบอาศัยเพศหรือการขยายพันธุดวยเมล็ด คือ วิธีการผสมพันธุ
ระหวางอับละอองเกสรตัวผู (Pollen grain) กับยอดเกสรตัวเมีย (Pistil) เพ่ือใหไดเมล็ดพืช
(Seed) เม่ือนําเมล็ดพืชไปเพาะหรือปลูกจะไดตนพืชท่ีไดจากการผสมพันธุเรียกวาตนกลา
(Seedling) หรือพนั ธุลกู ผสม วัตถปุ ระสงคหลกั จะเปน วิธกี ารทน่ี าํ มาใชในการปรบั ปรงุ พันธุ
เพ่ือพัฒนาสายพันธุพืชใหไดพันธุพืชสายพันธุใหมๆ เกิดขึ้น ปจจุบันการขยายพันธุดวยวิธี
ดังกลาวยังคงนิยมใชกันอยู เนื่องจากตนกลาท่ีไดจากการเพาะเมล็ดจะนําไปใชเปนตนตอ
ในการขยายพันธุแบบไมอาศัยเพศเพอ่ื ใหไดตนทีม่ รี ะบบรากแข็งแรง

การขยายพันธุแบบอาศัยเพศ ทําไดงาย สะดวก ไมตองใชอุปกรณมาก ขยายรวดเร็ว
และไดป รมิ าณมาก การขยายพนั ธดุ ว ยวธิ นี จ้ี ะไดต น พนั ธทุ แี่ ขง็ แรง เนอื่ งจากมรี ากแกว อยา งไร
ก็ตามการขยายพันธุดวยเมล็ดมีโอกาสกลายพันธุสูง ใหผลผลิตชา ลําตนสูงใหญ ทําให
ไมสะดวกตอการดแู ลรกั ษาและการเกบ็ เกยี่ ว

2. การขยายพันธุแบบไมอาศัยเพศ คือวิธีการขยายพันธุจากเนื้อเยื่อช้ินสวนตางๆ
ของตนพืช เชน ลําตน ตา ใบ ราก เพ่ือใหไดตนพืชที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนเดิม
ทุกประการดวยวิธีการตอนก่ิง การปกชํา การติดตา การตอก่ิง และการทาบก่ิง นิยมใช
ในการขยายพนั ธพุ ชื ทผ่ี า นการพฒั นาปรบั ปรงุ สายพนั ธแุ ลว สว นการแบง สว นและการแยกสว น
จะนยิ มใชข ยายพนั ธกุ บั พชื ทมี่ สี ว นของรากหรอื ลาํ ตน เจรญิ อยใู ตด นิ ซง่ึ จะใชว ธิ กี ารขยายพนั ธุ
ดว ยวธิ กี ารตอนกง่ิ การตดิ ตา การตอ กงิ่ และการทาบกง่ิ ไมไ ด ปจ จบุ นั การเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอ่ื พชื
ไดเขามามีบทบาทอยางมากในการพัฒนาเทคนิคดานการขยายพันธุพืช เพื่อใหไดตนพืช
จาํ นวนมากอยางรวดเร็วในเวลาท่ีกําจดั โดยมคี ณุ ภาพของตนพชื เหมอื นเดมิ ทกุ ประการ

10

การขยายพันธุแบบไมอาศยั เพศ ทําใหไดลักษณะของตนตรงตามสายพันธุ มโี อกาส
เกิดการกลายพันธุนอยมาก ตนท่ไี ดจะใหผลผลติ เร็วกวาการขยายพนั ธุดวยเมลด็ ขนาดตน
มีความสม่ําเสมอ ทรงตนกะทัดรัด ทําใหงายในการปฏิบัติดูแลรักษา และสะดวกในการ
เก็บเก่ียวผลผลิต อยางไรก็ตามการขยายพันธุดวยวิธีน้ีจะตองอาศัยทักษะความชํานาญ
ในการขยายพันธุ และตองใชวัสดุอุปกรณท่ียุงยากกวาการขยายพันธุดวยการเพาะเมล็ด
นอกจากนต้ี นทไี่ ดจากการขยายพนั ธุดวยวิธีการตอนกิ่ง และปกชาํ กงิ่ จะไมมรี ะบบรากแกว
ทาํ ใหมีโอกาสโคนลมไดงายในกรณีที่มีลมแรง

แผนภาพการขยายพันธพุ ชื

แบบใชเพศ แบบไมใ ชเพศ
ผสมเกสร สว นตน

เมลด็
การเพาะเมลด็

อาศัยรากจากตน อื่น อาศยั รากจากตนเอง

การตอนก่งิ การทาบก่ิง
การปกชาํ การตดิ ตา
การแบง และแยกสว น การตอกงิ่

11

การขยายพนั ธุพืชแบบอาศัยเพศหรอื ดว ยเมลด็

เปนการขยายพันธุเพ่ือเพ่ิมปริมาณตนพืช ที่ไดจากการผสมเกสรระหวางอับละออง
เกสรตัวผูกับยอดเกสรตัวเมีย เปนวิธีท่ีทําไดงาย ตนพืชที่เติบโตจากเมล็ดเรียกวาตนกลา
ถาใชเมล็ดพืชที่ไมมีการควบคุมคุณภาพตนพืชท่ีไดอาจมีการกลายพันธุ นิยมใชกับ
พชื ประเภทพชื ไร เชน ขา ว ถวั่ เขยี ว ขา วโพด และขา วฟาง ผกั เชน คะนา กวางตงุ ผกั กาดเขยี ว
กะหล่ําปลี และกะหลํ่าดอก ไมดอกไมประดับ เชน ดาวเรือง กลอกซีเนีย พิทูเนีย
และเบญจมาศ และไมผลบางชนดิ เชน มังคุด ลางสาด และลองกอง
สวนตา ง ๆ ของเมล็ด

ประกอบดวยสวนสําคัญคือตนออน (คัพภะหรือเอ็มบริโอ) เนื้อเย่ือ หรืออวัยวะท่ี
ทาํ หนาทส่ี ะสมอาหาร (เอนโดสเปรม) และเปลือกหุมเมลด็

เปลอื กของผล
เอนโดสเปรม

ใบเลย้ี ง
เปลอื กหมุ ยอด
ยอดออ น
จดุ กาํ เนิดรากช่ัวคราว
รากออน
เปลอื กหมุ รากออ น
ภาพท่ี 1 สวนประกอบภายในเมลด็ พชื ใบเลี้ยงเดย่ี ว
ท่มี า : จวงจนั ทร ดวงพตั รา, 2521 : 19)
เยือ่ หุมเมลด็
hypocotyl
รากออน
ใบจรงิ

ภาพท่ี 2 สวนประกอบภายในเมลด็ พืชใบเลี้ยงคู
ทีม่ า : จวงจันทร ดวงพัตรา, 2521 : 45

12

ประโยชนข องเมลด็ คุณภาพดี
เมล็ดพืชเปนปจจัยสําคัญตอคุณภาพผลผลิต จึงตองเลือกเมล็ดพืชที่มีคุณภาพจาก

แหลงผลติ ที่เชอื่ ถือได คือมคี วามบรสิ ุทธ์ิ ตรงตามพันธุ มีเปอรเซน็ ตความงอกสงู พนจาก
สภาพจากการพกั ตวั ไมถ กู ทาํ ลายจากโรคและแมลงศตั รู เมอ่ื เมลด็ งอกแลว ไดต น กลา ทแี่ ขง็ แรง
สม่ําเสมอ ใหผลผลิตสูง
กระบวนการงอกของเมล็ด

คอื กระบวนการตางๆ ท่เี กิดข้นึ ภายในเมล็ดทําใหตนออน (คพั ภะ) เจรญิ เติบโตพฒั นา
เปน ตนกลา ท่สี มบูรณแข็งแรงในสภาพแวดลอมท่เี หมาะสม

นาํ้ แสง ออกซเิ จน อณุ หภมู ิ หารยอยสลายอาหาร
การดูดนาํ้ การหายใจ

เมตาโบลิซึม
รากออนแทง
ทะลุเม็ดออกมา

ตนกลาสมบูรณ การเจริญเติบโต
ภาพที่ 3 กระบวนการงอกของเมล็ด
(ท่มี า : จวงจันทร ดวงพัตรา, 2521 : 19)

13

ปจ จยั ท่มี ผี ลตอการงอกของเมล็ด
1. นํ้า ทําใหเปลือกหุมเมล็ดออนตัว ออกซิเจนเขาไปในเมล็ดไดมากขึ้น กระตุนการ

ทาํ งานของเอนไซมไปยอยสลายอาหารสะสมทมี่ ขี นาดโมเลกลุ ใหญใหมขี นาดเลก็ ลง จงึ นยิ ม
เรงการงอกของเมล็ดโดยการแชเมล็ดในน้ําเย็น หรือน้ําอุนเพื่อใหเปลือกหุมเมล็ดออนนิ่ม
ทําใหน้าํ และออกซเิ จนชึมผานไดมากข้ึน เมลด็ จึงงอกไดเร็วข้นึ

2. อณุ หภูมิ มีผลตอกระบวนการงอกของเมล็ดตามแตละชนิดพชื ดงั น้ันจึงควรเพาะ
เมลด็ ในชว งอณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะสมตอ การงอกจะทาํ ใหเ มลด็ พชื งอกเรว็ ขนึ้ เมลด็ พชื ทวั่ ไปสามารถ
งอกไดดีในชวงอณุ หภมู ิ 10 - 35 องศาเซสเชียส

3. ออกซเิ จน เมลด็ ตองการออกซเิ จนเพอื่ ใชในการหายใจ เพอื่ เผาผลาญอาหารทาํ ให
เกิดพลังงานสาํ หรับการงอก

4. แสง มีบทบาทสําคัญตอการงอกของเมล็ดทุกระยะการเจริญเติบโตของตนกลา
เน่ืองจากตนกลาตองใชอาหารท่ีสะสมภายในเมล็ด โดยมีแสงเปนตัวกระตุนหลังจากเมล็ด
งอกเปน ตนกลาแลวหากไดรบั แสงเพียงพอลําตนจะอวบ ต้ังตรง เจรญิ เติบโตเรว็ แตถาได
รับแสงไมเพียงพอตนกลาจะขาวซีด เกิดอาการยางปลอง ใบหอลูไมคลี่ใบ ปลายยอดงอ
แตถาไดรับแสงมากเกนิ ไปอาจแสดงอาการใบไหม

ไฮโปคอททลิ โคง ใบจรงิ
ใบเลย้ี ง

ไฮโปคอททิล

รากออน

เยื่อหมุ เมลด็

ราก

14

ตารางท่ี 1 ตัวอยา งเมลด็ พนั ธุทไ่ี มต องการแสงในการงอก

ชือ่ สามัญ ช่ือวิทยาศาสตร
กะหล่าํ ปลี (cabbage) Brassica oleracea var. capitata
กระเจ๊ยี บ (okra) Abelmoschus esculenta
กระถนิ (ipil – ipil) Leucaena leucocephala
ขาว (rice) Oryza sativa
ขาวโพด (corn) Zea mays
ขาวฟาง (sorghum) Sorghum bicolor
งา (sesame) Sesameindicum
แตงกวา (cucumber) Cucumissativa
แตงเทศ (muskmelon) Cucumismelo
แตงโม (watermelon) Citrullus lanatus
ถ่วั เขยี ว (muungbean) Vigna radiate
ถั่วแขก (common bean) Phaseolus vulgaris
ถั่วฝก ยาว (yard long bean) Vigna unquiculata sub.sesquipedalis
ถั่วลิสง (peanut) Arachis hypogaea
ถั่วลาย (centrosema) Centrosema pubescens
ถั่วเหลือง (soy bean) Glycine max.
ถว่ั ลันเตา (sugar pea) Pisum sativa
ทานตะวัน (sunflower) Hrlianthus annuus
บวบเหลี่ยม (ridge gourd) Luffa acutangula
ปอแกว (kenaf) Hibiscus cannabinus
ผกั กาดกวางตุง (Chinese mustard) Brassica chinese
ผกั กาดขาวปลี (Chinese cabbage) Brassicapekinensis
ผกั กาดหัว (Chineseradish) Raphanus sativa var. longipinnatus
ผักคะนา (Chinese kale) Brassica oleracea var. alboglabra
ผักบุงจนี (kangkong) Lpomoea aquatica
ฝาย (cotton) Gossypium spp.
ละหุง (castor bean) Ricinus communis
ลกู เดอื ย (Job ,s tear) Coix lacryma – jobi
หอมหัวใหญ (onion) Allium cepa
ท่ีมา : จิรา ณ หนองคาย, 2551 : 95

15

ตารางที่ 2 ตัวอยางเมลด็ พนั ธุทต่ี องการแสงในการงอก

ชอ่ื สามัญ ช่ือวทิ ยาศาสตร

เทยี น Nigella damascene
ปอกระเจา (Jute) Corchorus spp.
ผักกาดเขียวปลี (leaf mustard) Brassica juncea
ผกั กาดหอม (lettuce) Lactuca sativa
ผกั โขมใบเขยี ว (green amaranth) Amaranthus retroflexus
ผกั โขมใบแดง (love- lies bleeding) A.caudatirs ;A.fimbriatus
พรกิ (hot pepper) Capsicum spp.
มะเขือ (eggplant) Solanum melongena
มะเขือเทศ (tomato) Lycopersicon esculentum
ยาสูบ (tobacco) Nicotiana tobacum
สตรอเบอร่ี (strawberry) Fragaria virginiana
สนลอบโลลลไ่ี พน (loblolly pine) Pinus taeda
สนไวทไพน (white pine weymouth pine ; eastern white pine Pinus stribus
Downy birch Betula pubescens
Goosefoot Chenopodium album
Eastern hemlock Tsuga conadensis
Smilo Oryzopsis miliacea
Timothy Phleum pretense
- Juncis maritimus
- Lepidium virginicum
- Verbaccum thapsus

ที่มา : จิรา ณ หนองคาย, 2551 : 95

16

การพกั ตัวของเมลด็ พืช
คอื เมลด็ พชื ทม่ี ชี วี ติ แตไ มส ามารถงอกไดแ มจ ะอยใู นสภาพแวดลอ มทเี่ หมาะสม เกดิ จาก

สาเหตตุ างๆ ไดแก สวนของเปลอื กหุมเมลด็ ไมยอมใหนาํ้ ออกซเิ จน และคารบอนไดออกไซด
ซมึ ผาน สวนประกอบภายในเมล็ดมีสารยบั ยั้งการงอกของเมล็ด ฯลฯ
วิธีแกก ารพักตัวของเมล็ดพืชหรอื เรง ความงอก

1. การแชนํ้า โดยแชเมล็ดในนํ้าเย็นสลับน้ําอุนจะชวยใหเมล็ดงอกเร็วข้ึน นิยมใชกับ
เมลด็ พันธุผกั โดยแชในนํา้ อุนอณุ หภมู ิ 50 องศาเซสเชียส นาน 30 นาที และแชในนาํ้ เยน็
ที่อุณหภูมิ 10 องศาเซสเชียส นาน 6 ช่ัวโมง จากน้ันหอดวยผาขาวบางชุบนํ้าหมาดๆ
นาน 12 - 24 ช่วั โมง เม่ือนาํ เมล็ดไปเพาะจะงอกเรว็ ขึน้ หรอื หอเมล็ดดวยผาขาวบาง แชนํา้
1 คืน เกบ็ ในท่ีรมและชืน้ 2 - 3 วนั เมล็ดจะเร่ิมงอกเกิดตุมรากสีขาวจึงนําไปเพาะได

2. การใชค วามรอ น โดยการอบแหงใหมคี วามชืน้ ตาํ่ อณุ หภูมทิ ใ่ี ชในการอบ 35 - 45
องศาเซสเชียส

3. การบม ดว ยความเยน็ และความชน้ื โดยการนาํ เมลด็ พชื เพาะในทราย หรอื กระดาษ
แลวนําไป เก็บไวทอี่ ุณหภูมิ 5 - 10 องศาเซสเชียส เปน เวลา 5 วนั จากน้ันนาํ เมลด็ พืชออก
มาเพาะทีอ่ ุณหภมู ปิ กติสามารถทาํ ใหเมล็ดงอกไดเรว็ ขึน้ เชน เมล็ดปาลม

4. การแกะเปลอื กหมุ เมลด็ หรอื ทําลายเปลอื กหุมเมลด็ บางสวน โดยการทําใหสวน
ของเปลือกหุมเมล็ด เกดิ รอยแตกเพ่ือใหนาํ้ และออกซิเจนซึมผานเขาไปได นยิ มใชกับเมลด็
พืชท่มี เี ปลอื กหุมเมล็ดหนา เชน มะพราว มะปราง กะทอน และมะมวง ฯลฯ

5. การนาํ เมลด็ มาลา งนาํ้ เพอื่ ลดปรมิ าณสารยบั ยง้ั การงอกของเมลด็ ใหล ะลายไปกบั นา้ํ
เชน เมล็ดมะเขือเทศ เมลด็ มะละกอ และเมลด็ พนั ธุผักสวนครัว

6. การใชกรด โดยการนาํ เมล็ดแชดวยกรดกาํ มะถนั เขมขน 5 นาที เพ่ือใหเปลือกหุม
เมล็ดออนนุม แลวลางดวยน้ําอีกคร้ังกอนนําไปเพาะเปนวิธีการแกการพักตัวสําหรับเมล็ด
พืชท่ีมเี ปลอื กหุมเมลด็ หนา

7. การใชสารเคมีอื่นๆ โดยละลายสาร เชน โปตัสเซยี มไนเตรต ไทโอยูเรยี ไฮโดรเจน
เพอรอคไซด หรือสารจิบเบอเรลลิคแอซิด ใหมีความเขมขน 0.02 - 0.04 % แทนนาํ้ ในการ
เพาะเมลด็ วธิ นี สี้ ามารถแกป ญ หาการพกั ตวั ทเี่ ปลอื กหมุ เมลด็ ไมย อมใหน า้ํ ออกซเิ จนซมึ ผา น
เชน เมล็ดพืชอาหารสตั ว ขาวโอต และขาวสาลี

17

ความแขง็ แรงของเมล็ดพชื
คอื ความสามารถของเมลด็ พชื เมอื่ อยใู นสภาพแวดลอ มทไี่ มเ หมาะสม แตส ามารถเจรญิ

เติบโตเปนตนกลาได เมลด็ พืชที่มคี วามแข็งแรงสงู จะงอกใหตนกลาสมา่ํ เสมอ เจริญเติบโต
เรว็ ออกดอก และใหผลผลติ สูงกวาตนกลาทีง่ อกจากเมล็ดพชื ทมี่ ีความแขง็ แรงตํ่า
การทดสอบความงอกของเมลด็ พืช (Germination test)

คือการทดสอบความสามารถในการงอกของเมล็ดพืช วาจะสามารถงอกไดมากนอย
เพียงใด เมื่อนําไปปลูกในสภาพไรนา เมล็ดพืชท่ีนํามาทดสอบจะตองเปนเมล็ดที่บริสุทธ์ิ
คอื ไมมีเมลด็ ของพชื ชนดิ อน่ื ๆ และสิ่งเจือปนทไ่ี มใชเมลด็ พืช เชน ช้นิ สวนของตนพชื เปลอื ก
หุมเมล็ดท่ีหลดุ ออกจากเมลด็ พชื เศษดนิ และ เศษหนิ มวี ธิ กี ารทดสอบแบงเปน 2 วธิ ี คอื

1. วธิ กี ารทดสอบความงอกตามมาตรฐานสากล
โดยใชมาตรฐานของสมาคมทดสอบเมล็ดพันธุระหวางประเทศ (International Seed
Testing Association, ISTA) มวี ธิ ีปฏิบัติ ดังนี้

1. สุมเกบ็ ตัวอยางเมล็ดพันธุ โดยมลี าํ ดับขั้นตอนในการเกบ็ ตัวอยาง ดังนี้
1.1 เกบ็ เมล็ดพันธุขน้ั ตน (Primary sample) คอื สุมเกบ็ ตวั อยางจากแตละจุด

ในแตละกองของกองเมลด็ พันธุ การสุมเก็บตวั อยางแตละจดุ ควรมีปรมิ าณท่ใี กลเคียงกนั
1.2 เกบ็ เมลด็ พนั ธรุ วม (Composite sample) คอื ตวั อยา งเมลด็ พนั ธขุ น้ั ตน ทง้ั หมด

ทีไ่ ดจากการสุมเกบ็ ตัวอยางในแตละจดุ แตละกองแลวรวมเปนกองเดยี วกนั
1.3 เกบ็ เมล็ดพันธุนําสง (Submitted sample) คอื ตวั อยางเมล็ดพนั ธุรวมทีล่ ด

จํานวนลงตามวิธที ถี่ กู ตองในปรมิ าณที่กาํ หนดเพือ่ สงไปยังหองปฏบิ ตั ิการ
1.4 เมล็ดพันธุท่ใี ชในการตรวจสอบ (Working sample) คอื ตวั อยางเมล็ดพันธุ

ทลี่ ดจํานวนลงจากเมลด็ พันธุนาํ สง ใหไดปริมาณท่ีกําหนด
2. นาํ เมลด็ มาทดสอบโดยแบงเปน 4 ซ้าํ ๆ ละ 100 เมล็ด หากเมลด็ มีขนาดใหญ

แบงเปน 8 ซํ้าๆ ละ 50 เมลด็
3. เพาะเมลด็ ลงบนวัสดทุ ่ใี ชทดสอบความงอก ไดแก กระดาษทิชชู ทราย มีวิธี

ปฏบิ ัตดิ ังนี้
3.1 เพาะลงกระดาษเพาะหรือกระดาษทชิ ชู ทําได 3 วธิ ี คอื
3.1.1 เพาะบนกระดาษเพาะ (Top of Paper : TP) คือการวางเมล็ดพชื ให

งอกบนกระดาษทมี่ คี วามชนื้ นาํ ไปวางไวใ นกลอ งพลาสตกิ แลว ปด ฝาใหส นทิ เพอื่ รกั ษาความชนื้
นิยมใชกบั เมลด็ พชื ทีม่ ขี นาดเลก็ หรอื ตองการแสงในการงอก

3.1.2 เพาะระหวางกระดาษเพาะ (Between Paper : BP) คือการวางเมลด็
พชื บนกระดาษเพาะแลวปดทับดวยกระดาษเพาะท่ีมีความช้ืนอีก 1 แผน พรมน้ําอีกคร้ัง จาก
น้ันใหมวนกระดาษเพาะเปนทอนกลมนําไปวางไวในกลองพลาสติก หรือถุงพลาสติกปดฝา
ใหสนทิ เพอื่ รกั ษาความช้นื นิยมใชกบั เมล็ดพชื ไร เชน ขาว และพชื ตระกูลถัว่

18

3.1.3 เพาะในกระดาษพลีต (Plated Paper : PP) คอื การวางเมลด็ ใหงอก
อยูระหวางกระดาษเพาะทพี่ บั กลบั ไปกลบั มาเหมือนรอยพบั จบี โดยวางเมล็ดลงในรองของ
รอยพบั นาํ ไปวางไวในกลองพลาสตกิ ปดฝาใหสนทิ เพอื่ รกั ษาความชน้ื นยิ มใชกบั เมลด็ ทง่ี อก
มากกวา 1 ตนใน 1 เมลด็

3.2 เพาะลงบนทราย ทรายทใี่ ชเ พาะตอ งปราศจากเมลด็ พชื ชนดิ อนื่ เชอื้ แบคทเี รยี
เชื้อรา และสารท่ีเปนพษิ ตอตนออน สามารถอุมนาํ้ ไดดี คาความเปน กรด - ดาง (pH) 6.0
- 7.5 การทดสอบความงอกโดยใชทรายจะใชกับเมล็ดพืชท่ีมีขนาดใหญ โดยจะตองผสม
ทรายกับน้าํ ใหเปยกช้นื กอนที่จะบรรจุลงในภาชนะที่ใชเพาะ หนาประมาณ 3 เซนติเมตร เชน
กลองพลาสตกิ หรือถาดอลูมเิ นยี ม สวนภาชนะที่ใชเพาะ มคี วามสงู ประมาณ 7 เซนตเิ มตร
มีฝาปดเพือ่ เก็บรักษาความช้ืนของทราย จนกวาเมลด็ พืชจะเจรญิ เตบิ โตเปน ตนออน ทาํ ได
2 วธิ ี คอื

3.2.1 เพาะบนทราย (Top of sand : TS) คือ การวางเมล็ดใหงอกบนผวิ หนา
ของทรายทเี่ ปย กชน้ื เรยี งเมลด็ พชื ใหม รี ะยะหา งกนั พอประมาณปด ฝาภาชนะเพอื่ รกั ษาความชนื้

3.2.2 เพาะในทราย (In sand : S) คอื การวางเมล็ดลงบนทรายเรยี งเมล็ด
พืชใหมรี ะยะหางกนั พอประมาณ และกลบดวยทรายชื้นหนาประมาณ 1 - 2 เซนตเิ มตร ปาด
หนาทรายใหเรยี บ ปดฝาภาชนะเพอื่ รักษาความชืน้

4. เมอื่ เมลด็ เริม่ งอกนับเฉพาะตนกลาทีส่ มบูรณ คือ มียอดออน และระบบราก
แข็งแรงนํามาคาํ นวณหาเปอรเซน็ ตความงอก

เปอรเ ซน็ ตการงอก = จาํ นวนเมล็ดที่งอก x 100
จํานวนเมล็ดทัง้ หมด

5. ถาเมล็ดงอกเกิน 90 เปอรเซ็นต นําเมล็ดไปปลูกได ถาเมล็ดงอกระหวาง
70 - 80 เปอรเซ็นตเมล็ดอยูในเกณฑพอใชตองนาํ ไปแกการพกั ตวั หรือเรงการงอก ถาเมล็ด
งอกตํ่ากวา 60 เปอรเซน็ ต ไมควรนําไปปลูก

19

ภาพท่ี 4 การทดสอบความงอกของเมล็ดพืช
ก. วางเมลด็ บนกระดาษเพาะ (Top of Paper TP)
ข. วางเมลด็ ระหวางกระดาษเพาะ (Between Paper BP)
ค. เพาะในกระดาษพลีต (Plated Paper PP)
ง. เพาะลงบนทราย

2. การทดสอบความงอกแบบชาวบา น คือ การทดสอบความงอกแบบงายๆ ของ
เกษตรกรทจ่ี ะนาํ เมลด็ พนั ธไุ วใ ชปลกู ในฤดกู าลถดั ไป ซงึ่ สามารถปฏบิ ตั ไิ ดเอง มวี ธิ ปี ฏบิ ตั ดิ งั นี้

1. สมุ เกบ็ ตวั อยา งจากกองเมลด็ พนั ธุ คอื การสมุ เกบ็ ตวั อยา งหลายๆ จดุ ภายในกอง
เชน สวนลาง สวนกลาง และสวนบนของกองเมล็ดพันธุ

2. นาํ เมลด็ พชื ทไี่ ดจากการสมุ เกบ็ ตวั อยา งมากองรวมกนั จากนน้ั แยกเปน 4 กองๆ
ละ 100 เมล็ดเพื่อใชในการทดสอบความงอกตอไป

3. เพาะเมล็ดพืชลงบนวัสดุที่ใชทดสอบ เชน ผาฝาย กระดาษทิชชู หรือทราย
มวี ิธีปฏบิ ตั ดิ งั น้ี

3.1 เพาะบนผาฝายหรอื กระดาษทชิ ชู
3.1.1 นําผาฝาย หรอื กระดาษทิชชู 1 ผืน มาชุบนํ้าใหชุมเรยี งเมล็ดพืช 100

เมลด็ ลงบนผาฝาย หรอื กระดาษทิชชูจากน้ันนาํ ผาฝาย หรือกระดาษทิชชูอีก 1 ผนื วางทบั
ลงบนเมลด็ พชื ทําท้ังหมด 4 ซํา้ ๆ ละ 100 เมลด็

3.1.2 มวนผาฝายหรือกระดาษทิชชูเปนทอนกลมนําไปใสในถุงพลาสติก
เก็บไวในที่มอี ากาศถายเทไดสะดวกประมาณ 7 - 10 วัน เมล็ดเริ่มงอก

3.1.3 คลผี่ า ฝา ยหรอื กระดาษทชิ ชอู อก นบั ตน กลา ทสี่ มบรู ณ คอื มยี อดออ น
และระบบรากแข็งแรง

20

3.2 เพาะบนทราย
3.2.1 นําทราย หรือดินมาใสในกระบะหรือทําเปนแปลงเพาะ จํานวน

4 ซา้ํ ๆ ละ100 เมล็ด หรือ 8 ซา้ํ ๆ ละ 50 เมล็ด
3.2.2 เรยี งเมล็ดเปนแถวเพ่ือสะดวกในการนบั ตนกลารดน้ําใหชุมอยาให

น้าํ ทวมขัง ประมาณ 7 - 10 วนั เมลด็ งอกใหนบั ตนกลาท่สี มบรู ณ
4. เม่ือเมล็ดงอกนับเฉพาะตนกลาที่สมบูรณ คือมียอดออนและระบบราก

แขง็ แรงนาํ มาคํานวณเพื่อหาเปอรเซ็นตความงอก

เปอรเซน็ ตการงอก = จํานวนเมลด็ ทงี่ อก x 100
จํานวนเมลด็ ทง้ั หมด

ภาพที่ 5 การทดสอบความงอกของเมล็ดถ่วั เหลือง ดวยวิธีการเพาะดวยทรายในกระบะ
ก.วางเมล็ดพนั ธุถ่ัวเหลืองลงในทราย
ข. กลบทบั ดวยทรายปดฝาเกบ็ ไวในท่รี ม 3 - 5 วนั
ค. เปดฝานําไปตากแดด 3 วัน
ง. ตรวจความงอกหลงั เพาะ 7 - 10 วนั

ท่มี า : ณัฐหทยั เอพาณิช, 2547 : 90

21
การเพาะเมล็ดพชื ในภาชนะหรอื แปลงเพาะ

เปนการเตรียมตนกลาเพื่อใชกอนปลูกลงแปลงหรือกระถาง เหมาะสําหรับเมล็ดพืช
ท่ีมีราคาแพง เน่ืองจากเมล็ดมีโอกาสสูญเสียนอย นิยมใชกับพืชผัก หรือไมดอกอายุสั้น
รวมทั้งไมพุม ไมยนื ตนทีเ่ มลด็ มีขนาดเลก็ เชน มะเขือเทศ กะหลาํ่ ดอก แอสเทอร พิทเู นยี
ฝา ยคาํ ปาลม ขวด นยิ มทาํ การเพาะเมลด็ พชื ในภาชนะเพาะ และการเพาะเมลด็ พชื ในแปลงเพาะ

1. การเพาะเมลด็ พืชในภาชนะเพาะ
เปน การเพาะเมลด็ ในกระบะ นยิ มใชใ นการปลกู พชื ปรมิ าณนอ ย เชน การปลกู ผกั สวนครวั
หลงั บา น การปลกู ไมด อกไมป ระดบั ภาชนะทใ่ี ชเ พาะควรมนี า้ํ หนกั เบา ไมแ ตกหกั หรอื ผพุ งั งา ย
มรี รู ะบายนา้ํ สว นวสั ดทุ ใ่ี ชเ พาะควรมลี กั ษณะโปรง มอี ากาศถา ยเทดี อมุ นา้ํ ไดน านพอสมควร
ระบายนํ้าไดงาย ไมเปนกรดหรือดางจัดจนทาํ ใหตนกลาไมเจริญเตบิ โต มีวิธปี ฏิบัตดิ ังนี้

ภาพท่ี 6 การเพาะเมล็ดในภาชนะเพาะ
ก. ใสวัสดุทีร่ องกนภาชนะเพาะเพ่ือระบายนาํ้ เชน เศษอิฐหัก หรือเปลอื กถ่ัวลสิ ง จาก
นนั้ ใสดนิ ลงภาชนะใหตาํ่ กวาขอบภาชนะเล็กนอย ปรับหนาดินใหเรยี บ จากน้ันหวานเมลด็ ใน
ภาชนะเพาะโดยเรยี งเปน แถว หรอื หวา นทวั่ ทง้ั ภาชนะกไ็ ด กลบดนิ ทบั เมลด็ ใหแ นน พอประมาณ
รดนาํ้ ใหชุมเพ่อื ใหเมลด็ ไดรบั ความชื้น และงอกอยางสมา่ํ เสมอ
ข. เมือ่ เมล็ดงอก 7 - 10 วัน ทาํ การยายตนกลาโดยใชแทงดนิ สอที่ปลายไมแหลมมาก
แทงลงในวสั ดเุ พาะขางๆ ตนกลา เพือ่ ทําใหวัสดุเพาะหลวมในขณะท่อี กี มอื คอยๆ ดึงตนกลา
ข้นึ มา
ค. เมือ่ ไดตนกลาแลวใหใชดินสอแทงลงก่ึงกลางถุงทใี่ สวัสดปุ ลูก ใหลกึ ถงึ กนกระถาง
หรือถุง จากน้ันนําตนกลาใสลงในหลุมใหใบเล้ียงอยูระดับผิววัสดุปลูก กลบหลุมแลวใหน้ํา
แบบฝอยละเอียดจนนํ้าไหลออกกนถุง จากนั้นนําตนกลาไปไวในที่รม เม่ือตนกลาต้ังตัวได

22

ใหร บี นาํ ออกรบั แสงเพอื่ ไมใ หต น กลา ยดื ประมาณ 2 สปั ดาห ตน กลา จะมใี บจรงิ ประมาณ 6 ใบ
ซง่ึ พรอมท่จี ะยายปลกู ลงกระถางท่ีใหญขนึ้ หรือ ลงแปลงปลูกตอไป

2. การเพาะเมลด็ พืชในแปลงเพาะ
2.1 เตรยี มแปลงเพาะเลอื กดินท่ีมีความสมบูรณ กาํ จัดวชั พืชออกใหหมด วางแปลง

เพาะใหหัวและทายของแปลงอยูในแนวทิศเหนือและทิศใต ขนาดความยาว 6 เมตร
กวา ง 1.20 เมตร ตากดนิ ใหแ หง เพอ่ื ใหแ ปลงเพาะไมม โี รคและแมลงศตั รพู ชื ยอ ยดนิ ใหล ะเอยี ด
ใสป ยุ คอกใหเ หมาะสมตามความสมบรู ณแ ละชนดิ ของดนิ รดนา้ํ ใหช น้ื จากนน้ั ยอ ยดนิ ใหท ว่ั แปลง
ข้ึนรปู แปลงสงู จากพน้ื ดนิ 15 - 20 เซนติเมตร

2.2 หวา นเมลด็ ในแปลงเพาะ นยิ มหวานทว่ั แปลง ถาแปลงมขี นาดกวา งใหแบงหวา น
ที่ละครึ่ง กรณีท่ีเมล็ดมีขนาดเล็ก หรือยอยดินไมละเอียด ใหใชปุยคอกหวานใหทั่วแปลง
จากนน้ั รดนาํ้ เพอื่ ใหป ยุ คอกลงไปอดุ ชอ งดนิ ปอ งกนั ไมใ หเมลด็ ตกลงไปตามซอกดนิ จงึ หวาน
เมลด็ บางๆ กอนแลวหวานทบั อีกครงั้ กลบดนิ ทับเมล็ด

2.3 ทํารมใหตนกลาในแปลงเพาะ ตั้งแตตนกลาเริ่มงอกจนถึงระยะยายปลูก
เพ่ือปองกันสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสมตอการงอก โดยเฉพาะแสง

2.4 ดูแลรักษาตนกลา หลงั จากทงี่ อกพนผิวดินใหตนกลารบั แสงทันทีจะชวยใหตน
กลาเจรญิ เตบิ โต แขง็ แรง ในระยะทต่ี นกลายงั เลก็ ใหนาํ้ เปน ละอองพนหมอก 4 ชวั่ โมงตอครงั้
ครง้ั ละ 10 นาที

2.5 ในกรณที ีห่ วานเมล็ดหนาเกินไป เมอ่ื เมล็ดงอกจะเบียดเสียดกนั ใหยายตนกลา
ไปปลูกชว่ั คราวในภาชนะเพาะท่ีสามารถเคลือ่ นยายไดสะดวก กอนทจ่ี ะยายลงแปลง

2.5.1 ใหร ดนา้ํ ในแปลงเพาะใหช มุ กอ นถอนตน กลา เพอื่ สะดวกในการปฏบิ ตั งิ าน
และตนกลาไดรับการกระทบกระเทอื นนอยทส่ี ดุ

2.5.2 เตรียมวสั ดปุ ลูกเชนเดียวกบั การเพาะเมลด็
2.5.3 ใชด นิ สอแทงลงกง่ึ กลางถงุ ทใ่ี สว สั ดปุ ลกู ลกึ จนถงึ กน ถงุ จากนนั้ นาํ ตน กลา
ใสลงในหลุม โดยใหอยูระดับทใี่ บเล้ียงอยูผวิ วสั ดปุ ลกู แลวใหนํ้าแบบฝอยละเอยี ดจนน้าํ ไหล
ออกกนถุง
2.5.4 กอนการยายตนกลาปลูกจาํ เปนตองทาํ ใหตนกลาแข็งแรง โดยรดนา้ํ ตน
กลาใหนอยลง หรือใชโพแทสเซียมคลอไรด อัตราสวน 1 : 250 ละลายนํ้ารดตนกลา
7 - 10 วนั กอนยายปลกู
2.5.5 หลงั ปลกู ตอ งรดนาํ้ ใหช มุ และทาํ รม ชว่ั คราวจนกระทงั่ ตน กลา พชื ตง้ั ตวั ได
2.5.6 ใหน้าํ สม่าํ เสมอ อยาใหตนกลาเห่ียวเพราะขาดนา้ํ การใหปุยจะชวยให
ตน กลา ตง้ั ตวั เรว็ ขนึ้ โดยใชป ยุ ผสมทม่ี ฟี อสฟอรสั (P2O5) สงู เชน ใชส ตู ร N : P : K = 10 : 52 : 17
อตั รา 2.3 - 2.7 กก.ตอนํ้า 400 ลติ ร

23

การเพาะเมลด็ พริกในภาชนะปลูก

ภาพท่ี 7 การเพาะเมลด็ พริกในภาชนะเพาะ
ก. เตรียมวัสดุเพาะโดยใชไมขีดวสั ดเุ พาะใหเปนรอง
ข. โรยเมลด็ ในรองโดยใหท่ัว และโรยวัสดเุ พาะทบั อกี ครัง้ เพอ่ื กลบรอง จากนน้ั รดนา้ํ ใหชุม
ค. ประมาณ 7 - 10 วนั เมลด็ เริ่มงอกเปนตนกลา
ง. ยายตนกลาลงในถาดหลมุ ขนาด 104 หลุม หรือถุงเพาะชําเมอ่ื ตนกลาเร่ิมมีใบแท
จ. ใหนาํ้ ในชวงเชาเวลา 06.00 - 08.00 น.
ฉ. ตนกลามอี ายุครบ 30 วนั พรอมปลูกในแปลง

24

การขยายพันธพุ ชื โดยการปก ชาํ

เปน การขยายพนั ธุพืชโดยการนําสวนตางๆ ของพืชพันธุดี มาตัดปก ชําบนวัสดเุ พาะชาํ
ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการเกิดรากและแตกยอด จะไดเปนพืชตนใหมท่ีมีลักษณะ
เหมอื นตนแมทกุ ประการ เปน วธิ ีการขยายพันธุที่ทาํ ไดงาย ตนทุนตํ่า ไมยุงยาก แบงได 3 วิธี
คือ ปกชํากงิ่ ปกชําใบ และ ปกชาํ ราก
การปกชําก่ิง

คอื การนาํ กง่ิ มาปก ชาํ ในวสั ดเุ พาะชาํ เพอื่ ใหเกดิ รากเปน พชื ตนใหม แบงออกตามความ
ออนแกของก่งิ ไดแก กิง่ แก กิง่ ก่งึ ออนกง่ึ แก กิง่ ออนและไมพุมเนือ้ เยอื่ และลําตนเนื้อออน
อวบนาํ้

1. การปกชํากิ่งแก เปนกิ่งท่ีมีสีน้ําตาลเน้ือไมแข็งมักจะไมมีใบ มีอาหารสะสม
มากนยิ มใชใ นพชื ทปี่ ก ชาํ ในแปลงโดยตรงเชน ผกั หวาน ชะอม หรอื ตน ตอสาํ หรบั ตดิ ตากหุ ลาบ
องุน หรือไมประดับขนาดใหญ เชน เฟองฟา โมก และไทร

2. การปกชําก่ิงก่ึงออนก่ึงแก เปนกิ่งที่มีเน้ือไมแกพอสมควร เปลือกมีสีเขียว
หรอื เขียวปนนา้ํ ตาลเลก็ นอย นยิ มใชในพืชไร เชน มันสาํ ปะหลัง ฯลฯ

3. การปก ชาํ กง่ิ ออ นและไมพ มุ เนอ้ื เยอ่ื กง่ิ ออนเปน กงิ่ ทเ่ี จรญิ ใหมในพชื ทม่ี เี นอ้ื
ไมแขง็ และไมพมุ หรอื กง่ิ ยอดทก่ี งิ่ มสี เี ขยี ว พชื สวนมากสามารถตดั ชาํ ไดโดยวธิ นี ี้ เชน กหุ ลาบ
มะลิ ยโี่ ถ ผกากรอง ฯลฯเปน วธิ ที ท่ี าํ ใหพชื ออกรากไดงายและเรว็ กวาการปก ชาํ แบบอน่ื ๆ แต
ตองดูแลเอาใจใสมากเปน พเิ ศษ ตองระวังไมใหใบหรือกิง่ เหีย่ ว ทาํ ภายใตสภาพท่ีมีความชน้ื
สงู สมํ่าเสมอ มีแสงแดดเต็มท่ี โดยทวั่ ไปใชก่งิ ยาว 3 - 5 นิว้ ขึน้ อยูกับพนั ธุและความสมบูรณ
ของกง่ิ

4. การปกชําลําตนเนือ้ ออนอวบนา้ํ เปน พืชที่มีลักษณะเน้ือไมออนเชน พชื ใน
กลุมสาวนอยประแปง วาสนา หมากผูหมากเมีย และเขยี วหมน่ื ป โดยตัดลาํ ตนเปน ทอนยาว
มี 1 - 3 ขอ ทารอยแผลดวยปูนแดงหรือสารปองกันกําจัดเช้ือราทั้ง2 รอย(บนและลาง)
ผ่ึงใหรอยแผลแหงนําไปปกชําในวัสดุเพาะชําโดยวางก่ิงชําในแนวนอนหรือในแนวตั้งวางใน
บรเิ วณทีร่ มรดนํา้ พอชื้นทอนพันธุจะงอกเปนตนใหม

ภาพที่ 8 การปกชํากิง่

25

การปก ชาํ ใบ
คือการนําใบมาปกชําใหเกิดยอดและรากสามารถทําไดหลายวิธีข้ึนอยูกับชนิดของพืช

แบงเปน การปกชาํ แผนใบ ปก ชาํ ใบที่มกี านใบ และปก ชําใบทม่ี ีตาติดมา
1. การปก ชาํ แผน ใบ โดยการตดั แผนใบออกเปน สวนๆตนและรากใหมจะเกดิ จากแผน

ใบโดยตรง การปกชาํ มหี ลายวิธขี ึน้ อยูกับชนิดของพืช เชน
1.1 การปกชาํ ใบลนิ้ มังกร เลอื กใบท่ีแกตัดเปน ทอนยาว 2 - 3 นว้ิ นาํ มาปก ชาํ ใน วสั ดุ

ปก ชําไดแก ทรายผสมขเี้ ถาแกลบอัตราสวน 1 : 1 ปกลกึ ½ - ¾ ของความยาวของใบทม่ี า
ปก ชาํ จะเกดิ ตนและรากใหมบรเิ วณฐานของใบทปี่ ก ชาํ สว นโคนของใบเกาจะคอ ยๆ แหงตาย

1.2 การปกชาํ ใบบโี กเนยี นําใบแกมากรดี เสนใบใหญใหขาดจากกนั (อาจกรดี ใหขาด
เปนสวน ๆ หรือยังติดเปนใบอยูก็ได) โดยวางแผนใบลงบนวัสดุปกชํา กลบดวยวัสดุปกชํา
บางๆ พอใหใ บแหง หรอื ปก ชาํ บนวสั ดปุ ก ชาํ นาํ กระบะปก ชาํ ตงั้ ไวใ นทร่ี ม มคี วามชนื้ สงู แตไ มแ ฉะ
จะเกดิ ตน และรากใหมต รงบรเิ วณเสน ใบทถี่ กู ตดั ขาด ขณะเดยี วกนั ใบเกา จะคอ ยๆ แหง ตายไป

1.3 การปกชําใบโคมญี่ปุนหรือใบควํ่าตายหงายเปน ตัดใบท่ีแกวางบนวัสดุปกชํา
ทช่ี น้ื การปก ชาํ ควรกลบใบบางสว นหรอื พยายามทาํ ใหข อบใบชดิ อยกู บั วสั ดปุ ก ชาํ เพอ่ื ปอ งกนั
ไมใหใบแหง ตนและรากใหมจะเกิดตรงรอยหยักของแผนใบ บริเวณนั้นจะมีคัพภะของ
แผนใบทพี่ กั ตวั อยู

2. การปก ชาํ ใบทมี่ กี า นใบ จะเกดิ ตนและรากใหมตรงปลายของกานใบ นยิ มใชในการ
ปก ชําใบอัฟรกิ ันไวโอเลต็ ใบกล็อกซีเนีย โดยเลอื กใบทอี่ ยูชวงกลางของตน ไมควรใชใบแก
หรือใบออน ตัดใบใหมีกานใบยาวประมาณ 1 นิ้ว ปกชํากานใบลงในวัสดุปกชํา หันหนา
ไปทางเดยี วกนั อยา ใหข อบใบชนกนั อาจใชฮ อรโ มนเรง รากความเขม ขน ตาํ่ 50 ppm จมุ กา นใบ
กอนปก ชาํ จะชวยใหออกรากเร็วขึน้ การใหนา้ํ ควรใหทางกนกระถาง

3. การปก ชาํ ใบที่มตี าติด คือการปกชาํ ใบที่มแี ผนใบ กานใบ และก่งิ ทีม่ ตี าตดิ อยูดวย
เนื่องจากพืชพวกนี้จะออกรากใหมไดดี แตเกิดตนใหมไดชามาก จึงตองใหมีตาเกาติดดวย
เพอ่ื แตกเปนตนใหม เชน ยางอนิ เดยี เปปเปอรโรเมีย และมะนาว การปก ชาํ ควรชําสวนของ
ลําตนใหตาจมลงไปประมาณ ½ นิว้ จะเกิดรากและยอดข้ึนมาใหมตรงบรเิ วณขอ

26

ภาพท่ี 9 การปกชาํ ใบทมี่ กี านใบ (ใบกลอกซีเนยี )

ก. ตดั ใบที่อยูชวงกลางของตน ค. รดน้ําใหชุม
ข. นํามาปกชาํ ในวสั ดุปกชาํ ปก ลึก ½ ของความยาวกานใบ ง. นําเขากระโจมอบ

ภาพที่ 10 การปกชําแผนใบ (ใบล้ินมังกร)
ก. ตัดใบเปน ทอนยาว 2 - 3 น้ิว ค. รดนํ้าใหชุม
ข. ปกใหลึก ½ ของความยาวกานใบ ง. นําเขากระโจมอบ

27

การปก ชําราก
นิยมใชกับไมผล เชน สาเก มะไฟ ปป และแคแสด โดยใชรากท่ีมีเสนผาศูนยกลาง

ประมาณ ¼ นิ้ว ตัดเปน ทอนยาว 2 - 4 น้ิว ชาํ ลงในวสั ดุปก ชํา รดนํา้ ใหชุมจะเกิดการแตก
รากทางดานปลายและแตกยอดใหมทางดานโคนของราก
การดูแลรกั ษา

1. ตองใหนํ้าอยางสมํ่าเสมอ ถาใหนาํ้ นอยไปจะทาํ ใหก่งิ เหยี่ วแหง ถาใหมากไปจะทําให
วัสดปุ ก ชาํ แฉะเนาเสยี หายได

2. ควรใหน้าํ เปนละอองบางๆ หลายๆครัง้
3. ตองหม่ันตรวจโรคก่ิงปกชํา เนื่องจากมคี วามช้นื สูงจงึ มีโอกาสทจ่ี ะเกิดโรคได ดังนนั้
จึงตองฉดี สารปองกันกาํ จัดเชอ้ื ราเปนระยะๆ ตามความเหมาะสม
4. กรณที ไ่ี มสามารถยายปลกู ได จาํ เปน ตองเกบ็ กง่ิ ชาํ ไวในกระบะตอ ควรใหปุยจนกวา
จะทําการยายปลกู เนอ่ื งจากวสั ดปุ กชํามีธาตุอาหารต่าํ มาก
5. กอนใหปุยควรทาํ ความสะอาดกระบะชาํ ถามใี บรวงหรอื มกี ง่ิ ทแ่ี หงตายตองเอาออก
ทันที เนือ่ งจากจะเปนแหลงของเชอื้ ราซงึ่ อาจแพรกระจายไปยงั กง่ิ ปกชาํ อน่ื ๆ
การยายปลกู
1. การยายปลูกก่งิ แกตองระวังไมใหรากขาด หรือถาขาดใหขาดนอยทีส่ ุด ทําโดยการ
ขุดแทนการถอน ตั้งไวในที่รมรําไรจนพืชตั้งตัวไดจึงนําไปปลูกในแปลง
2. การยายปลกู กง่ิ กงึ่ ออนกง่ึ แกตอ งใหนาํ้ แบบพนหมอก เพอื่ ใหกง่ิ ไดร บั ความชนื้ ตลอด
เวลา การยายตองทําดวยความระมัดระวังเปน พเิ ศษ คอยๆ ลดความชืน้ ลงเพือ่ ใหพชื ปรับตัว
เคยชินกับการไดรับความช้ืนนอยลง ไมควรยายปลูกทันที หลังออกรากพืชจะขาดนํ้าอยาง
รุนแรงมีวธิ ีปฏบิ ตั ิดงั นี้

2.1 ลดการใหน าํ้ โดยการฉดี พน นา้ํ คอ ย ๆ หา งเพมิ่ ขน้ึ จนกระทงั่ เหลอื การใหน า้ํ เชา -เยน็
เมื่อสังเกตเหน็ วาพชื ยงั แขง็ แรงและสมบรู ณดจี งึ ยายปลูกได

2.2 ปอ งกนั การขาดนาํ้ จากการยา ยปลกู โดยการปก ชาํ ในกระบะเลก็ ๆ วางในกระบะ
พน หมอก หลงั จากทก่ี ง่ิ ปก ชาํ ออกรากแลว จงึ ยา ยกระบะปก ชาํ ไปไวใ นทรี่ ม ราํ ไร มคี วามชนื้ สงู
จนกระทง่ั พชื ตง้ั ตวั ไดดจี งึ ยายปลกู ลงแปลง เกษตรกรนยิ มวธิ นี เี้ นอ่ื งจากไมกระทบกระเทอื น
ตอระบบราก

2.3 ยายปลูกทันทีหลงั กง่ิ ปกชาํ ออกรากแลว วางในท่ีรมและมคี วามชน้ื สงู เมือ่ พชื
ต้ังตวั ไดจึงเร่มิ ใหรับแสงแดด ระวงั อยาใหก่ิงทยี่ ายปลกู แหง ควรรดนา้ํ บอยๆ และยายปลกู
ดวยความระมัดระวงั

28
การปกชําไมดอกไมประดับเพอื่ การคา

ภาพที่ 11 การปกชําก่งิ ชบาเพ่อื การคา ณ ศนู ยไมดอกไมประดับ
ต.คลองใหญ อ.องครักษ จ.นครนายก
ก. แปลงแมพันธุ จ. เปดกระโจมออกใหแสง นาํ้
ข. ตัดกง่ิ เพ่ือนํามาปก ชํา ในชวงเชา พรางแสงในชวงบาย
ค. แปลงปกชาํ ฉ. ตนชบาจากก่งิ ปก ชําอายุ 45 วัน
ง. นาํ กงิ่ ปก ชําเขากระโจม 30 วัน ช. เปลีย่ นวสั ดุปลกู เพอ่ื นาํ มาจาํ หนาย
ซ. ตนชบาอายุ 60 วนั

29

การขยายพันธพุ ืชโดยการตอนก่ิง (Layering)

เปนการขยายพันธุพืชโดยทําใหก่ิงหรือตนพืชเกิดรากขณะติดอยูกับตนแมดวยการทํา
แผลบรเิ วณกงิ่ โดยการตดั ทอลาํ เลยี งอาหารของพชื สวนทอ นา้ํ ยงั อยตู ามปกติ ทาํ ใหก ง่ิ มกี าร
สะสมอาหารและไดรับน้ําอยูตลอดเวลา เม่ือกิ่งออกรากดีแลวจึงตัดนําไปปลูกตอไป ตนที่
ตัดไปปลูกจะมีลักษณะเหมือนตนเดิมทุกประการเหมาะสําหรับพืชที่ไมสามารถออกรากได
ดวยวธิ ีการปก ชํา
หลักการตอนกงิ่

คอื การปฏิบตั ิเพื่อทาํ ใหก่งิ มกี ารสะสมอาหารและการปรับสภาพแวดลอมใหเหมาะสม
ตอการออกรากดงั นี้

1. การทําบาดแผลหรอื คว่ันก่ิงเพื่อขดั ขวางการลําเลียงอาหาร
2. การใชสารเรงรากกระตุนการเกดิ รากบรเิ วณที่มกี ารสะสมอาหาร
3. ปรบั สภาพแวดลอ มใหเ หมาะสมตอ การเกดิ ราก เชน ใชว สั ดทุ มี่ คี วามชนื้ ระบายอากาศไดด ี
วิธกี ารตอนกง่ิ
แบงไดเปน 2 ประเภทคอื การตอนก่ิงในอากาศ และการตอนกง่ิ แบบโนมกงิ่
1. การตอนก่ิงในอากาศ (Air Layering) เปนการตอนกิ่งพืชท่ีอยูเหนือดิน
คอื ไมสามารถโนมกง่ิ ลงมาหาพน้ื ดนิ ได มขี ัน้ ตอนปฏิบัติ ดงั น้ี

1 เลอื กก่ิงกึง่ แกกง่ึ ออนท่มี ีอายไุ มเกนิ 1 ป ซ่งึ จะออกรากไดดกี วากิง่ ทีม่ ีอายุมาก
2. การทาํ แผลกง่ิ ตอน

2.1 ทาํ แผลแบบควนั่ กงิ่ ทาํ โดยควน่ั เปลอื กกงิ่ โดยรอบเปน วงแหวน 2 วง ทงั้ ดา น
บนและลางของก่ิงความยาวของรอยแผลประมาณเสนรอบวงของกง่ิ กรีดรอยแผลแลวลอก
เอาเปลอื กออกใหห มดจากนน้ั ขดู เยอ่ื เจรญิ ทเี่ ปน เมอื กลน่ื ๆรอบกงิ่ ออกเหมาะสาํ หรบั พชื ประเภท
ไมดอกไมประดับเชนกุหลาบ โมก โกสนและแสงจนั ทร สวนไมผล เชน มะมวง ลาํ ไย มงั คดุ
มะเฟอง มะนาว สม ชมพู ฝรงั่ และลน้ิ จ่ี ฯลฯ

ภาพท่ี 12 การทําแผลกิง่ ตอนแบบควน่ั กิ่ง
ก. กรีดเปลือกก่ิงโดยรอบเปนวงแหวน 2 วง
ข. ลอกเปลอื กออกพรอมกบั ขูดเยื่อเจรญิ ออก
ค. ใชขุยมะพราวหุมกิง่ ตอนมัดดวยเชอื กใหแนน

30

2.2 ทําแผลแบบปาดกิ่ง โดยปาดใตทองก่ิงเขาไปในเน้ือไมบริเวณที่จะตอน
เอยี งเปนรปู ปากฉลาม ลึกถึงเน้ือไมประมาณ 1ใน 3 ของเสนผาศนู ยกลางก่ิง ความยาวแผล
1 - 2 นิ้ว จากนน้ั เอาเศษไมสอดไวเพื่อไมใหรอยแผลท่เี ปดไวตดิ กนั ใชขุยมะพราวหุมกิง่ ตอน
มัดดวยเชอื กใหแนน เหมาะสําหรับพชื ทอ่ี อกรากงาย เชน มะละกอ ชวนชม และลลี าวดี

ภาพท่ี 13 การทําแผลก่งิ ตอนแบบปาดกิ่ง
ก. ปาดกง่ิ เขาไปเนื้อไมเอียงเปนรูปปากฉลาม
ข. นาํ เศษไมสอดไวเพื่อไมใหรอยแผลตดิ กัน
2.3 ทําแผลแบบกรีดกิ่งโดยใชใบมีดกรีดรอยแผลตามความยาวของก่ิง
ยาว 1 - 1.5 น้วิ ลกึ ถึงเน้อื ไม 3 - 5 รอยรอบกง่ิ จากนน้ั ใชขยุ มะพราวหุมกิง่ ตอน มัดดวย
เชือกใหแนน เหมาะสําหรบั กงิ่ ออน ทอ่ี อกรากงาย เชน หมากผูหมากเมยี โกศลฯลฯ

ภาพท่ี 14 การทาํ แผลกง่ิ ตอนแบบกรดี ก่งิ
ก. ใชมีดกรีดแผลตามยาวของกิ่ง
ข. รอยแผลทีก่ รีดเสรจ็ เรียบรอย

31

3. ใชสารเรงการออกราก (ฮอรโมนพชื ) ทารอยแผลรอใหแหงกอนทาํ การหุมก่งิ
4. หมุ กงิ่ ตอนโดยนาํ ตมุ ตอน (ขยุ มะพราวเกา แชน าํ้ จนอมิ่ ตวั บบี นา้ํ ออกพอหมาดๆ
อัดลงในถุงพลาสติกผูกปากถุงใหแนน) ผาตามความยาวนําไปหุมรอยแผลของก่ิงตอน
มดั ดวยเชอื กทง้ั เหนอื และใตรอยแผลใหแนน
5. เมื่อก่ิงตอนออกรากโดยจะเกิดบริเวณรอยคว่ันดานบน เมื่อรากเร่ิมแกเปนสี
เหลืองหรอื สนี า้ํ ตาล ปลายรากสขี าว มีจาํ นวนรากมากพอจึงตัดกิ่งตอนไปชําหรอื ปลกู ได
2. การตอนกิง่ แบบโนม กง่ิ ทาํ โดยเลอื กก่งิ ทต่ี องการ ขุดดินแลวโนมกิง่ ลงมาโดยใช
หลักปก ยดึ เกีย่ วกิ่งไว กลบดินทับ รดนํา้ รอจนเกดิ ราก ใชเวลา 30 - 45 วันจึงตดั ไปปลกู
ทําไดดงั น้ี
2.1 การตอนก่ิงแบบฝง ยอด (Tip Layering) ทาํ โดยกลบหรือฝงทง้ั ยอดในดิน
รากจะเกดิ ขนึ้ ทบ่ี รเิ วณโคนกงิ่ ใหมทเี่ จรญิ ขน้ึ มาจากยอดทก่ี ลบไว เหมาะกบั พชื บางชนดิ เชน
ประทดั จีน ฯลฯ
2.2 การตอนก่งิ แบบทบั ก่งิ (Simple Layering) คลายกับวธิ ีการฝง ยอด แตจะ
ไมกลบยอดทั้งหมด จะกลบบริเวณก่ิงใกลยอดและปลอยใหยอดโผลขึ้นมาเหนือผิวดิน
เหมาะกบั ชนดิ พืชทีม่ กี ิง่ ออน
2.3 การตอนกิ่งแบบทับยอด (Simple Layering) คลายกับแบบฝงยอด
โดยจะฝงกลบเฉพาะบริเวณก่ิง ปลอยใหยอดโผลขึ้นมาเหนือดินประมาณ 30 เซนติเมตร
เหมาะกับพืชท่ีมีกงิ่ ยาวดดั โคงงาย เชน มะลิ องุน เงนิ ไหลมา สาวนอยประแปง ฯลฯ
2.4 การตอนก่ิงแบบงูเลื้อย (Compound Layering) คลายกับวิธีการฝงยอด
ตางกนั โดย จะทาํ การฝง กง่ิ เปน ทอดๆ ตามความยาวของกงิ่ สวนทโี่ ผลพนผวิ ดนิ ใหมตี าอยาง
นอย 1 ตา เพื่อใหแตกยอดใหมเหมาะกับพืชที่มีก่ิงยาว เชน เล็บมือนาง การเวก พลูดาง
ตนี ตุกแก องุน มันเทศ พริกไทย ฯลฯ
2.5 การตอนก่งิ แบบขดุ รอง (Trench Layering) ทําโดยโนมก่ิงโดยใชตะขอปก
ยึดโคนกิ่ง ใหกิ่งนอนราบกับพ้ืนรองท่ีเตรียมไว เมื่อตาก่ิงแตกยอดใหมใชดินกลบโคนกิ่ง
ใหกลบเพม่ิ ขนึ้ เรอื่ ยๆ เมอื่ กงิ่ มขี นาดโตขนึ้ รากจะเกดิ ขนึ้ ทโ่ี คนของกง่ิ ทแ่ี ตกใหม เหมาะสาํ หรบั
ไมผลเมืองหนาว เชน ทอ สาล่ี เชอร่ี ฯลฯ
2.6 การตอนกงิ่ แบบสุมโคน (Mound or Stool Layering) ใชกบั พืชทีม่ กี ง่ิ แข็ง
โนมก่ิงลงมาหาดินไดยาก วิธีนี้จะตองตัดแตงตนพืชใหส้ัน เพื่อจะไดตนพืชเกิดก่ิงใหมใกลๆ
กับผิวดิน เมื่อตาบนกิ่ง เร่ิมแตกยอดออนก็กลบดินทับก่ิงท่ีแตกใหม ซ่ึงการเกิดรากจะเกิด
บริเวณโคนกิ่งใหมที่ฝงอยูในดนิ

32

ภาพท่ี 15 การตอนก่ิงแบบโนมกง่ิ
ก. เลอื กกิง่ ท่ตี องการ
ข. โนมก่ิงลงมาใชหลกั ปก เก่ยี วกิ่งไวกลบดนิ รอจนแตกรากใหม

ภาพท่ี 16 การตอนกงิ่ ฝรั่งแบบควั่นก่ิง
ก. ควั่นกิ่งโดยรอบเปน วงแหวน 2 วงใหอยูบรเิ วณใตขอ ข. กรดี รอยแผล
ค. ลอกเปลอื กออก จากนัน้ ขดู เยือ่ เจริญจากบนลงลาง ง.กรดี ถงุ พลาสตกิ ทใ่ี สข ยุ มะพรา ว
จ. ใชขยุ มะพราวหุมกิ่งตอน ฉ. มดั ดวยเชอื กใหแนน

33

การขยายพันธโุ ดยการติดตา ตอ ก่งิ และทาบกง่ิ

เปน การขยายพนั ธุพชื โดยการนาํ ตนทใ่ี ชสวนยอด มาตอกบั ตนทใี่ ชสวนราก เพอ่ื ใหสวน
ทง้ั สองเชอื่ มประสานตดิ กนั จนเจรญิ เติบโตเปน พืชตนเดยี วกัน ประกอบดวยตนตอ คอื สวน
ของตน พชื ทาํ หนา ทเี่ ปน ระบบราก กง่ิ พนั ธดุ ี คอื สว นของตน พชื ทเ่ี จรญิ เปน ตน หรอื กง่ิ กา นของตน
ทําหนาทอี่ อกดอก ตดิ ผล และใหผลผลติ
การขยายพันธุโดยการติดตา (Budding)

คือการนําเอาสวนแผนตาของกิ่งพืชพันธุดี ไปติดกับตนพืชอีกตนหนึ่ง โดยใชแผนตา
เพียงแผนตาเดียวจากก่ิงพันธุดี ไปติดบนตนตอเพ่ือใหตาเจริญเติบโตเปนตนใหม เปนวิธีที่
ประหยดั กงิ่ พนั ธุ ทาํ ไดรวดเรว็ กวาวธิ กี ารขยายพนั ธแุ บบตอกงิ่ และทาบกง่ิ แบงตามลกั ษณะ
ของเปลือกไดดังน้ี

1. พืชทีม่ เี ปลอื กลอนและลอกงา ย ท่ีนิยมใชมี 3 วิธี คอื
1.1 การติดตาแบบตัวที (T - Budding) เหมาะกับพืชท่ีมีเปลือกไมบาง

หรือหนาเกินไปนิยมใชในการขยายพันธุไมผล เชน พุทรา สม พลับ ทอ แอปเปล ฯลฯ
และไมดอกบางชนิด เชน กุหลาบ มขี นั้ ตอนปฏิบตั ิดังน้ี

1. เลอื กตาจากกง่ิ พันธุดี
2. เฉือนแผนตาออกจากกิง่ พนั ธุดีเปนรปู โลใหติดเน้อื ไมเลก็ นอย และเพ่ือ
ใหติดตาไดสนิทใหลอกเนอื้ ไมออกจากเปลอื กแผนตาจากดานลางขน้ึ ดานบน
3. ทาํ แผลบนตนตอใกลบรเิ วณขอโดยกรดี เปลอื กไมเปน รปู ตวั ที ใหหวั ของ
ตวั ทยี าวประมาณ ½ นิว้ และตัวทยี าว 1.5 นวิ้ หรอื ขึน้ อยูกับขนาดของตนตอ
4. ใชปลายมดี เปดหัวตัวที เผยอเปลือกไมออกตามแนวท่กี รดี ทงั้ 2 ดาน
5. สอดแผนตาเขาไปในเปลือกไมรปู ตวั ทใี หแนบสนทิ กบั เน้อื ไมของตนตอ
ตดั สวนบนของแผนตาทเี่ กนิ ออกตรงบรเิ วณรอยแผลหวั ตวั ที เพอื่ ใหแ ผนตาแนน สนทิ พอดกี บั
ตนตอ
6. พนั พลาสตกิ ใสใหแนนโดยพันจากดานลางขนึ้ ดานบนแบบมงุ หลงั คา

34

ภาพที่ 17 การติดตาแบบตัวที ( T - Budding )
ก. เลือกกงิ่ ตาจากก่ิงพันธุดี เฉอื นแผนตาออกจากกิง่ เปน รปู โล
ข. กรีดรอยบนตนตอเปน รปู ตวั ที จากน้นั ใชปลายมดี เผยอเปลือกออกท้ัง 2 ดาน
ค. สอดแผนตาจากก่ิงพันธุดีเขาไปในรอยกรีด และตัดสวนบนของแผนตาออกเพ่ือใหแนน
พอดกี บั ตนตอ
ง. พันดวยพลาสติกจากขางลางขน้ึ ขางบนใหแนน

35

1.2 การตดิ ตาแบบเปด เปลอื กไม (Plate Budding) มวี ธิ ปี ฏบิ ตั คิ ลายการตดิ ตาแบบ
ตัวที แตแตกตางกนั ที่วิธีการทาํ แผลบนตนตอ มี 2 แบบ คือ

1.2.1 การทําแผลบนตนตอแบบตัวเอชหรือสะพานเปด (H - Budding)
โดยการกรีดเปลือกไมเปนแนวขนานกับลําตน 2 แนว จากนั้นกรีดตรงกลางขวางรอยแนว
กรีดขนาน เผยอเปลือกไมดานบนขึ้น และสวนดานลางของแผลเผยอลงคลายสะพานเปด
สอดแผนตาจากกงิ่ พนั ธุดี พนั พลาสติกใสเชนเดียวกบั การติดตาแบบตวั ที เหมาะกบั พืชท่มี ี
เปลือกหนา เหนียว ติดตายาก และมียางเชน ยางพารา ขนุน เงาะ มะมวง นอยหนา
หรอื พืชทีเ่ กดิ รอยเช่ือมประสานชา เชน มะขาม

ภาพที่ 18 การทําแผลบนตนตอแบบตัวเอช ( H - Budding )
ก. กรีดรอยบนตนตอเปนรูปตัว H จากน้นั ใชปลายมีดเผยอเปลือกออก
ข. สอดแผนตาจากกง่ิ พันธุดเี ขาไปในรอยกรีด และตัดสวนบนของแผนตาออก

เพอ่ื ใหแนนพอดีกับตนตอ

ภาพท่ี 19 การทาํ แผลบนตนตอแบบตวั ไอ ( I – Budding )
ก. กรีดรอยบนตนตอเปนรปู ตวั I จากนน้ั ใชปลายมีดเผยอเปลือกออกทางดานขาง
ข. สอดแผนตาจากกิ่งพันธุดีเขาไปในรอยกรดี และตดั สวนบนของแผนตาออก
เพ่ือใหแนนพอดกี บั ตนตอ

36

1.3 การตดิ ตาแบบปะหรอื แบบแพทช (Plach Budding) เหมาะกบั พชื ทม่ี เี ปลอื กหนา
เนอื้ ไมยงั ออนอยู เกิดรอยตอเร็ว เชน ยางพารา ชบา อโวคาโด ฯลฯ มขี ้ันตอนในการปฏิบัติ
ดงั นี้

1. เลือกกิ่งตาพนั ธุดีตดั ใบออก
2. เฉอื นแผน ตาออกจากกงิ่ พนั ธดุ เี ปน รปู โล ใหต ดิ เนอื้ ไมเ ลก็ นอ ยเพอ่ื ใหต ดิ ตา

ไดสนิท ใหลอกเน้อื ไมออกจากเปลอื กแผนตาจากดานลางข้ึนดานบน
3. ทาํ แผลบนตนตอใกลบริเวณขอโดยกรดี เปลอื กไมเปน รปู สเี่ หลี่ยม
4. ประกบแผนตาลงบนแผลของตนตอ
5. พนั ดวยพลาสตกิ ใสใหแนน โดยพนั จากดานลา งขนึ้ ดานบนแบบมงุ หลงั คา

ภาพที่ 20 การติดตายางพาราโดยวิธีการติดตาแบบปะหรือแบบแพทช
ก. ตนตอ
ข. กรีดเปลือกตนตอถึงเนื้อไมเปนรปู ส่ีเหลียม
ค. เฉือนแผนตาจากก่งิ พันธุดเี ปน รปู โล
ง. ตดั แตงแผนตาเปนรูปสีเหล่ียมใหพอดีกับรอยแผล
จ. ประกบแผนตาลงบนแผล
ฉ. พันพลาสติกใหแนน

37

2. การติดตาพชื ทลี่ อกเปลอื กไมไ ดหรือเปลือกไมลอน ทีน่ ยิ มคอื การติดตาแบบชบิ
(Chip Budding) เหมาะกบั พืชทมี่ ีเปลือกบางและเปราะ เชน องุน เงาะ

ภาพที่ 21 การติดตาขนุนแบบตวั เอช (H - Budding)
ก. กรดี เปลอื กไมเปน แนวต้งั ขนานกนั คลายรปู ตัว H กรดี ตรงกลางขวางรอยแนว
ข. เผยอเปลอื กดานลาง
ค. เผยอเปลอื กดานบน
ง. เฉือนแผนตากงิ่ พนั ธุดเี ปนรปู โล
จ. แผนตาจากกิ่งพนั ธุดี
ฉ. สอดแผนตาลงในแผลท่ีเตรยี มไว

38

ภาพท่ี 21 การติดตาขนนุ แบบตวั เอช (H - Budding) (ตอ)
ช. สอดแผนตาลงในแผลทเ่ี ตรียมไว
ซ. พนั ผาพลาสติกใหแนน
ฌ. ประมาณ 10 วนั ใหสังเกตแผนตายังเขยี วอยูใชปลายมืดกรีดผาพลาสติกบริเวณตา
ญ. 30 - 35 วัน ตาจะแตกใบออนประมาณ 3 - 4 ใบ
ฎ. คว่นั เปลือกไมเหนือรอยแผลเพือ่ ตดั ทอลําเลยี งอาหารไมใหไปเลี้ยงก่งิ เดิม

แตจะใหมาเล้ยี งกิ่งใหมท่ีเกิดจากการตดิ ตาจากก่งิ พนั ธุดี
ฏ. 15 - 20 วัน ตดั ยอดกงิ่ เดิมออกแลวนาํ ไปปลกู ขยายพันธุตอไป

39

การขยายพันธโุ ดยการตอกง่ิ (Grafting)

คือ การเช่ือมประสานเนื้อเยื่อของพืชท้ังสองเขาดวยกันเพื่อใหเปนตนพืชตนเดียวกัน
โดยจะใชวธิ นี ี้เมอื่ วิธกี ารตดิ ตาไมมคี วามเหมาะสม คอื ตนตอโตเกนิ ไป กิ่งพันธุดมี ีขนาดเล็ก
แบงได 3 แบบ ดังน้ี

1. การตอ กิ่งแบบเสียบลิม่ (cleft grafting) นยิ มใชสาํ หรับการเปลี่ยนยอดพชื ท่ี
มีเสนเน้ือไมตรง กิ่งพันธุดีควรเปนกิ่งแก และควรตอก่ิงขณะท่ีพืชหยุดชะงักหรือหยุดการ
เจริญซึ่งเปน ระยะที่เปลือกไมลอนออกจากเน้ือไม เชน ทับทิม นอยหนา มะนาว ฯลฯ มีวิธี
ปฏิบตั ดิ ังนี้

1. ตัดตนตอใหมบี รเิ วณปลองท่ไี มมขี อหรอื ตาเปน มุมฉาก
2. ผาตนตอใหเปน แผลลกึ 2 - 3 น้ิว แลวแตขนาดของกิง่
3. เฉอื นกงิ่ พนั ธดุ ใี หเ ปน ปากฉลามทงั้ สองดา นโดยใหม สี นั ดา นหนงึ่ หนากวา อกี ดา นหนงึ่
4. เผยอรอยแผลโดยใชใบมดี สอดเขาไปในรอยผา แลวบดิ ใบมดี ใหรอยผาเผยอออก
5. สอดกง่ิ พนั ธดุ โี ดยเอาดา นสนั หนาไวร มิ นอกแลว จดั ใหแ นวเยอ่ื เจรญิ ของรอยเฉอื น
บน ตนตอ และกิ่งพนั ธุดีทับกนั ดานใดดานหน่ึง
6. พนั ดว ยผา พลาสตกิ ใสแลว อดุ รอยตอ ดว ยขผ้ี งึ้ ตอ กงิ่ จากนน้ั คลมุ ตน ดว ยถงุ พลาสตกิ
7. ประมาณ 5 - 7 สัปดาห รอยแผลจะประสานกนั สนิทดี
2. การตอก่ิงแบบเสยี บขาง (side grafting) นิยมใชกับตนพชื ขนาดเล็กทป่ี ลูกใน
กระถาง เชน โกศล ชบา สนประดบั เล็บครฑุ รวมทงั้ ไมผล เชน มะมวง ทบั ทิม ลองกอง และ
ลาํ ไย ควรทําขณะทพี่ ืชชะงกั หรือหยุดการเจริญซง่ึ เปน ระยะท่ีเปลอื กไมลอนออกจากเน้อื ไม
แตกตางจากวิธีการตอก่ิงแบบเสียบเปลือก และวิธีการตอกิ่งแบบเสียบลิ่ม คือ ไมตัดยอด
ตนตอออกจนกวากิ่งที่ตอจะติดเช่ือมประสานเรียบรอยแลวจึงตัดยอดตนตอออกมีข้ันตอน
การปฏบิ ตั ิดงั น้ี
1. เลือกตนตอที่มขี นาดประมาณ 1 เซนตเิ มตร หรอื ขนาดดินสอดาํ
2. เฉอื นตนตอเฉียงลงเปนมุมราว 30 องศาใหรอยเฉือนยาวประมาณ 1 - 2 นว้ิ

และลึกเขา ในเน้อื ไมประมาณ 1ใน 3 ของเสนผานศูนยกลางตน
3. เลอื กกิง่ พันธุดขี นาด ½ เซนติเมตร ยาวประมาณ 2 - 3 นวิ้

และมตี าอยูบนกิ่ง 2 - 3 ตา
4. เฉอื นโคนกง่ิ พนั ธดุ เี ปน รปู ลม่ิ ใหม แี ผลยาวประมาณ 1 - 2 นว้ิ แลว แตแ ผลบนตน ตอ
5. สอดกิ่งพันธุดลี งบนแผลของตนตอโดยโนมตนตอไปทางดานตรงขามรอยเฉอื น

เลก็ นอ ย แลว จงึ สอดกงิ่ พนั ธดุ จี ดั รอยเฉอื นใหแ นวเยอ่ื เจรญิ ทบั กนั ดา นใดดา นหนง่ึ
แลวจงึ ปลอยใหตนตอกลับทีเ่ ดมิ
6. พันดวยพลาสตกิ ใสหรอื เชอื กแลวอุดรอยตอดวยขี้ผง้ึ ตอกง่ิ

40

ภาพที่ 22 การตอกิ่งมะนาวบนตนตอสมโอแบบเสียบลมิ่
ก. เลอื กตนตอสมโอทม่ี เี สนผาศูนยกลาง ฉ. สอดกง่ิ พันธุดี
½ นิว้ ตดั ตนตอออก ช. และซ. พันผาพลาสติกใสใหแนน
ข. ผาตนตอลกึ 2 นิ้ว ฌ. อบในถุงพลาสติก 40 วัน
ค. และง. เฉอื นโคนกงิ่ พันธุดใี หเปนปากฉลาม รอยแผลจะเช่ือมประสานกันสนิท
จ. กิ่งพนั ธุดีท่เี ตรียมจะไปเสียบกบั ตนตอ ญ. รอยแผลทป่ี ระสานกนั สนิท

41

ภาพที่ 23 การตอก่ิงมะมวงแบบเสยี บขาง
ก. เฉอื นตนตอใหเขาไปในเน้อื ไมใหรอยแผลยาวประมาณ 2 น้วิ
ข. แผลท่ที ําเสรจ็ เรยี บรอย
ค. และ ง. เตรยี มยอดก่งิ พนั ธุดโี ดยเฉอื นใหเฉยี งเปนปากฉลามใหแผลยาว

เทากบั แผลท่ีเตรียมไวบนตนตอ
จ. สวมยอดก่ิงพันธุดลี งบนแผลทเ่ี ตรยี มไว โดยใหลิน้ ของตนตอ

ทบั รอยเฉอื นดานหลงั ของกิง่ พนั ธุดี
ฉ. พันพลาสติกใสใหแนน

42

ภาพท่ี 23 การตอกง่ิ มะมวงแบบเสียบขาง (ตอ)
ช. พนั พลาสติกใสใหมดิ ยอดกง่ิ พันธุดี
ซ. ประมาณ 10 - 14 วัน สงั เกตยอดก่งิ พันธุดยี งั เขียวใชปลายมดื กรดี พลาสตกิ ใส
ฌ. ประมาณ 30 - 35 วนั ยอดก่ิงพันธุดจี ะแตกใบออนประมาณ 4 - 5 ใบ
ญ. ควนั่ เปลือกไมเหนอื รอยแผลเพ่อื ตัดทอลําเลยี งอาหารไมใหไปเลีย้ งก่งิ เดมิ
ฎ. และ ฏ.15 - 20 วนั ตดั ยอดกิ่งเดิมออก

43

3. การตอ กง่ิ แบบเสยี บเปลือก (Bark grafting) เปน วธิ ที ีใ่ ชไดดกี ับพืชทมี่ เี ปลอื ก
หนาโดยเฉพาะ การเปลย่ี นยอดของไมผลเกอื บทกุ ชนิด เชน มะมวง มะนาว ขนนุ ลองกอง
และองุน ฯลฯ สวนไมดอกไมประดับ เชน เฟองฟา ผกากรอง ไทรชอนทอง และโกสน ฯลฯ
ขอดีของการตอกิ่งวิธีน้ีคือ เนื้อไมจะไมถูกผาออกจากกัน โอกาสที่รอยตอจะเนาหรือถูก
ทาํ ลายจากเชอื้ โรคจงึ มนี อ ย ขอ เสยี คอื จะตอ งทาํ ในขณะทต่ี น ตอมเี ปลอื กลอ น ซง่ึ จะเปน ระยะ
ทีต่ นพชื มีการเจรญิ เตบิ โตดีเทานัน้ มีข้นั ตอนการปฎบิ ตั ดิ งั นี้

1. เลอื กตน ตอทมี่ เี ปลอื กลอ น บรเิ วณทจี่ ะตอ กง่ิ ตงั้ ตรงไมม ขี อ โดยเฉพาะใตร อยตดั
2. ตัดตนตอแลวกรีดเปลือกตนตอ จากหวั รอยตัดลงมาดานโคนกง่ิ ยาว 1 - 2 นว้ิ
3. เผยอเปลือกไมของตนตอที่หัวรอยตัดเล็กนอย จากนั้นเฉือนกิ่งพันธุดีเปน
ปากฉลามยาว ประมาณ 1 - 2 นว้ิ
4. สอดก่ิงพนั ธุดลี งบนแผลของตนตอ โดยใหดานรอยเฉอื นหันเขาหาตนตอ
5. พนั พลาสติกใสใหแนน

44

ภาพท่ี 24 การเสียบเปลือกไมดอกไมประดับ
ก. กรดี เปลือกตนตอถงึ เนอ้ื ไมจากรอยตัดลงลางยาวประมาณ 1 น้ิว
ข. เผยอเปลอื กตรงรอยกรดี ท่ีติดกบั หวั รอยตัด
ค. เฉือนกิ่งพันธุเฉยี งลงเปนปากฉลามใหรอยแผลยาวเทารอยกรีดบนตนตอ
ง. เสียบกิ่งพนั ธุใหรอยแผลเขาหาตนตอ
จ. และฉ. พนั พลาสตกิ ใสใหแนน
ช. ตนตอยางอินเดยี เสยี บเปลอื กโดยใชกงิ่ พนั ธุไทรชอนทอง
ซ. ตนตอผกากรองเสยี บเปลอื กโดยใชกิ่งผกากรองดวยกันทาํ ให 1 ตนมหี ลากสี

45

ภาพที่ 25 การตอกิ่งแบบเสยี บเปลอื ก (Bark grafting)
ก. ตดั ตนตอใหรอยตัดอยูใตขอ
ข. กรดี เปลอื กตนตอใหถงึ เน้ือไมยาวประมาณ 1 - 2 นิ้ว
ค. เผยอเปลือกของตนตอเลก็ นอย
ง. เฉอื นก่ิงพนั ธุดีเฉียงลงใหแผลยาวเทากับรอยกรดี บนตนตอ
จ. บากรอยแผลของก่งิ พนั ธุดี
ฉ. เสียบกง่ิ พันธุดใี หรอยบากเขาหาตนตอ
ช. พันพลาสติกใสใหแนน

46

การขยายพนั ธโุ ดยการทาบก่ิง (Apporach grafting)

คือการนําตนพืชสองตนซง่ึ ตางมีราก และยอด มาเชือ่ มประสานติดกนั เปนตนเดียวกนั
หลังจากที่รอยตอเชื่อมประสานติดกันสนิทแลว จึงทําการตัดโคนกิ่งพันธุดีใตรอยตอนําไป
ปลกู ตอไป จะแตกตางจากการติดตาและการตอก่ิงคือ

1. ตองนําตนตอเขาไปหาก่ิงพนั ธุดแี ทนการนาํ ก่ิงพนั ธุดเี ขาไปหาตนตอ
2. ตนตอ และกงิ่ พนั ธุดียังมรี ากเลีย้ งตนและเลย้ี งกิง่ อยู จงึ มโี อกาสสําเร็จมากกวาการ
ตดิ ตาและการตอกิง่ นยิ มใชมี 2 วิธี คือ

1. การทาบกง่ิ แบบประกบ วธิ นี ที้ งั้ ตนตอและกงิ่ พนั ธุดมี รี ากและยอดอยู นยิ ม
ใชในการทาบก่ิงประเภทไมเนื้อแข็ง ซ่ึงตองใชระยะเวลาในการเช่ือมประสานรอยแผลนาน
เชน กิ่งมะขาม ฯลฯ มขี อเสีย คือ ตองรดนา้ํ ตนตออยูเสมอในขณะท่ที าบก่ิงอยู จงึ ไมนิยมทาํ
กนั ในปจจบุ ัน มขี ้ันตอนในการปฏบิ ัตดิ งั นี้

1. เลอื กตนตอและกง่ิ พนั ธดุ ี ใหบรเิ วณทจี่ ะทาบกนั มขี นาดเสนผานศนู ยกลาง
ประมาณ 1 เซนตเิ มตร

2. เฉือนตนตอบรเิ วณทจ่ี ะทาบกนั ไดสนิท และกะใหชิดโคนตนตอโดยเฉือน
ใหลกึ เขาไปในเน้อื ไมเลก็ นอย และใหเปน แผลยาว 2 - 4 นว้ิ

3. เฉอื นกง่ิ พนั ธดุ ใี นลกั ษณะเดยี วกนั และใหมคี วามยาวเทากบั แผลรอยเฉอื น
บนตนตอ

4. มดั หรอื พนั ตนตอและยอดพนั ธดุ เี ขา ดว ยกนั ใหแผลรอยทเี่ ฉอื นทบั กนั สนทิ
โดยใหแนวเยอื่ เจริญสัมผัสกนั ดานใดดานหนึ่งหรือท้งั สองดาน

5. เม่ือรอยแผลเช่ือมประสานติดกนั สนิท (ประมาณ 3 - 4 สปั ดาห) จงึ บาก
เตอื นท้ังตนตอ และก่งิ พนั ธุดี

6. หลงั จากบากเตอื นได 1 - 2 สัปดาห ตดั โคนกง่ิ พันธดีออกจากตนแม
2. การทาบกง่ิ แบบเสยี บ เปน วธิ ที นี่ ยิ มใชก นั มาก เนอ่ื งจากทาํ ไดส ะดวก รวดเรว็
กวาวิธีแรก เนื่องจากไมตองรดน้ําใหตนตอจนกวาจะตัดก่ิงไปปลูก ถาใชวัสดุปลูกตนตอ
ทีม่ นี า้ํ หนักเบา เชน ขยุ มะพราว ตนตอจะมนี ้ําหนักเบาสามารถผูกตดิ กบั กง่ิ พนั ธุดีไดโดยไม
ตองใชไมพยุง มขี ้ันในการปฏิบตั ดิ ังน้ี

1. เลือกตนตอทม่ี ขี นาดตนประมาณดินสอดาํ หรอื เลก็ กวาเลก็ นอย
2. ตัดตนตอใหเหลือยาวประมาณ 3 - 6 นว้ิ รดิ ใบท่เี หลอื ออกใหหมด
3. นําตนตอขน้ึ ทาบกับก่ิงพนั ธุดี โดยเลอื กกง่ิ พนั ธุดใี หมขี นาดใกลเคยี งกนั
4. ทําแผลบริเวณโคนกง่ิ พันธุดี โดยเฉือนก่งิ เปน รปู โลใหยาวประมาณ

5 - 8 เซนตเิ มตร
5. ปาดปลายกง่ิ ตน ตอเปน ปากฉลามใหม คี วามยาวประมาณ 5 - 8 เซนตเิ มตร

เชนเดยี วกนั

47

6. นําตนตอข้ึนทาบกับกงิ่ พนั ธุดใี หรอยเฉอื นทับกัน และจดั ใหแนวเยอ่ื เจริญ
ของท้ังสองทับกันดานใดดานหนึง่ แลวมัดดวยพลาสติกใสใหแนน

7. มดั หรือตรงึ กง่ิ พันธุดกี ับตนตอใหแนนและอดุ รอยแผลดวยขผึ้ ง้ึ ตอกง่ิ
8. ปลอยไวจนวากงิ่ พันธุดตี ิดกับตนตอหรอื จนรากของตนตอเจริญไดดีพอ

จึงตัดโคน

ภาพท่ี 26 การทาบกิง่ แบบเสยี บ
ก. นําตนตอจากการเพาะเมลด็ ตดั ยอดออกใหเหลอื ประมาณ 6 น้ิว
ข. ปาดปลายกิง่ ตนตอเฉยี งขึ้นเปนปากฉลาม
ค. ทําแผลก่งิ พันธุดี โดยเฉือนก่ิงเปนรูปโล
ง. นาํ ตนตอประกบกบั กิง่ พนั ธุดีใหแนวแผลกดทับใหสนิท พนั พลาสติกใหแนน
จ. เมอ่ื รอยตอเชื่อมตดิ กนั สนทิ ดแี ลว ตัดโคนกิ่งพนั ธุดใี ตรอยตอเพื่อนําไปปลกู ตอไป

48

ภาพท่ี 27 การทาบกิ่งมะมวงแบบเสียบ
ก. ปาดปลายกิง่ ตนตอเฉยี งเปน ปากฉลาม
ข. ทําแผลตนกง่ิ พันธุดี โดยเฉอื นใหเขาไปในเนือ้ ไม

ใหรอยแผลยาวประมาณ 2 น้วิ
ค. และง. เผยอเปลือกไมออกตรงรอยปาด
จ. รอยแผลเสร็จเรยี บรอยแลว
ฉ. ผูกตนตอกับตนกงิ่ พันธุดี

49

ภาพที่ 27 การทาบกง่ิ มะมวงแบบเสยี บ (ตอ)
ช. นําตนตอประกบลงบนแผลท่เี ตรียมไวโดยใหแนวแผลทบั ใหสนทิ
ซ. และฌ. พันพลาสติกใหแนน
ญ. เมื่อรอยแผลของตนตอและกง่ิ ตนพนั ธุดตี ดิ สนทิ กันดแี ลว ใหตัดก่งิ พันธุดี

ใตรอยแผล นําไปปลูก และขยายพนั ธุตอไป

50

การขยายพันธุโดยการแบง สว นและแยกสวน

เปนการขยายพันธุพืชที่มีลําตนเทียม ซ่ึงจะไดตนพืชตนใหมท่ีมีลักษณะตรงตามพันธุ
ของตนแม พชื ทท่ี าํ การขยายพนั ธดุ วยวธิ นี จี้ ะใชสวนทเี่ ปน ลาํ ตน เหงา หนอ จกุ และไหล แบง
ออกไดเปน 2 วิธีคอื

1. การขยายพันธโุ ดยการแยกสว น(Separation)
1.1 การแยกหัว (bulbs) เปนหัวที่เกิดจากกาบใบเรียงตัวซอนกันเชนหัวหอม

วานสที ิศ ลิลล่ี บัวสวรรค ทิวลปิ ฯลฯ มขี ้นั ตอนในการปฏิบตั ิ ดังน้ี
1.1.1 วธิ ธี รรมชาติ (Natural method) โดยเลอื กพชื ทม่ี หี วั ขนาดโตสมบรู ณและ

พนระยะการพกั ตัว นาํ ไปแชน้าํ นาน15 นาที จากนั้นนาํ ไปจุมสารปองกันกําจดั เชือ้ รา ผงึ่ ลม
ใหแหง หอดวยผาหรือเก็บไวในถุงพลาสติกมัดปากถุงใหแนน 1 - 2 วัน จะสังเกตเห็นวา
รากใหมเรมิ่ งอกทโ่ี คนหวั จงึ นาํ ไปปลกู ในแปลงตอไปเชน หอมแดง ทวิ ลปิ หอมแบง กระเทยี ม
บัวสวรรค ฯลฯ

1.1.2 การควาน (Scooping method) โดยปาดหรอื ควานเอาสวนของตนออก
เหลือเพียงสวนของกาบใบท่ีอัดตัวกันแนน จากนั้นทารอยแผลดวยสารปองกันกําจัดเช้ือรา
ผงึ่ ลมใหแหง 1 - 2 วันจึงนาํ ไปชาํ ในวัสดปุ กชําประมาณ 60-90 วนั จะเกดิ หัวเลก็ ๆ ท่ีโคน
กาบใบบรเิ วณรอยตดั เมอ่ื หวั มขี นาดใหญแ ละมใี บ 1 - 2 ใบใหใ ชป ลายมดี ตดั แยกไปปลกู ตอ ไป
เชน หัววานสีท่ ศิ ฯลฯ

1.1.3 การบากหัว (Scoring method)โดยบากหัวทางดานขางชิดโคนหัว
จนเปดตาขางที่จะเจริญออกมาไดและใหตายอดถูกทําลาย จากน้ันทําการบากเปนรองลึก
รูปตวั วีหลายๆ แนวตามขนาดของหัวพชื นําไปชบุ สารเคมีปองกนั และกาํ จัดเช้อื รา ผง่ึ ลมให
แหงประมาณ 1 - 2 วันจงึ นําไปชําในวสั ดปุ กชาํ

1.1.4 การเจาะหัว (Coring method) โดยเจาะหัวทางดานลางใหผานตายอด
ดว ยเหลก็ เจาะจกุ ไมคอ็ กซ ซง่ึ การเจาะหวั เปน การทาํ ลายตายอดของพชื เพอ่ื ใหไดต นพชื ใหม
ทเ่ี กิดจากตาขาง

1.1.5 การผาหัว (Bulb cutting method) โดยผาหัวออกเปน 2,4,6 และ
8 สวนตามขนาดของหัว โดยใหแตละสวนมกี าบใบติดอยู 3 หรือ 4 ชนิ้ นาํ สวนทแ่ี บงแลวไป
จมุ สารปอ งกนั กาํ จดั เชอ้ื รา จากนน้ั นาํ ไปชาํ ในวสั ดปุ ก ชาํ เมอ่ื สว นทแ่ี บง มตี น ขนาดพอประมาณ
จึงยายไปปลกู

1.2 การแยกเหงา (Corm) เกิดจากสวนโคนของตนพองตัวเพื่อสะสมอาหาร
เปน การขยายพนั ธทุ เี่ กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาตจิ ากการปลกู เหงา เกา มขี นั้ ตอนในการปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

1. เลอื กเหงาทม่ี ีขนาดใหญนําไปวางไวในทีช่ ืน้ ประมาณ 4 - 5 วันเพ่อื ใหเกิด
ปุมรากจากนั้นนําเหงาท่ีมีปุมรากลงปลูกในแปลงท่ีเตรียมดิน แลวฝงเหงาใหลึกประมาณ
3 นิว้ กลบใหมิด


Click to View FlipBook Version