แผนการจดั การเรียนรู้
รายวิชา วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2561)
ปี การศึกษา 2564
ชน้ั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 และชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2-3
นางสาวธนพร คาเติม
รหสั นักศึกษา 62031050108
ชนั้ ปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์
โรงเรียนบา้ นวงั ปรากฏ(ประชานุกลู )
ตาบลป่ าคาย อาเภอทองแสนขนั จงั หวดั อุตรดิตถ์
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 1
แผนการจัดการเรียนรู้
วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 และชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2-3
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
(ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช 2561) ปีการศึกษา 2564
จดั ทาโดย
นางสาวธนพร คาเตมิ
รหัสนักศึกษา 62031050108
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์
แผนการจัดการเรยี นรู้
นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 1
รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรียนร้เู รอ่ื ง ปรากฏการณข์ องโลกและภัยธรรมชาติ ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 2 คาบ/สัปดาห์
เรื่อง ปรากฏการณ์เรอื นกระจก (1) เวลา 1 คาบ
ผู้สอน นางสาวธนพร คำเติม วนั ท่ี 17 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564
โรงเรยี น บ้านวงั ปรากฏ (ประชานกุ ลู ) คะแนนเก็บ คะแนน
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลกและ
บนผิวโลก ธรณีพบิ ตั ภิ ัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมทง้ั ผลตอ่ สิ่งมชี วี ิตและ
ส่ิงแวดล้อม
2. ตวั ชวี้ ัด
ป.6/8 สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกและผลของปรากฏการณ์เรือน
กระจกตอ่ สง่ิ มีชีวติ
3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. ดา้ นความรู้ (Knowledge) นกั เรยี นสามารถ :
1.1 อธบิ ายการเกดิ ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก โดยใชแ้ บบจำลองได้
2. ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (Process/Products) นกั เรยี นสามารถ :
2.1 สรา้ งแบบจำลองการเกดิ ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกได้
3. ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude) ส่งเสรมิ ให้นกั เรียน :
3.1 มคี วามสนใจใฝร่ ู้
4. สาระสำคัญ
ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิด ขึ้นอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นผลมาจากแก๊สเรือนกระจกใน บรรยากาศกัก
เก็บความร้อนแล้วคายความร้อนบางส่วน กลับสู่ผิวโลก ทำให้อากาศบนโลกมีอุณหภูมิเหมาะสมต่อ การ
ดำรงชีวิต แต่ถ้ามนุษย์ทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่ปล่อย แก๊สเรือนกระจกสู่บรรยากาศเพิ่มขึ้น การกักเก็บและคาย
ความร้อนกลับสู่ผิวโลกก็จะเพิ่มขึ้น ทำให้อุณหภูมิของ อากาศบนโลกสูงขึ้นและอาจทำให้เกิดภาวะโลกร้อน
ซง่ึ สง่ ผลต่อการเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศโลก
5. สมรรถนะนักเรยี น
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. สาระการเรียนรู้ (เนอื้ หา)
ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกดิ จากแกส๊ เรอื นกระจกในชัน้ บรรยากาศของโลกกกั เกบ็ ความร้อนแลว้
คายความร้อนบางสว่ นกลับสู่ผวิ โลก ทำใหอ้ ากาศบนโลกมีอุณหภูมิเหมาะสมต่อการดำรงชวี ิต
7. กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
1. ครูแนะนำตนเองแล้วใหน้ กั เรียนในหอ้ งเรยี นแนะนำตนเองทกุ คน
2. ครชู แี้ จงจดุ ประสงคข์ องบทเรียน และเน้อื หาท่ีนกั เรยี นตอ้ งเรียนรู้
ข้นั จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5Es ซึ่งมขี นั้ ตอนดงั นี้
1. ขั้นสร้างความสนใจ
1.1 ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนกั เรียนเก่ยี วกบั ปรากฏการณ์ เรอื นกระจก โดยใช้คำถามดงั น้ี
- ปรากฏการณ์เรือนกระจกคืออะไร (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจ แต่คำตอบที่ครูควรรู้คือ
ปรากฏการณเ์ รือนกระจกคือ ปรากฏการณ์ท่เี กิดข้นึ ตามธรรมชาติ ซึง่ เกิดจากแก๊ส เรอื นกระจก)
- กจิ กรรมใดบา้ งท่ีทำใหเ้ กิดแก๊สเรอื นกระจก (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ)
1.2 นกั เรยี นอา่ นชอ่ื บทและแนวคดิ สำคญั ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 30 จากนั้นครใู ช้คำถาม ดังน้ี จากการอา่ น
แนวคิดสำคัญ นักเรียนคิดว่า จะได้เรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง (การเกิดและผลของปรากฏการณ์ เรือน
กระจก กจิ กรรมต่าง ๆ ท่ปี ลอ่ ยแก๊สเรือนกระจก และการลด กิจกรรมทีก่ อ่ ใหเ้ กิดแกส๊ เรอื นกระจก)
1.3 ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตและเปรียบเทียบรูปน้ำแข็งบริเวณ ขั้วโลกเดือนธันวาคม พ.ศ. 2473 และ
เดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 และอ่านเนื้อเรื่องในหน้า 30 โดยครูฝึกทักษะการอ่านตามวิธีการ อ่านที่เหมาะสม
กับความสามารถของนักเรียน จากนนั้ ครูใช้คำถาม เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอ่าน ดงั น้ี
- จากรูปน้ำแข็งขั้วโลกเดือนธันวาคม พ.ศ. 2473 และเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2559 แตกต่างกันอย่างไร
(นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจ เช่น ปริมาณน้ำแข็งบริเวณขั้วโลกเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 มีปริมาณ
นอ้ ยกวา่ เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2473)
รปู นำ้ แขง็ ข้ัวโลกเดอื นธันวาคม พ.ศ. 2473 และเดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2559
- การลดลงของน้ำแข็งบริเวณขั้วโลกมีผลต่อโลกอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ เช่น การลดลง
ของน้ำแข็ง บริเวณขั้วโลกมผี ลทำให้ระดับน้ำทะเลสูงข้ึนและทว่ มพื้นที่ บริเวณชายฝ่ัง)
2. ข้ันสำรวจและค้นหา
2.1 นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียน หน้า 33 โดยครูฝึกทักษะการอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับ
ความสามารถของนกั เรียน จากน้ันครูตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอ่าน โดยใชค้ ำถามดงั น้ี
- เพราะเหตุใดจึงมีการเพาะปลูกพืชบางชนิดในเรือนกระจก (มี การเพาะปลูกพืชบางชนิดในเรือน
กระจกเพราะการปลูกพืช บางชนิดไม่สามารถเติบโตในสภาพแวดล้อมนั้น ๆ ได้ จึงต้อง ปลูกพืชในเรือน
กระจกเพื่อควบคุมอุณหภูมิและความชื้น พืช นั้นจะได้เจริญเติบโตได้ เพราะเรือนกระจกช่วยกักเก็บและ
คายความร้อน)
- การกักเก็บและคายความร้อนภายในเรือนกระจกที่ใช้ เพาะปลูกพืชคล้ายกับปรากฏการณ์ใดของโลก
(ปรากฏการณ์ เรอื นกระจก)
- ปรากฏการณ์เรือนกระจกมีผลต่อโลกของเราอย่างไร (ทำให้ อากาศบนโลกมีอุณหภูมิเฉลี่ยเหมาะสม
ต่อการดำรงชวี ิตของ สิง่ มีชีวติ )
- ภาวะโลกร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร (ภาวะโลกร้อนเกิดจากมี ปริมาณแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศมาก
ขึ้น ทำให้มีการกัก เก็บและคายความร้อนบางส่วนกลับสู่ผิวโลกมากขึ้น ส่งผลให้ อุณหภูมิของอากาศโดย
เฉลีย่ บนโลกสงู ข้ึนเรือ่ ย ๆ จนโลกอยู่ ในภาวะโลกรอ้ น)
2.2 ครูถามนักเรียนว่า แก๊สเรือนกระจกมีอะไรบ้าง และปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิดขึ้นได้อย่างไร
(นักเรียนตอบตามความ เข้าใจของตนเอง) ครูยังไม่เฉลยคำตอบแต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการ
ทำกิจกรรม
2.3 ครูให้ทำนักเรียนที่ 1.1 เพื่อตอบคำถามที่ครูได้ถาม แก๊สเรือนกระจกมีอะไรบ้าง และปรากฏการณ์
เรอื นกระจกเกิดขน้ึ ได้อย่างไร โดยมีครูคอยใหค้ ำนะนำ
ภาพการจดั อปุ กรณ์ในกจิ กรรม
3. ขั้นอธิบายและลงสรปุ
3.1 ครูสรุปความรู้และเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจกทำให้อุณหภูมิของอากาศ
บนโลกเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต แต่ถ้าแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศโดยเฉลี่ยมากกว่าปกติ จะ
ทำให้มีการดูดกลืนและปล่อยรังสีอินฟราเรดมากขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้อุณหภูมิของอากาศโดยเฉลี่ยบนโลก
สูงขึ้น จนเกิดภาวะโลกร้อน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกเป็นผลทำให้น้ำแข็งขั้วโลกหลอมเหลว
ระดับน้ำทะเลจะสูงขึ้น และบางพื้นที่จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นมากจนทำให้เกิดความแห้งแลง้ ยาวนานกว่าปกติ และ
การทอ่ี ุณหภูมิของอากาศเปลย่ี นแปลงไปอาจทำให้โรคระบาดบางอย่างท่ีหยุดการระบาดไปแล้วกลับมาระบาด
ใหม่ เชน่ ไข้เลือดออก มาลาเรยี วณั โรค
4. ขัน้ ขยายความรู้
4.1 ให้นกั เรยี นคน้ ควา้ คำศพั ท์ภาษาตา่ งประเทศเก่ยี วกบั ปรากฏการณ์เรอื นกระจก จากหนังสอื เรียนหรอื
อินเทอรเ์ น็ต และนำเสนอใหเ้ พ่ือนฟงั
5. ขั้นประเมนิ ผล
5.1 ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละคนพจิ ารณาว่าจากหัวขอ้ ท่เี รียนมาและการปฏิบตั ิกิจกรรม มีส่วนใดบ้างท่ยี งั ไม่
เข้าใจหรอื ยังมีขอ้ สงสยั ถา้ มคี รูช่วยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ
5.2 นักเรยี นร่วมกนั ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกล่มุ วา่ มปี ญั หาหรอื อปุ สรรคใด และได้มกี ารแก้ไขอย่าง
ไรบ้าง
8. สอ่ื / แหลง่ การเรียนรู้
1. หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ สสวท. ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 เลม่ 2
2. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6
3. อินเทอรเ์ นต็
4. วัสดอุ ุปกรณ์ทำกิจกรรมที่ 1.1
9. การวดั และประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการ เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารผา่ นจุดประสงค์
คำถาม
1.1 อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือน ถามตอบ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้น
กระจก โดยใชแ้ บบจำลองได้ (K) แบบฝกึ หดั ไป
กิจกรรมท่ี 1.1
2.1 สร้างแบบจำลองการเกดิ ตรวจแบบฝึกหดั กจิ กรรมที่ 1.1 คะแนน Rubric ระดับ 2
ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกได้ (P) แบบประเมนิ ข้นึ ไป
พฤตกิ รรม
3.1 มีความสนใจใฝ่รู้ (A) การสังเกตพฤติกรรม คะแนน Rubric ระดับ 2
ขึน้ ไป
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รูบรคิ ส์)
ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดบั คุณภาพ 1 (ปรับปรุง)
3 (ดี) 2 (พอใช)้
1. อธิบายการเกิด
ปรากฏการณเ์ รือนกระจก ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 60 ขึ้นไป
โดยใชแ้ บบจำลองได้ (K)
ประเด็นการประเมิน 4 (ดมี าก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรับปรุง)
3 (ด)ี 2 (พอใช)้ - มีคณุ สมบัติ 1
ใน 4 ของระดับ
2. สร้างแบบจำลองการเกิด - มีคณุ สมบัติ 4 - มีคุณสมบัติ 3 - มคี ุณสมบตั ิ 2 คุณภาพ
ปรากฏการณเ์ รือนกระจกได้ ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดบั
คณุ ภาพ คุณภาพ คณุ ภาพ - มคี ุณสมบตั ิ 1
(P) ใน 4 ของระดบั
คณุ ภาพ
1. สรา้ งแบบจำลองการเกดิ
ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกได้
2. ปฏิบตั ิกิจกรรมตามขัน้ ตอน
3. เขยี นแผนภาพจากผลการ
ทดลองไดถ้ กู ต้อง
4. บอกการเกดิ ปรากฏการณ์
เรือนกระจกได้
3. มคี วามสนใจใฝร่ ู้ (A) - มคี ุณสมบตั ิ 4 - มีคุณสมบัติ 3 - มีคุณสมบตั ิ 2
คุณภาพ ใน 4 ของระดบั ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดับ
1. สนใจร่วมกจิ กรรมในชั้นเรียน คณุ ภาพ คณุ ภาพ คณุ ภาพ
และค้นควา้ หาความรู้
2. รบั ผิดชอบต่องานไดร้ บั
มอบหมาย
3. รบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อืน่
4. ส่งงานครบตรงตามเวลา
กำหนด
เกณฑใ์ นการตดั สินระดับคณุ ภาพนกั เรียนจากคะแนนรวมทง้ั หมด
กำหนดระดบั คุณภาพผลการเรยี นร้รู ว่ มกันทกุ ดา้ นเป็น 4 ระดับคือ ดีมาก ดี พอใช้ และปรับปรงุ
กำหนดเกณฑใ์ นการประเมินดงั นี้
ระดบั คณุ ภาพดมี าก 17 – 18 คะแนน
ระดับคณุ ภาพดี 14 – 16 คะแนน
ระดบั คุณภาพพอใช้ 10 – 13 คะแนน
ระดับคุณภาพปรบั ปรงุ นอ้ ยกวา่ 10 คะแนน
แบบประเมนิ : สร้างแบบจำลองการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกได้ (P)
คำชแ้ี จง : ใหท้ ำเครอื่ งหมาย ✓ ในช่องท่ตี รงกับความเปน็ จรงิ
ชอื่ -นามสกลุ สร้างแบบจำลองการเกิด คะแนน การ
ปรากฏการ ์ณเรือนกระจกไ ้ด รวม ประเมนิ ผล
ป ิฏ ับ ิตกิจกรรมตาม ัข้นตอน
เขียนแผนภาพจากผลการ
ทดลองไ ้ดถูกต้องไฟ ้ฟา
บอกการเกิดปรากฏการ ์ณ
เรือนกระจกได้
1. เด็กชายณรงค์ภพ วรพดั ✓✓✓ 3 ดี
2. เดก็ ชายรบั ชานนท์ วันแดง ✓✓✓ 3 ดี
3. เดก็ ชายธรี พงษ์ โสปัญญะ ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดีมาก
4. เดก็ ชายพิชญป์ กรณ์ เขียมสุวรรณ ✓ ✓ ✓✓ 4 ดีมาก
5. เดก็ ชายพรี ศกั ดิ์ คำแดง ✓✓✓ 3 ดี
6. เดก็ หญงิ ตรกี าล ครองราช ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดีมาก
7. เดก็ หญงิ พรี ยา ศรีเรอื ง ✓✓✓ 3 ดี
8. เด็กหญิงศศวิ ิมล วนั แดง ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดีมาก
9. เดก็ หญงิ อภิษฎา มีชัย ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดมี าก
10. เด็กหญงิ อรสิ า พงษ์โสพล ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดมี าก
*ระดบั คณุ ภาพ 2 ขึ้นไปผา่ นเกณฑ์
เกณฑใ์ นการประเมิน
ระดับคุณภาพดีมาก 4 คะแนน
ระดับคุณภาพดี 3 คะแนน
ระดับคณุ ภาพพอใช้ 2 คะแนน
ระดบั คุณภาพปรับปรงุ 1 คะแนน
แบบสังเกตพฤตกิ รรม : มคี วามสนใจใฝร่ ู้ (A) คะแนน การ
รวม ประเมนิ ผล
คำชแี้ จง : ให้ทำเครอื่ งหมาย ✓ ในช่องที่ตรงกับความเป็นจรงิ
ชื่อ-นามสกลุ
สนใจร่วมกิจกรรมใน ั้ชนเรียน
และ ้คนคว้าหาความรู้
รับ ิผดชอบ ่ตองานไ ้ดรับ
มอบหมาย
รับ ัฟงความ ิคดเห็นของ ู้ผอื่น
่สงงานครบตรงตามเวลา
กำหนด
1. เด็กชายณรงคภ์ พ วรพดั ✓ ✓ 2 พอใช้
2. เด็กชายรบั ชานนท์ วนั แดง ✓ ✓ 2 พอใช้
3. เดก็ ชายธีรพงษ์ โสปัญญะ ✓ ✓✓ 3 ดี
4. เดก็ ชายพิชญป์ กรณ์ เขียมสวุ รรณ ✓ ✓✓ 3 ดี
5. เด็กชายพรี ศกั ดิ์ คาแดง ✓ ✓ 2 พอใช้
6. เด็กหญิงตรกี าล ครองราช ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดีมาก
7. เด็กหญิงพรี ยา ศรเี รอื ง ✓ ✓✓ 3 ดี
8. เดก็ หญิงศศิวมิ ล วนั แดง ✓ ✓ 2 พอใช้
9. เดก็ หญิงอภษิ ฎา มีชยั ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดมี าก
10.เด็กหญิงอรสิ า พงษโ์ สพล ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดมี าก
*ระดับคุณภาพ 2 ขนึ้ ไปผ่านเกณฑ์
เกณฑ์ในการประเมนิ
ระดบั คณุ ภาพดีมาก 4 คะแนน
ระดับคณุ ภาพดี 3 คะแนน
ระดับคุณภาพพอใช้ 2 คะแนน
ระดบั คณุ ภาพปรบั ปรงุ 1 คะแนน
แบบสรุปผลการเรยี นรูต้ ามแผนการเรยี นรู้ที่ 1
เรอื่ ง ปรากฏการณเ์ รือนกระจก (1) ชั้นประถมศกึ ษาศึกษาปที ่ี 6
KP A
ช่อื -นามสกลุ (ผา่ น 60%) (ผา่ นระดบั 2) (ผา่ นระดบั 2) รวม การ
10 ผา่ น/ 4 3 2 1 ผา่ น/ 4 3 2 1 ผ่าน/ คะแนน ประเมนิ ผล
ไม่ผ่าน ไมผ่ า่ น ไม่ผา่ น 11.5 พอใช้
11 พอใช้
1. เดก็ ชายณรงคภ์ พ วรพัด 6.5 ผ ✓ ผ ✓ผ 13 พอใช้
15.5
2. เดก็ ชายรับชานนท์ วันแดง 6ผ ✓ ผ ✓ผ 15 ดี
16 ดี
3. เด็กชายธีรพงษ์ โสปัญญะ 6 ผ✓ ผ✓ ผ 14 ดี
16 ดี
4. เด็กชายพชิ ญ์ปกรณ์ เขียมสวุ รรณ 8.5 ผ ✓ ผ✓ ผ 18 ดี
17.5 ดมี าก
5. เด็กชายพรี ศกั ด์ิ คำแดง 10 ผ ✓ ผ ✓ผ ดมี าก
6. เด็กหญิงตรีกาล ครองราช 8 ผ✓ ผ✓ ผ
7. เด็กหญิงพรี ยา ศรเี รือง 8ผ ✓ ผ✓ ผ
8. เดก็ หญงิ ศศวิ มิ ล วันแดง 10 ผ ✓ ผ ✓ผ
9. เดก็ หญิงอภิษฎา มชี ัย 10 ผ ✓ ผ✓ ผ
10. เด็กหญิงอริสา พงษ์โสพล 9.5 ผ ✓ ผ✓ ผ
เกณฑ์ในการตดั สนิ ระดับคุณภาพนักเรยี นจากคะแนนรวมทงั้ หมด
กำหนดระดับคุณภาพผลการเรยี นรรู้ ่วมกันทกุ ด้านเปน็ 4 ระดบั คอื ดีมาก ดี พอใช้ และปรบั ปรุง
กำหนดเกณฑใ์ นการประเมนิ ดงั นี้
ระดับคณุ ภาพดีมาก 17 – 18 คะแนน
ระดบั คุณภาพดี 14 – 16 คะแนน
ระดบั คณุ ภาพพอใช้ 10 – 13 คะแนน
ระดับคณุ ภาพปรบั ปรุง น้อยกว่า 10 คะแนน
ช้นิ งานของนกั เรยี น
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 2
รายวชิ า วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรียนรเู้ รื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและภยั ธรรมชาติ ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 2 คาบ/สัปดาห์
เรอ่ื ง ปรากฏการณ์เรือนกระจก (2) เวลา 1 คาบ
ผสู้ อน นางสาวธนพร คำเติม วันที่ 19 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
โรงเรยี น บา้ นวงั ปรากฏ (ประชานุกลู ) คะแนนเกบ็ คะแนน
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลกและ
บนผิวโลก ธรณพี บิ ัติภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศโลก รวมทงั้ ผลตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และ
สงิ่ แวดล้อม
2. ตวั ชี้วัด
ป.6/8 ตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือ
ลดกิจกรรมท่ีก่อใหเ้ กิดแก๊สเรอื นกระจก
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. ดา้ นความรู้ (Knowledge) นกั เรยี นสามารถ :
1.1 เสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพอ่ื ลดกิจกรรมท่ีก่อใหเ้ กิดแก๊สเรือนกระจกได้
2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process/Products) นกั เรยี นสามารถ :
2.1 เขียนแผนผงั ความคิดการลดกิจกรรมที่ทำใหเ้ กิดแกส๊ เรอื นกระจกได้
3. ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude) ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี น :
3.1 มคี วามสนใจใฝ่รู้
4. สาระสำคัญ
- ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิด ขึ้นอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นผลมาจากแก๊สเรือนกระจกใน บรรยากาศกัก
เก็บความร้อนแล้วคายความร้อนบางส่วน กลับสู่ผิวโลก ทำให้อากาศบนโลกมีอุณหภูมิเหมาะสมต่อ การ
ดำรงชีวิต แต่ถ้ามนุษย์ทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่ปล่อย แก๊สเรือนกระจกสู่บรรยากาศเพิ่มขึ้น การกักเก็บและคาย
ความร้อนกลับสู่ผิวโลกก็จะเพิ่มขึ้น ทำให้อุณหภูมิของ อากาศบนโลกสูงขึ้นและอาจทำให้เกิดภาวะโลกร้อน
ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
5. สมรรถนะนักเรยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. สาระการเรียนรู้ (เน้อื หา)
หากปรากฏการณ์เรือนกระจกรุนแรงมากขึ้น จะมีผลต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศโลก มนุษย์จึงควร
ร่วมกันลดกิจกรรมทก่ี ่อให้เกดิ แกส๊ เรือนกระจก
7. กระบวนการสบื เสาะหาความรู้
ขั้นจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5Es ซึ่งมีข้นั ตอนดังน้ี
1. ขนั้ สรา้ งความสนใจ
1.1 ครูตรวจสอบความรเู้ ดมิ ของนักเรียนในเรอื่ งการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยใชค้ ำถามดังน้ี
- ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิดขึ้นได้อย่างไร (เกิดจากแก๊สเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศของโลกกัก
เก็บความร้อน แล้วคายความร้อนบางส่วนกลับสู่ผิวโลก ทำให้อากาศบนโลกมีอุณหภูมิเหมาะสมต่อการ
ดำรงชวี ิต)
- ปรากฏการณ์เรือนกระจกมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมบนโลกหรือไม่ อย่างไร
(ปรากฏการณ์เรือนกระจกตามธรรมชาติช่วยให้อุณหภูมิของโลกมีความอบอุ่นพอเหมาะต่อการดำรงชีวิต
ของสง่ิ มชี ีวติ ตา่ ง ๆ บนโลก)
- หากปรากฏการณ์เรอื นกระจกมีความรุนแรงเพ่ิมขนึ้ จะสง่ ผลต่อส่งิ มีชวี ติ และสิ่งแวดล้อม
บนโลกอย่างไร (เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก ส่งผลต่อการดำรงชีวิตและการสืบพันธุ์ของ
สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมเสียสมดุลตามธรรมชาติ จนเกิดความเสียหายต่อระบบสังคม
เศรษฐกจิ สขุ ภาพอนามัย สิง่ แวดล้อมและวฒั นธรรมในระดับโลก)
- สาเหตุใดที่ทำใหป้ รากฏการณเ์ รอื นกระจกมีความรุนแรงมากขึ้น (การปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกออกสู่
ช้ันบรรยากาศของโลกเพิม่ มากขนึ้ )
1.2 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลดกิจกรรมท่ี
ก่อใหเ้ กดิ แก๊สเรอื นกระจก เพอื่ เขา้ สู่เน้ือหา
2. ขั้นสำรวจและคน้ หา
2.1 ครูกระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี น โดยใช้รูปภาพการเผาไหมเ้ ชือ้ เพลงิ แลว้ ใหส้ ังเกตสีของควนั
รปู ภาพการเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลงิ
2.2 ครูเชอื่ มโยงเข้าสเู่ น้อื หา โดยใช้คำถามดังน้ี
- นกั เรยี นคิดวา่ มนษุ ยม์ สี ว่ นทำใหเ้ กิดแกส๊ เรอื นกระจกหรอื ไม่ (ตอบตามความคิดของนกั เรียน)
- นกั เรยี นจะลดปรมิ าณแกส๊ เรือนกระจกได้อยา่ งไร (ตอบตามความคิดของนักเรยี น)
2.3 ครูใช้สื่อ Power Point และวิดีโอ ในการให้ความรู้เรื่องแก๊สเรือนกระจก และการลดปริมาณแก๊สเรือน
จากนนั้ ใชค้ ำถามเดิมเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียน
- นกั เรยี นคิดวา่ มนษุ ยม์ สี ว่ นทำใหเ้ กิดแกส๊ เรอื นกระจกหรอื ไม่ (มสี ว่ นทำให้เกิดแกส๊ เรอื นกระจก)
- นกั เรยี นจะลดปรมิ าณแก๊สเรอื นกระจกไดอ้ ย่างไร (โดยลดการทำกิจกรรมที่มีการปลดปล่อยแกส๊ เรือน
กระจกออกสบู่ รรยากาศของโลก)
2.4 ให้นักเรียนเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดแก๊สเรือนกระจก ในรูปแบบแผนผัง
ความคดิ ลงในใบงานท่ี 1.2 ลดปริดมาณแก๊สเรือนกระจกได้อยา่ งไร
2.5 ให้ส่งตัวแทนห้องออกมานำเสนอหน้าชั้นเรยี น สมาชิกในชั้นเรียนก็ร่วมกันอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้
ซ่ึงกนั และกนั
2.6 ครูและนักเรยี นรว่ มกันอภปิ ราย การตระหนกั ถงึ ผลกระทบของปรากฏการณเ์ รือนกระจก
3. ขั้นอธิบายและลงสรุป
3.1 ครูสรปุ ความรแู้ ละเนน้ ให้นักเรยี นเขา้ ใจว่า กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวันของมนุษยส์ ่งผลใหม้ กี ารปล่อย
แก๊สเรือนกระจกสู่บรรยากาศเพิ่มขึ้น รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติก็ส่งผลให้ปริมาณแก๊สเรือน
กระจกในธรรมชาติเพิ่มขึ้นได้ รวมถึงช่วยเพิ่มแหล่งดูดซับแก๊สเรือนกระจก โดยช่วยกันปลูกต้นไม้และอนุรักษ์
ปา่ ไม้ ปลูกตน้ ไม้ ใช้ไฟฟา้ อยา่ งประหยัด ลดการใช้ถงุ พลาสติกและโฟม โดยเปลยี่ นมาใช้ถงุ ผ้า ร้จู กั ใช้ทรัพยากร
อย่างคุ้มค่า คัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังขยะ เพื่อนำวัสดุบางชนิดกลับมาใช้หรือสร้างเป็นของใช้ชิ้นใหม่ได้ และ
ร่วมกนั รณรงคใ์ หม้ กี ารอนุรกั ษ์ทรพั ยากรป่าไม้ ลดการตัดไม้ทำลายป่า)
4. ขน้ั ขยายความรู้
- ต้นไม้และพืชสีเขียว ดูดคาร์บอนไดออกไซด์ไปเก็บไว้เป็นเนื้อไม้ และใบไม้ ส่วนดินในป่าก็ช่วย
เก็บคาร์บอน นอกจากนี้ดินยังช่วยดูดซับก๊าซมีเทน ซึ่งมีคุณสมบัติทำให้โลกร้อนมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์
หลายเทา่
5. ขัน้ ประเมนิ ผล
5.1 ครใู ห้นักเรยี นแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหวั ขอ้ ทเ่ี รียนมาและการปฏิบตั กิ ิจกรรม มสี ว่ นใดบ้างที่ยงั ไม่เข้าใจ
หรอื ยังมีขอ้ สงสยั ถ้ามีครูช่วยอธบิ ายเพิ่มเติมใหน้ กั เรียนเข้าใจ
5.2 นกั เรยี นรว่ มกนั ประเมนิ การปฏิบัติกจิ กรรมกลุม่ วา่ มปี ญั หาหรืออุปสรรคใด และไดม้ ีการแกไ้ ขอยา่ งไรบ้าง
8. สือ่ / แหลง่ การเรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ สสวท. ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 เล่ม 2
2. รูปภาพการเผาไหมเ้ ชือ้ เพลิง
3. Power Point และวดิ ีโอเรอ่ื งแกส๊ เรือนกระจก และการลดปริมาณแกส๊ เรอื น
4. ใบงานท่ี 1.2 ลดปริดมาณแก๊สเรือนกระจกไดอ้ ย่างไร
9. การวดั และประเมนิ ผล
จดุ ประสงค์ วิธีการ เครอื่ งมอื เกณฑ์การผ่าน
จดุ ประสงค์
1.1 เสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลด ตรวจใบงานท่ี 1.2 ลด ใบงานที่ 1.2 ลดปริมาณ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60
กิจกรรมที่ก่อใหเ้ กิดแก๊สเรอื นกระจกได้ (K) ปริมาณแก๊สเรือนกระจก แกส๊ เรือนกระจกได้ ขึ้นไป
อยา่ งไร
ได้อยา่ งไร
จุดประสงค์ วิธกี าร เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารผา่ น
จดุ ประสงค์
2.1 เขยี นแผนผังความคิดลดกิจกรรมที่ ตรวจใบงานที่ 1.2 ลด ใบงานท่ี 1.2 ลดปริมาณ คะแนน Rubric ระดับ 2
กอ่ ให้เกดิ แกส๊ เรอื นกระจกได้ (P) ปริมาณแก๊สเรือนกระจก แก๊สเรือนกระจกได้ ข้นึ ไป
ได้อย่างไร อยา่ งไร
3.1 มคี วามสนใจใฝร่ ู้ (A) การสังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมินพฤติกรรม คะแนน Rubric ระดับ 2
ขน้ึ ไป
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู รคิ ส)์
ประเด็นการประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดบั คณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรงุ )
3 (ด)ี 2 (พอใช)้ - มีคณุ สมบตั ิ 1 ใน 4 ของ
11 เสนอแนวทางการปฏิบตั ติ นเพือ่ ลด - มคี ุณสมบัติ 4 ระดบั คณุ ภาพ
กิจกรรมทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ แก๊สเรือนกระจกได้ ใน 4 ของระดับ ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 60 ขนึ้ ไป
(K) คณุ ภาพ - มคี ุณสมบตั ิ 3 - มคี ุณสมบตั ิ 2 ใน - มีคุณสมบตั ิ 1 ใน 4 ของ
ใน 4 ของระดับ 4 ของระดับคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ
2.1 เขยี นแผนผังความคดิ ลด - มีคณุ สมบัติ 4 คณุ ภาพ
กิจกรรมที่ก่อใหเ้ กดิ แกส๊ เรอื น ใน 4 ของระดบั
กระจกได้ (P) คุณภาพ - มคี ุณสมบตั ิ 3 - มีคุณสมบตั ิ 2 ใน
ใน 4 ของระดับ 4 ของระดับคุณภาพ
1. บอกสาเหตุของการเกิดแก๊สเรือน คณุ ภาพ
กระจกได้
2. เขียนคำได้ถูกตอ้ งตามหลักภาษาไทย
3. บอกแนวทางการปฏิบัตติ นเพอ่ื ลด
แก๊สเรือนกระจกได้
4. นำเสนอไดอ้ ยา่ งกระชับ ชัดเจน และ
ครอบคลุม
3. มีความสนใจใฝร่ ู้ (A)
คณุ ภาพ
1. สนใจรว่ มกจิ กรรมในชน้ั เรียนและ
คน้ คว้าหาความรู้
2. รบั ผิดชอบตอ่ งานไดร้ ับมอบหมาย
3. รบั ฟังความคิดเห็นของผู้อน่ื
4. ส่งงานครบตรงตามเวลากำหนด
เกณฑใ์ นการตดั สนิ ระดบั คุณภาพนักเรยี นจากคะแนนรวมทง้ั หมด
กำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้ร่วมกนั ทกุ ดา้ นเป็น 4 ระดับคอื ดีมาก ดี พอใช้ และปรับปรุง
กำหนดเกณฑ์ในการประเมนิ ดังน้ี
ระดับคุณภาพดีมาก 17 – 18 คะแนน
ระดับคณุ ภาพดี 14 – 16 คะแนน
ระดบั คุณภาพพอใช้ 10 – 13 คะแนน
ระดับคุณภาพปรับปรุง นอ้ ยกวา่ 10 คะแนน
แบบประเมนิ : เขียนแผนผงั ความคิดลดกจิ กรรมทีก่ ่อใหเ้ กดิ แกส๊ เรอื นกระจกได้ (P)
คำชแ้ี จง : ใหท้ ำเคร่ืองหมาย ✓ ในชอ่ งท่ตี รงกบั ความเปน็ จรงิ
ชื่อ-นามสกลุ บอกสาเหตุของการเกิดแ ๊กสเ ืรอน คะแนน การ
กระจกได้ รวม ประเมนิ ผล
เขียนคำได้ถูก ้ตองตามห ัลก
ภาษาไทย
บอกแนวทางการป ิฏบั ิตตนเ ่พือลด
แก๊สเ ืรอนกระจกได้
นำเสนอไ ้ดอย่างกระชับ ชัดเจน
และครอบค ุลม
1. เดก็ ชายณรงค์ภพ วรพดั ✓ ✓ 2 พอใช้
2. เดก็ ชายรับชานนท์ วนั แดง ✓ ✓ 2 พอใช้
3. เดก็ ชายธรี พงษ์ โสปัญญะ ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดีมาก
4. เดก็ ชายพิชญ์ปกรณ์ เขียมสวุ รรณ ✓ ✓✓ 3 ดี
5. เดก็ ชายพรี ศักด์ิ คำแดง ✓✓✓ 3 ดี
6. เด็กหญงิ ตรีกาล ครองราช ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดมี าก
7. เด็กหญงิ พีรยา ศรีเรอื ง ✓✓✓ 3 ดี
8. เด็กหญิงศศวิ ิมล วนั แดง ✓ ✓ 2 พอใช้
9. เด็กหญิงอภิษฎา มชี ยั ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดีมาก
10. เด็กหญิงอริสา พงษโ์ สพล ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดีมาก
*ระดับคุณภาพ 2 ขน้ึ ไปผ่านเกณฑ์
เกณฑ์ในการประเมนิ
ระดับคณุ ภาพดีมาก 4 คะแนน
ระดับคุณภาพดี 3 คะแนน
ระดบั คณุ ภาพพอใช้ 2 คะแนน
ระดับคณุ ภาพปรับปรงุ 1 คะแนน
แบบสังเกตพฤติกรรม : มีความสนใจใฝร่ ู้ (A)
คำชแี้ จง : ใหท้ ำเคร่อื งหมาย ✓ ในช่องท่ตี รงกับความเปน็ จรงิ
ชอื่ -นามสกลุ สนใจร่วมกิจกรรมใน ั้ชนเรียน คะแนน การ
และ ้คนคว้าหาความรู้ รวม ประเมนิ ผล
รับ ิผดชอบ ่ตองานไ ้ดรับ
มอบหมาย
รับ ัฟงความ ิคดเห็นของ ู้ผอื่น
่สงงานครบตรงตามเวลา
กำหนด
1. เด็กชายณรงคภ์ พ วรพดั ✓ ✓ 2 พอใช้
2. เดก็ ชายรบั ชานนท์ วนั แดง ✓ ✓ 2 พอใช้
3. เดก็ ชายธีรพงษ์ โสปัญญะ ✓ ✓ 2 พอใช้
4. เด็กชายพิชญป์ กรณ์ เขียมสวุ รรณ ✓✓ ✓ ✓ 4 ดมี าก
5. เดก็ ชายพีรศกั ดิ์ คาแดง ✓ ✓ 2 พอใช้
6. เด็กหญิงตรีกาล ครองราช ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดีมาก
7. เดก็ หญิงพรี ยา ศรเี รอื ง ✓✓✓ 3 ดี
8. เด็กหญิงศศวิ ิมล วนั แดง ✓ ✓ 2 พอใช้
9. เดก็ หญิงอภิษฎา มีชยั ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดีมาก
10.เดก็ หญิงอรสิ า พงษโ์ สพล ✓ ✓ ✓ ✓ 4 ดีมาก
*ระดบั คณุ ภาพ 2 ข้ึนไปผา่ นเกณฑ์
เกณฑ์ในการประเมิน
ระดับคณุ ภาพดีมาก 4 คะแนน
ระดับคุณภาพดี 3 คะแนน
ระดบั คณุ ภาพพอใช้ 2 คะแนน
ระดบั คุณภาพปรับปรุง 1 คะแนน
แบบสรปุ ผลการเรยี นรตู้ ามแผนการเรยี นรู้ที่ 2
เรือ่ ง ปรากฏการณ์เรือนกระจก (2) ช้ันประถมศึกษาศึกษาปที ี่ 6
KP A
(ผ่านระดบั 2)
ชือ่ -นามสกลุ (ผา่ น 60%) (ผ่านระดับ 2) 4 3 2 1 ผ่าน/ รวม การ
10 ผ่าน/ 4 3 2 1 ผ่าน/ คะแนน ประเมนิ ผล
ไม่ผ่าน
ไม่ผา่ น ไมผ่ ่าน 10.5 พอใช้
✓ผ 11.5 พอใช้
1. เดก็ ชายณรงคภ์ พ วรพัด 6.5 ผ ✓ผ ✓ผ 12.5 พอใช้
✓ผ 13 พอใช้
2. เด็กชายรบั ชานนท์ วันแดง 7.5 ผ ✓ผ ✓ผ 11 พอใช้
✓ผ 17.5 ดีมาก
3. เดก็ ชายธีรพงษ์ โสปัญญะ 6.5 ผ ✓ผ ✓ผ 14
✓ผ 14 ดี
4. เด็กชายพิชญป์ กรณ์ เขียมสวุ รรณ 6 ผ ✓ ผ ✓ผ 18 ดี
✓ผ 17.5 ดมี าก
5. เด็กชายพรี ศักด์ิ คำแดง 6ผ ✓ผ ✓ผ ดมี าก
6. เด็กหญิงตรีกาล ครองราช 9.5 ผ ✓ ผ
7. เด็กหญิงพีรยา ศรีเรอื ง 8.5 ผ ✓ ผ
8. เด็กหญงิ ศศิวิมล วนั แดง 10 ผ ✓ผ
9. เดก็ หญิงอภิษฎา มชี ยั 10 ผ ✓ ผ
10. เด็กหญิงอริสา พงษโ์ สพล 9.5 ผ ✓ ผ
เกณฑใ์ นการตดั สินระดับคณุ ภาพนักเรียนจากคะแนนรวมทง้ั หมด
กำหนดระดับคุณภาพผลการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ทกุ ด้านเปน็ 4 ระดับคือ ดมี าก ดี พอใช้ และปรบั ปรุง
กำหนดเกณฑ์ในการประเมนิ ดงั น้ี
ระดบั คุณภาพดมี าก 17 – 18 คะแนน
ระดบั คณุ ภาพดี 14 – 16 คะแนน
ระดบั คุณภาพพอใช้ 10 – 13 คะแนน
ระดบั คณุ ภาพปรับปรุง น้อยกวา่ 10 คะแนน
ใบงานท่ี 1.2 ลดปรมิ าณแกส๊
เรือนกระจกได้อยา่ งไร
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนแผนผังความแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิด
แก๊สเรอื นกระจก
จดุ ประสงค์ : อภปิ รายและเสนอแนวทางการปฏิบัตติ นเพือ่ ลดกจิ กรรมที่กอ่ ให้เกิดแกส๊ เรอื นกระจก
ช่ือ - นามสกลุ …………………………………………… เลขท…่ี ………. ชั้น ป.6
ช้นิ งานของนกั เรยี น
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3
รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรียนรู้เร่ือง ปรากฏการณข์ องโลกและภยั ธรรมชาติ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 2 คาบ/สัปดาห์
เรอ่ื ง ภยั ธรรมชาติ เวลา 2 คาบ
ผู้สอน นางสาวธนพร คำเตมิ วันท่ี 26 พฤจิกายน , 1 ธันวาคม พ.ศ. 2564
โรงเรียน บา้ นวงั ปรากฏ (ประชานุกูล) คะแนนเก็บ คะแนน
1. มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสมั พนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในโลกและ
บนผิวโลก ธรณีพบิ ัติภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศโลก รวมทั้งผลตอ่ สิ่งมชี วี ิตและ
สง่ิ แวดลอ้ ม
2. ตัวชว้ี ัด
ป.6/6 บรรยายลักษณะและผลกระทบของน้ำทว่ ม การกดั เซาะชายฝั่ง ดนิ ถล่ม แผ่นดนิ ไหว สึนามิ
ป.6/7 ตระหนักถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย โดยนำเสนอแนวทางในการเฝ้าระวัง
และปฏบิ ัตติ นให้ปลอดภัยจากภยั ธรรมชาติและธรณีพบิ ตั ิภยั ที่อาจเกิดในท้องถน่ิ
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. ด้านความรู้ (Knowledge) นกั เรยี นสามารถ :
1.1 บอกความหมายของภยั ธรรมชาติได้
2. ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (Process/Products) นกั เรยี นสามารถ :
2.1 นำเสนอแนวทางปฏิบัตติ นให้ปลอดภยั จากภยั ธรรมชาตไิ ด้
3. ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude) ส่งเสริมใหน้ ักเรียน :
3.1 มีความสนใจใฝร่ ู้
4. สาระสำคัญ
น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหวและสึนามิมีผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
แตกต่างกัน เราควรเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติทั้งก่อนเกิดภัยธรรมชาติขณะเกิดภัย
ธรรมชาติและหลังเกดิ ภัยธรรมชาติ
5. สมรรถนะนักเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. สาระการเรียนรู้ (เนอ้ื หา)
น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว และสึนามิ มีผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
แตกต่างกัน มนุษย์ควรเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนให้ปลอดภัย เช่น ติดตามข่าวสารอย่างสม่ำเสมอ เตรียมถุงยังชีพให้
พร้อมใช้ตลอดเวลา และปฏิบัติตามคำสั่งของผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่อย่างเคร่งครัดเมื่อเกิดภัยธรรมชาติและ
ธรณพี ิบตั ภิ ยั
7. กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
ข้ันจัดกจิ กรรมการเรยี นรูจ้ ัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ 5Es ซง่ึ มขี น้ั ตอนดงั น้ี
1. ขั้นสร้างความสนใจ (ชว่ั โมงท่ี 1)
1.1 ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับภัยธรรมชาติ โดยร่วมกันยกตัวอย่างภัยธรรมชาติที่รู้จัก ส่ง
ตวั แทนนักเรยี นออกมาเขยี นคำตอบบนกระดาน ในแบบแผนภาพความคิด
1.2 ครูใช้คา้ ถามเพือ่ เช่อื มโยงความรูเ้ ดิมของนกั เรยี นเข้าสูก่ จิ กรรมที่ 1 ว่าภัยธรรมชาติต่าง ๆ มีลักษณะและ มี
ผลกระทบตอ่ สิ่งมีชวี ติ และสงิ่ แวดลอ้ มแตกต่างกนั หรอื ไม่ อย่างไร เราจะเรยี นรู้ในกิจกรรมที่ 1
2. ขน้ั สำรวจและค้นหา
2.1 ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรมที่ 1 และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกัน อภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
เกยี่ วกบั จุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามดังน้ี
- กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (ลักษณะของ ภัยธรรมชาติ ผลกระทบของภัยธรรมชาติ
ตอ่ สิ่งมชี วี ิตและ ส่งิ แวดล้อม และแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏบิ ตั ติ น ให้ปลอดภัยจากภยั ธรรมชาต)ิ
- นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรูเ้ รอ่ื งนด้ี ้วยวธิ ใี ด (การสืบคน้ ขอ้ มูล การรวบรวมขอ้ มูล และการแสดงบทบาท
สมมต)ิ
- เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (บรรยายลักษณะของภัยธรรมชาติและผลกระทบต่อ
สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม และนำเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัย
ธรรมชาต)ิ
2.2 ให้นกั เรียนบันทกึ จดุ ประสงค์ลงในแบบบนั ทกึ กิจกรรม
2.3 ให้นักเรียนอ่านทำอย่างไร ข้อ 1-4 ทีละข้อ โดยครูฝึกทักษะการอ่าน ตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับ
ความสามารถของนกั เรยี น จากน้ันครูตรวจสอบความเข้าใจเกย่ี วกบั วธิ กี ารทำกิจกรรม โดยใชค้ ้าถามดงั น้ี
- ข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมข้อที่ 1 และ 2 คืออะไร (ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของภัยธรรมชาติ
บริเวณที่เกิดภยั ธรรมชาติ ผลกระทบของภัยธรรมชาติที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม และการปฏบิ ัตติ น
ใหป้ ลอดภัยจากภยั ธรรมชาติ)
- นักเรียนต้องใช้ข้อมูลใดในการวางแผนแสดงบทบาทสมมติ (ก่อนวางแผนแสดงบทบาทสมมติต้อง
มขี ้อมูลเก่ยี วกบั ลักษณะของภัยธรรมชาติ บรเิ วณทเ่ี กดิ ภัย ธรรมชาติ ผลกระทบของภัยธรรมชาติ และการ
ปฏิบัติตน ใหป้ ลอดภยั จากภัยธรรมชาติ)
2.4 เมือ่ นกั เรียนเขา้ ใจวธิ ีการทำกจิ กรรม แล้วให้นกั เรยี นเร่ิมปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนการทำกจิ กรรม
2.5 ในขณะนกั เรยี นทำกจิ กรรม ครูคอยให้คำแนะนำหากนักเรียนมขี ้อสงสัย
2.6 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายลักษณะและผลกระทบของนำ้ ท่วม การกัดเซาะชายฝัง่ ดนิ ถล่มแผ่นดินไหว
สึนามจิ ากใบความรูท้ ่ไี ดศ้ ึกษา
3. ขนั้ อธิบายและลงสรุป
3.1 ครูสรุปจากการทำกิจกรรม โดยเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่าภัยธรรมชาติต่าง ๆ มีลักษณะแตกต่างกัน และ
ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน เช่น น้ำท่วมมีทั้งน้ำล้นตลิ่ง น้ำป่าไหลหลาก น้ำท่วมขัง
ซึ่งผลกระทบก็จะเกิดในพื้นที่ที่มีลักษณะแตกต่างกัน หรือดินถล่มเป็นการเคลื่อนที่ของมวลดินหรือหินลงมา
ตามแนวลาดชนั ของพืน้ ที่ ซง่ึ มวลดินหรือหนิ ทถี่ ล่ม ลงมาก็อาจทา้ ให้ส่งิ ปลกู สรา้ งพังเสยี หายได้หรือแผ่นดนิ ไหว
เปน็ การส่ันสะเทือนของแผ่นดิน แรงส่ันสะเทือนอาจท้าใหส้ ิ่ง ปลูกสรา้ งพังทลายลงได้
ลำดับการจดั การเรยี นรู้ (ชวั่ โมงที่ 2)
1. ขนั้ สร้างความสนใจ
1.1 ครทู บทวนความรพู้ ้ืนฐานของนกั เรยี นเร่ือง ภัยธรรมชาติ โดยใชค้ ำถามดงั น้ี
- ภัยธรรมาติที่นักเรียนรู้จักหรือที่ได้ศึกษามามีอะไรบ้าง (น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม
แผ่นดินไหว และสึนามิ)
- ภัยธรรมาติลักษณะ บริเวณที่เกิด และส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมต่างแตกกันหรือไม่
(นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น แตกต่างกัน ยกตัวอย่าง สนามี เป็นคลื่นในทะเล สามารถ
เคลื่อนที่ผ่านทะเลหรือมหาสมุทรด้วยความเร็วสูง เมื่อคลื่นเข้าชายฝั่งจะเปลี่ยนค ลื่นเป็นขนาดยักษ์
บรเิ วณทเี่ กิดคอื ทะเลหรือมหาสมทุ ร ทำใหท้ ำลายส่งิ ต่าง ๆ ทอ่ี ยูบ่ รเิ วณชายฝ่ังให้พงั ทลายลง)
1.2 ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยการให้ดุวิดีโอที่เกี่ยวกับสถานการณ์ภยั ธรรมตา่ ง ๆ เพื่อหาแนวทาง
ในการเฝ้าระวงั และปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภัยจากภยั ธรรมชาติ
2. ขน้ั สำรวจและค้นหา
2.1 ครูฝึกทักษะการอ่านของนักเรียน โดยการให้นักเรียนอ่านสื่อใบความรู้เรื่อง การปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
จากภยั ธรรมชาติและบันทกึ แนวทางปฏิบตั ิตน
*คิวอาร์โค้ดใบความรู้*
2.2 ให้นักเรียนบันทึกข้อมูลในแบบบันทึกผลการทำกิจกรรม ขณะที่นักเรียนทำกิจกรรมครูจะเดินคอยให้
คำแนะนำ
2.3 นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงบทบาทสมมตุ ิ ในสถานการณภ์ ยั ธรรม ทนี่ กั เรียนได้เลอื กมา
3. ข้ันอธบิ ายและลงสรปุ
3.1 ครูสรุปผลการทำกิจกรรมโดยเน้นว่า ครูขยายความรู้เรื่องภัยธรรมชาติต่าง ๆ มีลักษณะมีสาเหตุการเกิด
บริเวณที่เกิด และมีผลกระทบตอ่ ส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน การเฝ้าระวังและการปฏิบัติให้ปลอดภัย
จากภัยธรรมชาติต่าง ๆ จึงควรปฏิบัติให้สอดคล้องกับลักษณะของภัยธรรมชาติที่เกิดที่ขึ้น ซึ่งความรุนแรงของ
ภัยธรรมชาติและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมจะมีความรุนแรงมากน้อยแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับภูมิ
ประเทศ สภาพแวดลอ้ มของแต่ละพนื้ ทชี่ ว่ งเวลา และการเปลยี่ นแปลงใตผ้ วิ โลกในบางบริเวณ
4. ข้นั ขยายความรู้
4.1 ครูขยายความรู้เรื่องภัยธรรมชาติต่าง ๆ โดยฝึกทักษะการออกเสียง และการอ่านภาษาอังกฤษ
จากคำศพั ท์ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั ภัยธรรมชาติ
5. ข้นั ประเมนิ ผล
5.1 ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะคนพจิ ารณาวา่ จากหวั ข้อทเ่ี รียนมาและการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม มสี ่วนใดบ้างท่ียงั ไม่เข้าใจ
หรอื ยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มีครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจ
5.2 นกั เรยี นรว่ มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ่ วา่ มปี ญั หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม้ กี ารแก้ไขอยา่ งไรบา้ ง
8. สอื่ / แหลง่ การเรียนรู้
1. หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ สสวท. ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 เล่ม 2
2. ชดุ บนั ทกึ กิจกรรมวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6
3. ใบความรู้เรื่องการปฏบิ ัตติ นให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและบันทึกแนวทางปฏิบตั ิตน
*ควิ อาร์โค้ดใบความร*ู้
9. การวดั และประเมนิ ผล
จุดประสงค์ วธิ ีการ เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารผา่ นจุดประสงค์
1.1 บอกความหมายของภัยธรรมชาติ ถามตอบระหว่างเรยี น คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60
ได้ (K) ขึน้ ไป
2.1 นำเสนอแนวทางปฏบิ ตั ิตนให้ ตรวจแบบบนั ทกึ แบบบนั ทึกกิจกรรม คะแนน Rubric ระดับ
ปลอดภยั จากภยั ธรรมชาติได้ (P) กจิ กรรมท่ี 1 ปฏบิ ัตติ น ท่ี 1 ปฏิบตั ติ นอยา่ งไร 2 ข้ึนไป
อยา่ งไรใหป้ ลอดภัย ให้ปลอดภยั จากภัย
จากภยั ธรรมชาติ ธรรมชาติ
3.1 มคี วามสนใจใฝร่ ู้ (A) การสังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมิน คะแนน Rubric ระดับ
พฤตกิ รรม 2 ขึ้นไป
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รูบรคิ ส)์ 4 (ดีมาก) ระดบั คณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรุง)
3 (ด)ี 2 (พอใช)้
ประเดน็ การประเมิน
ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 ขึ้นไป
1. บอกความหมายของภยั
ธรรมชาติได้ (K) - มีคณุ สมบตั ิ 4 - มีคุณสมบัติ 3 - มคี ณุ สมบตั ิ 2 - มีคุณสมบตั ิ 1
2. นำเสนอแนวทางปฏิบัติตนให้
ปลอดภัยจากภยั ธรรมชาตไิ ด้ (P) ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดบั ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดบั
1. บอกสาเหตขุ องการภัย
ธรรมชาติได้ คณุ ภาพ คณุ ภาพ คุณภาพ คณุ ภาพ
2. บอกแนวทางการเฝ้าระวงั จาก
ภัยธรรมชาติได้
3. บอกแนวทางปฏบิ ัตติ นให้
ปลอดภัยจากภัยธรรมชาตไิ ด้
4. มีทักษะการสื่อสารทเี่ ขา้ ใจงา่ ย