The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม (ศาสนาอิสลาม)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สพป.นนทบุรี เขต 2 -, 2021-03-07 21:41:42

คู่มือการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม (ศาสนาอิสลาม)

คู่มือการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม (ศาสนาอิสลาม)

คู่มอื การประเมนิ

โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
ศลี ธรรมนาการศกึ ษา

สาหรบั โรงเรียนท่มี นี ักเรียนนับถอื

“ศาสนาอสิ ลาม”

สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๒







1. การเตรียมรับการประเมนิ โครงการฯ

1. การเตรียมสถานที่

๑) จดั เตรียมสถานทใ่ี นการละหมาด
๒) จัดเตยี มหอ้ งทดสอบ ใหน้ ักเรียนทำการทดสอบ ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ

2. การประเมนิ กิจกรรมของโครงการฯ แบง่ เป็น 2 ส่วน ดงั น้ี

๑) การละหมาด (โดยนกั เรยี นดำเนนิ การ)
๒) การทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ตามตวั ชี้วัดของโครงการ ฯ

3. การประกอบศาสนพิธี

๑) นักเรยี นกลมุ่ เป้าหมายเดินอย่างเป็นระเบยี บ สสู่ ถานท่ีละหมาด และน่ังให้เรียบร้อยสำรวม
๒) ผู้นำนักเรียนนำการละหมาด ต้ังแต่เริ่มต้นจนเสร็จส้ินพิธี โดยนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย
สามารถทบทวนรู่ก่นอีหม่าน รู่ก่นอิสลาม หลักจริยธรรม ดุอาอ์หลังอาบน้ำละหมาด และสามารถ
ละหมาดโดยอา่ นออกเสียงไดช้ ัดเจน และพร้อมเพรยี งกนั
๓) คณะกรรมการสนทนา ซกั ถามความรู้ ความเข้าใจ ตามตวั ช้ีวัดของโครงการฯ/จัดกจิ กรรม
กลมุ่ ให้นักเรียนรว่ มระดมความคดิ ตัวแทนนกั เรียนนำเสนอผลการระดมความคิด

4. การทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจ ดำเนนิ การ 2 ลกั ษณะ ดงั นี้

๑) โรงเรียนท่ีมีนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ต่ำกว่า ๕๐ คน ให้นักเรยี นกล่มุ เป้าหมายท้ังหมด ร่วม
ละหมาดพรอ้ มกนั และทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจ เมอื่ เสรจ็ ส้ินขบวนการประกอบศาสนพิธี

๒) โรงเรียนที่มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ๑๐๐ คนข้ึนไป แยกนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ๒ กลุ่ม
ดำเนินการละหมาดพร้อมกนั และทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจ

** ทดสอบดว้ ยแบบทดสอบอัตนยั โดยกำหนดจำนวนนกั เรียน รอ้ ยละ ๑๐ ของกล่มุ เปา้ หมาย
(กลมุ่ เปา้ หมาย หมายถึง นกั เรียนตงั้ แตช่ ้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔ ถงึ ช้ันสูงสดุ ของโรงเรยี น)

***หมายเหตุ อาจหยดื หยุ่นได้ตามความเหมาะสมของโรงเรยี นโดยดุลพนิ ิจของคณะกรรมการ



2. แนวทางการให้ความรู้

* การประกอบศาสนพิธี *

**กรณีโรงเรียนมพี ธิ ีกรและตอ้ งการประชาสัมพันธก์ อ่ นเวลา
เม่ือผู้ร่วมงานถึงสถานท่ีประกอบศาสนพิธี พิธีกร กล่าวต้อนรับหรือประชาสัมพันธ์เก่ียวกับ
กิจกรรมของงานได้ เชน่ กำหนดการของงาน ฯลฯ
โรงเรียนและนักเรียนผูร้ บั การประเมนิ ใหเ้ ตรยี มความพร้อมเพ่อื ทำการละหมาด ดงั น้ี
1) ต้องอาบน้ำละหมาดให้พรอ้ มก่อนประเมนิ
2) ต้องปดิ ร่างกายด้วยเครื่องนุ่งหม่ ท่ีสะอาดปราศจากนะญิส สำหรับชายให้ปิดร่างกาย ตั้งแต่เหนือ
สะดอื ลงไปจนเลยหัวเข่าและสวมหมวก สำหรับหญงิ ตอ้ งปิดทว่ั ท้ังร่างกาย นอกจากหนา้ และมอื ทั้งสอง

* ขัน้ เตรยี มการทบทวนหลกั ศาสนา ดอุ าอ์ และการเหนยี ต *

ขัน้ ตอนที่ 1 นักเรียนกล่าวการทบทวนรู่กน่ อีหม่าน รู่ก่นอิสลาม และหลักคุณธรรม เป็นภาษา
อาหรบั และภาษาไทยโดยพรอ้ มเพรยี งกัน เรียงตามลำดบั ดงั นี้

ُ‫أَ ْر َكانُ ا ْ إُل ْي َما إنُ إستَّة‬

รู่กน่ อหี ม่านมี 6 ประการ

1. ตอ้ งศรัทธาว่าอัลลอฮ์เปน็ เจ้า َِ‫ أَنَ تُؤ ِمنَ ِبالل‬-١
2. ตอ้ งศรทั ธาในมะลาอกิ ะฮ์ของพระองค์ َ‫ وملَئِك ِت ِه‬-٢
3. ตอ้ งศรทั ธาในบรรดาคมั ภีร์ของพระองค์ َ‫ و ُكتُبِ ِه‬-٣
4. ต้องศรทั ธาในบรรดาร่อซู้ลของพระองค์ ‫ و ُر ُس ِل َِه‬-٤
5. ตอ้ งศรัทธาในวนั อาคิร
6. ต้องศรัทธาว่าการกำหนดความดีและความชั่ว ‫ واليو َِم ا َل ِخ َِر‬-٥
‫ والَقد ِر َخي ِر ِهَ وش ِّر َِه ِمنَ الَِل تعالى‬-٦
น้นั มาจากอัลลอฮ์ทงั้ สนิ้
َ



รู่กน่ อิสลามมี 5 ประการ

َِ‫ أنَ تشهدَ أ َن َل إِلَـهَ ِإ ََل ال ُلَ وأ َنَ ُمح َم ًدا ر ُسو َُل الل‬-١
1. ตอ้ งปฏิญาณว่า ไม่มพี ระเจ้าอ่นื ใดท่ีถกู กราบไหวโ้ ดยเที่ยงแท้ นอกจากอลั ลอฮ์ และแท้จรงิ น่าบี

มุฮัมมัดนั้น เปน็ ร่อซู้ลของอลั ลอฮ์

َ‫ وتُ ِقَيمَ ال َصلة‬-٢

2. ตอ้ งดำรงละหมาด 5 เวลาทุกวนั เมอ่ื อายุถงึ กำหนดคอื
ก. 9 ขวบ ฝันร่วมประเวณี
ข. 9 ขวบ มปี ระจำเดือน หรอื
ค. อายุครบ 15 ปี

‫ وتُؤ ِت َي ال َزكاَة‬-٣

3. ตอ้ งบริจาคซะกาตเมื่อมีทรพั ย์สินถึงจำนวนและครบรอบปี

‫ وت ُصوَم رمضا َن‬-٤
4. ต้องถือศีลอดทุกวันตลอดเดือนรอมฎอน โดยเว้นจากข้อห้ามตามบัญญัติศาสนา

‫ وَت َح ََج البي َت ِإ َِن استطع َت ِإلي َِه س ِبي ًَل‬-۵
5. ตอ้ งไปทำฮัจย์หนึ่งคร้ังในชั่วชีวิต ณ บัยตุลลอฮิ้ลหะรอม เมืองมักกะฮ์ หากสามารถเดินทางทั้ง

ไปและกลบั ได้โดยไม่เดือดร้อน

ทา่ นศาสดาตรสั วา่ : หลกั คณุ ธรรม [ ‫] ِإ ْح َسا ٌن‬

] ‫ فإإ َّنَه يرا َك‬،َ ‫ فإإ َْن ل َْم تك َْن تراَه‬،َ ‫ أ َْن ت ْعبَد الَل كأ َّن َك تراَه‬: ‫[ َا ْ إَل ْحسا َن‬

[ َ‫ ] إإ ْحسان‬หรือ [ คุณธรรม ] น้ันก็คือ การที่เธอปฏิบัติการนมัสการต่ออัลลอฮ์ คล้าย ๆ กับว่าเธอ
เห็นพระองค์ ถึงแมเ้ ธอจะไม่เหน็ พระองค์กต็ าม แตพ่ ระองคท์ รงเห็นเธอตลอดเวลา

‫‪๔‬‬

‫‪ขั้นตอนที่ 2 ทบทวนดุอาอ์หลังอาบนำ้ ละหมาดดงั น้ี :‬‬
‫‪ดุอาอ์หลงั อาบน้ำละหมาด‬‬

‫أَ ْشهَد ا ْنَ لَ إالهَ اإ َّلَ اللَ و ْحدهَ لَش إر ْيكَ لهَ ‪ َ،‬وَأَ ْشهدَ ا َّنَ مح َّم ًدا ع ْبدهَ ورس ْولهَ ‪ َ،‬اَلَله َّمَ‬
‫ا ْجع ْل إن ْيَ إم َن التَّ َّوابإ ْينَ ‪ َ،‬وا ْجع ْلنإ َْي إمَنَ ا ْلمتط إه إر ْي َن ‪ َ،‬وا ْجع ْلنإ ْيَ إم ْنَ إعبا إدكَ ال َّصا إل إح ْي َن ‪،‬‬
‫س ْبحانكَ الَله ََّم وبإح ْم إدكَ ‪ َ،‬أ ْشَهَد ا ْنَ لَ اإلهَ إا َّلَ ا ْن َت ‪ َ،‬أَ ْست ْغ إفركَ وات ْوبَ إال ْيكَ ‪ َ،‬وص َلّى الَل‬

‫على س إي إدنا مح َّمَد وعلى آ إل إهَ وص ْحبإ إَه َو َس َّلمَ ‪ ،‬وا ْلح َْمدَ لَلإ ر إَب ا ْلعا ل إم ْي َن‬

‫‪ข้ันตอนที่ 3 การทบทวนคำเหนยี ตของการละหมาด 5 เวลา เรยี งตามลำดับ‬‬

‫‪ละหมาด‬‬ ‫‪คำเหนียต‬‬
‫ال ُّص ْبحَ‬ ‫أص إلَ ْيَ فَ َْر َض ال ُّص ْبحَإ ر ْكعت ْي إنَ َأدا ًَء للإَ تعالى‬
‫ال ُّظ ْهرَ‬ ‫‪ขา้ พเจ้าตั้งใจละหมาดฟัรฎซู บุ ฮิ สองรอ่ ก้าอัต ในเวลาเพื่ออลั ลอฮ์ต้าอาลา‬‬
‫ا ْلع ْصرَ‬ ‫أص إَل ْيَ فَ ْرَضَ ال ُّظ ْه إَر َأ ْرب َع ركعا َت َأدا ًءَ للإَ تعالى‬
‫ا ْلم ْغ إر َب‬ ‫‪ขา้ พเจา้ ตัง้ ใจละหมาดฟรั ฎซู ฮุ ร์ ิ ส่ีร่อก้าอัต ในเวลาเพอื่ อัลลอฮ์ตา้ อาลา‬‬
‫ا ْل إعشا َء‬ ‫أص إَل ْيَ ف ْر َض ا َْلع ْص إَر أَ ْرب َع ركعا َت َأدا ًءَ ل إَل تعالى‬
‫‪ข้าพเจา้ ต้ังใจละหมาดฟรั ฎอู ัศริ ส่รี ่อก้าอตั ในเวลาเพื่ออัลลอฮ์ต้าอาลา‬‬
‫َأص إَل َْي ف ْر َض ا َْلم ْغ إر إَب ثلا َث ركعا َت َأدا ًَء ل إَل تَعال َى‬
‫‪ข้าพเจ้าตง้ั ใจละหมาดฟัรฎมู ฆั ริบ สามรอ่ ก้าอตั ในเวลาเพอ่ื อลั ลอฮต์ า้ อาลา‬‬
‫أص إَل َْي ف ْر َض ا ْلَ إعشا إءَ َأ ْرب َع ركعاتَ َأدا ًَء لَإل تَعال َى‬
‫‪ขา้ พเจ้าต้ังใจละหมาดฟรั ฎอู ิชาอ์ สร่ี อ่ ก้าอตั ในเวลาเพอื่ อัลลอฮ์ต้าอาลา‬‬



* ข้ันตอนการประกอบศาสนพธิ ี (การละหมาดฟรั ฎูศุบฮิ) *

ขนั้ ตอนท่ี 1 อะซาน และการกล่าวรับอะซาน
อะซาน คือ การประกาศเชิญชวนให้มาละหมาด ผู้ที่กล่าวอะซานนั้น เรียกว่า [ َ‫] مؤ إذَن‬

ในข้ันตอนน้ีให้โรงเรียนส่งตัวแทนนักเรียนจำนวน 1 คน ทำการอะซานซุบฮิ โดยเว้นวรรคตอน
การอะซานเพ่ือให้นักเรียนผู้รับ การป ระเมินทั้งหมดกล่าวรับอะซาน โดยพร้อมเพรียงกัน และอยู่ใน
อาการสัมรวม จะตอ้ งนงิ่ ฟังและหยุดการกระทำใด ๆ

คำอาซานซุบฮิน้ันกลา่ วดังน้ี
]۲[ ‫] أَ ْشهَد ا َّنَ َمح َّم ًدا رس ْولَ الَل‬۲[ َ‫] أَ ْشهَد ا ْنَ لاإلَه اإلََّ الل‬۲[ ‫اَلَل ا ْكبرَ اللَ ا ْكب َر‬
. َ‫] اللَ ا ْكبرَ اللَ ا ْكبر‬۲[‫] ال َّصلاَة خ ْي َر إم َن ال َّن ْو إَم‬۲[ َ‫] ح ََّي على ا ْلفلا إح‬۲[ ‫ح ََّي على ال َّصلاَةإ‬

. َ‫لآ إإلهَ إالََّ الل‬

เม่อื มุอซั ซนิ กล่าวคำอะซานจบประโยคหน่ึง ๆ ใหผ้ ูไ้ ดย้ ินกล่าวตามทกุ ประโยค
แตส่ ำหรบั คำว่า [ ‫ ] ح ََّي عل َى ال َّصلاَإة‬และ [ ‫ ]ح ََّي عَل َى ا ْلفلا َإح‬ใหผ้ ู้ได้ยนิ กลา่ วรับวา่
[ ‫ ] لَ ح ْو َل و َل َق َّوَة إإ َّلَ إبال إَل ا ْلع إل َيإ ا ْلع إظ َْي إَم‬ส่วนคำว่า [ ‫ ] ال َّصلاَة خ ْي َر إم َن ال َّن ْو إَم‬นั้น ให้ผู้ได้ยินกล่าว
รับว่า : ] ‫[ َصَد َْقتَ وبر ْر َت‬

เมื่อเสร็จสิ้นการอะซานแล้วให้นักเรียนผู้ทำหน้าท่ีมุอัซซิน และผู้รับการประเมินทุกคนอ่านดุอาอ์
ดังตอ่ ไปนี้ :
‫َ آ إتَ َسيَإدنا مح َّمد إنَ ا ْلوَ إس ْيلَة‬، َ‫َ وال َّصلا إةَ اَ ْلَقا إئم إة‬، ‫[ الله ََّم ر َّبَ ه إذ إهَ ال َّد ْعوةإَ التَّا َّم إَة‬
‫ َإإ ّنَ َك‬، ‫ وا ْبع ْثَه ا ْلمقامَ ا ْلم ْحم ْودَ ا ّلَ إذ ْيَ وع ْدتَه‬، ‫وا َْلَف إض ْيلةَ وال َّشرفَ وال َّدرجةَ ا ْلعا إليةَ ال َّرفإ ْيعَة‬

] َ‫َل ت ْخ إلفَ ا ْل إم ْيعاد‬



ขั้นตอนท่ี 2 การจดั ระเบียบแถว การอิกอมะฮ์ และการกลา่ วรับอกิ อมะฮ์
เม่ือการอะซานในข้ันตอนท่ี 1 เสรจ็ ส้ินแล้วให้ผู้รับการประเมินทุกคนยืนจัดแถวการละหมาด

โดยสงบ ไมม่ ีช่องว่างระหว่างกัน และส้นเท้าตรงกนั และให้มุอซั ซินผู้ทำหนา้ ท่อี ะซานทำการอิกอมะห์
เชิญชวนให้เริ่มพิธีละหมาด โดยเว้นวรรคตอนการอิกอมะฮ์เพ่ือให้นักเรียนผู้รับการประเมินทั้งหมด
กล่าวรับโดยพรอ้ มเพรียงกันและอยใู่ นอาการสัมรวม เตรียมพรอ้ มท่ีจะเขา้ เฝา้ พระผู้เปน็ เจา้

คำอิกอมะฮก์ ลา่ วดงั น้ี
‫ ح ََّي عل َى‬. َ‫ أَ ْشهَد ا َّنَ مح َّم ًداَ رس ْولَ الل‬. َ‫ أَ ْشهَد ا ْنَ ل إالَه إا َّلَ الل‬. ‫اللَ ا ْكب َر اللَ ا ْكب َر‬

. ‫] لَآ إإلَه إَإ ََّل الَل‬۲[ ‫ الَل ا ْكب َر‬. ‫ ق َْد قام إَت ال َّصلاَة‬،َ ‫ ق َْد قام إَت ال َّصلاَة‬. ‫ ح ََّي عل َى ا ْلفلا إَح‬. ‫ال ََّصلاَإة‬

เมื่อมอุ ัซซิน กลา่ วคำอกิ อมะฮจ์ บประโยคหน่ึง ๆ ใหผ้ ู้ได้ยนิ กลา่ วตามทกุ ประโยค
แตส่ ำหรบั คำว่า [ ‫ ] ح ََّي عل َى ال َّصلا إَة‬และ [ ‫ ] َح ََّي عَل َى ا ْلفلا َإح‬ให้ผ้ไู ดย้ นิ กลา่ วรับวา่
[ ‫] َل ح ْو َل و َل َق َّوَة إإ ََّل إبال إَل ا ْلع إل َيإ ا ْلع إظ ْي إَم‬
เมอ่ื มอุ ซั ซินกลา่ วถึงคำว่า :
] ‫ ق َْد قام إَت ال َّصلاَة‬، ‫[ ق َْد قام إتَ ال َّصلاَة‬
ให้ผูไ้ ดย้ ินกลา่ วรับว่า : [ ‫] أقامها اللَ وَأَدامها‬

เมอื่ เสร็จสิ้นการอิกอมะฮ์แล้วให้ผรู้ บั การประเมินทุกคนอ่านดอุ าอ์ดังต่อไปน้ีอกี ครั้ง :
‫َ آ إتَ َسَإيدنا مح َّمد إنَ ا ْلوَ إس ْيلَة‬، ‫َ وال َّصلَا إةَ ا ْلقائإم إَة‬، َ‫[ الله َّمَ ر َّبَ ه إذ إهَ ال َّد ْعوةإَ التَّا َّم إة‬
‫ إَإنَّ َك‬، ‫ وا ْبع ْثهَ ا ْلمقاَم ا ْلم ْحم ْودَ ا ّلَ إذ ْيَ وع ْدتَه‬، َ‫وا ْلف إض ْيلةَ وال َّشرفَ وال ََّدرَج َة ا ْلعا إليَة ال َّرفإ ْيعة‬

] َ‫لَ ت ْخ إلفَ ا ْل إم ْيعاد‬

‫‪๗‬‬

‫‪ข้ันตอนท่ี 3 ยืนตรงหันหน้าไปทางกิบลัต เท้าห่างกันประมาณหน่ึงคืบ ตามองตรงไปท่ีจะซุญูด‬‬
‫์‪สำรวมจติ ใจมุ่งตรงตอ่ อลั ลอฮ‬‬

‫‪ข้ันตอนที่ 4 ตักบีร่อตุ๊ลเอียะห์รอม ด้วยการยกมือท้ังสองขึ้น โดยแบฝ่ามือไปข้างหน้า น้ิวห่างกัน‬‬
‫‪พอสมควร ปลายน้ิวชี้ได้ระดับกับใบหูด้านบน หัวแม่มือได้ระดับกับใบหูด้านล่าง แล้วกล่าวว่า‬‬

‫أص إَل َْي ف ْر َض ال ُّص ْبحَإ ر ْكعت ْي إَن َأدا ًَء لَلإ تعالى ่‪ พร้อมกับนกึ ในใจวา‬الَلُ اكب ُرَ‬
‫‪“ข้าพเจ้าตั้งใจละหมาดฟัรฎูซุบฮิ สองร่อก้าอัต ในเวลาเพื่ออัลลอฮ์ต้าอาลา” แล้วลดมือท้ังสองมาวาง‬‬
‫์‪ที่ใตอ้ กเหนือสะดอื โดยเอามอื ขวาจับข้อมอื ซ้าย แล้วอา่ นดุอาอ์อฟิ ติตาห‬‬

‫์‪ดุอาอ์อิฟติตาห‬‬
‫ال َُل َأَكب َُر كَِبي ًرَا َ‪ ،‬والحم َُد ل َِل ك ِثي ًرَا َ‪ ،‬و ُسَبحا َن ال َِل ُبكرًَة وأ ِصي ًَل َ‪ ،‬و َجه َُت وج ِه َي ِل َل ِذ َي‬
‫ومحيا َي‬ ‫و ُن ُس ِك َي‬ ‫ال ُمش ِر ِكي َن َ‪ِ ،‬إ ََن ص َل ِت َي‬ ‫فط َر ال َسماوا َِت وَا َلر َض َ‪ ،‬ح ِني ًفَا َُمس ِل ًمَا ومَا أنَا ِم َن‬
‫وأنَا ِم َن ال ُمس ِل ِمي َن ‪.‬‬ ‫ومَما َِت َي ل َِل ر ِّ َِب العال ِمي َن َ‪َ ،‬لش ِري َك ل ُه و ِبذ ِل َك ُأ ِمر َُت‬

‫ี้‪ขั้นตอนท่ี 5 อ่านซูเราะห์ฟาติฮะห์ และซูเราะห์อัลกาฟิรนู ตามลำดบั ดังน‬‬
‫์‪ซเู ราะฮอ์ ลั ฟาตฮิ ะห‬‬

‫بإ ْس إَم اللإَ ال َّر ْحمـ إَن ال َّر إح ْي إَم‪ .‬ا ْلح ْمَد ل إَل رَ إبَ ا ْلعاَ ل إَم ْي َن‪ .‬ال َّر ْحمـن ال َّر إَح ْي إمَ‪.‬‬
‫ما إل إَك ي ْو إمَ ال إدي إنَ‪ .‬إإ ّيَا َك ن ْعبدَ وإإيَّاكَ ن ْست إع ْي َن‪ .‬إإ ْه إدنا ال إَصرا َط ا ْلم ْست إق ْيَم‬

‫إصرا َط ا َّل إذ َْي َنَا ْنع ْم َت عل ْي إه َْم َ‪ ،‬غ ْي إَرا ْلم ْغض ْو إَب عل ْي إه َْم و َل ال َّضَا إل ْي َن‪.‬‬

‫ู‪ซูเราะหอ์ ัลกาฟริ น‬‬
‫ق ْلَياَأيُّهاَا ْلكافإرونَ‪َ .‬لَأ ْعبدَماَت ْعبدونَ‪َََ.‬ولَأنت ْمَعابإدونَماَأ ْعبَد‪َ .‬‬
‫ولَأناَعا إبدَ َّماَعبدتُّ َْم‪َََ.‬ولَأنت ْمَعابإدونَماَأ ْعبدَ‪َََ.‬لك ْمَ إدينك ْمَو إليَ إدي إنَ‬

‫่‪ข้นั ตอนที่ 6 รู่กวั ะอ์ คือกม้ เอามือท้าวเข่า ศรี ษะเสมอหลัง และหยดุ นง่ิ ครู่หนึง‬‬
‫ั้‪ُ 3 ครง‬سبحا َن ر ِّب َي الع ِظي َِم و ِبحم ِد َِه ‪พร้อมกับอ่าน‬‬



ขน้ั ตอนท่ี 7 เอียะอต์ ิดาล คอื เงยศีรษะจากรู่กวั ะอ์มายืนตรง แล้วอ่าน َُ‫س ِم َع اللَُ ِلمنَ ح ِمدَه‬
พร้อมยกมอื ขึ้นเหมอื นการตักบีร่อตลุ๊ เอียะหร์ อม
เมอื่ ตวั ตรงแล้วใหอ้ ่าน ‫ ر َبنا ل َك الحم َُد‬และลดมือลง

ข้ันตอนท่ี 8 สุญูด คือการลดตัวลงมาคุกเข่า เอาฝ่ามือวางบนพื้น น้ิวมือเหยียดตรงไปทางกิบลัต
แล้วกม้ ให้หนา้ ผากและจมกู วางบนพื้น ท้องน้ิวเท้ายนั พ้ืน หยดุ น่งิ ครูห่ นึ่ง พรอ้ มกับอา่ นดังน้ี

‫ ُسبحانَ ربِّ َي الَعلى و ِبحم ِد َِه‬3 ครัง้

การสญุ ดู อวัยวะทั้ง 7 ต้องถกู ท่ีพืน้ ได้แก่ 1.หน้าผาก 2.ฝ่ามือทง้ั สองข้างตลอดจนท้องนิ้ว
3.หัวเขา่ ท้ังสองขา้ ง 4.ท้องน้วิ เทา้ ทง้ั สองข้าง

ขั้นตอนที่ 9 น่ังระหว่างสองสุญูด คือการเงยศีรษะมาน่ังให้ตัวตรง เอาตาตุ่มเท้าซ้ายรองก้น ท้อง
นิ้วเทา้ ขวายนั พ้ืน ฝา่ มือวางบนขาอ่อน หยุดนิ่งคร่หู นึ่ง แล้วอา่ น
. ‫ واع ُفَ عنِّ َي‬، َ‫ وعافِنِي‬، َ‫ واه ِد ِني‬، َ‫ وار ُزق ِني‬، َ‫ وارفعَنِي‬، ‫ وارَحم ِن َي‬، ‫ر ِّ َِب اغ ِفر ِل َي‬

ข้นั ตอนที่ 10 สญุ ดู ครั้งที่สองให้ทำและอ่านเช่นเดยี วกบั สญุ ูดครั้งทีห่ น่ึง
ขั้นตอนที่ 11 ลกุ ขน้ึ จากสญุ ูดมายนื ตรงเพื่อทำร็อกอะฮท์ ีส่ อง
ข้ันตอนที่ 12 อ่านซเู ราะห์ฟาติฮะห์เช่นเดยี วกบั รอ็ กอะฮแ์ รก และซูเราะห์อัลอคิ ลาศ ตามลำดบั

ซเู ราะฮ์อัลอัลอิคลาศ
.َ‫ ول ْمَ يك ْنَ لَه كف ًوا أحد‬.‫ ل َْم ي إل ْدَ ول َْم ي َْو ل َْد‬.‫ َالل ال َّصَمَد‬.‫ق َْل هوالَل أحَد‬

ขั้นตอนที่ 13 รู่กัวะอ์ คอื ก้มเอามอื ทา้ วเข่า ศรี ษะเสมอหลัง และหยดุ น่ิงครู่หนึ่ง
พร้อมกับอ่าน ‫ ُسبحا َن ر ِّب َي الع ِظي َِم و ِبحم ِد َِه‬3 คร้ัง



ข้ันตอนท่ี 14 เอยี ะอต์ ิดาล คือเงยศรี ษะจากรู่กวั ะอ์มายนื ตรง แล้วอ่าน َُ‫س ِمعَ ال ُلَ ِلمنَ َح َِمَده‬
พร้อมยกมือขนึ้ เหมือนการตักบรี ่อตลุ๊ เอยี ะหร์ อม
เมอื่ ตัวตรงแล้วให้อา่ น َ‫ ربََنا لكَ الحم ُد‬และลดมอื ลง

ขั้นตอนท่ี 15 ยกมอื ขอดอุ าอ์ และอ่านดุอาอ์กุนูต ดงั นี้
ดุอาอ์กนุ ตู

‫ وبا ِركَ ِل َي ِفيما‬، ‫ وتولَ ِن َي ِفيمنَ تولَي َت‬، َ‫َ وعافِنِيَ فِيمنَ عافيت‬، ‫اَللَِّـ ُه ََم اه ِد ِن َي ِفيم َن هدي َت‬
َ‫ وإِنَهَُ لَ ي ِذَلَ مَن‬، ‫ فإِ َن َك تق ِض َي ولَ ُيقض َى علي َك‬، ‫َ و ِق ِن َي ِبرحم ِت َك ش ََر مَا قضي َت‬، ‫أعطي َت‬
، َ‫َ فل َك الحم ُدَ على ما قضيت‬، َ‫َ تبارك َت ر َبنا وتعاليت‬، َ‫َ ولَ ي ِعزَ م َن عادَيت‬، ‫والَي َت‬

. َ‫ وعلى آ ِل ِهَ وصحبِ َِه وس َلم‬، َ‫ وص َلى اللَُ على س ِيّ ِدنا ُمح َمد‬، ‫أستغ ِف ُركَ وأتُو َُب إِلَي َك‬

ขั้นตอนที่ 16 สุญูด คอื การลดตัวลงมาคกุ เข่า เอาฝ่ามือวางบนพ้ืน น้ิวมือเหยียดตรงไปทางกบิ ลัต
แลว้ ก้มใหห้ นา้ ผากและจมกู วางบนพื้น ท้องนวิ้ เทา้ ยันพน้ื หยดุ น่ิงครหู่ น่งึ พร้อมกบั อ่านดงั นี้

‫ ُسبحا َن ر ّبِ َي الَعلى و ِبحم ِد َِه‬3 ครั้ง

ข้ันตอนท่ี 17 น่ังระหว่างสองสุญูด คือการเงยศีรษะมานั่งให้ตัวตรง เอาตาตุ่มเท้าซ้ายรองก้น ท้อง
นว้ิ เทา้ ขวายันพ้ืน ฝา่ มือวางบนขาออ่ น หยดุ นิง่ คร่หู นง่ึ แล้วอ่าน
. ‫ واع ُفَ عنَِّ َي‬، َ‫ وعا ِفنِي‬، ‫ واه ِد ِن َي‬، ‫ وار ُزق ِن َي‬، َ‫ وارفع ِني‬، ‫ وارحم ِن َي‬، ‫ر ِّ َِب اغ ِفر ِل َي‬

ขั้นตอนท่ี 18 สญุ ดู คร้ังทส่ี องให้ทำและอ่านเช่นเดียวกบั สญุ ูดคร้ังที่หน่ึง

‫‪๑๐‬‬

‫‪ขั้นตอนท่ี 19 น่ังตะชะฮ์ฮุดคร้งั สุดทา้ ย โดยให้กน้ ราบกับพ้ืน เอาเท้าซา้ ยสอดไปใต้แขง้ เท้าขวา‬‬
‫ี้‪ปลายน้ิวเท้าขวายันพ้นื มือขวาวางบนขาอ่อน กำมือยกเว้นน้วิ ชี้ และอ่านตะชะฮ์ฮดุ ดังน‬‬

‫التَ َِحيَا ُتَ ال ُمباركا ُتَ ال َصلوا ُتَ ال َطيِّبا ُتَ ل ِلَ ‪ َ،‬ال َسل ُمَ عليكَ أيها النَبِيَ ورحمَةُ ال ِلَ وبركاتُهَُ‬
‫‪ َ،‬ال َسل ُمَ علينا وعلى ِعَبا ِدَ اللَِ ال َصا ِل ِحي َن ‪ َ،‬أشه َُد أنَ لَ إِلهَ ِإلَاللَُ ‪ َ،‬وأشه ُدَ أَ َنَ ُمح َم ًدَا‬
‫ر ُسو ُلَ الَِل ‪ ،‬ال َّلِـ ُه ََم ص ِّلَ على ُمح َمَد‪ .‬و َعل َى آ َِل ُمح َمَدَ‪ ،‬كمَاص َلي َتعل َى ِإبرا ِهيَمَ‪ ،‬وعل َى آ َِل ِإبرا ِهيَم‬
‫َ‪ ،‬وبا ِر َك عل َى ُم َح َمَدَ‪ ،‬وعل َى آ َِل ُمح َمَد َ‪ ،‬كمَا بارك َت عل َى ِإبرا ِهيَم َ‪ ،‬وعل َى آ َِل َِإبرا ِهَيَم ِف َى العال ِمي َن َ‪ِ ،‬إ َن َك‬

‫ح ِميَد م ِجيَد‪.‬‬

‫‪ขนั้ ตอนที่ 20 ให้สลามครงั้ ที่หนงึ่ โดยผนิ หน้าไปทางขวาพรอ้ มกบั กล่าวว่า‬‬
‫ال َسل ُمَ علي ُكمَ ورحمةَُ ال ِلَ‬

‫‪หลังจากสลามครัง้ ทห่ี นึ่งใหอ้ ่าน‬‬
‫ألََلـ ُه َمَ إِ َِّن َي أسئلُ َك ِرضاكَ واَلجَ َنَة‬

‫‪และกลา่ วสลามคร้ังที่สองโดยผนิ หนา้ ไปทางซ้าย หลงั จากสลามคร้ังทส่ี องให้อา่ น‬‬
‫وأ ُعوذُ ِب َك ِمنَ سخ ِط َك والنَا َِر‬

‫‪ขณะลบู หน้าใหอ้ า่ น‬‬
‫أل ََلـ ُه ََم أذَ ِهَ َب ع َِّنى اله َمَ والحزنَ‬

๑๑

ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ (Love of nation, religion and king)

เปน็ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ที่แสดงออกถึงการเปน็ พลเมอื งดีของชาติ ธำรงไวซ้ ่ึงความเป็นชาติ ศรทั ธา
ยึดม่ันในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เด็กที่มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ จะเป็นเด็กที่
แสดงออกถึง การเป็นพลเมืองดีของชาติ มคี วามสามัคคี ปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็นไทย ปฏิบัติตนตามหลัก
ศาสนาท่ตี นนบั ถือ และแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษตั ริย์

ชาติ

หมายถึง แผ่นดินท่ีมีประชาชนยึดครอง มีอาณาเขตท่ีแน่นอน มีการปกครองเป็นสัดส่วน มีผู้นำเป็น
ผปู้ กครองประเทศและประชาชนท้ังหมด ด้วยกฎหมายที่ประชาชนในชาติน้ันกำหนดข้ึน เช่น ประเทศไทยมีการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข มีสิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนา
มีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณี เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติของตนเอง สืบทอดกันมาจากบรรพ
บุรุษเป็นเวลายาวนาน ผู้ที่มีความรักชาติ จะช่วยกันปกป้องรักษาชาติ ไม่ให้ศัตรูมารุกรานหรือทำลายเพ่ือให้
ลูกหลานได้อาศยั ตอ่ ไป ให้อยรู่ ว่ มกันด้วยความสงบสุขสืบไป

ศาสนา

ศาสนาทุกศาสนามีไว้เพื่อสอนให้มนุษย์ละช่ัว ประพฤติดี ผู้ท่ีรักศาสนา จะเป็นผู้ท่ีนำคำสอนของแต่ละ
ศาสนา ไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ละความช่ัวกระทำแตค่ วามดี และทำจติ ใจให้สะอาดปราศจากเคร่ือง
เศร้าหมอง คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ส่วนผู้ท่ีไม่รักศาสนา จึงเป็นผู้ท่ีไม่นำคำสอนของศาสนาน้ันไป
ประพฤติปฏิบัติ ไมล่ ะความช่ัว ไมป่ ระพฤติดี ไม่ชำระจิตใจให้สะอาดปราศจากกิเลส ปล่อยใหค้ วามโลภ ความโกรธ
ความหลงครอบงำจิตใจ

สำหรับผูน้ ับถือศาสนาอิสลามนัน้ มีหนา้ ที่ประพฤติ ปฏบิ ัติตนในส่ิงที่อลั ลอฮ์ทรงใช้ ละเว้นห่างไกลจากสิ่ง
ท่อี ัลลอฮ์ทรงหา้ ม ยดึ ถอื แบบอยา่ งในการดำเนินชวี ติ จากพระบรมศาสดานบีมุฮัมมัด َ‫ﷺ‬

พระมหากษตั รยิ ์

หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน ผูท้ ่ีเป็นพระประมุขของประเทศ มีหน้าท่ีปกครองประชาชนพลเมืองในประเทศ
น้ันใหอ้ ยู่ดีมีสุข ตามกฎหมาย ตามครรลองคลองธรรมจารีตประเพณีวฒั นธรรมของชาตินั้น ๆ เช่น ประเทศไทย มี
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวฯ ทรงเป็นพระประมุข ทรงปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน
ชาวสยาม ทรงให้แนวพระราชดำรเิ ศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางในการดำเนินชวี ิตของปวงชนชาวไทย นำความ
เจริญรุ่งเร่ืองความผาสุขมาส่พู สกนกิ รถ้วนหนา้ มคี วามเป็นอยอู่ ยา่ งร่มเย็นเป็นสขุ มคี วามรักสามคั คีกลมเกลียว เรา
จงึ ควรประพฤตติ นเปน็ คนดี ถวายเปน็ พระราชกุศล ถวายความจงรกั ภักดีแดพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ

๑๒

ดงั นนั้ สถาบนั ท้ัง ๓ สถาบัน จึงมีบญุ คณุ ตอ่ เรา เพราะ
ชาติ คือ แผน่ ดนิ ที่เราอยู่อาศัย
ศาสนา คอื คำสอนของทุกศาสนา ที่สอนใหเ้ ราทุกคนเปน็ คนดี
พระมหากษตั รยิ ์ คือ ผู้ปกครองบา้ นเมอื งโดยธรรม เพอ่ื ความสงบสขุ ของพสกนกิ รชาวไทย

**เราทุกคนจึงควรรักชาติ รักศาสนา รักพระมหากษัตริย์ ด้วยใจอันบริสุทธ์ิ ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม
เพ่ือการอย่รู ่วมกันอยา่ งสนั ตสิ ุข**

‫اَل َّصلاَُة‬
การละหมาด

[ َ‫ ] ال َّصلاة‬คือ การนมัสการกราบต่ออัลลอฮ์ วาญิบเหนือมุสลิมทุกคนทั้งชายหญิง วันหน่ึงกับคืนหนึ่ง 5
เวลาเป็นประจำ โดยกล่าวด้วยวาจา ปฏิบัติด้วยร่างกาย พร้อมด้วยใจแน่วแน่ นอบน้อมถ่อมตน มุ่งตรง
ต่ออัลลอฮ์องค์เดียว ท้ังต้องถูกด้วยระเบียบข้อบังคับ และกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้อย่างครบถ้วน ซ่ึงเริ่มจากคำว่า
[ ‫ ] اللَ أ ْكب َر‬และไปสนิ้ สุดที่คำว่า [ َ‫] ال َّسلاَمَ عل ْيك ْم‬

ย่อมเปน็ ประทีปดวงเดน่ ที่มุสลิมต้องเทดิ ไว้ ทัง้ ยงั เป็นส่งิ ท่ีแสดงให้เห็นว่า บ่าวท่ีดนี ั้นต้องเข้าหาอลั ลอฮ์ ดว้ ย
การนมัสการละหมาด เพื่อระลึกถึงพระมหากรณุ าธคิ ุณของท่าน ท่ีให้ความกรุณาเมตตาอยา่ งมากมาย และยงั เป็น
การจำแนกไดว้ า่ แตล่ ะคนนัน้ เป็นมุสลมิ หรือกาเฟร จะอยู่ในข่ายแห่งความดี หรอื จะอยู่ในปลกั แหง่ ความชั่ว

ผู้ท่ีรักษาไว้ได้ตามเวลาที่กำหนดย่อมได้ชื่อว่า เป็นผู้ประเสริฐ ผู้ท่ีทอดท้ิงหรือละเว้นเสีย ย่อมได้ชื่อว่าผู้
หายนะ และยังจะถกู ประณามวา่ เปน็ ผ้ทู ำลายศาสนาอีกดว้ ย

ฉะนนั้ ผู้ท่ีเจริญและอหี ม่านท่ีแข็งแกร่งแล้ว เขาจะลมื การนมสั การละหมาดไมไ่ ดเ้ ลย
[ َ‫ ] ال َّصلاة‬นั้น อัลลอฮ์ได้ทรงฟัรฎูละหมาดในคืนเมียะอ์รอจแก่น่าบีมุฮัมมัด َ‫ ﷺ‬อันเป็นที่รักของ
พระองค์ และดำรงไว้ในตำแหน่งที่สูงย่ิง อัลลอฮ์ได้ทรงย้ำอย่างแม่นยำ ซึ่งปรากฏในคัมภีร์อัลกุรอ่านไว้มากแห่ง
ทั้งนี้ เป็นการกำชับให้ตระหนักในคำสั่งของพระองค์ว่า ละหมาดนั้นมีความสำคัญอย่างไร จะได้รับผลสนอง
เพียงไหน และจะได้รับโทษประการใด

๑๓

การละหมาดฟรั ฎู
อัลลอฮ์ทรงกำหนดเหนือพวกเรา การละหมาด 5 เวลา ในวันหนงึ่ กบั คืนหน่งึ คอื :

1. ละหมาดซุบฮิ มี 2 ร็อกอะฮ์
เริ่มเข้าเวลาตัง้ แตแ่ สงอรณุ จริงขึ้น หมดเวลาดวงอาทติ ย์ขนึ้

2. ละหมาดซฮุ ร์ ิ มี 4 รอ็ กอะฮ์
เริ่มเข้าเวลาตัง้ แต่ดวงอาทิตย์คลอ้ ย หมดเวลาเมอ่ื เงาของส่ิงใดเทา่ ตวั ของมัน ไมน่ บั เงาเทย่ี ง

3. ละหมาดอศั ริ มี 4 ร็อกอะฮ์
เรมิ่ เข้าเวลาต้ังแตห่ มดเวลาซฮุ ์ริ หมดเวลาเมอื่ ดวงอาทติ ยต์ ก

4. ละหมาดมฆั ริบ มี 3 ร็อกอะฮ์
เรมิ่ เขา้ เวลาตง้ั แต่ดวงอาทติ ย์ตก หมดเวลาเมื่อแสงแดงท่ขี อบฟา้ ลับหายไป

5. ละหมาดอชิ าอ์ มี 4 รอ็ กอะฮ์
เรม่ิ เขา้ เวลาเมอื่ แสงแดงท่ีขอบฟ้าลับหายไป หมดเวลาเมือ่ แสงอรุณจรงิ ข้ึน

ُ‫شر ْوطُ ال َّصل َاة‬

กฎเกณฑ์ของการละหมาด

กฎเกณฑ์ของผู้ทจ่ี ำเปน็ ต้องละหมาดมี 6 ปะการ

1. เปน็ มสุ ลิม ไม่วาญิบละหมาดสำหรบั กาฟริ มาแต่เดมิ และไม่วาญบิ ให้ชดใช้ เม่อื เขามารบั นับถือศาสนาอิสลาม

2.บรรลุนิติภาวะ การละหมาด ไม่บังคับสำหรับเดก็ ชาย-หญิง แต่ผู้ปกครองจะต้องใช้ให้ละหมาดเมื่อเขามีอายุ 7ขวบและ
ผู้ปกครองต้องพิจารณาลงโทษในเม่ือเขาละทิ้งละหมาด หลังจากเขามีอายุครบ 10 ขวบ ดังพระวจนะของท่านน่าบีฯ‫َﷺ‬
วา่ : [ พวกท่านทง้ั หลาย จงใชใ้ ห้เดก็ ของทา่ นละหมาด เมื่อเขามีอายุ 7 ขวบ และจงลงโทษเมอ่ื เขาท้งิ ละหมาด เม่ือ
เขามีอายุ 10 ขวบ ]

3. มสี ติสัมปชญั ญะ ไม่วาญบิ สำหรบั คนวกิ ลจรติ เปน็ ลมและคนเมา [ โดยไม่เจตนา ]

4. ปราศจากเฮด นฟิ าส , ไม่วาญิบละหมาดสำหรบั ผ้ทู ่ีมีเฮด นิฟาส และไมต่ ้องกอฎอด้วย

5. คำประกาศศาสนาของท่านนา่ บีมฮุ ัมมัด ‫ ﷺ‬ถึงเขาผู้นั้นแล้ว ไมว่ าญบิ สำหรบั ผ้ทู คี่ ำประกาศศาสนาไม่ถึงเขาผู้นัน้

6. มกี ารไดย้ นิ หรือมองเห็น ไมว่ าญิบสำหรับผูท้ ่หี นวกและบอดท้งั สองอยา่ งพร้อมกนั กอ่ นรูจ้ ักเดยี งสา

๑๔

‫ُأَ ْر َكانُ ال َّصلَاُةُ ثَلَاُثَةَُ َع َش َرُ َش ْيئًُا‬
ร่กู น่ ละหมาดมี 13 ประการ

1. เหนยี ต ขณะทก่ี ล่าว [ ‫] ت ْكبإ ْيرةَ َا ْ إلَ ْحرا إَم‬
2. ยืนตรงเท่าท่ีสามารถจะยืนได้ [ หากไม่สามารถยนื ได้ก็ใหน้ ง่ั หากไม่สามารถน่ังได้กใ็ ห้นอน ]
3. [ ‫ ] ت ْك إب ْيرَة َا ْ إلَ ْحرا إَم‬คือ ใหก้ ล่าวคำว่า [ ‫] اللَ أ ْكب َر‬
4. อา่ นฟาติฮะห์ คือ การอ่าน [ َ‫ ] َا ْلح ْمدَ ل إل‬จนจบตน้ พร้อมดว้ ย [ َ‫] إب ْس إمَ اللَإ ال َّر ْحم إَن ال َّرَ إح ْي إم‬
5. ก้มรู่กวั ะอ์ พรอ้ มกบั หยดุ นง่ิ ครู่หนง่ึ
6. เงยศรี ษะข้ึนจากรู่กัวะอ์มายืนตรง พรอ้ มกับหยุดนิง่ ครู่หน่งึ

7. สุญดู พร้อมกบั หยุดนิ่งครูห่ น่ึง

8. นง่ั ระหว่างสองสุญูด พรอ้ มกับหยดุ น่งิ ครูห่ นึง่
9. การนงั่ ตา้ ชะฮ์ฮุด ครง้ั สดุ ท้าย
10. อา่ น [ ‫ ] تش ُّهَد‬คอื การอา่ น [ ‫ ] التَّ إح َّيا َت‬คร้งั สดุ ท้ายคอื
‫ ال َّسلاَم‬،َ ‫ ال َّسلاَم عل ْي َك أ ُّيهَا ال َّن إب َُّي ور ْحمَة ال إَل وبركاتَه‬،َ ‫[ ال َّت إح َّيا َت ا ْلمباركاتَ ال َّصلوا َت ال َّط إيباتَ ل إَل‬

] ‫ وأ ْشهَد أ ََّن مح َّم ًدَا رس ْو َل ال إَل‬،َ ‫ أ ْشهَدَأ َْن َل إإَلَـَه إإ ََّل الَل‬،َ ‫عل ْينَا وعل َى إعبا إَد ال إَل ال َّصا إل إح ْي َن‬
11. อา่ นซอละหวาตน่าบี [ เม่ือต้าชะฮฮ์ ุดคร้ังสดุ ทา้ ย ] คอื การอา่ นวา่ [ َ‫] الله ََّم ص إلَ على س إي إدنا مح َّمد‬
12. ให้สลามครัง้ ที่ 1 คอื การกล่าววา่ : [ َ‫] ال َّسلامَ عل ْيك َْم َو َر ْحَمَة ال إل‬
13. ใหเ้ รยี งลำดับตง้ั แต่ขอ้ 1 ถึง ขอ้ 12 [ ถ้าสลบั หรอื ละเวน้ ข้อหน่ึงขอ้ ใด การละหมาดน้นั ใช้ไม่ได้ ]

๑๕

[ ‫ ] َصَلةٌُا ْل َج َما َع ُة‬: [ ละหมาดญะมาอะฮ์ ]

] ‫ سنَّةَ مؤ َّكدَة‬: ‫[ صلاَة ا ْلجماع إَة‬
[ ‫ ] صلاةَ ا ْلجماع إَة‬หรือ [ ละหมาดญะมาอะฮ์ ] นน้ั เป็นสุนัตมอู่ ักก๊ัด
[ ‫ ] صلاةَ ا ْلجماع إَة‬หรอื [ ละหมาดญะมาอะฮ์ ] น้ัน [ คือการละหมาดรวมกนั ต้ังแตส่ องคนขึ้นไป โดยคน
หนงึ่ เปน็ อิหม่าม [ ผนู้ ำ ] อีกคนหน่งึ เปน็ มะมมู [ ผู้ตาม ]
บางท่านว่า : สำหรับผู้ชายเป็นฟัรฎูกิฟายะฮ์ เพราะการละหมาดญะมาอะฮ์สำคัญมาก พระน่าบีฯ ‫ َﷺ‬ถือเป็นกิจวัตร
สำคัญย่ิง พระองค์ได้ทรงบอกความสำคัญของละหมาดญะมาอะฮไ์ วว้ ่า :

] ‫[ صلاةَ ا ْلجماع إَة أ ْفضلَ إم ْنَ صلاةإَ ا ْلف إَذ إبس ْبعَ و إع ْش إر ْينَ درجَةً ] [ متَّف َق عل ْي إَه‬
[ ละหมาดญะมาอะฮ์นน้ั มีคุณคา่ หรือมีความประเสรฐิ กวา่ ละหมาดคนเดยี วถึง 27 เทา่ ]

[ รายงานสอดคลอ้ งกนั โดยบคุ อรยี ์และมสุ ลิม ]

ระเบยี บของละหมาดญะมาอะฮ์
1. ผู้ที่เป็นมะมูมจะต้องเหนียตตามอิหม่าม ส่วนอิหม่ามจะไม่เหนียตว่าตนเป็นอิหม่ามก็ได้ ชายท่ีมิใช่ทาส
ละหมาดตามทาสได้
2. มะมูมชายยอมให้ละหมาดตามเด็กที่ร้เู ดยี งสา [ ‫ ] مم إي َز‬ได้
3. ชายจะละหมาดตามหญงิ ไม่ได้
4. มะมูมที่อ่านกุรอา่ นถูกตอ้ งชดั เจนดี จะตามคนท่อี า่ นไมถ่ กู ตอ้ งไม่ชดั เจนไม่ได้
5. มะมูมจะตอ้ งรู้การเคล่อื นไหวของอหิ มา่ มทุกอริ ิยาบถ ถึงแม้จะมีเครื่องกน้ั ก็ตาม

ระเบียบการยนื ของมะมมู
ถ้ามะมูมคนเดียว ต้องยืนใกล้เบื้องขวาของอิหม่ามต่ำลงมาเล็กน้อย ถ้ามีคนมาละหมาดอีก ให้มะมูมคนมาทีหลงั ยืน
ข้างซา้ ยมะมมู คนแรกตรงกับอิหม่าม ใหย้ นื ตำ่ ลงมาเล็กนอ้ ย
เมอื่ มะมมู คนหลังตักบีรแล้ว ใหอ้ ิหมา่ มก้าวไปข้างหนา้ เลก็ น้อย แล้วมะมมู คนหลัง ก้าวหน้าข้ึนไปเคียงข้าง
มะมูมคนแรก หรือให้มะมูมคนแรกถอยลงมายนื ข้างมะมูมคนหลังกไ็ ด้
ถา้ มีมะมมู ตง้ั แต่สองคนขน้ึ ไป ก็ให้ยนื เข้าแถวหลังอิหม่าม สำหรับมะมมู หญิงนนั้ ตอ้ งยนื ขา้ งหลังอิหมา่ มเสมอไป

๑๖

วธิ ลี ะหมาดญะมาอะฮ์

1. มะมมู ต้องตักบรี ่อตุ้ลเอ๊ยี ะห์รอม หลังจากอิหม่ามตักบีรแล้ว
2. มะมูมต้องไม่กระทำบรรดารู่ก่นเฟียะอ์ลีย์ ก่อนอิหม่ามเกินกว่า 2 รู่ก่นเฟียะอ์ลีย์ และไม่ล่าช้าเกินกว่า
2 รกู่ น่ เฟียะอล์ ยี ์ โดยไม่จำเป็น
3. ถ้ามะมูมมาตักบีรร่อตุ้ลเอีย๊ ะห์รอม ขณะที่อิหม่ามจะรู่กัวะอ์หรือกำลังรูกัวะอ์ มะมูมต้องรู่กัวะอ์ตามอิหม่าม
ทันที แม้แต่อ่านฟาติฮะห์ยังไม่จบ หรือยังไม่ได้อ่านก็ตาม ถือว่าได้ร่อก้าอัตน้ันแล้ว ท้ังน้ี มะมูมต้องมีฏุมะอ์นีนะฮ์ใน
รู่กัวะอ์พร้อมกับอิหมา่ ม
4. ผู้ท่ีมาตามอิหม่าม แต่กระทำยังไม่ครบจำนวนร่อก้าอัตของละหมาดน้ัน ๆ ก็ให้ผู้นั้นทำจนครบตาม
จำนวนรอ่ กาอัตทข่ี าดไป หลงั จากอหิ ม่ามใหส้ ลามเรยี บรอ้ ยแล้ว
5. ถา้ มะมูมตกั บีร่อตุ้ลเอ๊ยี ะหร์ อม เมื่ออหิ ม่ามขึน้ จากรกู่ ัวะอ์แลว้ ก็ใหม้ ะมูมน้นั ทำตามอหิ ม่ามตอ่ ไป แตไ่ ม่
นบั วา่ ตนได้รอ่ กา้ อตั นัน้
6. ถ้ามะมูมมาตักบีร่อตุ้ลเอี๊ยะห์รอม ขณะอิหม่ามกำลัง ซุญูด หรือนั่งอ่านต้าฮียะฮ์ ก็ให้มะมูมปฏิบัติตาม
อิหม่ามไปเท่าท่ีจะทำได้ แต่ไมน่ บั ว่าตนไดร้ อ่ กาอัตน้นั เช่นกนั

เหตทุ ีท่ ำให้เสียละหมาดมี 11 ประการ
1. กลา่ ววาจาโดยเจตนา [ ทั้งทรี่ ู้วา่ เปน็ ขอ้ ห้าม และรู้วา่ ตนอยูใ่ นละหมาดด้วย ]
2. การเคลอ่ื นไหวมาก ๆ ซึง่ ต่อเนอื่ งกัน [ เช่น เดนิ 3 กา้ วติด ๆ กนั จะมเี จตนาหรือไม่ก็ตาม ]
3. ปรากฏว่ามีหะดัษเล็กหรือใหญ่เกิดข้ึน [ เช่น รู้ว่าเสียน้ำละหมาด มีอสุจิหรือเฮดเคล่ือนไหลออกมาใน
ขณะที่ละหมาด ]
4. มีนะญิสทีศ่ าสนาไม่ยอมอภัยให้ ปรากฏขึ้นทเ่ี ส้อื ผ้า ร่างกาย หรือสถานท่ี ๆ ละหมาดนน้ั
5. เปิดส่วนหน่ึงของร่างกายที่มีกฎเกณฑ์ให้ปิดโดยเจตนา [ หากถูกเปิดด้วยส่ิงอื่น แต่สามารถปิดได้โดยฉับพลัน
ละหมาดน้ันไมเ่ สีย ]
6. เปล่ียนการเหนียตเป็นอื่น [ เช่น นึกเลิกละหมาด หรือนึกเลิกละหมาดเพื่อเหตุใดเหตุหน่ึง อาทิ เด็ก
ร้องไห้ ฝนตก เปน็ ตน้ ]
7. ผินหน้าอกออกจากกิบลัต โดยเจตนาหรือถูกบังคับก็ตาม แม้จะผินกลับมาทันทีทันใด [ การ
ละหมาดน้ันก็ใช้ไม่ได้ หากลืมหรือไม่รู้ว่าเสียละหมาด และผินกลับโดยเร็วก็ไม่เสียละหมาด ]
8 – 9. การกิน การด่ืม [ จะมากหรือน้อยก็ตาม แม้แต่การกลืนน้ำลายท่ีมีส่ิงอ่ืนเจือปน ก็เสียละหมาด
เชน่ เดียวกนั แต่น้ำลายทสี่ ะอาดยอมใหก้ ลนื ได้ ]
10. การหัวเราะ [ คือ การเปล่งเสียงหัวเราะออกมา ซึ่งปรากฏต้ังแต่ 2 อักษรข้ึนไป หรืออักษรเดียวท่ี
เข้าใจความหมายได้ แต่การหัวเราะเพียงเล็กน้อยทีไ่ มส่ ามารถอดกลั้นไว้ได้ ไมเ่ สียละหมาด ]
11. ตกมรุ ตดั [ คือ ส้ินสภาพจากการนบั ถือศาสนาอสิ ลาม จะด้วยกิรยิ า วาจา หรอื จติ ใจกต็ าม ]

๑๗

มารยาทในอิสลาม

ทกุ คนมีหนา้ ทตี่ ้องประพฤติ ทัง้ ที่เกี่ยวกับตัวเอง ต่อสังคม และต่ออัลลอฮ์ หนา้ ทีส่ ำคญั เบ้ืองตน้ ท่ีต้อง
รกั ษาไวอ้ ย่างเคร่งครดั มดี ังตอ่ ไปนี้

มารยาทต่ออัลลอฮ์
หน้าที่ของบุคคลพึงแสดงออกและรู้สึกต่อองค์พระผู้เป็นเจ้าน้ัน เป็นหน้าท่ีสำคัญยิ่งเป็นอันดับแรก และ

ความสำเร็จในการประพฤติตนตามหนา้ ทีด่ ังกล่าว จะเปน็ เคร่อื งหมายแสดงถึงความสำเรจ็ ในหนา้ ทีอ่ ่ืน ๆ ด้วย
หากบุคคลไมย่ อมเครง่ ครัดในหน้าท่ีของตนเองต่อองค์พระผู้เป็นเจ้าแลว้ เขาจะเคร่งครัดในหน้าทต่ี ่อบุคคลอนื่ ๆ

ได้อยา่ งไร ?
หนา้ ท่ตี ่อพระผู้เป็นเจา้ มมี ากมาย และท่สี ำคัญย่งิ จะตอ้ งรกั ษาไว้อยา่ งน้อยใหค้ รบ 14 ประการ คือ :
1. ให้ลดสายตาสู่เบ้ืองต่ำ และเดิน น่ัง นอน ในท่าทีอันถ่อมตน ด้วยความรู้สึกนอบน้อมในพระผู้เป็นเจ้า

และสำนึกว่าตนเองเป็นข้าทาสของพระองค์
2. หมั่นระลกึ ถึงมหาอำนาจและอานุภาพของอัลลอฮ์ ท่ีได้ทรงบันดาล ทรงประทาน ทรงบริหาร ทรงควบคุม ท้ัง

แก่ตัวเองและมวลสรรพส่ิงทั้งหลาย พยายามตัดทอนความกังวลในกิจการต่างๆ ทางโลก ให้สนใจเฉพาะเท่าที่จำเป็น
และท่ีเป็นหน้าที่ของตนเองเท่านั้น และเกียรติยศ ตำแหน่งต่างๆ ไม่มีความปรารถนา เกียรติและตำแหน่ง เป็น
ของอัลลอฮ์ เม่ือจิตหม่ันระลึกถึงอัลลอฮ์ตลอดเวลา จึงไม่สนใจท่ีจะได้ส่ิงนั้นมาเป็นของตนเอง เรายอมรับแต่เพียง
อัลลอฮ์องค์เดยี ว

3. อย่าพูดจาเพ้อเจ้อไร้สาระ หรือพูดมาก ควรจะเลือกพูดเฉพาะที่เห็นว่ามีคุณประโยชน์โดยแท้จริง เวลาส่วน
ใหญ่ให้ใช้กับความสงบเสง่ียม งดพูดจาใด ๆ เพราะการสงบเสง่ียมนั้น จะช่วยผลักดันมารร้ายให้ออกพ้นรัศมีไปได้
มารร้ายจะเขา้ มาอาศัยอย่รู ่วมกับทุกคนที่ชอบพูดมาก และแล้วคนนนั้ ก็ผดิ มาก ตามอัตราคำพดู ที่ผิดน้ัน

4. ให้สงบเสงี่ยมสำรวม อวัยวะแต่ละส่วนไม่เคล่ือนไหวใดๆ ในทางไร้สาระ แต่ละครั้งที่จะเคล่ือนไหว เช่น มือ
เท้า กใ็ หใ้ ช้ไปในทางทีเ่ ป็นประโยชน์ จะเป็นประโยชนท์ างร่างกายหรือจติ ใจก็ตาม

5. คำส่ังใช้ของอัลลอฮ์ให้รีบปฏบิ ัติเมื่อถึงเวลา เช่น ละหมาด ให้รบี ทำทนั ทีที่ถึงเวลา การออกซะกาตทาน กเ็ ช่น
เดียวกัน เมอ่ื ครบเงือ่ นไขกบ็ ริจาคทนั ที และเชน่ เดียวกับบรรดาความประพฤติอนื่ ๆ

6. สิ่งใดท่ีอัลลอฮ์หา้ มไว้ จะต้องห่างไกลอยา่ งรีบด่วน อย่าเข้าใกลเ้ ปน็ อนั ขาด
7. อย่าคัดค้านอำนาจของอัลลอฮ์ ยามเม่ือพบเห็นพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ใด ๆ อุบัติข้ึนกับตนเองและผู้อื่น ส่ิงใด
อุบัติขึ้น สิ่งน้ันจะตอ้ งถือว่า เป็นไปโดยการกำหนดของอัลลอฮ์ท้ังสิ้น อย่าคัดค้านในใจ หรือกล่าวแสดงคำพูดใด ๆ อันชี้บ่ง
ถึงความไม่พอใจสิ่งนั้น ยกเว้นส่ิงดังกล่าว เป็นการกระทำอันผิดต่อพระธรรมบัญญัติของศาสนา ก็ให้กล่าวคัดค้านหรือ
ตักเตือน เพ่ือการแก้ไขทันที ทง้ั นี้ หากการตักเตือนนั้น บรรลผุ ลให้ผู้กระทำดังกล่าว งดเว้นและสำนึกได้ แต่ถ้าการวา่ กล่าว
ตกั เตือนไม่บังเกดิ ผล เนอ่ื งเพราะผทู้ ำผิด ไมย่ อมรบั ฟงั และไมส่ นใจใยดี กใ็ ห้สงบเงียบไว้ เพราะพูดออกไปก็ไร้ประโยชน์

๑๘

8. หม่ันระลึกถึงอัลลอฮ์ ทั้งการกล่าวถึงพระนามของพระองค์ การนำเอาอัลกุรอ่านมาอ่าน การวอนขอ
ต่ออัลลอฮ์และการใช้ปัญญาของตัวเอง พิจารณาธรรมชาติต่างๆรอบตัว เพ่ือเป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึงความมีอยู่
จรงิ ของพระองค์

9. หมัน่ ใครค่ รวญถึงอำนาจและอานุภาพของอัลลอฮ์ พรอ้ มกบั ต้งั จติ สมาธิของตัวเองต่อพระองค์ตลอดเวลา
ไม่เคยลืมพระองค์ ไมร่ ู้สึกยึดกับสิ่งอ่ืนใด นอกจากพระองคเ์ ท่านั้น จิตสำนกึ ของเรา ต้องถอนกลับออกจาก ความ
สนใจในสง่ิ ไรส้ าระตา่ งๆ เชน่ ความสนุกสนาน ความเสเพล การเกกมะเหรกเกเร

10. ต้องมีความสำนึกว่า อัลลอฮ์มีความสำคัญกว่าสิ่งอื่นใด ในกรณีท่ีจะกระทำการหนึ่งตามคำชวนของ
เพือ่ น แต่สิง่ น้ันขัดต่อคำสอนของพระเจ้า เวน้ คำชวนของเพ่ือน แม้แตบ่ ิดามารดา หากออกคำสงั่ ใด ๆ ทีผ่ ดิ ต่อพระ
ธรรมบัญญัติของอัลลอฮ์ ก็ต้องวางเฉยต่อคำส่ังของบิดามารดาไว้ก่อน และปฏิบัติตามพระธรรมของอัลลอฮ์โดย
เครง่ ครดั

11. อย่ายึดถือสิ่งอ่ืนใดนอกจากอัลลอฮ์ ไม่ว่าจะเป็นวัตถุ ทรัพย์สิน มนุษย์ด้วยกัน หรือส่ิงใด ๆ ก็ตาม ส่ิง
ตา่ ง ๆเหลา่ นัน้ ใหย้ ึดถือวา่ ไม่มอี านภุ าพทีจ่ ะบนั ดาลส่ิงใดแก่ตัวเองได้ นอกจากอลั ลอฮ์เพียงพระองค์เดียว

12. มคี วามนอบนอ้ มถ่อมตวั เป็นนิสยั ถาวร ซึ่งความนอบน้อมนั้น เกิดมาจากความกลวั เกรงในอำนาจบารมี
ของพระองค์อัลลอฮ์ หาใช่เกดิ จากความกลัวบุคคลใดๆ ไม่

13. มีความละอายต่ออัลลอฮ์ จนจิตใจมคี วามละมนุ ละม่อม อ่อนโยนอยา่ งแทจ้ ริง
14. วางเฉยต่อการเย้ายวนของผลประโยชน์ใด ๆ ด้วยความยึดม่ันในพระเมตตาของอัลลอฮ์ และมีความ
มอบหมายต่อพระองค์ พอใจในรายได้จากอาชีพสุจริตท่ีตัวเองประกอบอยู่ ให้ยึดมั่นว่า ส่ิงน้ันเป็นโชคผลท่ีพระองค์
อัลลอฮ์ ทรงประทานให้ จะมากจะน้อย ก็เปน็ สง่ิ ประทานของพระองค์

มารยาทของผ้เู รยี น

การเรยี นรู้ เปน็ หน้าทีข่ องมนษุ ย์ทุกคน โดยเฉพาะจากคำสอนของทา่ นศาสดานา่ บีมุฮมั มัด َ‫ ﷺ‬ได้สอนให้ทุก

คนเรียนรู้จนตลอดชีวิต ตราบใดที่คนเรายังมีชีวิตอยู่ในโลก เขาจะต้องเรียน รู้ ซ่ึงท่านศาสดาน่าบีมุฮัมมัด َ‫ ﷺ‬ได้

ตรัสไว้ว่า ] َ‫[ ا ْطلبوا ا ْل إعَ ْلمَ إمنَ ا ْلم ْه إَد إإلى ال َّل ْح إد‬

[ จงศกึ ษาตัง้ แตอ่ ย่ใู นเปล จนถึงหลมุ ศพ ]

การเรียนรู้ จะต้องอาศัยความพากเพยี ร มานะ พยายาม และเสยี สละ แม้จะอยู่ห่างไกลขนาดไหน ก็พึง

ดั้นด้นไปเรียนความร้นู ัน้ ให้ได้ ดงั คำดำรสั ของท่านศาสดานา่ บีมุฮัมมดั ‫ ﷺ‬ความวา่
] َ‫[ َا ْطلبوا ا ْل إع ْلَم ول َْو إبال إص ْي إن‬
[ จงศกึ ษาเถิด แม้ความรนู้ ้นั จะอยู่ถงึ เมอื งจีนก็ตาม ]

การเรียนรู้ จะต้องมีผู้ให้ความรู้ ซ่ึงผู้ให้ความรู้น้ัน เราก็จะเรียกว่า [ ครู ] หรือ [ ผู้สอน ] ความสัมพันธ์

ระหวา่ ง [ ผู้ เรยี น ] กับ [ ผูส้ อน ] จะตอ้ งมอี ยา่ งแนบแนน่ อันตดั ขาดจากกนั ไม่ได้

๑๙

หนา้ ทีข่ องผู้เรียนอันพงึ แสดงตอ่ ผูส้ อน
หน้าท่ีของ [ ผู้เรียน ] อันพึงแสดงต่อ [ ผู้สอน ] มีอยู่มากมาย แต่พอสรุปไว้ได้กว้าง ๆ 11 ประการ
ดังตอ่ ไปนี้
1. เมื่อพบครู จะตอ้ งกล่าวสลามแก่ครู โดยกล่าววา่ : [ ‫ ] ال َّسلاَم عل ْيك َْم‬หรือเพิ่มตอ่ ไปว่า : [ ‫ ] ور ْحمَة ال إَل‬หรือ
เพ่ิมขึ้นไปอีกว่า : [ ‫ ] وبركاتَه‬ซ่ึงมีความหมายในภาษาไทยผนวกทั้งสามแบบน้ันว่า : [ ขอความสุขสันติ ความเมตตา
และความจำเริญของอัลลอฮ์ ไดป้ ระสบแก่ทา่ น ]
2. เมอ่ื อย่ตู อ่ หนา้ ครู อย่าพูดมากจนเกินไปนกั ใหพ้ ูดเฉพาะเท่าท่ีจำเป็นเทา่ นั้น
3. หากครไู มถ่ าม ก็อย่าได้พดู ใหเ้ ปน็ ทีร่ ำคาญแก่ครู
4. เมอื่ จะถามสง่ิ ใดจากครู ตอ้ งขออนุญาตจากครเู สียก่อน เมอ่ื ท่านอนญุ าตใหแ้ ล้ว ศษิ ยจ์ งึ จะถามได้
5. อย่าขัดแย้งคำพูดของครู โดยอ้างถึงความคิดเห็นของผู้อ่ืน และนำความคิดเห็นน้ัน มาโต้แย้งกับคำพูด
ของครู
6. อย่าแสดงทีท่าใด ๆ ขัดแย้งกับคำอธิบายของครู แล้วคิดว่าตัวเองเก่งกว่าครู หรือถูกต้องกว่าครู การ
กระทำเช่นนนั้ ถือเป็นความไร้มารยาทอย่างยงิ่ ตอ่ ครู
7. เมอ่ื อยตู่ ่อหน้าครู อย่ากระซบิ กระซาบกับผอู้ ื่น
8. เมื่ออย่ตู ่อหน้าครู อยา่ หนั ซ้ายหนั ขวา แต่ตอ้ งนงั่ ในอาการอนั สงบเสง่ียม กม้ ศีรษะดว้ ยความคาราวะ
9. เม่ือครูแสดงออกถึงความเบื่อหน่าย อย่าซักถามสิ่งใด ๆ จากครู
10. เมื่อครูลุกข้ึนยืน ศิษย์จะต้องยืนตาม เพื่อแสดงการยกย่องครู ขณะนั้น ห้ามซักถามสิ่งใดๆจากครู
เมื่อครูกำลังเดิน ก็ต้องรอให้ท่านถึงจุดหมายเสียก่อน จึงจะซักถามสิ่งใดๆ ได้ ขณะท่านกำลังเดินอยู่นั้น
อย่าได้ซักถามสิ่งใดๆทั้งสิ้น
11. จะต้องมที ัศนะคตทิ ีด่ ตี อ่ ครขู องตนเอง อยา่ มีอคตติ อ่ ท่านเป็นอันขาด

มารยาทตอ่ พ่อแม่
คนเราทุกคน ต้องเกิดมาจากพ่อแม่ ทุกคนจึงเปน็ ลูกด้วยกันทั้งน้ัน แต่คนทุกคน ยังไม่แน่ว่าจะเป็นพ่อหรือ

แม่ได้ บางคนไดเ้ ป็น บางคนก็อาจไมไ่ ด้เป็น
ดังนั้น สถานะทางการเป็นลูก จึงเป็นสถานะถาวร อันสืบเนื่องตั้งแต่แรกเกิดไปจนตลอดชีวิต ส่วน

ความเป็นพ่อหรือแม่ เป็นสถานะท่ีอุบัติขึ้นทีหลัง หรือไม่มีโอกาสอุบัติข้ึนเลยก็ได้
การปฏิบัติตนในฐานะลูก จะต้องปฏิบัติต่อเนื่องไปจนตลอดชีวิต ไม่มีวาระใดที่ลูกจะขอลาจากหน้าที่ของ

ตนเองได้ และศาสนาอิสลาม ได้กำหนดหน้าท่ีของลูกไว้อย่างชัดเจน โดยได้จากบทบัญญัติที่ มีปรากฏใน
โองการแห่งพระคัมภรี ์อลั กุรอ่าน และจากคำสอนของทา่ นศาสดานา่ บีมุฮัมมัด ‫ ﷺ‬บทบัญญตั ิจากอลั กรุ อ่านว่า :

[ และผู้อภิบาลของเจ้า ได้บัญญัติให้พวกเจ้าทั้งหลาย อย่านมัสการผู้ใด นอกจากพระองค์ และพวกเจ้า
พงึ ปฏบิ ตั คิ วามดงี ามตอ่ บดิ ามารดา ]

[ ซรู ่อตุล้ อสิ รออ์ อายะฮท์ ี่ 23 ]

๒๐

โองการข้างต้น ได้แสดงความสำคัญของการปฏิบตั ิดตี ่อบิดามารดาในระดบั สงู โดยระบุถงึ ภายหลังจากท่ีได้
โองการใหท้ ุกคนนมสั การต่อพระองค์

การปฏิบัติต่อบิดามารดา ก็คือการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อท่านทั้งสอง การปรนนิบัติ การเอาใจใส่
และเอาอกเอาใจทา่ น ไมท่ อดทิง้ ทา่ น

แม้เมื่อท่านได้จากโลกนี้ไปแล้ว กจ็ ำต้องหม่ันขอพรให้แก่ท่าน และทำทานอุทิศส่วนกศุ ลแก่ท่านเป็นประจำ
เทา่ ท่สี ามารถจะกระทำได้

หนา้ ท่ีของลกู โดยละเอยี ด พอสรปุ ได้ 10 ประการ คือ
1. จะต้องเช่ือฟังและปฏิบัติตามคำส่งั ของพ่อแม่ ในกรณีทไ่ี ม่ผดิ ต่อคำสอนของอิสลาม ลูกที่ฝา่ ฝืนคำสัง่ ของ
พอ่ แม่ ถือวา่ กระทำบาปอยา่ งรุนแรง เปน็ อาการแสดงของความเนรคณุ
2. เมอ่ื พ่อแมย่ ืนข้ึน ลูกจะต้องยนื เพอ่ื แสดงความเคารพและยกย่อง
3. อยา่ เดนิ นำหน้าพ่อแม่
4. อย่าพูดเสียงดังเกนิ กวา่ เสียงของพอ่ แม่ และอยา่ ข้ึนเสยี งกบั พ่อแมเ่ ปน็ อนั ขาด
5. เมื่อพอ่ แมเ่ รยี ก จะต้องขานรบั ดว้ ยความคารวะ
6. ใหพ้ ดู และกระทำในสิ่งทีพ่ ่อแมพ่ อใจ พร้อมกบั แสดงความถอ่ มตน และออ่ นนอ้ มต่อท่าน
7. อยา่ ลำเลิกบญุ คณุ กบั พอ่ แม่ แมล้ กู จะใหอ้ ะไรกบั พอ่ แม่อย่างมากมาย แต่กย็ งั ไมเ่ ท่ากบั ทพี่ ่อแม่เคยให้
8. อยา่ มองพอ่ แม่ดว้ ยสายตาแห่งความเจบ็ แค้น หรือโกรธเคอื ง หรอื ดูถูก
9. อยา่ แสดงความบงึ้ ตงึ ตอ่ พอ่ แม่ ในสิง่ ทีต่ นเองไม่พงึ พอใจ
10. อยา่ ออกนอกบ้านไปไหน ๆ ก่อนทีจ่ ะได้รับอนุญาตจากพ่อแม่

คำสอนของทา่ นศาสดา ‫ ﷺ‬ว่าด้วย
หนา้ ทท่ี ่ลี ูกพงึ ปฏิบตั ติ ่อบิดา-มารดา

1. จงเชอื่ ฟงั บิดา-มารดาทุกเรื่อง นอกจากหากใช้ใหท้ รยศต่ออลั ลอฮ์
2. พดู จากับบิดา-มารดาด้วยความออ่ นโยน
3. ยืนใหเ้ กียรติบดิ า-มารดา เมอ่ื ทา่ นเข้ามา
4. จบู มือท่านทง้ั สองทัง้ ตอนเชา้ และตอนเยน็ และวาระสำคัญ ๆ
5. รักษาน้ำใจ เกยี รติ และทรัพยส์ มบตั ขิ องท่านท้ังสอง
6. ให้เกียรตแิ ละใหท้ กุ ส่งิ ทุกอย่างทท่ี า่ นทัง้ สองตอ้ งการ
7. ปรึกษาเร่ืองราวต่าง ๆ กับท่านท้ังสอง
8. ขอดอุ าอ์และขออภยั ใหก้ ับทา่ นทง้ั สองมาก ๆ
9. หากทา่ นท้งั สองมแี ขก ลูกจงนั่งใกล้ๆประตู และคอยสงั เกตทา่ นทัง้ สอง บางทีทา่ นทัง้ สองอาจใชอ้ ะไรอย่างแผว่ เบา

๒๑

10. ทำในสิง่ ท่ีท่านท้ังสองชอบ [ พอใจ ] โดยไมต่ ้องรอให้ทา่ นท้ังสองใช้
11. อย่าส่งเสยี งดงั ต่อหนา้ ทา่ นท้งั สอง
12. ไม่พูดจาขวางหรอื ขดั จงั หวะคำพดู ของท่านทง้ั สอง
13. ไม่ออกจากบา้ น หากไมไ่ ด้รบั อนญุ าตจากท่านท้งั สอง
14. ไมร่ บกวนในขณะท่ที ่านทัง้ สองนอนพักผอ่ น
15. ไม่ใหค้ วามสำคญั กบั ภรรยาหรือลูกมากกวา่ ท่านทงั้ สอง
16. ไม่ตำหนิท่านทั้งสอง เมอื่ ทา่ นทั้งสองทำส่ิงใดทเ่ี ราไม่พอใจ
17. ไม่หัวเราะตอ่ หน้าทา่ นทงั้ สองหากไมม่ เี หตุอันควร
18. ไมห่ ยิบอาหารท่อี ยใู่ กลท้ ่านทั้งสองมารบั ประทาน
19. ไมย่ ่ืนมือไปหยิบอาหารหน้าท่านทั้งสอง [ ไมร่ ับ ประทานอาหารกอ่ นทา่ นทงั้ สอง ]
20. ไม่นอนหรอื ตะแคงในขณะที่ทา่ นทงั้ สองนง่ั อยู่ นอกจากท่านทง้ั สองจะอนญุ าต
21. ไม่ยน่ื เทา้ ไปทางท่านทง้ั สอง
22. ไมเ่ ข้าไป ณ สถานท่แี หง่ ใดก่อนทา่ นท้ังสอง และไมเ่ ดินนำหน้าทา่ นท้ังสอง
23. รบี ตอบรับหรือขานรบั ในทนั ทที ่ที ่านท้ังสองเรยี ก
24. ให้เกยี รติเพ่อื นของท่านทัง้ สอง ท้ังในยามท่ีท่านยังมชี วี ิตอยหู่ รอื จากไปแล้ว
25. ไม่คบค้ากบั คนท่ไี มป่ ฏบิ ัตดิ ีตอ่ พอ่ แมข่ องเขา
26. ขอพรให้แก่ท่านท้ังสอง โดยเฉพาะหลังจากท่ีท่านทั้งสองตายแล้ว แท้จริงท่านทั้งสองจะได้รับ
ประโยชนจ์ ากการขอพรนั้น

มารยาทต่อบคุ คลท่ัวไป
อันบุคคลทอี่ ยรู่ ่วมสังคมนั้น เราพอจะจำแนกออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท คอื :
1. เพือ่ น
2. คนรู้จักกนั
3. คนไมร่ ู้จักกนั
ซึ่งบุคคลทั้ง 3 ประเภทนี้ ต่างมีสิทธิหน้าท่ีต่อกันและกัน โดยแตกต่างกันบ้างตามฐานะของแต่ละคน อัน

หนา้ ทข่ี องบคุ คลท่รี จู้ ักกนั จะพงึ แสดงออกต่อกัน พอสรปุ ได้ดังน้ี

1. อยา่ ดถู ูกดแู คลนซ่ึงกนั และกนั บางทคี นที่ได้รบั การดูถกู อาจจะดีกวา่ คนดถู กู กไ็ ด้
2. อย่ายกย่องเพราะเห็นแก่ทรัพย์สินหรือฐานะอันม่ังคั่งของผู้ใด เพราะท่ีจริงแล้ว ทรพั ย์สินดังกล่าวเป็น
ของเขา ไม่ใชข่ องเรา
3. เม่อื เขาโกรธเราหรอื ขัดแยง้ ทะเลาะววิ าทกับเรา เราควรจะหาทางหลบหลกี อยา่ ได้ตอบโต้กบั เขาเปน็ อนั ขาด

๒๒

4. อยา่ แสดงความพอใจในตัวเขา เพราะเขายกย่องหรือสรรเสริญเยินยอเรา บุคคลท่ีพอใจในคำยอของคน
อ่ืนนนั้ ที่จริงแลว้ เปน็ คนโง่ เพราะมนษุ ย์ทุกคน ไม่มีสิทธิไ์ ด้รบั การสรรเสริญใด ๆ ทงั้ ส้ิน เพราะคำสรรเสริญทั้งหมด
เป็นของอัลลอฮเ์ พียงพระองค์เดยี ว

5. หากเราได้รบั คำตำหนิจากผู้ใด อย่าแสดงความแปลกฉงน หรอื โกรธเขา เพราะท่จี ริงแล้ว การตำหนิของ
ผูอ้ ่ืนน้ัน ย่อมให้ประโยชน์แกต่ ัวเรา มากกว่าคำเยินยอมากนัก

6. อย่าคิดมักมากและละโมบในทรัพย์สินของผู้อ่ืน ในอำนาจบารมี ตำแหน่ง หรือการช่วยเหลือใด ๆ ยกเว้นใน
บางกรณีที่เกิดความเดือดร้อน จนไม่สามารถจะช่วยตัวเองได้ ก็อนุญาตให้ขอความช่วยเหลือจากผู้อ่ืนได้ เฉพาะเท่าท่ี
เดือดร้อน และเมื่อได้รบั ความช่วยเหลือจากใคร ก็ให้ขอบคุณเขา แต่ถ้าเขาไม่ช่วยเรา เราก็ไม่โกรธเขา ไม่ตำหนิเขา ไม่
นำเรอื่ งของเขาไปบอกเล่าแก่ผอู้ น่ื

7. อย่าเตือนหรอื สอน หรือแนะนำผ้อู ื่น นอกจากม่ันใจว่า เขาผนู้ ั้นพรอ้ มท่จี ะรับคำเตือนนนั้ แต่ถ้าไม่ม่ันใจ
ก็อย่าพึง่ เตือนเขา เพราะนอกจากเขาจะไมร่ ับฟงั แล้ว ยงั อาจจะทำให้เขาเกิดความรสู้ ึกขัดแยง้ และก่อการวิวาทขึ้น
ได้

8. เมื่อเห็นว่ามีใครแสดงความเห็นทางศาสนาผิดไปจากความเป็นจริง และตัวคนน้ัน เขามีความเกลียดชัง
เราเป็นส่วนตวั เราจะตอ้ งไม่เตือนเขา เพราะนน่ั จะเป็นเหตุให้เกดิ การทะเลาะวิวาทขึ้นได้ ยกเว้นในกรณีดังกล่าว
น้ัน อาจจะทำให้เกดิ การกระทำผิดรุนแรงในทางศาสนา ก็ให้เรากล่าวเตือนเขา ให้เขารู้ผดิ รถู้ ูก โดยวธิ ีการอันอ่อน
นอ้ มและสุภาพออ่ นโยน อย่าใชว้ ิธีการรนุ แรงหรอื ก้าวรา้ วเปน็ อนั ขาด

9. เม่ือเราเห็นเขาทำดีกับเราหรือยกย่องต่อเรา เราต้องกล่าวขอบคุณอัลลอฮ์ และถา้ เขาทำร้ายเราหรือดู
ถูกเรา ก็ใหเ้ รามอบหมายแก่อัลลอฮ์ พรอ้ มกับขอวิงวอนตอ่ อัลลอฮ์ให้ห่างไกลจากส่ิงน้ัน เราอย่าผูกใจเจ็บ และต่อ
ว่าต่อขานเขา เราไม่ต้องอ้างถึงเกียติยศของเรา หรือฐานะอันสูงส่งของเรา และตอ้ งไม่แก่ตัวใด ๆ ท้ังสน้ิ เพราะโง่
ชอบแกต้ วั และชอบยกยอตวั เอง

10. เม่ืออยู่รวมกับคนอื่น ให้เรารับฟังแต่สิ่งที่ดีมีมงคล อย่ายอมฟังคำพูดอันไร้สาระหรือเรื่องอันน่าเกลียด
น่าชงั ที่พวกเขาพูด ให้ทำตัวประหน่ึงเป็นคนหูหนวกในเรื่องเหลา่ น้นั

11. ให้เราพบปะกับบุคลท่ัว ๆ ไป ไม่ว่าจะเป็นบุคลที่รักเราหรือเกลียดเราก็ตาม ด้วยใบหน้าอันยิ้มแย้ม
ด้วยคำพูดอันสภุ าพอ่อนโยน และทา่ ทีอันออ่ นน้อมถ่อมตน

12. อยา่ มองผอู้ น่ื ด้วยหางตา อย่าหนั ซ้ายหันขวา และอยา่ ยนื เปน็ จุดเด่นต่อหนา้ ผู้อ่ืน
13. อย่านั่งให้เป็นจุดเด่นต่อหน้าผู้อ่ืน ในทำนองยกย่องตัวเอง และการกระทำอย่างอ่ืนท่ีทำให้เสีย
บุคลิกภาพของเราเองต่อหน้าผู้คน เช่น การแคะฟัน การส่ันขา หักนิ้ว แยงจมูก ถ่มน้ำลาย ส่ังน้ำมูก หาว ไอ
กระแอม เปน็ ต้น
14. ในการนั่งชุมนมุ กันด้วยคนเป็นจำนวนมาก เราจะตอ้ งทำตัวใหเ้ ป็นผนู้ ำในด้านความดงี าม แตเ่ พียงด้านเดยี ว
15. ให้เรารับฟังคำพูดดี จากบุคคลที่นำเร่ืองท่ีดีมาเล่าให้ฟัง ไม่ต้องแสดงออกซ่ึงความสนเท่ห์ และเมื่อไม่
เข้าใจ กไ็ ม่ตอ้ งซักถามซ้ำ และหากเป็นเรื่องเล่าทีต่ ้องการความขำขัน เราก็วางเฉยเสีย ไม่ต้องแสดงความสนใจให้
ปรากฏ

๒๓

16. อยา่ เลา่ ให้ผอู้ นื่ ฟัง ถึงผลงานอันดีเดน่ ของเรา เชน่ การพดู การเขียน หรอื การกระทำ ซึ่งเรากระทำได้ดีกวา่ คนอนื่
17. อย่าแตง่ ตวั แบบผู้หญงิ อย่าแสดงนิสยั เยีย่ งผหู้ ญงิ อยา่ แตง่ ตัวซอมซ่อจนเกินไป
18. เมอ่ื มคี วามจำเปน็ ทีจ่ ะขอความช่วยเหลือจากผู้ใด ก็อยา่ ไดพ้ ริ พี้ ไิ ร ขอซำ้ ขอซาก หรือขอจนตดิ เปน็ นิสยั
19. อย่าให้กำลังใจหรือสนบั สนนุ คนอ่นื ในการฉอ้ ฉลแกผ่ ู้หน่งึ ผู้ใด
20. ใหร้ กั ษาศกั ดศิ์ รีของตวั เอง โดยอยา่ พดู เล่น หยอกลอ้ กระเซ้า หรือตลกโปกฮามากจนเกินไปนัก
21. จงระมัดระวังบุคคลท่ีเข้ามาทำตัวสนิทสนมในตอนสบาย แต่ตีตัวออกห่างในยามลำบาก คนพวกนี้
ไม่ใชเ่ พอ่ื นแทข้ องเราหรอก ที่จริง เขาเปน็ ศัตรขู องเรา
22. อยา่ เห็นทรพั ย์สมบัติ สำคัญกว่าศาสนา
23. อยา่ วิพากษว์ จิ ารณ์คำพูดของคนอืน่
24. อย่าสนใจในความลบั ของคนอนื่

มารยาทในสงั คมไทย

มารยาทไทย คือ การแสดงออกที่มีแบบแผน ในการประพฤติปฏิบัติ ซ่ึงเป็นแนวปฏิบัติท่ีทำให้สมาชิกใน
สังคม สามารถดำรงอยู่รว่ มกนั ได้อย่างดี ประชาชนชาวไทยท่ีนับถือศาสนาอิสลาม อาศัยอยู่ในประเทศไทยซ่ึงเป็น
สงั คมพหุวัฒนธรรมมีสิทธิเสรีภาพในการนบั ถือศาสนา จำเป็นอยา่ งย่ิงที่ตอ้ งเรยี นรู้มารยาทในสังคมไทยในฐานะท่ี
เราเปน็ คนไทย และพงึ ปฏิบตั ิเท่าทจ่ี ะมีความสามารถกระทำได้โดยไมข่ ัดกบั หลักการของศาสนาอสิ ลาม อนั จะเป็น
ประโยชนต์ ่อตนเองและสังคม เพ่ือสร้างความรกั ความสามัคคี อนั เป็นเอกลกั ษณ์สำคัญของสังคมไทยท่ีคนไทยทุก
คนควรประพฤติปฏิบตั ิและสืบทอดต่อไป

มารยาทในสังคม
มารยาท คือ การแสดงออกที่มีแบบแผนในการประพฤติปฏิบัติ โดยได้รับการอบรมให้งดงามตามความ

นยิ มแห่งสังคมมารยาท ไม่ได้ติดตัวแตเ่ กิด แต่ได้มาจากส่ิงแวดล้อม มกี ารศึกษา อบรมเปน็ สำคัญ ดกู ิริยา ฟังวาจา
ของคนแล้ว พอคาดได้ว่าผู้นั้นได้รับการศึกษาอบรมมาอย่างไร พื้นฐานท่ีสำคัญที่สุดของมารยาท คือความสุภาพ
และสำรวม คนสภุ าพจะเป็นคนที่มีจิตใจสูงเชอ่ื มั่นในตวั เอง เพราะคนท่มี อี ะไรในตวั เองแล้วจงึ จะสุภาพอ่อนน้อมได้
ความสุภาพ มิได้เกิดจากความเกรงกลัว แต่ถือว่าเป็นความกล้า ส่วนความสำรวม คอื การเป็นคนมีสติ ไมพ่ ูดไมท่ ำ
อะไรทีเ่ กินควร รจู้ กั การปฏบิ ตั ิที่พอเหมาะพองาม คดิ ดีแลว้ จงึ ทำ คาดแล้วว่าการกระทำจะเป็นผลดีแก่ทกุ ฝ่าย มใิ ช่
เฉพาะตัวคนเดียว มารยาทแสดงออกมาทกี่ ิรยิ าท่าทางและการพูดจา อาศยั การบอกอยา่ งเดียวไมไ่ ด้ ต้องฝึกเองจน
เกิดขึ้นเป็นเป็นความเคยชิน คนดีมีมารยาทดีเท่ากัน แต่อาจไม่เหมือนกัน เพราะคนมีบุคลิกภาพต่างกัน การ
แสดงออกย่อมตา่ งกนั ดว้ ย แต่ส่ิงที่เหมอื นกนั คือ แสดงออกมาแล้วเป็นผลดแี กต่ ัวและผู้อ่ืน เพราะทำให้ผู้อื่นพอใจ
ด้วยรู้สึกว่าได้รับเกียรติ เม่ือให้เกียรติแก่ผู้อื่น ตนเองก็จะเป็นผู้มีเกียรติด้วย สังคมใดมีคนแสดงมารยาทดีต่อกัน
สงั คมนนั้ เป็นสังคมของผู้มีเกียรติ

๒๔

มารยาทในการแตง่ กาย
การแต่งกาย แสดงถึงขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม แล้วยงั แสดงถึงอปุ นสิ ยั ใจคอ จิตใจรสนิยม

ตลอดจนการศึกษาและฐานะของแต่ละบุคคลไดอ้ ยา่ งดี การแต่งกายของผู้ทีอ่ ยใู่ นสงั คมจึงเปน็ ส่งิ จำเป็นและมีหลัก
สำคญั ที่ควรปฏิบัติ ดังนี้

๑. ความสะอาดปราศจากนะญิส(สิ่งสกปรก) ต้องเอาใจใส่เป็นพิเศษ โดยเริ่มต้นด้วยเคร่ืองแต่ง
กาย ได้แก่ เสื้อผ้า ถุงเท้า รองเท้า เครื่องประดับ กระเป๋าถือ ต้องสะอาดหมด ใช้เคร่ืองสำอางแต่พอควร และ
ร่างกายก็ต้องสะอาดทุกส่วนต้ังแต่ ผม ปาก ฟัน หน้าตา มือ แขน ลำตัว ขาและเท้าตลอดจนถึงเล็บ รวมไปถึง
กลน่ิ ตัว ทตี่ อ้ งเอาใจใสเ่ ปน็ พเิ ศษตอ้ งอาบน้ำฟอกสบู่ให้หมดกลิน่ ตวั ถา้ ทำไดท้ กุ ส่วน ก็ถอื ว่าสะอาด

๒. ความสภุ าพเรียบรอ้ ยถูกต้องตามหลกั การของศาสนาอสิ ลาม คือ เคร่ืองแตง่ กายนัน้ ต้องปกปิด
เอาเราะห์(อวัยวะพึงสงวน) สำหรับชายให้ปิดร่างกาย ตั้งแต่เหนือสะดือลงไปจนเลยหัวเข่า สำหรับหญิงต้องปิดท่ัวทั้ง
ร่างกาย นอกจากหน้าและมือทั้งสอง แต่งกายอยูใ่ นลักษณะสภุ าพเรยี บร้อย ไม่รุ่มร่ามหรือรดั ตัวจนเป็นการเปิดเผย
เรือนร่าง ไม่ใช้สีฉูดฉาด ควรแต่งให้เข้ากับสังคมนั้น ความสุภาพเรียบร้อยน้ันรวมไปถึงอุปกรณ์เครื่องใช้
เครือ่ งประดบั และการแตง่ หน้าแต่งผมดว้ ย

๓. ความถูกต้องกาลเทศะ การแต่งกายให้ถูกกาลเทศะ เป็นเรื่องสำคัญมาก ผู้มีมารยาทดีย่อม
ต้องเอาใจใส่ เพราะการแต่งกายให้ถูกกาลเทศะ หมายถึง การเลือกแต่งกายให้ถูกต้องเหมาะสมกับเวลายุคสมัย
นยิ มและสถานท่ี

ข้อควรปฏิบัติในการแตง่ กาย
๑. ให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่จะไป เชน่ งานมงคลก็ควรใสส่ ีสดใส เปน็ ตน้
๒. ใหเ้ หมาะสมกับความสำคญั ของงาน เช่น งานระหว่างเพ่อื นฝูง งานรัฐพธิ ี
3. ให้เหมาะสมกับฐานะและหน้าท่ี เชน่ เป็นครู เปน็ นักเรยี น เปน็ หวั หน้า
4. ใหเ้ หมาะสมกับวัย เชน่ เปน็ เด็กกไ็ มค่ วรแตง่ ใหเ้ ปน็ ผใู้ หญ่เกินไป
5. พึงแตง่ กายให้สมเกยี รตกิ บั งานที่ไดร้ บั เชิญ

มารยาทในการยนื
๑. การยืนตามลำพงั การยืนตามลำพังจะยนื แบบใดก็ได้ แตค่ วรจะอย่ใู นลักษณะสภุ าพ สบายโดยมสี ้นเท้า

ชิด ปลายเทา้ แยกเลก็ น้อยหรอื อย่ใู นท่าพกั ปล่อยแขนแนบลำตวั ไม่หนั หน้าหรือแกวง่ แขนไปมา จะยนื เอียงได้บ้าง
แตค่ วรอยูใ่ นทา่ ทส่ี ง่า

๒. การยืนเฉพาะหน้าผู้ใหญ่ การยืนต่อหน้าผู้ใหญ่ ถ้าไม่จำเป็นไม่ควรยืนตรงหน้าผู้ใหญ่ ควรยืนเฉียงไป
ทางใดทางหนงี่ ทำได้ ๒ วิธี คอื

๑) ยืนตรง ขาชิด ส้นเท้าชดิ ปลายเท้าหา่ งกันเล็กน้อย มือสองข้างแนบลำตัวหรอื ประสานกนั ไว้
เบือ้ งหนา้ ใต้เข็มขัดลงไป ท่าทางสำรวม

๒) ยืนตรงค้อมส่วนบนต้ังแต่เอวข้ึนไปเล็กน้อย มือประสานไว้ข้างหน้า ท่าทางสำรวมการ
ประสานมือทำได้ ๒ วธิ ี คือ คว่ำมือซ้อนกัน จะเป็นมือไหนทับมอื ไหนก็ได้หรอื หงายมือทั้งสอง สอดนิ้วเข้าระหว่าง

๒๕

ร่องนวิ้ ของแตล่ ะมือ การยืนเฉพาะหน้าผใู้ หญ่จะใช้จนถึงการยืนเฉพาะหน้าท่ีประทับ การค้อมตัวจะมากนอ้ ยย่อม
สุดแลว้ แต่ผใู้ หญ่ถา้ มีอาวุโสหรอื เปน็ ทีเ่ คารพสูง ก็คอ้ มตัวมาก

มารยาทในการเดิน
๑. การเดินตามลำพัง ควรเดินอย่างสุภาพ ไหล่ต้ัง หลังตรง ช่วงเท้าไม่ยาวหรือส้ันเกินไปแกว่งแขน พอ

งาม สตรคี วรระมดั ระวังสะโพกให้อยูใ่ นลกั ษณะท่ีเป็นไปโดยธรรมชาติ
๒. การเดินกับผู้ใหญ่ ควรเดินเยือ้ งไปทางซ้ายหลังผ้ใู หญ่ ห่างกันพอประมาณตามสภาพของสถานท่ีแต่ให้

อยใู่ นลักษณะนอบน้อม
๓. การเดินผ่านผู้ใหญ่ ในกรณีท่ีผู้ใหญ่ยืนอยู่ ให้เดินค้อมหัวผ่านมากน้อยตามอาวโุ ส ถ้าผู้ใหญ่ทักทายให้

หยุดยืนน้อมกายลงพูดดว้ ย เมื่อจบแล้วให้ไหว้ครัง้ หนึ่งแล้วน้อมตัวเดินผ่านไป ถ้าผู้ใหญ่น่ังพ้ืนหรือนั่งเกา้ อ้ีให้เดิน
เข่าผ่าน เมื่อผ้ใู หญท่ ักทายให้นงั่ พับเพียบเกบ็ ปลายเท้าพดู ดว้ ย เม่อื จบแล้วให้กราบ ๑ คร่งั แลว้ เดินเข่าผ่านไป

๔. การเดินสวนกับผใู้ หญ่ ควรน้อมตวั เมือ่ ผา่ นใกล้ จะคอ้ มตัวมากน้อยก็ขึน้ อย่กู ับอาวโุ ส ในกรณีทเี่ ปน็ ทาง
แคบๆ ควรหยดุ ยนื ในอาการสำรวมให้ผู้ใหญผ่ า่ นไปก่อน

5. การเดนิ ผ่านหลังผอู้ ่นื ควรอยู่ในกรยิ าสำรวม ค้อมตัวลงขณะเดนิ ผา่ น มือสองขา้ งแนบลำตัวถ้าเดนิ ผ่าน
อย่างใกล้ชดิ และเป็นผอู้ าวโุ สมาก ให้ค้อมตัวและไหว้พร้อมกับกล่าวคำขอโทษก่อนจะเดินผา่ น

6. การเดนิ เข้าสู่ทช่ี มุ ชน ควรเดนิ เข้าไปอย่างสุภาพ กม้ ตวั ตามอาวโุ ส อย่าใหเ้ สือ้ ผ้าไปกรายผอู้ ่นื เลือกท่ีน่ัง
ตามเหมาะสม ถ้าเป็นสถานท่ีนงั่ กับพ้นื ตอ้ งผา่ นระยะใกลม้ ากให้ใช้เดินเขา่

มารยาทในการนง่ั
1. การน่ังเก้าอ้ี ควรน่ังตัวตรงหลังพิงพนักเก้าอ้ี เท้าชิด เข่าชิด มือวางบนหน้าขาหรือพาดบนที่เท้าแขน

เกา้ อีก้ ็ไดไ้ มค่ วรโยกเก้าอีไ้ ปมา ผูห้ ญงิ ควรระมัดระวงั เคร่ืองแตง่ กายไม่ใหป้ ระเจดิ ประเจ้อ
2. การนั่งกับพื้น ควรน่ังพับเพียบในลักษณะสุภาพ ผู้หญิงถ้าเท้าแขนก็อย่าเอาท้องแขนออกข้างหน้า

ผ้ชู ายไมค่ วรน่งั เท้าแขน

มารยาทในการไหว้
การไหว้ คือ การแสดงความเคารพต่อบุคคลต่างศาสนิก เป็นอิริยาบถที่มือท้ังสองข้างประนมน้ิวชิดกัน

ปลายนิ้วจดกนั ไมเ่ อาปลายน้ิวออกจากกันการไหว้ทมี่ ุสลมิ สามารถกระทำต่อพนี่ ้องต่างศาสนิกได้ คือ
1. การไหว้ครู อาจารย์ และผู้ใหญ่ ใหพ้ นมมอื ยกขึ้นจนน้ิวหัวแม่มอื จรดปลายจมกู ปลายนว้ิ ชจ้ี รดระหวา่ ง

ค้ิว ผู้ชายคอ้ มตัวลงเลก็ นอ้ ย ผหู้ ญิงกา้ วขาขวาไปขา้ งหน้าเลก็ นอ้ ย แล้วย่อตวั ลงแต่พองาม
2. การไหว้บุคคลท่ัว ๆ ไป ผู้มีอาวุโสกว่าเล็กน้อย หรือผู้เสมอกัน ให้พนมมือยกข้ึนค้อมศีรษะลงค้อม

ศรี ษะลงจนนว้ิ หัวแม่มอื จรดปลายคาง ปลายนิ้วช้จี รดปลายจมูก

๒๖

มารยาทในการใช้กิรยิ าวาจา
กริ ยิ าวาจา คือ การแสดงออกของวาจาท่ีสมบูรณ์ วฒั นธรรมไทยนิยมใหค้ นสงบเสงี่ยม ทั้งกริ ิยาและวาจา

จะโกรธจะเกลียด จะรัก ท่านไม่ให้แสดงออกนอกหน้า ดังนั้นการแสดงกริ ิยาวาจาต้องได้รับการควบคมุ จงึ จะส่ือ
ความหมายตามความประสงคข์ องผู้แสดงไดด้ ี ภาษาไทยมีลกั ษณะพเิ ศษ ทใ่ี ช้กบั บคุ คลสูงกว่าตนก็ใชอ้ ย่างหน่ึง ใช้
กับบคุ คลเท่ากนั หรือต่ำกว่าใชอ้ ีกอยา่ งหน่ึง ความยากอยู่ตรงที่การประเมินว่าใครสูงใครต่ำกว่าตน ถา้ ไม่แน่ใจควร
เลือกทำท่สี ูงไว้ก่อน เพ่ือให้เกยี รติผู้ทเ่ี ราพูดด้วย เมอ่ื พูดกับใครควรแสดงกิริยาวาจาใหเ้ กียรติเขา เพราะเม่ือเราให้
เกียรติใครมใิ ช่ว่าเกยี รติของเราจะหมดเปลอื งไป อาจได้รบั เกียรติกลับมา พร้อมด้วยความรู้สึกท่ดี กี ไ็ ด้

มารยาทในกิรยิ าวาจาจำเป็น ตอ้ งใช้ในสถานการณต์ ่อไปน้ี
1. การทกั ทาย มักนิยมกลา่ วคำว่า “สวัสดี” พร้อมกบั ไหว้ ซงึ่ เปน็ การทกั ทายที่เปน็ เอกลักษณข์ องไทย
2. การไปพบปะผใู้ หญ่ ควรจะขออนญุ าตเข้าพบ เมื่อพบแล้วกท็ ักทายดว้ ยกิริยาวาจาพินอบพิเทา สุภาพ

ใชค้ ำแทนตัวเองและผ้ใู หญใ่ หเ้ หมาะสม เช่น ผม กระผม ดฉิ ัน คุณ แล้วใชค้ ำรบั ให้เหมาะสมดว้ ย เชน่ ครับ คะ่
3. การปฏิบัติตัวในสถานท่ีทำงาน การใช้กิริยาวาจาจะมีผลต่อความรู้รักความสามัคคี การใช้วาจาสุภาพ

มิใช่แค่ใช้ถอ้ ยคำในภาษาให้ถูกต้องเท่านั้น แต่ต้องมีน้ำเสียงท่ีน่าฟัง อ่อนโยน มีลีลาจังหวะในการใช้ภาษามีคำลง
ท้ายทีแ่ สดงความนับถอื รักษาน้ำใจผูอ้ ื่น ไม่ควรพดู ซบุ ซบิ นนิ ทา เพราะจะทำใหแ้ ตกความสามัคคีได้

4. การปฏิบัตติ นในที่ประชุม ควรใช้กิริยาวาจาที่สุภาพ ใช้คำพูดถูกตอ้ งตามหลกั ภาษาไทย ไม่เย่ินเยอ้ วก
วน ไม่สง่ เสยี งตะโกน ไม่พูดอวดเก่ง ไม่พดู อยา่ งเหน็บแนม ไม่พูดคยุ กันเอง ถ้าเป็นผูแ้ สดงความคดิ เห็น กค็ วรพดู ให้
ตรงประเด็นรักษาเวลา เคารพกติกาของท่ีประชุมนน้ั ๆ

ความกตัญญูกตเวทติ า
ความกตัญญู หมายถึง ความรคู้ ุณ รอู้ ุปการคุณท่ีผู้อ่ืนกระทำแลว้ แก่ตน ผู้ใดกต็ ามท่ที ำคุณแกต่ นแล้ว ไม่

ว่าจะมากก็ตาม นอ้ ยกต็ ามแล้วก็ตามระลกึ นกึ ถึงดว้ ยความซาบซึง้ ไมล่ ืมเลือน
กตเวทิตา หมายถึง ความเปน็ ผ้ปู ระกาศคุณท่าน, ความเปน็ ผู้สนองคณุ ท่าน
ท่านพทุ ธทาสภกิ ขุ ได้ให้ความหมายของกตญั ญไู วว้ า่ ความรู้และยอมรบั รใู้ นบุญคุณของผู้อ่ืน ท่ีมีอยเู่ หนือ

ตนเรียกวา่ กตัญญุตา (กตัญญู) การพยายามทำตอบแทนบุญคุณน้ันๆ เรยี กว่า กตเวทิตา (กตเวที) คนท่ีรู้บุญคุณ
คนท่ที ำตอบแทน เรยี กวา่ คนกตเวที

กตัญญกู ตเวทิตา หมายถงึ ความรู้บญุ คณุ ท่านแลว้ ทำตอบใหป้ รากฏ นี่เปน็ ธรรมประคองโลกใหเ้ ปน็ อยไู่ ด้
และอยไู่ ด้ดว้ ยความสงบสุข

อย่างไรก็ตาม คำว่ากตญั ญูกตเวที เป็นคำท่ีมาด้วยกัน เมื่อกล่าวถึงความกตัญญู ก็ต้องกล่าวถงึ กตเวทีไป
โดยปริยาย เพราะในทางปฏิบัติคุณธรรม ๒ ข้อน้ีไมส่ ามารถแยกจากกนั ได้

เม่ือกล่าวโดยสรุป ความกตัญญูก็คือ ความรู้และการยอมรับในบุญคุณของบุคคล สัตว์ สิ่งของ และ
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ท่ีมีต่อตัวเราท้ังทางตรงและทางอ้อม กตเวทิตา คือ พยายามกระทำตอบด้วยการทดแทน
พระคุณ ช่วยเหลืออุปการะ ยกย่อง บำรุง รักษาให้คงอยู่ในสภาพที่ดีงาม เพื่อความสงบสุขของสังคม และเพื่อ
ความสมดุลทางธรรมชาตสิ ิง่ แวดลอ้ ม

๒๗

แบบทดสอบ
โครงการส่งเสรมิ คุณธรรมศลี ธรรมนำการศึกษา
(สำหรบั โรงเรียนท่มี ีนกั เรยี นนับถือศาสนาอสิ ลาม)

ช่อื – สกุล ................................................................................. ชั้น ............. โรงเรียน ...........................................
สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต ๒

วันท่ี ............... เดือน ..................................................................... พ.ศ. ๒๕๖๓

๑. จงบอกความหมายสัน้ ๆ พอเข้าใจของรกู่ ่นอิสลาม (ไม่ต้องเขยี นภาษาอาหรบั ) (๔๐ คะแนน)
๑.๑ ขอ้ ท่ี ๑ ...........................................................................................................................................
๑.๒ ข้อท่ี ๒ ...........................................................................................................................................
๑.๓ ขอ้ ที่ ๓ ...........................................................................................................................................
๑.๔ ข้อท่ี ๔ ...........................................................................................................................................
๑.๕ ข้อท่ี ๕ ...........................................................................................................................................

๒. จงเขยี นรกู่ ่นอีหม่าน (เป็นภาษาไทย หรอื ภาษาอาหรับ หรือสองภาษา) (๒๐ คะแนน)
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
๓. จงเขียนหลักคุณธรรม [ ‫( ] إإ ْح َسَا َن‬เป็นภาษาไทย หรือภาษาอาหรับ หรอื สองภาษา) (๑๐ คะแนน)
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
๔. จงบอกความหมายของสธี งไตรรงค์ พอสงั เขป (๑๐ คะแนน)

๔.๑ สีแดง ..................................................................................................................................................
๔.๒ สขี าว ..................................................................................................................................................
๔.๓ สนี ำ้ เงนิ ...............................................................................................................................................

๒๘

๕. จงอธิบายความหมายของความกตญั ญกู ตเวทิตา (๑๐ คะแนน)
ความกตญั ญู หมายถึง ............................................................................................................................................
กตเวทติ า หมายถึง ...........................................................................................................................................
จงยกตวั อยา่ งความกตัญญูกตเวทิตาตอ่ ชาติ...........................................................................................................
................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
จงยกตวั อยา่ งความกตญั ญกู ตเวทิตาต่อศาสนา.......................................................................................................
................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
จงยกตัวอย่างความกตญั ญูกตเวทิตาตอ่ พระมหากษัตริย์.......................................................................................
................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
จงยกตวั อย่างความกตญั ญกู ตเวทติ าตอ่ บิดา มารดา..............................................................................................
................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
๖. จงอธิบายถงึ องค์ประกอบการสญุ ูด (๑๐ คะแนน)

(การสญุ ูด คอื การกม้ กราบโดยอวยั วะท้ัง ๗ ส่วนสัมผสั กับพนื้ ) ได้แก่
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

๒๙

แบบลงทะเบียนขอรับการประเมินตัวชี้วดั โครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนำการศกึ ษา
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต 2

1. โรงเรียน .....................................................................สงั กัด...........................................................................
2. ท่อี ย.ู่ .................ตำบล.....................................อำเภอ............................................จังหวัด...............................
3. ระดบั ช้นั นกั เรียนทีเ่ ข้ารบั การประเมนิ

 ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6
 ประถมศกึ ษาปีที่ 4 – มธั ยมศึกษาปที ี่ 3
4. นักเรยี นท่เี ข้ารบั การประเมิน จำนวน ............. คน
5. ครูผู้รบั ผิดชอบ นาย / นาง / นางสาว.............................................................................................................
หมายเลขโทรศัพท์........................................................
6. ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นนาย / นาง / นางสาว.....................................................................................................
หมายเลขโทรศัพท์........................................................
7. โรงเรยี นขอรับการประเมนิ วนั ท่ี ............. เดอื น.............................................. พ.ศ. ....................................

ลงชอ่ื ..........................................................ผ้ลู งทะเบียนขอรบั การประเมิน
(.........................................................)

ตำแหน่ง....................................................

๓๐

บรรณานุกรม

คุรุสัมพันธ์อิสลามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์, สมาคม. 2563. หนังสือเรียนศาสนาอิสลาม
ตามหลักสูตรการศกึ ษาศาสนาอิสลามภาคบงั คับระดับพื้นฐาน (ฟัรดูอัยน์) ช้ันปีที่ 1. จงั หวดั นนทบรุ ี:
สมาคมคุรุสัมพันธอ์ ิสลามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ป์

คุรุสัมพันธ์อิสลามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์, สมาคม. 2563. หนังสือเรียนศาสนาอิสลาม
ตามหลกั สูตรการศกึ ษาศาสนาอสิ ลามภาคบงั คบั ระดบั พนื้ ฐาน (ฟัรดูอยั น์) ช้นั ปที ี่ 2. จังหวัดนนทบรุ ี:
สมาคมครุ สุ มั พันธอ์ สิ ลามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ป์

คุรุสัมพันธ์อิสลามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์, สมาคม. 2560. หนังสือเรียนศาสนาอิสลาม
ตามหลักสตู รการศึกษาศาสนาอิสลามภาคบงั คบั ระดับพ้ืนฐาน (ฟัรดูอยั น์) ชนั้ ปีท่ี 3. พิมพ์คร้ังท่ี 1.
จงั หวดั นนทบรุ ี: สมาคมคุรสุ มั พนั ธ์อิสลามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ป์

คุรุสัมพันธ์อิสลามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์, สมาคม. 2563. หนังสือเรียนศาสนาอิสลาม
ตามหลักสูตรการศึกษาศาสนาอิสลามภาคบังคับระดับพื้นฐาน (ฟัรดูอัยน์) ชั้นปีที่ 4. จังหวัด
นนทบุรี: สมาคมครุ ุสมั พันธอ์ สิ ลามแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ป์

เฉาก๊วยชากังราว จำกัด, บริษทั . เอกสารการประชุมชี้แจงโครงการสง่ เสรมิ คุณธรรมศลี ธรรมนำการศกึ ษา.
กำแพงเพชร: บริษัท เฉาก๊วยชากังราว จำกัด






Click to View FlipBook Version