The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม (พุทธ)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สพป.นนทบุรี เขต 2 -, 2021-03-07 21:39:47

คู่มือการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม (พุทธ)

คู่มือการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม (พุทธ)

คูม่ อื การประเมิน

โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม
ศลี ธรรมนาการศกึ ษา

สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต ๒





1

คูม่ ือการประเมินโครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม ศลี ธรรมนำการศึกษา
สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 2

.............................................................................................................

วัตถุประสงค์

๑. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนรกั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์
2. เพื่อปลูกฝังนักเรียนให้มีคุณธรรมศีลธรรมความกตัญญูกตเวทีต่อบิดา มารดา ครู อาจารย์
ผู้มพี ระคุณและแผน่ ดนิ เกิด
3. เพือ่ พัฒนาใหน้ กั เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ และปฏบิ ัตติ ามหลักศาสนาพธิ ไี ดถ้ กู ตอ้ ง

3.๑ ปฏบิ ตั ิหนา้ ทม่ี ัคนายกตามระเบียบศาสนาพิธีได้ถกู ต้อง
3.๒ สามารถอาราธนาศลี ๕ อาราธนาธรรม อาราธนาพระปรติ ร กลา่ วคำถวายสงั ฆทาน คำถวาย
ผา้ ป่า คำแผเ่ มตตา ได้ถูกต้อง
4. เข้าใจความหมายของศีล ๕ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์จรงิ ท่ีเกิดข้ึน ใน
สงั คม แล้วเช่อื มโยงองคค์ วามรู้ศลี ๕ เขา้ กับกฎหมาย วัฒนธรรม ประเพณอี นั ดีงามของไทยได้
5. นำความรศู้ ีล ๕ ไปใช้ในวิถีชีวติ ประจำวัน ตามวถิ ีชุมชนทต่ี นเองอาศัยได้

ตวั ชีว้ ดั
1. นกั เรยี นมคี วามรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ (๑๐ คะแนน)
2. นักเรียนมีคุณธรรมศีลธรรมความกตัญญูกตเวทีต่อบิดา มารดา ครู อาจารย์ ผู้มีพระคุณ และ

แผ่นดนิ เกิด (๑๐ คะแนน)
3. อธิบายความหมาย และสามารถวิเคราะหเ์ ชื่อมโยงหลักของศีล ๕ สู่การปฏิบัติ ข้อละ ๕ คะแนน

(๒๕ คะแนน)
4. นกั เรยี นมที ักษะมคั นายกน้อย ข้อละ ๕ คะแนน (๓๐ คะแนน)
5. นักเรียนมที กั ษะศาสนพธิ ีเบอื้ งต้น และมีมารยาทไทยท่ีถกู ต้อง (๒๕ คะแนน)

ขน้ั ตอนการประเมิน
ข้นั ตอนที่ ๑ ด้านศาสนพิธี
โรงเรยี นทกุ โรงเรยี นท่ีเข้าโครงการที่ขอรับการประเมินตอ้ งผ่านการประเมนิ ด้านศาสนพิธีตามตัวชี้วัด

ของโครงการ คือ มีทักษะมัคนายกน้อย อาราธนาศีลห้า อาราธนาธรรม อาราธนาพระปริตร คำถวายทาน
คำถวายผา้ ปา่ คำแผ่เมตตา

ขน้ั ตอนที่ ๒ ด้านการทดสอบความรู้ดว้ ยขอ้ เขียน
1. โรงเรียนที่มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ต่ำกว่า 50 คน ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด ร่วม
ประกอบศาสนพิธีพรอ้ มกัน และทดสอบความรู้ ความเข้าใจ เมอ่ื เสร็จส้ินขบวนการประกอบศาสนพิธี
2. โรงเรยี นท่มี ีนกั เรียนกลุ่มเปา้ หมาย 100 คนขึ้นไป แยกนกั เรยี นกลุ่มเป้าหมาย 2 กล่มุ ดำเนนิ การ
ประกอบศาสนพิธี พร้อมกบั การทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจ

2

** ทดสอบดว้ ยแบบทดสอบอัตนัย โดยกำหนดจำนวนนกั เรียน ร้อยละ 10 ของกลมุ่ เปา้ หมาย
(กลมุ่ เปา้ หมาย หมายถงึ นกั เรียนตัง้ แต่ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 ถึงชน้ั สงู สดุ ของโรงเรียน)

*** หมายเหตุ อาจยืดหย่นุ ได้ตามความเหมาะสมของโรงเรยี นโดยดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการ

ขั้นตอนที่ ๓ ด้านวัฒนธรรมชาวพทุ ธ
ใหป้ ระเมนิ ตามแบบบันทกึ คะแนนด้านปฏบิ ตั ิ

ขน้ั ตอนที่ ๔ ด้านการประเมนิ เชิงประจักษ์
คณะกรรมการสามารถสอบถามนักเรียนสว่ นใดก็ได้ในโรงเรยี นตามความเหมาะสมกบั สถานการณ์

*** หมายเหตุ ขน้ั ตอนการประเมินในข้ันตอนตา่ ง ๆ อาจยดื หยุน่ ได้ตามความเหมาะสมของคณะกรรมการ

การวดั และประเมินผล
นักเรียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ - ๖
วิธีการวัด
๑. ตวั ช้วี ัดขอ้ ท่ี ๑ และ ข้อท่ี ๒ ให้แบบเขยี นอธิบายสน้ั ๆ ใหไ้ ดใ้ จความสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงความรู้

เกีย่ วกับเรอื่ งที่น้ัน ๆ ท่ยี กสถานการณ์จำลองมาเป็นโจทย์
๒. ตวั ชว้ี ดั ข้อที่ ๓ เขยี น หรอื บอกความหมายของศลี ดว้ ยปากเปล่า (ระดบั ประถมศึกษา)
๓. ตัวช้ีวัดข้อที่ ๔ - ๕ ให้ปฏิบัติให้คณะกรรมการตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ก่อนประเมนิ ผลเป็นคะแนน
๔. การวดั และประเมินผล แบง่ ออกเป็น ๒ สว่ น
- การวดั และประเมินผลรายบคุ คล - การวดั และประเมินผลโดยรวมท้งั โรงเรยี น

ขั้นตอนการสมคั รขอรบั การประเมนิ
1. โรงเรยี นสามารถยน่ื สมัครรบั การประเมนิ โดยทำหนังสอื ราชการมายังสำนักงานเขตพื้นทฯ่ี
2. ประกาศกำหนดการประเมินโรงเรียนทีย่ ่ืนสมคั รรับการประเมนิ
3. ประเมนิ โรงเรียนทย่ี ืน่ สมัครรับการประเมิน
4. ประกาศผลการประเมนิ

ผลการประเมิน
1. การประเมินข้อเขียนรายบุคคล นักเรยี นจะต้องมีผลการประเมนิ ต้งั แต่รอ้ ยละ ๗๐ ขึน้ ไป ดงั นี้
2. การประเมินเชิงประจักษ์รายโรงเรยี น โรงเรยี นจะต้องมีผลการประเมินต้งั แต่ รอ้ ยละ ๗๐ ขน้ึ ไป
เกณฑก์ ารประเมิน
ระดบั ดเี ยย่ี ม รอ้ ยละ ๙๐.๐๐ - ๑๐๐.๐๐
ระดบั ดี รอ้ ยละ ๘๐.๐๐ – ๘๙.๙๙
ระดบั ผ่าน รอ้ ยละ ๗๐.๐๐ – ๗๙.๙๙

*** หมายเหตุ นักเรียนจะต้องได้รับการประเมินรายบุคคล ผ่านการประเมินตั้งแต่ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
เท่าน้ัน จงึ จะไดร้ ับการประเมนิ ผลโดยรวมท้ังโรงเรียน

3

การเตรียมรับการประเมินโครงการ

การเตรียมสถานท่ี
1. จัดเตรียมสถานที่ในการประกอบศาสนพธิ ี
2. จัดเตรียมหอ้ งทดสอบ ให้นกั เรยี นทำการทดสอบ ด้านความรู้ ความเข้าใจ

การประเมินกจิ กรรมของโครงการฯ
1. การประกอบศาสนพธิ ี (โดยนักเรยี นดำเนนิ การ)
2. การทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ตามตัวช้ีวดั ของโครงการ

การประกอบพิธี
1. นักเรยี นกลมุ่ เปา้ หมายเดินอย่างเป็นระเบียบ สู่สถานที่ประกอบศาสนพิธี
2. มคั นายกน้อยนำประกอบศาสนพธิ ี ตงั้ แตเ่ ร่ิมต้นจนเสร็จพิธี โดยนกั เรยี นกลมุ่ เปา้ หมายสามารถ

กล่าวคำอาราธนาศลี ห้า อาราธนาธรรม อาราธนาพระปรติ ร ถวายทาน แผเ่ มตตา ไดพ้ ร้อมเพรียงกัน
3. คณะกรรมการสนทนา ซักถามความรู้ ความเข้าใจ ตามตัวชวี้ ดั ของโครงการฯ/จัดกิจกรรมกลุ่มให้

นกั เรยี นร่วมระดมความคดิ ตัวแทนนกั เรียนนำเสนอผลการระดมความคดิ

แนวทางการใหค้ วามรู้

การประกอบศาสนพิธี
** กรณโี รงเรยี นมพี ธิ ีกรและตอ้ งการประชาสัมพันธก์ ่อนเวลา
เมื่อผรู้ ่วมงานถงึ สถานที่ประกอบศาสนพธิ ี พธิ กี ร กล่าวต้อนรับหรอื ประชาสัมพันธเ์ ก่ยี วกบั

กจิ กรรมของงานได้ เชน่ กำหนดการของงาน หรือแจ้งให้ทราบทว่ั กันว่า งานนม้ี ีการเทศนใ์ ห้ความรูเ้ กี่ยวกับ
เรอ่ื ง.......................โดยพระช่ือ........................(ให้ระบยุ ศ ตำแหน่งของพระด้วย)

ข้นั ตอนการประกอบศาสนพิธี (โดยมคั นายกนอ้ ยของโรงเรยี น)
ขนั้ ตอนท่ี 1 การกราบคณะสงฆ์
เม่อื คณะสงฆ์เดินทางมาถงึ บรเิ วณพิธี หวั หนา้ มัคนายก นำกราบคณะสงฆ์
หวั หน้ามคั นายก...ขณะนีท้ ่านประธานสงฆ์และคณะสงฆเ์ ดินทางมาถงึ ศูนย์กลางพิธีแล้ว

ขอเรียนเชญิ ทุกท่านนั่งพนมมอื เพ่อื เคารพต่อคณะสงฆ์ ครับ/ค่ะ (รอจนคณะสงฆ์ทัง้ หมดนัง่ เขา้ ท่ีเรยี บรอ้ ยแลว้
ทุกคนเอามอื ลง)

**นักเรยี น (ท่ีไดร้ บั มอบหมาย) ให้ประเคนของรบั รอง นำของรับรองถวายพระ เสร็จแล้ว
กราบ 3 ครัง้

หัวหน้ามคั นายก...ขอเรยี นเชิญทกุ ทา่ นนั่งคกุ เข่าพนมมอื ต้ังใจกราบพระประธานโดยพร้อม
เพรียงกัน ครบั /คะ่

**ทกุ คน กราบพระประธาน พรอ้ มเพรยี งกนั 3 ครั้ง โดยหัวหน้ามคั นายกไม่ตอ้ งนำกล่าว
คำวา่ กราบ

หวั หนา้ มัคนายก...ตัง้ ใจกราบประธานสงฆแ์ ละคณะสงฆ์ โดยพร้อมเพรียงกนั ครบั /ค่ะ
**ทกุ คน กราบประธานสงฆ์ พรอ้ มเพรยี งกัน 3 ครั้ง โดยหวั หน้ามัคนายกไมต่ อ้ งกลา่ ว คำวา่
กราบ

4

ขั้นตอนที่ 2 การจุดธปู เทียนบูชาพระรตั นตรยั
หวั หน้ามัคนายก...เรยี นเชญิ คุณ..................ประธานในพธิ จี ุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรยั ขอ

กราบเรยี นเชญิ ครับ/ค่ะ (รอประธานจดุ ธูปเทยี นและเขา้ นั่งยังท่ีรบั รองเรยี บรอ้ ย)
หวั หนา้ มคั นายก...เรยี นเชญิ ทุกท่านกล่าวคำบูชาพระรตั นตรยั โดยพรอ้ มเพรยี งกัน ครับ/คะ่
อมิ นิ า สักกาเรนะ/ พทุ ธัง อภิปูชยาม
อมิ ินา สักกาเรนะ/ ธมั มัง อภปิ ูชยาม
อมิ นิ า สักกาเรนะ/ สังฆงั อภิปูชยามฯ
หวั หนา้ มคั นายก...เรียนเชญิ ทุกทา่ นกราบนมัสการพระรตั นตรัยโดยพรอ้ มเพรียงกัน ครบั /ค่ะ
อะระหงั สมั มาสัมพุทโธ ภะคะวา/ พทุ ธัง ภะคะวนั ตัง อะภวิ าเทมิ / (กราบ)
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม/ธัมมัง นะมัสสามิ/ (กราบ)
สปุ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ/ สังฆัง นะมามิ/ (กราบ)

ขนั้ ตอนที่ 3 การอาราธนาศลี - ขอศีล
หวั หนา้ มคั นายก...กล่าวคำนำกอ่ นเรยี นเชิญทุกทา่ นอาราธนาศีล 5
บัณฑติ ทั้งหลายกลา่ วว่า ศลี เป็นเบ้อื งต้น, เป็นทตี่ ้ัง, เป็นบอ่ เกิดแห่งคุณงามความดี

ท้ังหลาย, และเป็นประธานแหง่ ธรรมทั้งปวง, บคุ คลใด, ชำระศีลให้บริสุทธ์ิแล้ว, จะเปน็ เหตุให้เว้นจากความ
ทุจริต, จิตจะร่าเรงิ แจม่ ใส, และเป็นท่าหยงั่ ลงมหาสมทุ ร, คอื นิพพาน,

หัวหน้ามคั นายก...ดงั นนั้ ขอเรียนเชญิ ทุกทา่ น, นั่งคุกเขา่ พนมมือ, ต้ังใจกล่าวคำอาราธนาศีล
5 โดยพรอ้ มเพรียงกนั ครบั /ค่ะ

มะยัง ภนั เต /วิสงุ วิสุง รักขะนตั ถายะ / ตสิ ะระเณนะ สะหะ / ปญั จะ สลี านิ ยาจามะ/
ทตุ ยิ มั ปิ มะยัง ภันเต/ วสิ ุง วิสงุ รกั ขะนตั ถายะ / ตสิ ะระเณนะ สะหะ / ปัญจะ สลี านิ ยาจามะ/
ตะตยิ มั ปิ มะยงั ภันเต/ วสิ ุง วสิ งุ รกั ขะนัตถายะ / ตสิ ะระเณนะ สะหะ/ ปญั จะ สีลานิ ยาจามะ/

ประธานสงฆก์ ล่าวนำให้ศลี (ทกุ คนกล่าวตามไปทลี ะบท) ดงั ตอ่ ไปนี้
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพุทธสั สะ/
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพุทธสั สะ/
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ/
พุทธงั สะระณงั คจั ฉามิ
ธัมมงั สะระณงั คจั ฉามิ
สงั ฆัง สะระณัง คจั ฉามิ
ทุตยิ มั ปิ พทุ ธงั สะระณงั คจั ฉามิ
ทุตยิ มั ปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุตยิ ัมปิ สังฆัง สะระณงั คจั ฉามิ
ตะติยมั ปิ พทุ ธงั สะระณงั คัจฉามิ
ตะตยิ มั ปิ ธมั มงั สะระณัง คัจฉามิ
ตะตยิ ัมปิ สงั ฆัง สะระณัง คัจฉามิ

5

ประธานสงฆ์กล่าวสรุป ติสะระณะ คะมะนังนิฏธิตัง
หวั หนา้ มคั นายก...และทุกคนกล่าว “อามะ ภันเต” พรอ้ มกนั
ประธานสงฆ์ กล่าวนำให้ศีล 5 (ทกุ คนกล่าวตามเป็นข้อ ๆ โดยเว้นวรรคใหเ้ หมอื นประธาน
สงฆ)์ ดังตอ่ ไปนี้

ปาณาตปิ าตา เวระมณี สกิ ขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะทินนาทานา เวระมณี สิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิ
กาเม สมุ ิจฉาจารา เวระมณี สกิ ขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมณี สกิ ขาปะทงั สะมาทิยามิ
สรุ าเมระยะ มชั ชะปะมา ทฏั ฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ประธานสงฆ์ กลา่ วสรปุ ศีล 5 (โดยผรู้ ับศีลไม่ต้องกลา่ วตาม)
อมิ านิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ /สีเลนะ สคุ ะตงิ ยันติ / (ทกุ คนกล่าวพรอ้ มกันว่า “สาธ”ุ )
สเี ลนะ โภคะสัมปะทา / (ทุกคนกลา่ วพร้อมกนั ว่า “สาธุ”)
สเี ลนะ นพิ พุติง ยันติ / (ทุกคนกลา่ วพรอ้ มกันว่า “สาธุ”)
ตสั มา สีลงั วโิ สธะเย / (ทุกคนกล่าวพรอ้ มกนั ว่า “อามะ ภันเต”)

ข้ันตอนท่ี 4 การกล่าวคำอาราธนาพระปริตร
หัวหน้ามัคนายก...เชิญทุกทา่ นกล่าวคำอาราธนาพระปริตรพร้อมกนั ครับ/ค่ะ
วิปตั ติปะฏพิ าหายะ / สพั พะสมั ปตั ติสทิ ธิยา /
สพั พะทกุ ขะวนิ าสายะ / ปะริตตัง พรูถะ มงั คะลัง /
วปิ ตั ตปิ ะฏพิ าหายะ / สัพพะสัมปัตติสทิ ธิยา /
สพั พะภะยะวินาสายะ / ปะรติ ตงั พรูถะ มังคะลัง /
วปิ ัตตปิ ะฏิพาหายะ / สพั พะสัมปตั ติสทิ ธยิ า /
สัพพะโรคะวินาสายะ / ปะริตตัง พรถู ะ มงั คะลัง / ฯ

(ขอพระสงฆท์ งั้ หลาย จงสวดพระปรติ รอนั เปน็ มงคลเพอ่ื ป้องกนั ความวิบัติ เพ่ือความสำเรจ็ ในสมบัติ
ทง้ั ปวงและเพอ่ื ใหท้ ุกข์ท้งั ปวงพินาศไป เพ่อื ให้ภยั ท้งั ปวงพนิ าศไป เพ่ือใหโ้ รคทง้ั ปวงพินาศไป)

**พระสงฆ์จะสวดพระปรติ รจนถงึ บท “อะเสวะนา จะพาลานัง” ให้ประธานในพิธหี รือตัวแทนจุด
เทียนน้ำมนต์ แล้วยกบาตรนำ้ มนตป์ ระเคนประธานสงฆ์

ขัน้ ตอนท่ี 5 การถวายสงั ฆทาน
หัวหนา้ มัคนายก...กล่าวคำนำก่อนถวายสงั ฆทาน
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั วา่ , สัปปบุรษุ , ยอ่ มให้ทาน, เชน่ ให้ขา้ วและน้ำทส่ี ะอาดประณตี ,

ตามกาลสมควรอยู่เปน็ นิตย์, แด่ผปู้ ระพฤตพิ รหมจรรย์, ซงึ่ เปน็ บุญเขตอันเย่ยี ม, สำหรับผู้ใหเ้ ครอ่ื งบริโภคนั้น,
ไดช้ ือ่ วา่ , ใหฐ้ านะทัง้ 5 ประการแก่ปฎิคาหก, ดังตอ่ ไปนีค้ ือ, ให้อาย,ุ ใหว้ รรณะ, ให้สุขะ, ให้พละ, และให้
ปฏภิ าณ, ผ้ใู หก้ ็ย่อมไดร้ บั ฐานะท้งั 5 ประการนั้นด้วยบุญเทา่ น้ัน, ทจี่ ะเป็นท่พี ง่ึ ของพวกเราท้งั หลาย, ดงั นน้ั
ขอเรยี นเชญิ ทกุ ทา่ น, พงึ ตัง้ ใจ, กลา่ วคำถวายภัตตาหารเป็นสังฆทาน, โดยพรอ้ มเพรยี งกัน ครบั /ค่ะ

หวั หนา้ มคั นายก...ขอเชิญทกุ ท่าน ต้งั นะโม 3 จบ พรอ้ มเพรยี งกนั
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธสั สะ/
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธัสสะ/
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธัสสะ/

6

หัวหนา้ มัคนายก...ขอเชญิ ทกุ ท่าน กลา่ วคำถวายขา้ วพระพทุ ธ พร้อมกนั ครับ/ค่ะ
อมิ ัง สปู ะพยัญชะนะ สมั ปันนัง สาลีนงั โภชะนานัง อุทะกัง วะรงั พุทธสั สะ

ปเู ชมะ

หัวหน้ามัคนายก...ขอเชญิ ทุกทา่ น กลา่ วคำถวายภัตตาหาร แดพ่ ระภิกษสุ งฆ์ พร้อมกัน ครับ/คะ่
อมิ านิ มะยัง ภันเต / ภตั ตานิ / สะปะริวารานิ / ภกิ ขุสังฆสั สะ / โอโณชะยามะ /

สาธุ โน ภันเต / ภกิ ขุสงั โฆ / อิมานิ / ภตั ตานิ / สะปะรวิ ารานิ / ปะฏิคคัณหาตุ / อัมหากงั / ทฆี ะรตั ตัง /
หิตายะ / สุขายะ /

ขา้ แต่พระสงฆผ์ ู้เจรญิ / ข้าพเจา้ ทงั้ หลาย / ขอนอ้ มถวาย / ภตั ตาหาร / กับทั้งของ
บริวารทั้งหลายเหล่าน้ี / แก่พระภกิ ษุสงฆ์ / ขอพระภิกษุสงฆ์ / จงรบั ภัตตาหาร / กับทง้ั ของบรวิ ารทงั้ หลาย
เหล่านี้ / ของขา้ พเจ้าทัง้ หลาย / เพื่อประโย ชน์ / เพอ่ื ความสขุ / แก่ข้าพเจ้าท้งั หลาย / ตลอดกาลนาน
เทอญ ฯ

**หมายเหตุ ถา้ มีการถวายผ้าป่าใหถ้ วายตอ่ จากการถวายภัตตาหารหรอื พรอ้ มกันกับถวาย
ภัตตาหาร

การทอดผา้ ปา่
หวั หนา้ มคั นายก...ขอเชิญทกุ ท่านกล่าวคำถวายผ้าปา่ พร้อมเพรียงกัน ครับ/คะ่
อมิ านิ มะยัง ภนั เต / ปงั สุกูละจวี ะรานิ / สะปะรวิ ารานิ / ภกิ ขุสังฆสั สะ / โอโณชะยามะ

/สาธุ โน ภนั เต / ภกิ ขสุ งั โฆ / อิมานิ / ปังสกุ ลู ะจีวะรานิ / สะปะริวารานิ / ปฏคิ คณั หาตุ / อัมหากัญเจวะ /
มาตาปติ ุ / อาทีนญั จะ / ญาตะกานงั กาละกะตานัง / ทีฆะรตั ตัง / หติ ายะ / สุขายะ /

ข้าแต่พระสงฆผ์ ู้เจรญิ / ขา้ พเจา้ ทัง้ หลาย / ขอน้อมถวาย / ผา้ บังสกุ ุลจีวร / พรอ้ มกับ
ของบรวิ ารทั้งหลายเหล่าน้ี / แกพ่ ระภิกษสุ งฆ์ / ขอพระภกิ ษสุ งฆ์ / จงรบั ผ้าบังสุกุลจีวร /พร้อมกบั ท้งั ของ
บรวิ ารทงั้ หลายเหลา่ นี้ / ของข้าพเจา้ ทงั้ หลาย / เพือ่ ประโยชน์ /เพื่อความสุข / แกข่ า้ พเจ้าท้งั หลาย / ตลอด
กาลนาน เทอญ /

การถวายปัจจัย
หวั หน้ามัคนายก...ขอเชิญทุกท่านตั้งนะโม 3 จบ และกล่าวคำถวายปจั จยั พรอ้ มเพรยี งกัน

ครบั /ค่ะ
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธัสสะ/
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธสั สะ/
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธสั สะ/

สทุ ินนงั วะตะ เม ทานัง อาสะวกั ขะยาวะหงั นิพพานะปัจจะโย โหตุ ฯ
ขอทานของขา้ พเจา้ อันให้ดแี ลว้ หนอ จงนำมาซึ่งความสน้ิ ไปแห่งอาสวกเิ ลส จงเปน็ ปัจจยั แก่
พระนพิ พานฯ

ขั้นตอนท่ี 6 การแสดงธรรมเทศนา
**กรณมี ีการแสดงธรรมเทศนา
หวั หนา้ มัคนายก...ขอเรยี นเชญิ ..................(ประธาน) จดุ เทียนบูชาธรรม/เทยี นสอ่ งธรรม ครบั /

ค่ะ (รอประธานจดุ เทียนเสรจ็ )

7

หัวหน้ามัคนายก...เชญิ ทุกท่านกลา่ วคำอาราธนาธรรม โดยพรอ้ มกนั ครับ/คะ่
พฺรหั มา จะ โลกาธปิ ะตี สะหมั ปะติ / กัตอญั ชะลี อนั ธิวะรัง อะยาจะถะ / สนั ธีตะ สตั ตาป

ปะรกั ชักขะ ชาตกิ า / เทเสตุ ธัมมงั อะนุกัมปิมงั ปะชัง /
**เมอื่ พระสงฆ์เทศนาจบแลว้ หัวหน้ามัคนายก เชิญตัวแทนถวายเครื่องไทยธรรม

หวั หนา้ มคั นายก...เชิญทุกทา่ นตง้ั นะโม 3 จบ แล้วกลา่ วคำถวายเคร่อื งไทยธรรมพรอ้ มเพรยี งกนั
ครับ/คะ่

อิมานิ มะยัง ภันเต / จะตุปัจจะยาทีนิ / สะปะรวิ ารานิ / ภิกขุสงั ฆสั สะ / โอโนชะยามะ/ สาธุ
โน ภนั เต / ภกิ ขสุ ังโฆ / อิมานิ / จะตุปัจจะยาทนี ิ / สะปะริวารานิ / ปะฏิคคัณหาตุ / อมั หากงั / ฑีฆะรตั ตงั /
หิตายะ / สุขายะ ฯ

ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ เู้ จริญ, ข้าพเจ้าทง้ั หลาย, ขอนอ้ มถวายเครื่องไทยธรรม, มีปจั จยั ส่เี ป็นตน้ , กบั
ท้งั บริวารเหลา่ น้,ี แกพ่ ระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับเครื่องไทยธรรม, มีปัจจัยส่ีเปน็ ตน้ , กับทั้งบริวาร
เหล่าน,้ี ของขา้ พเจ้าท้ังหลาย, เพอ่ื ประโยชน์และความสุข, แก่ขา้ พเจ้าทงั้ หลาย, สิน้ กาลนานเทอญ.

เมือ่ พระสงฆร์ ับเครือ่ งไทยธรรมแลว้ พระจะสวดใหพ้ ระเป็นภาษาบาลี ตอนพระขน้ึ บท “ยะ
ถาวาริวะหา.....” ใหท้ ุกคนกรวดนำ้ อทุ ิศส่วนกุศลในในหรือเบา ๆ (ถ้ามนี ำ้ ให้หยาดน้ำด้วย)

ขน้ั ตอนท่ี 7 การกรวดนำ้ และอทุ ศิ สว่ นกศุ ล
หัวหน้ามคั นายก...ขอเชิญทุกท่านกล่าวคำกรวดน้ำ และคำอุทิศสว่ นกุศลพรอ้ มเพรียงกนั ครับ/คะ่
อิทงั โน ญาตนี งั โหตุ / สขุ ิตาโหนตุ ญาตะโย
ขอเดชะ, ตัง้ จติ อุทิศผล, บญุ กุศลอนั นแ้ี ผไ่ ปใหไ้ พศาล, ถึงบิดา มารดา ครู-อาจารย,์ ท้ัง

ลูกหลานญาติมติ รสนิทกัน, คนเคยรว่ มงานการท้งั หลาย, มีสว่ นได้ในบุญกศุ ลผลของฉัน, ทั้งเจา้ กรรมนายเวร
และเทวัญ, ขอให้ท่านมารับส่วนบุญกุศล, ผลนีเ้ ทอญ.

ขั้นตอนท่ี 8 เสรจ็ พธิ ีสงฆ์
หัวหนา้ มคั นายก...ขอเชญิ ทุกท่านกราบพระรตั นตรยั โดยพรอ้ มกนั อีกคร้ัง ครับ/คะ่
อะระหงั สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา / พทุ ธงั ภะคะวนั ตงั อะภิวาเทมิ (กราบ)
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม / ธมั มัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ / สงั ฆัง นะมามิ (กราบ)

..............เสรจ็ สนิ้ การประกอบพธิ .ี ............

8

ระเบยี บปฏบิ ตั ิพุทธศาสนพิธี

แนวทางการปฏบิ ัตงิ าน

๑. ผู้มเี กยี รตพิ รอ้ มกัน ณ บรเิ วณสถานทีป่ ระกอบพธิ ี
๒. เมื่อถงึ เวลาท่ีกำหนดประกอบพธิ ีนมิ นต์พระสงฆ์ข้ึนประจำอาสนส์ งฆ์
๓. ประธานหรอื เจา้ ภาพจดุ ธปู เทียนบูชาพระรตั นตรัย แลว้ กราบ ๓ ครั้ง
๔. เจ้าหน้าทอ่ี าราธนาศีล
๕. เจ้าภาพ และผ้มู ีเกียรติรับศลี
๖. เจ้าหนา้ ท่ีอาราธนาพระปริตร แลว้ ฟงั พระสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนต์
๗. เมอื่ พระสงฆส์ วดบท นโม ๘ บท ใกล้จะจบ ประมาณบทที่ ๖ จดุ เทยี นชนวน ส่งให้เจ้าภาพหรือ
ประธานจดุ เทยี นทำน้ำพระพทุ ธมนต์ เมื่อพระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์ ถึงบท “อเสวนา จ พาลาน.ํ ..”
๘. เมอ่ื จดุ เทียนน้ำพระพุทธมนต์แลว้ ประธานหรอื เจ้าภาพยกครอบน้ำพระพทุ ธมนต์
ประเคนพระสงฆ์ องคต์ ้น
๙. พระสงฆเ์ จริญพระพทุ ธมนต์ถงึ บท “พาหุ...” หรอื บท “มหาการณุ โิ ก นาโถ...”
ใหจ้ ัดเตรียมยกสำรับบูชาข้าวพระพุทธ มาตงั้ ยงั ท่ที จ่ี ดั เตรยี มไวห้ นา้ เคร่ืองบชู าพระพทุ ธ
๑๐. จดั เตรียมและยกภัตตาหารสำรับถวายพระสงฆ์มาต้ังไว้ยงั ท่ที ีพ่ ระสงฆ์จะฉนั ภัตตาหาร
๑๑. เชญิ ประธานหรือเจา้ ภาพประเคนภตั ตาหารแด่พระสงฆ์
๑๒. เมอื่ พระสงฆ์เสร็จภัตตกจิ แล้ว ใหย้ กเครอื่ งจตุปจั จัยไทยธรรมต้งั ไวณ้ เบอื้ งหนา้ พระสงฆ์แต่ละรปู
๑๓. เชญิ เจา้ ภาพหรอื ประธานประเคนเครอื่ งจตุปัจจยั ไทยธรรมแดพ่ ระสงฆ์
๑๔. พระสงฆ์อนโุ มทนา
๑๕. เจ้าภาพหรอื ประธานกรวดนำ้ - รับพร
๑๖. เสร็จพิธที ำบุญ

การจดั สถานที่งานพิธที ำบุญ

การจัดสถานที่งานพิธีทำบุญในทางพระพุทธศาสนาทุกอย่าง ทั้งงานมงคล และงานอวมงคลน้ัน
เบอื้ งต้น เจ้าภาพ หรือ เจา้ ของงาน จะต้องคำนึงถงึ สถานทีซ่ ่ึงมีบรเิ วณกวา้ งขวางเพยี งพอ และเหมาะสมจะจัด
ให้เป็นสถานที่บำเพ็ญกุศลทางพระพุทธศาสนา สำหรับจัดเป็นห้องพิธี อันประกอบด้วยสถานที่สำคัญ ๓
ประการ คือ

๑. สถานที่ต้งั โตะ๊ หมบู่ ูชาพระรัตนตรยั
๒. สถานท่ีจัดเปน็ อาสน์สงฆ์
๓. สถานที่นงั่ สำหรบั เจา้ ภาพและผู้มารว่ มงาน

สถานที่ต้ังโตะ๊ หมบู่ ูชาพระรตั นตรัย

โต๊ะหมู่บูชาพระรัตนตรัยนั้น นิยมจัดตั้งไว้ด้านขวาของอาสน์สงฆ์ ตั้งไว้สูงกว่าอาสน์สงฆ์พอสมควร
และนิยมตั้ง หันหน้าไปทางทิศตะวันออก เพราะเป็นทิศที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งตรัสรู้พระอนุตตรสัมมา
สมั โพธิญาณ สำเรจ็ เปน็ พระพทุ ธเจ้า ถ้าขัดขอ้ งเพราะสถานทีไ่ มอ่ ำนวย ก็นยิ มตั้งหันหนา้ ไปทางทิศเหนอื หรือ

9

ทิศใต้ ทศิ ใดทศิ หน่งึ แตไ่ มน่ ยิ มตั้ง หนั หนา้ ไปทางทิศตะวนั ตก เพราะถือกันว่าทิศตะวนั ตกเป็นทิศอสั ดงคตแห่ง
พระอาทิตย์ เป็นทศิ แหง่ ความเส่อื ม ไมเ่ จรญิ ร่งุ เรอื ง

โต๊ะหมบู่ ชู าพระรัตนตรยั นนั้ โดยมาก นิยมตง้ั ไว้บนอาสนส์ งฆ์ ทางต้นอาสน์สงฆ์ประกอบดว้ ยส่ิงสำคัญ
๕ ประการ คือ

๑. พระพทุ ธรูป ๑ องค์ (นยิ มพระปางมารวิชัย)
๒. กระถางธูป ๑ ลูก พรอ้ มทั้งธปู ๓ ดอก
๓. เขงิ เทยี น ๑ คู่ พรอ้ มทงั้ เทยี น ๒ เลม่
๔. แจกนั ๑ คู่ พรอ้ มทงั้ ดอกไมป้ ระดับ และนิยมมพี านดอกไม้ตงั้ บชู าดว้ ย
๕. โต๊ะหมู่ ๑ หมู่

เครอื่ งสักการบูชาพระรตั นตรัยน้นั นิยมจัดหาสงิ่ ของที่ดที ่สี ดุ ประณีตท่ีสดุ เท่าทจี่ ะสามารถหามา
จดั ไดก้ ลา่ วคือ

๑. ธปู นยิ มใชธ้ ูปหอมอย่างดี
๒. เทยี น นยิ มใช้เทยี นเล่มใหญ่พอสมควรแก่เชงิ เทียน
๓. ดอกไม้ นิยมใช้ดอกไมท้ ่เี พียบพรอ้ มดว้ ยลกั ษณะ ๓ ประการ คอื มีสีสวย มีกล่นิ หอม และกำลัง
สดช่นื

สถานที่จดั เปน็ อาสนส์ งฆ์

อาสน์สงฆ์ คอื สถานทส่ี ำหรบั พระสงฆ์นง่ั นนั้ นิยมจัดตัง้ ไว้ทางดา้ นซ้ายของโต๊ะหมู่บชู าพระรัตนตรยั
และนิยมจดั แยกออกเปน็ เอกเทศส่วนหนง่ึ ตา่ งหากจากท่นี ั่งของคฤหสั ถ์ชายหญงิ ประกอบดว้ ยเครือ่ งรบั รอง
พระสงฆ์ ดังน้ี

๑. พรมเล็ก สำหรบั ปเู ปน็ ทนี่ ั่งของพระภกิ ษสุ งฆ์แต่ละรปู
๒. กระโถน (ตงั้ ไวด้ า้ นในสดุ )
๓. ภาชนะนำ้ เย็น (ต้งั ไวถ้ ัดออกมา)
๔. ภาชนะนำ้ ร้อน (นิยมนำมาถวาย เมื่อพระสงฆม์ าถึงแล้ว)

เคร่อื งรับรองพระภกิ ษสุ งฆ์น้ัน นยิ มจดั ต้งั ไว้ด้านขวามือของพระภิกษุสงฆแ์ ต่ละรูป โดยจัดต้ังกระโถน
ไว้ดา้ นในสดุ จดั ตง้ั ภาชนะน้ำเย็นไว้ถดั ออกมา สว่ นภาชนะน้ำรอ้ นนนั้ นิยมจดั มาถวายภายหลัง เมอื่ พระภิกษุ
สงฆ์มาน่ังเรยี บร้อยแลว้ เพราะถ้านำมาต้งั ไวก้ ่อน นำ้ ร้อนจะเยน็ เสยี ก่อน ทำใหเ้ สียรสน้ำชา

สถานท่นี ั่งสำหรบั เจา้ ภาพและผู้มาร่วมงาน

สถานที่นั่งสำหรับเจ้าภาพและผู้มาร่วมงาน นั้น นิยมจัดไว้ด้านหน้าของอาสน์สงฆ์ และนิยมจัดแยก
ออกเป็น เป็นเอกเทศส่วนหนึง่ ต่างหากจากอาสนส์ งฆ์ เพื่อป้องกันมิใหพ้ ระภิกษุสงฆ์ตอ้ งอาบัติโทษ เพราะน่งั
อาสนะเดียวกับสตรีเพศ ถ้าสถานที่นั่งสำหรับเจ้าภาพและผู้มาร่วมงานนั้น ปูลาดเนื่องเป็นอันเดียวกันกับ
อาสน์สงฆ์ โดยปูเสื่อหรือ พรมเชื่อมเป็นอันเดียวกัน นิยมปูเสือ่ หรือพรมผืนที่เป็นอาสน์สงฆ์ ทับผืนที่เป็นท่นี ัง่
สำหรับเจ้าภาพและผู้มาร่วมงาน โดย ปูลาดทับกันออกมาตามลำดับ และนิยมจัดปูลาดพรมเล็กสำหรับเป็น
อาสนะท่ีนัง่ ของพระภิกษุสงฆแ์ ต่ละรูปเพื่อให้สูงกว่าทนี่ ่งั ของคฤหัสถ์อกี ดว้ ย

10

สถานทีน่ ่งั สำหรับเจา้ ภาพและผู้มาร่วมงานนน้ั นยิ มกันทวั่ ไปว่า จะต้องไมด่ ีกว่า ไม่ประณีตกว่า และ
ไม่อยู่ ณ ที่สูงกวา่ อาสนส์ งฆ์ ทั้งนีเ้ พื่อเป็นการแสดงความเคารพคารวะแก่พระสงฆ์ การปูลาดอาสนส์ งฆ์ และ
อาสนะท่ีนั่งสำหรับเจา้ ภาพและผ้มู าร่วมงานน้นั โดยทั่วไป นิยมจัดแยกออกจากกัน คนละส่วน เพ่ือความสบาย
ใจด้วยกันทกุ ฝ่าย

การจัดต้ังภาชนะนำ้ มนต์

การจัดตั้งภาชนะน้ำมนต์งานพิธีทำบุญในพระพุทธศาสนานั้น นิยมจัดตั้งภาชนะน้ำมนต์เฉพาะพิธี
ทำบุญงาน มงคลทุกชนิด เช่น งานทำบุญมงคลสมรส งานทำบุญขึ้นบ้านใหม่ งานทำบุญฉลองตา่ ง ๆ เป็นต้น
และนยิ มจัดต้งั ภาชนะ น้ำมนตน์ ไ้ี ว้ข้างโตะ๊ หมูบ่ ูชา ดา้ นพระเถระประธานสงฆน์ ่งั

ภาชนะสำหรบั ใส่นำ้ มนตน์ ัน้ นิยมใช้หม้อนำ้ มนตโ์ ดยเฉพาะ หรือใชบ้ าตรพระสงฆแ์ ทนก็ได้ แตไ่ มน่ ิยม
ใช้ ขันเงินแทน เพราะเปน็ วัตถุอนามาสที่พระภิกษุสงฆไ์ มค่ วรจับต้อง เพราะเกดิ อาบตั ิโทษแกพ่ ระสงฆ์ผ้จู บั ตอ้ ง

น้ำสำหรับทำนำ้ มนตน์ ้ัน นยิ มใชน้ ้ำที่ใสสะอาดบริสุทธิ์ ใส่น้ำขนาดเกือบเตม็ ภาชนะสำหรบั ทำนำ้ มนต์
นน้ั และมีวตั ถทุ ี่นิยมกันว่าเปน็ มงคล ตามความนิยมของทอ้ งถิน่ นน้ั ๆ ใส่ในภาชนะนำ้ มนต์นนั้ ด้วย

เทียนสำหรับทำน้ำมนต์น้ัน นิยมใชเ้ ทียนขี้ผ้งึ แท้ มีขนาดเลม่ ใหญ่พอสมควร ขนาดอย่างเลก็ นิยมมี
น้ำหนกั ๑ บาทขึน้ ไป และนิยมใช้เทยี นทีม่ ไี ส้ใหญ่ ๆ เพอื่ ป้องกนั มิให้ไฟดบั งา่ ย เมื่อถูกลมพัด

วธิ ีการมอบเชิงเทยี นชนวน

เม่อื ถึงเวลาตามกำหนดการแล้ว พธิ ีกรพึงจุดเทียนชนวน ถือด้วยมอื ขวา มือซ้ายควรถือไม้ขีดไฟติดมือ
ไปด้วย (เมื่อเทียนชนวนดับ จะได้จุดได้ทันท่วงที) เดินเข้าไปหา ท่านผู้เป็นประธานพิธี หรือท่านเจ้าภาพงาน
ทำบุญ ยืนตรงโคง้ คำนับทา่ น (สำหรับพิธีกร และประธานพิธีเป็นคฤหัสถ)์ ถ้าประธานพิธีเปน็ พระเถระผู้ใหญ่
พิธีกรพงึ น่ังคกุ เขา่ ลง กราบเรยี นใหท้ า่ นทราบ หรอื

เมอ่ื พธิ กี รเริ่มจดุ เทียนชนวน ท่านผ้เู ป็นประธานพธิ ี หรอื ทา่ นเจ้าภาพงานเหน็ แลว้ ลุกจากทน่ี ง่ั เดนิ ไป
ทโี่ ตะ๊ หมู่บูชาพระรัตนตรัยเอง พธิ กี รพงึ เดนิ ตามหลังท่านไป โดยเดินตามไปทางดา้ นซ้ายมอื ของท่าน

ถา้ ประธานพธิ ี หรอื เจ้าภาพงาน หยดุ ยนื ทข่ี า้ งหนา้ ที่บชู า พิธีกรพึงนั่งชันเขา่ ถา้ ท่านนัง่ คกุ เข่า พธิ ีกร
พงึ น่ังคกุ เขา่ ทางด้านซา้ ยมอื ของทา่ น ยื่นมือขวาสง่ เชิงเทียนชนวนมอบใหท้ ่าน ส่วนมอื ซ้ายห้อยอยูข่ า้ งตวั

เมอ่ื มอบเชงิ เทยี นชนวนให้ท่านแลว้ พิธกี รพึงถอยหลังออกมาให้ห่างจากท่านพอสมควร เพอื่ ไมใ่ ห้
ขัดขวาง การถา่ ยรูปของชา่ งภาพ โดยถอยห่างออกมานัง่ ชนั เข่า หรือนั่งคุกเขา่ ตามควรแกก่ รณพี รอ้ มกบั คอย
สังเกตดู ถา้ เทยี นขนวนดับพงึ รีบเขา้ ไปจดุ ได้ทันที วธิ กี ารรับเชิงเทยี นชนวนจากผูใ้ หญ่

เมื่อทา่ นผูใ้ หญจ่ ุดเคร่อื งสักการบูชาพระรตั นตรยั เสร็จแลว้ พธิ ีกรพึงเข้าไปทางด้านซา้ ยมือของทา่ น ถ้า
ทา่ นยนื จดุ พิธกี รพงึ นงั่ ชันเข่ารับ ถ้าท่านนง่ั คกุ เข่าจุด พิธีกรพงึ นั่งคกุ เขา่ รับเชิงเทยี นชนวน

การรบั เชงิ เทียนชนวนจากผู้ใหญ่น้ัน นิยมยน่ื มอื ขวาแบมือเขา้ ไปรองรับเชงิ เทียนชนวนจากทา่ น เมื่อ
รบั เชงิ เทยี นชนวนแลว้ นิยมถอยหลังหา่ งออกไปเลก็ นอ้ ยแลว้ เดินกลบั ไปได้

การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์

การกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์ประกอบดว้ ยองค์ ๕ คือ หัวเข่า ๒ ฝ่ามือ ๒ และหน้าผาก ๑ ใหจ้ รด
ลงแนบกับพ้ืน และกราบ ๓ ครงั้ เม่ือกราบนั้น ควรกล่าวคำนมัสการให้จบเสียกอ่ น จงึ ค่อยนอบน้อมตัวลง
กราบ ไมค่ วรนอ้ มตวั ลงในขณะทีก่ ลา่ วคำนมัสการยังไม่จบ

11

ขนั้ ตอนการกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ์
ขนั้ ตอนการกราบมีท้งั หมด 3 ขั้นตอนหลกั คอื อัญชลี (การพนมมอื ไว้ระหว่างอก) วันทา (การ

พนมมอื จรดศีรษะ) และอภวิ าท (การกม้ ลงกราบ) มีที่แตกต่างกนั 2 แบบคอื สำหรบั ผู้ชาย เรยี กวา่ ทา่
เทพบตุ ร และผหู้ ญิง เรยี กวา่ ทา่ เทพธิดา

ขัน้ ตอนท่ี 1 ทา่ นัง่
ทา่ นชาย
1. นง่ั ชนั เขา่
2. ระหว่างเข่าห่างประมาณ 1 ฝา่ มอื
3. น่ังหลังตรง
ท่านหญิง
1. นงั่ คกุ เข่าราบ
2. ระหว่างเขา่ หา่ งประมาณ 1 ฝา่ มอื
3. นงั่ หลงั ตรง

ขั้นตอนที่ 2 ท่าอญั ชลี
ท่านชาย และท่านหญิง
1. นำมือทง้ั 2 มาพนมบรเิ วณหน้าอก ทำมุมเฉียง 45 องศา
2. มือทง้ั 2 ข้าง อมู เพยี งเล็กน้อย ไมม่ ากจนดูกลม หรือ แฟบจนดูแบน เปน็ สัญลกั ษณข์ อง

ดอกบัวทใ่ี ช้บชู าพระ
3. นว้ิ ท้งั 5 เรียงชิดติดกนั

ขนั้ ตอนที่ 3 วนั ทา
ทา่ นชายและท่านหญิง
1. นำมอื จรดศรี ษะโดย น้วิ ชี้จรดประมาณจอนผม น้วิ โป้งจรดประมาณหวั ค้ิว
2. ถ้าเปน็ ฝ่ายชายต้งั ตรง ฝ่ายหญงิ ค้อมคอลงเล็กนอ้ ยพอประมาณ
3. จงั หวะทใี่ ช้ท่าวันทานี้ หากใช้ขณะสวดมนต์ จะรอจนจบบทน้ันๆ เสร็จกอ่ นจึงค่อยวนั ทา

ยกตัวอยา่ งเชน่ เมอ่ื สวดมนตบ์ ูชาพระก็จะรอจนจบ "พทุ ธัง ภะคะวนั ตงั อภวิ าเทมิ" กอ่ น จงึ คอ่ ยวนั ทา แล้ว
เขา่้ ส่ขู ัน้ ตอนที่ 4 ตอ่ ไป

ข้นั ตอนท่ี 4 อภิวาท
ทา่ นชายและท่านหญิง ท่านชายขอ้ ศอกตอ่ เข่า ทา่ นหญิงข้อศอกแนบเขา่
1. กราบโดยอวยั วะทงั้ 5 สว่ นสัมผสั กับพืน้ ได้แก่ ฝ่ามอื ทัง้ 2 หวั เขา่ 2 หน้าผาก 1
2. ความหา่ งระหวา่ งฝา่ มือทัง้ 2 เท่ากบั ความกวา้ งของบรเิ วณหนา้ ผาก ไม่กว้าง หรือไมแ่ คบ

จนเกนิ ไป
3. อยู่ในท่าคา้ งนับประมาณ 3 วินาที (ช่างภาพมกั จะเกบ็ ภาพในจงั หวะนี้) จึงค่อยขึ้นมาอยู่

ในทา่ อัญชลเี หมือนเดิม
4. เมื่อกราบครบ 3 ครัง้ จงึ ค่อยค้อมศีรษะลงเล็กนอ้ ยแลว้ จบดว้ ยทา่ วันทา ถือเป็นการเสร็จ

แบบอยา่ งการกราบท่ีสมบูรณ์

12

การจดุ เครอ่ื งสักการบูชาพระรตั นตรัย

เมอ่ื ถงึ เวลาตามกำหนดการแลว้ และพธิ ีกรถอื เชิงเทียนชนวนเข้ามาเชิญไปจุดเคร่ืองสักการบชู า พระ
รตั นตรยั ผูเ้ ปน็ ประธานพิธี หรอื เจ้าภาพงาน นยิ มปฏิบตั ิดังนี้

ลุกขน้ึ จากทนี่ ่ัง เดนิ ไปทห่ี นา้ โต๊ะหมูบ่ ูชาพระรัตนตรยั ถ้าโตะ๊ หมูบ่ ูชาตัง้ อยู่ท่สี งู นยิ มยนื ถา้ โต๊ะหมู่
บชู า ตัง้ อย่ทู ่ไี ม่สูงนัก พอน่งั คุกเข่าจุดถึง ก็นยิ มน่ังคุกเข่าลงแลว้ รับเชงิ เทียนชนวนมาจากพิธีกร แตไ่ มน่ ยิ มรับ
เขงิ เทยี นชนวนจากพธิ กี รมากอ่ นทย่ี งั ไมถ่ งึ หน้าโตะ๊ หมบู่ ชู า

จดุ เทียน ค่บู นก่อน แล้วจงึ จดุ เทยี นคู่ล่าง ๆ ลงมาตามลำดบั จนครบทกุ คู่ แล้วจงึ จดุ ธูป
ถา้ มสี ายชนวนเชื่อมโยงจากธูปไปยงั เทียนทุกคู่แล้ว กน็ ยิ มจดุ ธปู เปน็ อนั ดบั แรก ถา้ ธูปมิได้จุม่ นำ้ มนั
เตรยี มไว้ นิยมถอนธปู มาจุดกับเทียนชนวน ถ้าธูปจุ่มน้ำมันเตรียมไว้แลว้ กจ็ ุดโดยไม่ตอ้ งถอนธปู มาจุดกับ
เทียนชนวน
เมอื่ จุดธปู เสร็จแลว้ ก็สง่ เทยี นชนวนคืนให้แกพ่ ิธีกร แลว้ ปกั ธูปไวต้ ามเดิม วธิ ีการปักธูปน้ัน นิยมปกั
เรยี งหน่ึง เปน็ แถวเดียวกัน โดยเว้นระยะหา่ งเท่า ๆ กัน ให้ธูปแตล่ ะดอกสูงต่ำพอ ๆ กัน หรือ
นิยมปักธปู เป็นสามเส้าก็ได้ และนิยมปักธปู ไว้กึ่งกลางกระถางธปู โดยปักธูปทกุ ดอกใหต้ ง้ั ตรง อนั
เปน็ การ แสดงถงึ นิสัยอธั ยาศยั ของผนู้ ้นั ว่า เป็นคนซอื่ ตรง เป็นคนมรี ะเบียบเรียบรอ้ ย ไม่ใช่คนมักงา่ ย

การประเคนของแด่พระภกิ ษสุ งฆ์

การประเคนหมายถึงการมอบให้ดว้ ยความเคารพ ใช้ปฏิบัติตอ่ พระภกิ ษสุ งฆเ์ ทา่ น้ัน มวี ินัยบัญญตั ิห้าม
พระภกิ ษสุ งฆร์ บั หรือหยบิ สง่ิ ของมาขบฉนั เอง โดยไมม่ ผี ู้ประเคนให้ถูกตอ้ งเสยี ก่อน เพือ่ ตดั ปัญหาเร่อื งการ
ถวายแล้วหรือยงั ไมไ่ ด้ถวาย จงึ ให้พระภิกษุสงฆร์ บั ของประเคนเทา่ นัน้ ยกเวน้ นำ้ เปล่าทไ่ี ม่ผสมสี เชน่ น้ำฝน
น้ำประปา เปน็ ตน้ เพือ่ เปน็ การแสดงออกอยา่ งชัดเจนว่า สิง่ ของน้นั ๆ เป็นของจดั ถวายพระภกิ ษุสงฆ์แนน่ อน
โดยมผี ูป้ ระเคนเป็นพยานรเู้ หน็ ด้วยผูห้ น่ึง การประเคนของจึงเป็นการสนบั สนนุ ใหพ้ ระภิกษุสงฆป์ ฏบิ ัติตามพระ
วนิ ยั ไดถ้ กู ตอ้ ง

องค์ประกอบของการประเคน
1. สง่ิ ของทีจ่ ะประเคนตอ้ งไมใ่ หญ่จนเกินไปหรอื หนกั เกินไป ขนาดคนพอมกี ำลงั ปานกลางยกขึน้

ได้ ถา้ หนักหรือใหญเ่ กินไปไม่ตอ้ งประเคน
2. ผ้ปู ระเคนตอ้ งอยใู่ นหตั ถบาส คอื เอามอื ประสานกันแล้วย่นื ไปข้างหนา้ หา่ งจากพระภกิ ษุสงฆ์

ผรู้ บั ประมาณ 1 ศอก
3. ผปู้ ระเคนน้อมสงิ่ นนั้ สง่ ให้พระภกิ ษสุ งฆด์ ้วยกรยิ าออ่ นน้อม แสดงความเคารพ
4. การนอ้ มสง่ิ ของเขา้ มาใหน้ ้ันจะส่งใหด้ ว้ ยมอื กไ็ ดห้ รือใชข้ ิงเน่อื งด้วยกายก็ได้ เช่น ใช้ทพั พี หรอื

ชอ้ นตกั อาหารใส่บาตรท่ีท่านถอื หรอื สะพายอยู่ก็ได้
5. ในกรณีผู้ประเคนเปน็ ชาย พระภกิ ษุสงฆ์ผรู้ บั จะรับด้วยมือ ในกรณีผู้ประเคนเปน็ ผ้หู ญิง จะรบั

ดว้ ยของเนอ่ื งด้วยกาย เช่น ผา้ ทอดรบั ใชบ้ าตรรบั ใชจ้ านรบั

13

การประเคนท่ีถูกตอ้ งตามหลักพระวนิ ยั มลี กั ษณะที่กำหนดไว้ 5 ประการ
เม่ือการประเคนได้ลกั ษณะครบท้ัง 5 ประการน้ี จึงเปน็ อันประเคนถกู ตอ้ ง ถา้ ไมไ่ ด้ลักษณะนี้เชน่ ของ
นั้นใหญ่และหนกั จนยกไมข่ นึ้ ผู้ประเคนอยู่นอกหตั ถบาส หรอื ผูป้ ระเคนเสอื กของสง่ ให้ เป็นต้น แม้จะส่งให้
พระภิกษุสงฆแ์ ล้วกต็ าม กไ็ ด้ชอื่ ว่ายงั ไมไ่ ด้ประเคนนน่ั เอง

1. ถ้าเปน็ ชาย ให้คกุ เขา่ หนา้ พระภกิ ษสุ งฆ์ ห่างจากทา่ นประมาณ 1 ศอก ยกของท่ีจะประเคน
ส่งใหท้ ่านไดเ้ ลย

2. ถ้าเปน็ หญิง ให้วางของทจี่ ะประเคน ลงบนผา้ รบั ประเคนที่ท่านทอดออกมารับ แลว้ ปล่อย
มอื เพือ่ พระภกิ ษุสงฆ์จะไดห้ ยิบของนน้ั

3. เมอื่ ประเคนเสร็จแลว้ ให้กราบ 3 คร้งั หรอื ไหว้ 1 ครง้ั กไ็ ด้ ถ้าของทีจ่ ะประเคนมีมากให้
ประเคนของใหห้ มดเสียก่อน แลว้ จงึ กราบหรือไหว้ ไมน่ ยิ มกราบหรอื ไหวท้ ุกครงั้ ทีป่ ระเคน เดินเขา่ ถอยหลงั
เมอ่ื ห่างพอประมาณ จงึ ลกุ ข้นึ หันหลังกลบั

4. ถา้ พระภกิ ษสุ งฆ์รับประเคนนงั่ เก้าอหี้ รืออยู่บนอาสนะสูง ผู้ประเคนไม่อาจน่งั ประเคนไดใ้ ห้
ถอดรองเทา้ เสียกอ่ นแลว้ ยนื ประเคนตามวธิ ีที่กลา่ วแลว้

5. ของทีป่ ระเคนแลว้ หา้ มคฤหัสถแ์ ตะต้องอีก เป็นเรือ่ งพระภิกษุทา่ นจะหยบิ ส่งกันเอง หากไป
แตะตอ้ งเข้าโดยเจตนาหรอื ไมก่ ต็ าม ของนน้ั ถือวา่ ขาดประเคน จะต้องประเคนใหม่

6. สงิ่ ของทีไ่ มใ่ ช่ของเคย้ี วของฉนั เชน่ กระโถน จาน ชอ้ น แก้วเปล่า กระดาษ เป็นต้น ไม่นยิ ม
ประเคน

การกรวดนำ้

การกรวดน้ำ คอื การต้ังใจอุทิศสว่ นบุญสว่ นกุศลทเี่ ราได้ทำไวแ้ ลว้ ไปให้แกผ่ ู้ท่ีลว่ งลับไปแลว้ พร้อมทั้ง
รินน้ำให้ไหลลงไปทีพ่ ืน้ ดนิ หรือที่รองรับ แล้วเอาไปเทที่พื้นดินอกี ต่อหนึ่งหรือรดที่โคนต้นไม้ก็ได้ และสำหรับ
ประเพณีกรวดน้ำนั้น เริ่มขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาล โดยพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้สอนให้ พระเจ้าพิมพิสาร ซ่ึง
ได้มาทำบุญเลี้ยงพระ ทรงหลั่งทักษิโณทก (กรวดน้ำ) เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของการ "อุทิศส่วนบุญส่วนกุศล"
ใหแ้ ก่พระญาตทิ ่ีลว่ งลบั ของพระองค์ นับตงั้ แต่น้ันมา เวลาทำบุญจงึ นยิ มใช้การกรวดนำ้ เปน็ สัญลักษณแ์ ทนการ
อทุ ศิ สว่ นบญุ สว่ นกศุ ล การกรวดน้ำมี 2 วิธี ดังน้ี

1. กรวดน้ำเปียก คอื ใช้นำ้ เป็นสื่อ รินน้ำลงไปพรอ้ มกับอุทศิ ผลบญุ กศุ ลไปด้วย
2. กรวดนำ้ แหง้ คอื ไมใ่ ชน้ ้ำ ใชแ้ ตส่ บิ นวิ้ พนมอธษิ ฐาน แล้วอทุ ศิ ผลบญุ กศุ ลไปให้
และในระหว่างท่ที ำการกรวดน้ำนั้น เราควรระลึกถึงผู้ท่ีมีคุณ หรอื มีเวรกรรมต่อกนั เพ่ืออุทิศผลบุญท่ี
ได้ทำใหแ้ กบ่ ุคคลเหล่าน้นั

บทกรวดนำ้ แบบสัน้

อิทงั เม ญาตีนงั โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอบุญน้ี จงสำเร็จแก่ญาตทิ ัง้ หลายของขา้ พเจา้ เถิด ขอญาติทง้ั หลายของข้าพเจ้าจงมีความสขุ สุข
ใจเถิดฯ

14

บทกรวดนำ้ แบบยาว

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปชั ฌายา คณุ ุตตะรา
อาจะริยูปะการา จะ มาตา ปิตา จะ ญาตะกา
ปยิ า มะมงั สุรโิ ย จนั ทมิ า ราชา คณุ ะวนั ตา นะราปิ จะ
พรหั มมะ มาราจะ อินทา จะ ทโุ ลกะปาลา จะ เทวะตา
ยะโม มติ ตา มะนุสสา จะ มชั ฌตั ตา เวรกิ าปิ จะ
สพั เพ สัตตา สุขี โหนตุ ปญุ ญานิ ปะกะตานิ เม
สุขัง จะ ตวิ ิธงั เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง
อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุททเิ สนะ จะ
ขิปปาหงั สุละเภ เจวะ ตณั หุ ปาทานะเฉทะนงั
เย สนั ตาเน หนิ า ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง
นสั สันตุ สัพพะทา เยวะ ยตั ถะ ชาโต ภะเว ภะเว
อชุ ุจิตตัง สะติปญั ญา สัลเลโข วิรยิ ัมหินา
มารา ละภนั ตุ โนกาสงั กาตญุ จะ วิรเิ ยสุ เม
พทุ ธาทปิ ะ วะโร นาโถ ธมั โม นาโถ วะรุตตะโม
นาโถ ปจั เจกะพทุ โธ จะ สงั โฆ นาโถตตะโร มะมัง
เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุมา….

ด้วยบุญน้ี อทุ ทิศให้ อปุ ัชฌาย์ ผูเ้ ลศิ คุณ
และอาจารย์ ผเู้ กื้อหนนุ ท้ังพ่อแม่ และปวงญาติ
สูรย์จนั ทร์ และราชา ผู้ทรงคุณหรือสูงชาติ
พรหม มาร และอนิ ทราช ทง้ั ทวยเทพ และโลกบาล
ยมราช มนุษย์มติ ร ผุเ้ ปน็ กลาง ผู้จองผลาญ
ขอให้สขุ ศานตทิ์ กุ ทั่วหน้า อย่าทกุ ข์ทน
บุญผองทขี่ ้าทำจงอำนวยศภุ ผล
ใหส้ ุขสามอย่างล้น ใหล้ ถุ งึ นิพพานพลัน
ดว้ ยบุญนที้ ่ีเราทำ และอทุ ศิ ให้ปวงสัตว์
เราพลนั ได้ ซึ่งการตดั ตวั ตณั หา อปุ าทาน
สิ่งชั่วในดวงใจ กว่าเราจะถงึ นิพพาน
มลายส้นิ จากสนั ดาน ทกุ ๆ ภพ ทเ่ี ราเกดิ
มจี ิตตรง และสติปญั ญาอนั ประเสรฐิ
พรอ้ มทัง้ ความเพยี รเลิศเปน็ เครอื่ งขูดกเิ ลสหาย
โอกาสอยา่ พึงมี แกห่ มมู ารทัง้ ส้ินทั้งหลาย
เปน็ ช่อง ประทษุ รา้ ยทำลายล้างความเพยี รจม
พระพทุ ธผ้วู รนาถ พระธรรมที่พึง่ อดุ ม
พระปจั เจกะพุทธะสม ทบ พระสงฆ์ ท่ผี ึง่ พยอง
ดว้ ยอานภุ าพนัน้ อยา่ เปดิ โอกาสให้แก่มาร เทอญ...

15

บทแผเ่ มตตา
บทแผเ่ มตตาใหแ้ กต่ ัวเราเอง

อะหงั สขุ ิโต โหมิ (ขอให้ข้าพเจา้ มีความสุข)
อะหงั นทิ ทุกโข โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากความทุกข์)
อะหงั อะเวโร โหมิ (ขอให้ขา้ พเจ้าปราศจากเวร)
อะหัง อัพยาปชั โฌ โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากอุปสรรคอนั ตรายทงั้ ปวง)
สขุ ี อตั ตานัง ปะริหะรามิ (ขอให้ขา้ พเจ้าจงมคี วามสุขกายสขุ ใจ รกั ษากายวาจาใจให้พน้ จากความทกุ ข์
ภัยทงั้ ปวงเถดิ )
บทแผ่เมตตาท่ัวไป

สพั เพ สัตตา สัตว์ทง้ั หลายทเ่ี ปน็ เพอ่ื นทกุ ข์ เกิดแกเ่ จ็บตายดว้ ยกนั ท้งั หมดท้ังสนิ้
อะเวราโหนตุ จงเป็นสขุ เป็นสุขเถดิ อยา่ ได้มีเวรแก่กันและกันเลย
อัพยาปัชฌาโหนตุ จงเปน็ สุขเป็นสขุ เถิด อยา่ ไดเ้ บียดเบยี นซ่ึงกนั และกันเลย
อะนฆี าโหนตุ จงเป็นสุขเปน็ สขุ เถิด อย่าได้มีความทกุ ข์กายทุกข์ใจเลย
สุขี อตั ตานงั ปะริหะรนั ตุ จงมแี ต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทกุ ขภ์ ยั ท้งั ส้ินเถดิ

ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
การรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ เป็นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ท่ีแสดงออกถึงการเป็นพลเมอื งดี

ของชาติ ธำรงไวซ้ ่งึ ความเปน็ ชาติ ศรทั ธา ยึดมน่ั ในศาสนา และเคารพเทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ เด็กทีม่ ี
ความรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ จะเป็นเดก็ ท่ีแสดงออกถงึ การเป็นพลเมอื งดขี องชาติ มคี วามสามัคคี ปรองดอง
ภูมิใจ เชดิ ชูความเปน็ ไทย ปฏิบัตติ นตามหลักศาสนาทต่ี นนบั ถอื และแสดงความจงรักภกั ดตี อ่ สถาบัน
พระมหากษตั ริย์

ชาติ
หมายถึง แผ่นดนิ ทม่ี ีประชาชนยดึ ครอง มีอาณาเขตทีแ่ น่นอน มีการปกครองเป็นสัดสว่ น มีผูน้ ำเป็น
ผปู้ กครองประเทศและประชาชนท้งั หมด ด้วยกฎหมายท่ปี ระชาชนในชาติน้นั กำหนดขึ้น เช่น ประเทศไทย มี
การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ มศี าสนาพทุ ธ เปน็ ศาสนาประจำ
ชาติ มีวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี ม และจารตี ประเพณี เป็นเอกลกั ษณ์ประจำชาตขิ องตนเอง สืบทอดกนั มาจาก
บรรพบรุ ษุ เปน็ เวลายาวนาน ผ้ทู ม่ี ีความรักชาติ จะช่วยกันปกป้องรกั ษาชาติ ไมใ่ หศ้ ัตรูมารุกรานหรือทำลาย
เพอ่ื ใหล้ กู หลานไดอ้ ย่อู าศยั ต่อไป ให้อยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุขสืบไป
ศาสนา
หมายถงึ คำสอนขององคพ์ ระศาสดาแต่ละพระองค์ ศาสนาทกุ ศาสนามีไวเ้ พือ่ สอนให้มนษุ ย์ละชวั่
ประพฤตดิ ี ผ้ทู รี่ ักศาสนา จะเป็นผูน้ ำคำสอนของแตล่ ะศาสนา ไปประพฤตปิ ฏบิ ัติในชวี ิตประจำวนั ละความชว่ั
กระทำแตค่ วามดี และทำจติ ใจให้สะอาดปราศจากเคร่ืองเศร้าหมอง คอื ความโลภ ความโกรธ ความหลง ส่วน
ผูท้ ีไ่ ม่รกั ศาสนา จงึ เปน็ ผ้ทู ไ่ี ม่นำคำสอนของศาสนานนั้ ไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ไมล่ ะความชวั่ ไม่ประพฤตดิ ี ไม่ชำระ
จิตใจ ให้สะอาดปราศจากกิเลส ปล่อยให้ความโลภ ความโกรธ ความหลงครอบงำจติ ใจ
พระมหากษัตรยิ ์
หมายถงึ พระเจา้ แผน่ ดนิ ผู้เปน็ พระประมุขของประเทศ มหี นา้ ที่ปกครองประชาชนพลเมอื งใน
ประเทศนน้ั ให้อยดู่ มี สี ุข ตามกฎหมาย ตามครรลองคลองธรรมจารตี ประเพณีวัฒนธรรมของชาตนิ น้ั ๆ เชน่

16

ประเทศไทย มพี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวฯ ทรงเป็นประมุข ทรงปกครองแผน่ ดินโดยธรรม เพอ่ื ประโยชน์
สุขแห่งมหาชนชาวสยาม ทรงให้แนวพระราชดำรเิ ศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ แนวทางในการดำเนินชวี ิตของปวงชน
ชาวไทย นำความเจรญิ รงุ่ เรอื งความผาสกุ มาสู่พสกนกิ รถ้วนหนา้ มคี วามเป็นอยูอ่ ยา่ งรมเยน็ เป็นสขุ มีความรัก
สามัคคี กลมเกลียว เราจงึ ควรประพฤตติ นเป็นคนดี ถวายเป็นพระราชกุศล ถวายความจงรกั ภักดีแด่
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ฯ

ธงไตรรงค์
ธงชาติเป็นสัญลักษณ์ทีแ่ สดงความเป็นชาติของประเทศหรือชาติต่าง ๆ ที่ยอมรบั กันโดยท่ัวไป ซึ่งแต่

ละประเทศธงชาติจะมสี ีทีแ่ ตกต่างกนั และคลา้ ยกันบ้าง
ธงชาติไทยหรือธงไตรรงค์เป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทยหรือชาติไทย ที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ และ

ศกั ดิศ์ รีในความเปน็ ไทย ซึ่งมคี วามหมายแสดงความเปน็ เอกราชอธิปไตยของชาติ รวมทงั้ สถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตรยิ ์ ธงชาติจึงมีความศักด์สิ ิทธ์ิตอ้ งได้รับความเคารพอยา่ งสูง

ธงชาติไทย มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 6 ส่วน ยาว 9 ส่วน ด้านกว้าง แบ่งเป็น 5 แถบ
ตลอดความยาวของผืนธง ตรงกลางเป็นแถบสีน้ำเงินแก่ กว้าง 2 ส่วน ต่อจากแถบสีน้ำเงินแก่ออกไปทั้งสอง
ขา้ งเป็นแถบสีขาวกว้างข้างละ 1 สว่ น ตอ่ จากแถบสขี าวออกไปท้งั สองขา้ งเปน็ แถบสีแดง กว้างข้างละ 1 สว่ น

พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี 6 ทรงพระราชนพิ นธใ์ หค้ วามหมายของสธี งชาติไว้
ดังน้ี

สีแดง หมายถึง ชาติ คือประชาชน
สีขาว หมายถึง ศาสนา
สนี ้ำเงนิ หมายถงึ พระมหากษตั รยิ ์

...............................................

17

แบบทดสอบ
โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรมศลี ธรรมนำการศึกษา
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 2

ช่ือ ................................................สกุล......................... ชั้น .............. โรงเรยี น..................................................
วนั ที่ .................... เดอื น ..............................พ.ศ.๒๕๖3

๑.คำส่งั จงบอกความหมายสนั้ ๆ พอเขา้ ใจของศีล ๕ (ไมต่ อ้ งเขยี นภาษาบาล)ี ( ๔๐ คะแนน)
๑. ศีลข้อท่ี ๑ .........................................................................................................................................
๒. ศีลข้อที่ ๒ .........................................................................................................................................
๓. ศลี ขอ้ ที่ ๓ .........................................................................................................................................
๔. ศีลข้อท่ี ๔ .........................................................................................................................................
๕. ศลี ขอ้ ที่ ๕ .........................................................................................................................................

๒.คำสง่ั จงเขียนคำอาราธนาศีล ๕ ( ๑ จบ ไม่ตอ้ งเขียนท่อน ทตุ ิยมั ปิ และ ตะติยมั ป)ิ ( ๑๐ คะแนน)
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๓.คำส่งั จงเขียนคำอาราธนาธรรม ( ๑๐ คะแนน)
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๔.คำสงั่ จงเขียนคำอาราธนาพระปริตร ( ๑๐ คะแนน)
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

๕.คำสั่ง จงบอกความหมายของสีธงไตรรงค์ พอเข้าใจ ( ๑๐ คะแนน)
๕.๑ สีแดง ........................................................................................................................................................
๕.๒ สีขาว ........................................................................................................................................................
๕.๓ สีนำ้ เงิน.....................................................................................................................................................

18

๖.จงอธิบายความหมายของความกตัญญูกตเวทิตา ( ๑๐ คะแนน)
ความกตญั ญู หมายถึง ...................................................................................................................................
กตเวทิตา หมายถงึ .........................................................................................................................................
จงยกตัวอย่าง ความกตัญญูกตเวทิตาต่อชาต.ิ ...................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
จงยกตัวอยา่ ง ความกตญั ญกู ตเวทิตาต่อศาสนา...............................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
จงยกตัวอย่าง ความกตัญญูกตเวทิตาตอ่ พระมหากษตั รยิ .์ ................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

จงยกตัวอยา่ ง ความกตัญญูกตเวทิตาต่อบิดา มารดา.......................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

๗.จงอธิบายถึงองค์ประกอบการกราบเบญจางคประดษิ ฐ์ ( ๑๐ คะแนน )
กราบเบญจางคประดษิ ฐ์ คือ กราบโดยอวัยวะทั้ง ๕ ส่วนสัมผสั กับพื้น ได้แก่
๗.๑ ...........................................................................................................................................................
๗.๒ ..............................................................................................................................................................
๗.๓ ...........................................................................................................................................................

๘. จงอธิบายหลักในการประเคนของแด่พระภิกษุ ( ๑๐ คะแนน )
๘.๑ ................................................................................................................................................................
๘.๒ ................................................................................................................................................................
๘.๓ ................................................................................................................................................................
๘.๔ ................................................................................................................................................................

ที.่ ............................... 19
วนั ที่รบั เอกสาร

...................................

(สำหรับเจ้าหน้าที่)

ใบสมัครเขา้ ร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนำการศึกษา
บรษิ ัท เฉากว๊ ย ชากงั ราว จำกัด และ สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต 2

**************************************************

วันท.่ี .........เดอื น..........................พ.ศ...................
1.โรงเรียน/สถานศึกษา....................................................................................................................
2.สังกัด.............................................................................................................................................
3.ตัง้ อยู่เลขที่.............................ตำบล....................................................อำเภอ................................
จงั หวดั นนทบรุ ี
4.ระดบั ชน้ั ท่เี ปดิ สอน  ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา จำนวนนักเรียน............................คน

 ระดับประถมศกึ ษา จำนวนนกั เรยี น............................คน
 ระดับมธั ยมศึกษา จำนวนนักเรียน.............................คน

รวมนกั เรียนทั้งหมด……………………….คน
5.จำนวนคร.ู .....................................คน
6.ครูผู้รบั ผดิ ชอบโครงการฯ หรือ ผูป้ ระสานงานโครงการฯ

1.ชือ่ -สกลุ ..............................................................ตำแหนง่ ......................เบอรโ์ ทร.............
2.ช่อื -สกลุ ..............................................................ตำแหน่ง......................เบอร์โทร.............

โรงเรียนมคี วามประสงคส์ มคั รเข้ารว่ ม “โครงการสง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมนำการศึกษา”
ของบรษิ ทั เฉากว๊ ย ชากงั ราว จำกัด

ลงช่ือ............................................ผู้บริหาร
(............................................)

ตำแหน่ง.............................................

20

บันทึกข้อตกลงความร่วมมอื

โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมนำการศึกษา
ระหวา่ ง

บริษัทเฉาก๊วยชากงั ราว จำกดั กบั โรงเรียน......................................................................
************

บนั ทกึ ข้อตกลงน้ที ำขึ้นระหว่างบริษทั เฉากว๊ ยชากงั ราว จำกัดโดยนายเสริมวฒุ ิ สวุ รรณโรจน์ ประธาน

กรรมการ บริษัท เฉาก๊วยชากังราว จำกัด ในฐานะผู้ดำเนิน “โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนำ
การศึกษา” และเป็นผู้สนับสนุนเงินทุนการดำเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนำการศึกษา

มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษาฯ โดย (นาย/นาง/นางสาว)......................
................................................ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน.......................................................................
อำเภอ........................................... จังหวัดนนทบรุ ี ซ่ึงเรียกวา่ สถานศึกษาผูเ้ ข้าร่วมสมัครโครงการส่งเสริม

คุณธรรมจริยธรรมนำการศึกษา มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุผลสำเร็จเป็นโรงเรียนส่งเสริม
คณุ ธรรมจริยธรรมนำการศึกษา โดยมขี อ้ ตกลงร่วมกันในการดำเนนิ โครงการ ดงั น้ี

ข้อ ๑ ร่วมดำเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนำการศึกษา เพื่อพัฒนาให้นักเรียนมคี วามรู้
และเขา้ ใจในหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ในเร่ืองของศีล ๕ และศาสนพิธงี า่ ย ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

ข้อ ๒ รว่ มกนั ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นนำหลักธรรมในเรือ่ งศีล ๕ มาเป็นแนวทางปฏบิ ตั ใิ หต้ นเองเปน็ มนุษย์

ที่สมบรู ณ์ พร้อมทั้งเป็นผนู้ ำและชว่ ยเหลือในการจดั กจิ กรรมทางพุทธศาสนา
ข้อ ๓ ดำเนินการฝึกฝนนกั เรยี นใหม้ ีภูมิรดู้ า้ นการเปน็ พุทธศาสนกิ ชน

ข้อ ๔ การลงนามความร่วมมือ เพื่อแสดงถึงเจตนารมณ์อันมุ่งมั่นและความตั้งใจที่จะร่วมกัน
ดำเนนิ การพัฒนาผู้เรียนดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมใหเ้ ปน็ รูปธรรม

๔.๑ ข้าพเจ้า บริษทั เฉากว๊ ยชากังราว จำกดั โดย นายเสริมวุฒิ สวุ รรณโรจน์ ประธานกรรมการบรษิ ัท

เฉากว๊ ยชากงั ราว จำกดั ในฐานะผ้ดู ำเนินโครงการฯ และผสู้ นบั สนุนเงินทนุ ในการดำเนนิ โครงการฯ ยินดีจะ
มอบทุนให้แก่สถานศึกษาในสังกัดของท่าน ที่สามารถดำเนินโครงการฯ พัฒนานักเรียนให้เป็นผู้ที่มีความรู้

ตามเป้าหมายของโครงการฯ เป็นไปตามบนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือดังกลา่ วขา้ งตน้
๔.๒ ข้าพเจา้ .................................................. ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น...................................................

อำเภอ............................................ จังหวัดนนทบุรี ขอให้คำรับรองและคำมั่นว่าจะร่วมดำเนินการส่งเสรมิ

คุณธรรมจริยธรรมในสถานศกึ ษาข้างตน้ ให้บรรลุผลตามเปา้ หมายขา้ งต้น เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์สุขแก่ประชาชน
ตอ่ ไป

ผทู้ ำขอ้ ตกลงได้ทำความเข้าใจในบันทึกข้อตกลงและเห็นพอ้ งกันแลว้ จึงลงลายมือชอื่ ไวเ้ ปน็ สำคญั

ลงชอื่ ผู้สนบั สนุน ลงชือ่ ผู้สมัคร

(นายเสรมิ วุฒิ สุวรรณโรจน)์ (............................................)
ประธานกรรมการบรษิ ัทเฉาก๊วยชากังราว จำกัด ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น.........................................

ลงช่อื พยาน
(นางอรวรรณ แสงสุวรรณ์)

ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขต พ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษนนทบรุ ี เขต 2

21

แบบลงทะเบยี นขอรบั การประเมินตวั ช้ีวัดโครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรมศลี ธรรมนำการศึกษา
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต 2

1. โรงเรยี น .....................................................................สังกัด...........................................................................
2. ที่อย.ู่ .................ตำบล.....................................อำเภอ............................................จังหวดั ...............................
3. ระดับชน้ั นักเรยี นท่เี ข้ารบั การประเมิน

 ประถมศึกษาปีท่ี 4 – 6
 ประถมศึกษาปีท่ี 4 – มัธยมศึกษาปีท่ี 3
4. นักเรียนทเี่ ข้ารบั การประเมนิ จำนวน ............. คน
5. ครผู ้รู ับผิดชอบ นาย / นาง / นางสาว.............................................................................................................
หมายเลขโทรศพั ท์........................................................
6. ผู้อำนวยการโรงเรียนนาย / นาง / นางสาว.....................................................................................................
หมายเลขโทรศพั ท์........................................................
7. โรงเรียนขอรับการประเมิน วนั ที่ ............. เดอื น.............................................. พ.ศ. ....................................

ลงช่ือ..........................................................ผลู้ งทะเบยี นขอรบั การประเมนิ
(.........................................................)

ตำแหน่ง....................................................

22

บรรณานุกรม

กรมการศาสนา, กระทรวงวัฒนธรรม. ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั , 2561.

___________. ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ,
2560.

___________. คู่มอื การปฏิบตั ิศาสนพิธี. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชมุ ชนสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด, 2552.

กล่มุ วิชาการพระพทุ ธศาสนาและจริยศึกษา กองศาสนศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. คูม่ อื การศึกษาจริยธรรม
สำหรับนกั เรยี น นิสติ นักศกึ ษา นกั บรหิ าร นกั ปกครองและประชาชนผู้สนใจทว่ั ไป.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์การศาสนา, 2542.

กองพุทธศาสนศกึ ษา, สำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาต.ิ คมู่ ือธรรมศกึ ษาช้นั ตรีตามหลกั สตู รสนามหลวง
แผนกธรรม. กรุงเทพมหานคร. 2557

กองอนุศาสนาจารย,์ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก. คู่มือการปฏบิ ัตศิ าสนพิธี ในพธิ กี ารทางทหาร.
กรุงเทพมหานคร : สำนักพมิ พห์ า้ งหนุ้ สว่ นจำกดั อรณุ การพมิ พ์, 2549.

สำนักงานเสรมิ สรา้ งเอกลักษณ์ของชาต,ิ สำนักงานปลัดสำนกั นายกรฐั มนตร.ี คูม่ ือธงไตรรงค์ ธำรงไทย.
กรงุ เทพมหานคร : หจก.อรณุ การพมิ พ์. 2554.

บริษทั เฉากว๊ ยชากงั ราว จำกัด. เอกสารการประชมุ ช้ีแจงโครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรมศีลธรรมนำการศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา 2563. 2563.






Click to View FlipBook Version