The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล (ครัวเรือนต้นแบบ)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DCLC UBON, 2021-07-07 02:59:31

เอกสารสรุปรายงานผล โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล

กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล (ครัวเรือนต้นแบบ)

(ก)

คำนำ

กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็นหน่วย
ดาเนินการโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนองนา
โมเดล” กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะส้ันการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก
หนอง นา โมเดล โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการเรียนการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ตลอดจนเพ่ือพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก
หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับตาบล และระดับครัวเรือน รวมทั้งฟื้นฟู
เศรษฐกิจท้องถิ่นและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ กลุ่ม
แรงงานที่อพยพกลับท้องถิน่ และชุมชน ทไี่ ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงวิกฤตการแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVI – 19) กลุ่มเป้าหมาย จานวนท้ังสิ้น 537 คน ประกอบด้วย ครัวเรือนพื้นท่ี
ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิต (1 ไร่ และ 3 ไร่) จากจังหวัดยโสธร จานวน 134 คน จากจังหวัดอานาจเจริญ
จานวน 159 คน และผู้เข้าร่วมโครงการจ้างงานสร้างรายได้จากจังหวัดยโสธร จานวน 140 คน จังหวัด
อานาจเจริญ จานวน 104 คน โดยแยกดาเนินการ 6 รุ่น ๆ ละ 5 วัน รุ่นท่ี 1 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 4 – 8
ธันวาคม 2563 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นที่ 2 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 5 – 9 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุมช้ัน 2
รนุ่ ท่ี 3 ดาเนินการระหว่างวันที่ 10 – 14 ธันวาคม 2563 ณ หอประชุมคา้ คูณ รุ่นท่ี 4 ดาเนินการระหวา่ งวนั ที่
11 – 15 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นที่ 5 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 22 – 26 ธันวาคม 2563
ณ หอประชุมค้าคูณ และรุ่นท่ี 6 ดาเนินการระหว่างวันที่ 23 – 27 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 2
ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนอบุ ลราชธานี

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ได้สรุปผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาพื้นท่ี
ต้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนองนา โมเดล” กิจกรรมที่ 1 ฝกึ อบรม
เพิ่มทักษะระยะส้ันการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล รวมทั้ง
ประเมินผลโครงการ เพื่อทราบผลสัมฤทธ์ิ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพ่ือเป็นแนวทางในการนาไปปรับใช้ในการ
ดาเนนิ งานครัง้ ต่อไป

ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนอุบลราชธานี
มกราคม 2564

สารบัญ (ข)

คานา หน้า
สารบญั (ก)
สารบัญตาราง (ข)
บทสรุปสาหรับผบู้ ริหาร (ค)
สว่ นที่ 1 บทนา (ง)

ความสาคญั 1
วตั ถปุ ระสงค์ 2
กล่มุ เป้าหมาย 3
ขน้ั ตอนและวธิ ดี าเนนิ งาน 3
งบประมาณดาเนินการ 3
ระยะเวลาดาเนินการ 3
ขอบเขตเนอ้ื หาหลักสูตร 3
ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 4
ตัวชว้ี ดั ความสาเรจ็ 4
สว่ นที่ 2 สรุปเน้อื หาวชิ าการ
เนอ้ื หาวชิ า 5
กิจกรรมกลมุ่ สมั พนั ธแ์ บ่งกลุม่ มอบภารกิจ 6
เรียนรูต้ าราบนดิน : กิจกรรมเดนิ ชมพน้ื ท่ี 8
ถอดบทเรียนจากการฝกึ ปฏบิ ัตฐิ านการเรยี นรู้ 10
ถอดบทเรยี นผ่านสอ่ื “วถิ ีภูมิปญั ญาไทยกบั การพ่ึงตนเองในภาวะวกิ ฤต” 14
ถอดบทเรยี นจากการฝกึ ปฏบิ ัติ “จิตอาสาพฒั นาชุมชน เอามอ้ื สามัคคี พัฒนาพื้นท่ีตาม 16
หลกั ทฤษฎใี หม่
ถอดบทเรยี น “Team Building หาอยู่ หากนิ ” 17
การออกแบบภูมสิ งั คมไทยตามหลักการพฒั นาภมู ิสงั คมอย่างยั่งยนื เพื่อการพง่ึ ตนเอง 19
และรองรบั ภยั พิบัติ
ยทุ ธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 23
ส่วนที่ 3 การประเมินผลโครงการ
วธิ กี ารประเมิน 30
การวเิ คราะห์ข้อมลู 32
เกณฑ์การประเมิน 33
ผลการประเมิน 34
ภาคผนวก
ภาพกจิ กรรมการฝึกอบรม 50
ทะเบียนรายช่อื กลุ่มเป้าหมาย 82
ตารางการฝกึ อบรม 105
แบบประเมนิ โครงการ 106

สารบัญตาราง (ค)

ตารางที่ หน้า

1 แสดงข้อมลู ท่ัวไป 34
2 แสดงระดบั การบรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องโครงการ 35
3 แสดงระดบั ความรู้และความเขา้ ใจด้านวชิ าการ (กอ่ นและหลงั เข้ารว่ มกจิ กรรม) 36
4 แสดงระดบั ความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การนาความร้ไู ปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน 42
5 แสดงระดับความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร 44
6 แสดงระดบั ความพึงพอใจเกยี่ วกบั ด้านการให้บริการ 45
7 แสดงระดบั ความพึงพอใจเกีย่ วกบั การให้บริการด้านอาคารและสถานที่ 46
8 แสดงระดบั ความพึงพอใจดา้ นคุณภาพ 47

(ง)

บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหำร

รายงานผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจ
พอเพยี ง รปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล กรมการพฒั นาชุมชน ไดม้ อบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนอบุ ลราชธานี
เป็นหน่วยดาเนินการฝึกอบรมโครงการดังกล่าว กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ครัวเรือนพื้นที่ต้นแบบการพัฒนา
คณุ ภาพชีวิต จากจังหวัดยโสธร จานวน 134 คน จังหวัดอานาจเจริญ จานวน 158 คน และผู้เข้าร่วมโครงการจา้ งงาน
สร้างรายได้จากจังหวัดยโสธร จานวน 140 คน จังหวัดอานาจเจริญ จานวน 104 คน รวมทั้งสิ้น 537 คน แยก
ดาเนินการ 6 รุ่นๆ ละ 5 วัน รุ่นท่ี 1 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 4–8 ธันวาคม 2563 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นที่ 2
ดาเนินการระหว่างวันท่ี 5–9 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชมุ 2 รุ่นที่ 3 ดาเนินการระหวา่ งวันท่ี 10–14 ธันวาคม 2563
ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นที่ 4 ดาเนินการระหว่างวันที่ 11–15 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 2 รุ่นที่ 5 ดาเนินการ
ระหว่างวันที่ 22–26 ธันวาคม 2563 ณ หอประชุมคา้ คูณ และรุ่นท่ี 6 ดาเนนิ การระหว่างวนั ท่ี 23–27 ธันวาคม 2563
ณ ห้องประชุมชั้น 2 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การปฏิบัติรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล เพ่ือพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ชุมชน
ต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับตาบล และระดับครัวเรือน และเพ่ือ
ฟ้ืนฟูเศรษฐกจิ ท้องถน่ิ และชมุ ชนผ่านการสรา้ งงานสร้างรายไดใ้ ห้แกเ่ กษตรกร แรงงาน และบณั ฑิตจบใหม่ กล่มุ แรงงาน
ท่ีอพยพกลับท้องถ่ินและชุมชน ท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) รูปแบบการฝึกอบรมใช้กระบวนการแบบมีส่วนร่วม ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การบรรยายประกอบส่ือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการฝึกปฏิบัติ กลุ่มเป้าหมายสาหรับการประเมินผล คือผู้เข้ารับ
การฝึกอบรม จานวน 537 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบสอบถามประเมินผลภาพรวมโครงการ
แล้วนาผลที่ได้มาวิเคราะห์ขอ้ มูลเรียบเรียงแบบรอ้ ยแก้วเชงิ พรรณนา ใช้ค่าสถิติรอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย สรุปผลการฝึกอบรม
ได้ ดงั นี้

ผลกำรฝกึ อบรม
1. ข้อมูลทว่ั ไปของกลุ่มเปำ้ หมำย

พบว่า ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 280 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 52.53 และเพศ
หญิง จานวน 253 คน คิดเป็นร้อยละ 47.47 สว่ นใหญ่มีอายุระหวา่ ง 20-30 ปี จานวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 26.27
รองลงมาตามลาดับคือ อายุระหว่าง 41–50 ปี จานวน 134 คน คิดเป็นร้อยละ 25.14 อายุระหว่าง 51-60 ปี จานวน
125 คน คิดเป็นร้อยละ 23.45 อายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 12.20 อายุระหว่าง 31-40 ปี จานวน
63 คน คิดเป็นร้อยละ 11.82 และ อายุต่ากว่า 20 ปี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 1.13 ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่จบ
การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษา จานวน 228 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 42.78 รองลงมาตามลาดับคอื จบการศกึ ษาระดับปริญญา
ตรี จานวน 124 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 23.26 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 104 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 19.51 จบ
การศกึ ษาระดับอนปุ ริญญาจานวน 61 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.44 จบการศกึ ษาระดับปรญิ ญาโท จานวน 14 คน คดิ เปน็
ร้อยละ 2.63 และอน่ื ๆ จานวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.38
2. ควำมพงึ พอใจตอ่ โครงกำร

2.1 ควำมคิดเห็นต่อกำรบรรลวุ ตั ถุประสงค์ของโครงกำร
พบว่า ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญม่ ีระดับความคิดเห็นเกีย่ วกับการบรรลุวัตถุประสงค์ของ

โครงการ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากทีส่ ุด คา่ เฉล่ีย 4.57 และเมือ่ พิจารณาเรยี งลาดับเปน็ รายประเด็น พบว่า

(จ)

ระดบั ความคดิ เห็นเก่ียวกบั การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของโครงการมากทสี่ ดุ คือ เพอื่ ส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งประยกุ ต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล อยู่ในระดับมากท่ีสุด
ค่าเฉลี่ย 4.63 รองลงมาคือ เพื่อพัฒนาพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นาโมเดล” ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงระดับตาบล และระดับครัวเรือน อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.57 และเพ่ือฟ้ืนฟู
เศรษฐกิจท้องถิ่นและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ ให้แก่ เกษตรกร แรงงาน และบัณฑิตจบใหม่
แรงงานที่อพยพ กับท้องถ่ินและชุมชนท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงวิกฤติการแพร่ระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) อยู่ในระดบั มาก มคี า่ เฉล่ยี 4.49

2.2 ควำมคิดเห็นต่อระดับควำมรู้ควำมเข้ำใจด้ำนวิชำกำรท้ังก่อนและหลังเข่ำร่วมกิจกรรม
จำนวน 18 วชิ ำ

พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการ
ฝึกอบรม โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.12 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ความเข้าใจต่อ
เน้ือหาวิชา โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลย่ี 4.53 และเมอ่ื พจิ ารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ยี เป็นรายวชิ าไดด้ งั น้ี

1. กิจกรรมกลุ่มสมั พันธ์ ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมส่วนใหญ่มีระดับความรคู้ วามเข้าใจต่อประเด็น
เนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.29 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้
ความเขา้ ใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยูใ่ นระดบั มากทส่ี ุด ค่าเฉลี่ย 4.56

2. วิชา เรียนรู้ตาราบนดิน : กิจกรรมเดินชมพ้ืนท่ี ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้
ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.18 และหลังการ
ฝึกอบรมมรี ะดับความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ ประเดน็ เน้ือวิชา อยู่ในระดับมากที่สดุ ค่าเฉลี่ย 4.56

3. วชิ า “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา ศาสตรพ์ ระราชากบั การพฒั นาทีย่ งั่ ยืน” ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรมสว่ น
ใหญ่มรี ะดบั ความร้คู วามเข้าใจตอ่ ประเด็นเน้อื หาวชิ าก่อนเขา้ รับการฝกึ อบรมอยู่ในระดับปานกลาง คา่ เฉลยี่
3.21 และหลงั การฝึกอบรมมีระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจต่อประเด็นเนื้อวิชา อยู่ในระดบั มากท่สี ุด คา่ เฉลย่ี 4.51

4. วชิ า การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั ิแบบเปน็ ขั้นตอน ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมส่วนใหญ่
มีระดบั ความรู้ความเข้าใจตอ่ ประเด็นเนอ้ื หาวชิ ากอ่ นเขา้ รับการฝกึ อบรมอยใู่ นระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.19 และหลัง
การฝกึ อบรมมรี ะดบั ความรู้ ความเข้าใจตอ่ ประเด็นเนอื้ วชิ า อยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ คา่ เฉล่ีย 4.59

5. วิชา ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎบี ันได ๙ ข้ันสคู่ วามพอเพียง” ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม สว่ น
ใหญ่มรี ะดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเขา้ รับการฝกึ อบรมอยู่ในระดบั ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.16 และ
หลงั การฝึกอบรมมีระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ ประเดน็ เนอื้ วิชา อย่ใู นระดับมากทสี่ ดุ ค่าเฉลี่ย 4.61

6. วิชา “หลักกสิกรรมธรรมชาติ” ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อ
ประเด็นเน้อื หาวิชาก่อนเขา้ รับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลยี่ 3.06 และหลงั การฝึกอบรมมีระดับ
ความรู้ ความเขา้ ใจต่อประเดน็ เนื้อวชิ า อยใู่ นระดับมากทสี่ ุด ค่าเฉลี่ย 4.59

7. ฝึกปฏบิ ัติฐานเรยี นรู้ (คนมีนา้ ยา, คนมีไฟ, คนเอาถ่าน , คนรกั ษ์สขุ ภาพ, คนรกั ษ์ แม่ธรณี , คน
รกั ษ์โลกพระแม่โพสพ) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้า
รับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.13 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อ
ประเดน็ เนือ้ วชิ า อยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด คา่ เฉลีย่ 4.56

8. ถอดบทเรียนผ่านสอ่ื “วถิ ีภูมิปัญญาไทยกับการพ่ึงตนเองในภาวะวกิ ฤติ”ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วน
ใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.14
และหลงั การฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยูใ่ นระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.49

(ฉ)

9. วิชา “สขุ ภาพพึง่ ตน พัฒนา 3 ขุมพลงั ” พลงั กาย พลังใจ พลงั ปัญญา ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่
มรี ะดับความร้คู วามเข้าใจตอ่ ประเด็นเนอื้ หาวิชากอ่ นเขา้ รับการฝกึ อบรมอยู่ในระดับปานกลาง คา่ เฉลี่ย 3.11 และหลัง
การฝึกอบรมมีระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ ประเดน็ เนือ้ วชิ า อย่ใู นระดบั มากทสี่ ุด คา่ เฉลย่ี 4.50

10. ฝึกปฏิบัติ “จิตอาสาพัฒนาชุมชน เอาม้ือสามัคคี พัฒนาพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่”ผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.24 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยู่ในระดับ
มากท่สี ดุ ค่าเฉลีย่ 4.62

11. ถอดบทเรียนการฝึกปฏิบัติ “จติ อาสาพัฒนาชุมชน เอามื้อสามัคคี พัฒนาพ้ืนท่ีตามหลักทฤษฎี
ใหม่” ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรม
อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.16 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อวิชา
อยู่ในระดบั มากที่สดุ คา่ เฉลย่ี 4.58

12. วิชา การออกแบบเชงิ ภมู ิสงั คมไทยตามหลกั การพัฒนาภูมสิ ังคมอย่างยงั่ ยนื เพ่อื การพ่ึงตนเอง
และรองรับภัยพิบัติ ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับ
การฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง คา่ เฉล่ยี 3.06 และหลังการฝึกอบรมมรี ะดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็น
เนอื้ วชิ า อยูใ่ นระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 4.49

13. ฝึกปฏิบัติการ สร้างหุ่นจาลองการจัดการพื้นท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา
โมเดล ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารบั การฝึกอบรม
อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.99 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวิชา
อยใู่ นระดับมากท่สี ุด ค่าเฉล่ีย 4.50

14. ฝึกปฏิบัติการ Team Building การบริหารจัดการในภาวะวิกฤตหาอยู่ หากิน ผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.09 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยู่ในระดับ
มากทีส่ ดุ คา่ เฉลยี่ 4.51

15. ถอดบทเรียนการฝึกปฏิบัติ “การบริหารจัดการในภาวะวิกฤตหาอยู่หากิน ผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.12 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อวิชา อยู่ในระดับ
มากทีส่ ุด ค่าเฉลย่ี 4.51

16. วิชา การขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา กลไก 357 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่
มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 2.99
และหลังการฝกึ อบรมมีระดบั ความรู้ ความเข้าใจต่อประเดน็ เนือ้ วชิ า อยูใ่ นระดับมาก ค่าเฉล่ยี 4.44

17. การจัดทาแผนปฏิบัติการ “ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่
การปฏิบัติ” ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับ
การฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง คา่ เฉลี่ย 3.02 และหลังการฝกึ อบรมมรี ะดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็น
เน้อื วิชา อยู่ในระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.49

18. นาเสนอ “ยุทธศาสตร์การขับเคลอื่ นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิ” ผู้เขา้ รับ
การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.01 และหลังการฝึกอบรมมรี ะดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวชิ า อยใู่ นระดับมาก
ค่าเฉลยี่ 4.47

(ช)

2.3 ควำมคดิ เหน็ เกี่ยวกบั กำรนำควำมร้ไู ปใช้ประโยชน์
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความม่ันใจต่อการนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในการ

ปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.37 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับเป็นรายประเด็นจากมากไปหา
น้อย พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความม่ันใจในการนาความรู้ฝึกปฏิบัติ “จิตอาสาพัฒนาชุมชน เอาม้ือสามัคคี
พัฒนาพ้ืนท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่” อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.47 รองลงมาตามลาดับคือ ม่ันใจในการนาความรู้วิชา
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “ทฤษฎีบันได ๙ ขั้นสู่ความพอเพียง” อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.46 วิชาการจัดทา
รา่ งขอบเขตงาน (TOR) อยู่ในระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.49 วชิ าถอดบทเรียนการฝึกปฏบิ ัติ “จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน เอามื้อ
สามคั คี พัฒนาพื้นที่ตามหลกั ทฤษฎใี หม่” อย่ใู นระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.45 วชิ า ฝกึ ปฏิบตั ฐิ านเรียนรู้ (คนมีนา้ ยา, คนมี
ไฟ, คนเอาถ่าน , คนรักษ์สุขภาพ, คนรักษ์แม่ธรณี , คนรักษ์โลกพระแม่โพสพ) อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.42 วชิ า
“หลักกสิกรรมธรรมชาติ” อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.39 วิชา การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบตั ิแบบ
เปน็ ข้นั ตอน มีคา่ เทา่ กับฝกึ ปฏบิ ตั กิ าร สรา้ งหุ่นจาลองการจัดการพืน้ ทตี่ ามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา
โมเดลและวิชาถอดบทเรียนการฝึกปฏิบัติ “การบริหารจัดการในภาวะวิกฤตหาอยู่ หากิน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย
4.38 วชิ า การขับเคลื่อนสืบสานศาสตรพ์ ระราชา กลไก 357 อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉลย่ี 4.37 วชิ า การออกแบบเชิงภมู ิ
สงั คมไทยตามหลักการพัฒนาภูมสิ ังคมอย่างยั่งยืน เพ่ือการพ่ึงตนเองและรองรับภัยพิบัติ มีค่าเท่ากับ วิชาการจัดทา
แผนปฏิบัติการ “ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ” และวิชานาเสนอ
“ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ” อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.36 วิชา “เข้าใจ
เข้าถงึ พฒั นา ศาสตร์พระราชา วชิ าฝกึ ปฏบิ ตั ิการ Team Building การบริหารจดั การในภาวะวิกฤตหาอยู่ หากนิ อยู่
ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.34 วิชา “สุขภาพพึ่งตน พัฒนา 3 ขุมพลัง” พลังกาย พลังใจ พลังปัญญา อยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 4.32 กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ อยูใ่ นระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.31 ถอดบทเรยี นผ่านส่ือ “วิถีภูมิปัญญาไทยกับการ
พ่งึ ตนเองในภาวะวกิ ฤติ” อยู่ในระดบั มาก มีค่าเฉล่ีย 4.30 และ วิชา เรยี นรตู้ าราบนดนิ : กจิ กรรมเดินชมพนื้ ท่ี อยูใ่ น
ระดับมาก มคี า่ เฉลี่ย 4.29

2.4 ควำมพึงพอใจตอ่ กำรให้บรกิ ำร
2.4.1 ด้ำนวทิ ยำกร
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านวิทยากร

โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก คา่ เฉลยี่ 4.45 และเมื่อพจิ ารณาเปน็ รายประเด็นพบวา่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วน
ใหญ่มีความพึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.48
รองลงมาตามลาดับ คอื พงึ พอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซกั ถามแสดงความคดิ เห็น อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ยี 4.47
พึงพอใจต่อการสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.42 และพงึ พอใจต่อเทคนคิ และวิธกี ารท่ี
ใช้ในการถา่ ยทอดความรู้ อยู่ในระดับมาก มคี า่ เฉล่ีย 4.41

2.4.2 ดำ้ นกำรให้บรกิ ำร
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อด้านการให้บริการ โดย
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.34 และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วน
ใหญ่มีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีกระตือรือร้นในการให้บริการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.58 รองลงมา
ตามลาดับ คือพึงพอใจต่ออาหาร/อาหารว่าง/เคร่ืองด่ืม มีคุณภาพเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย
4.57 พึงพอใจต่อเจา้ หน้าทีม่ ีกริ ยิ า มารยาท และการแต่งกายเหมาะสม อยู่ในระดับมากท่ีสดุ ค่าเฉลี่ย 4.53 พึง
พอใจต่อห้องฝึกอบรม ห้องพัก ห้องน้า โรงอาหาร และบริเวณโดยรอบมีความสะอาด อยู่ในระดับมากท่ีสุด
ค่าเฉล่ีย 4.50 พึงพอใจต่อโสตทัศนูปกรณ์ (ชุดโปรเจคเตอร์ เคร่ืองเสียง ฯลฯ) เหมาะสม อยู่ในระดับมาก

(ซ)

คา่ เฉลี่ย 4.33 พึงพอใจตอ่ สัญญาณ wifi ในหอ้ งฝึกอบรม อยู่ในระดบั มาก มีค่าเฉลีย่ 3.97 และมีความพึงพอใจ
ตอ่ สญั ญาณ wifi ในห้องพัก อยูใ่ นระดบั มาก ค่าเฉลีย่ 3.89

2.4.3 ดำ้ นอำคำรและสถำนที่
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านอาคารและ
สถานท่ี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสดุ คา่ เฉลี่ย 4.51 และเม่ือพิจารณาเปน็ รายประเดน็ พบว่า ผเู้ ข้ารับการ
ฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจตอ่ ประเดน็ ขนาดห้องฝึกอบรม มีความเหมาะสมกับจานวนผู้เขา้ อบรม อย่ใู น
ระดบั มากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.56 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจต่อห้องอาหาร มคี วามเหมาะสม ถกู สุขลกั ษณะมี
ค่าเท่ากับความพึงพอใจต่อห้องพัก มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.52 และความพึงพอใจ
ตอ่ หอ้ งนา้ อาคารฝกึ อบรม มีความสะอาด อยูใ่ นระดับมาก คา่ เฉลย่ี 4.45
2.4.4 ดำ้ นคุณภำพ
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจด้านคุณภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ
มากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.55 และเม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อ
ความคุ้มค่าของการฝึกอบรม อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.60 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจต่อความรู้ท่ีได้รับ
สามารถนาไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.56 ความพึงพอใจต่อความสอดคล้องของ
เน้ือหาหลักสูตรกับความต้องการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.54 และความพึงพอใจต่อเน้ือหาหลักสูตรเป็น
ปัจจุบนั ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง อยูใ่ นระดบั มากทีส่ ุด คา่ เฉลย่ี 4.51
3. ข้อเสนแนะเชงิ นโยบำย
3.1 เพิ่มครวั เรือนตน้ แบบให้ครอบคลมุ ทุกหมู่บา้ น
3.2 ประชาสัมพนั ธโ์ ครงการให้กว้างขวางและชัดเจนยิ่งข้ึน

1

สว่ นท่ี 1
บทนำ

ควำมสำคญั
สถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบันต้องเผชิญกับผลกระทบจากวิกฤตการแพร่ระบาดของโรค

ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD-19) ซ่ึงส่งผลกระทบไปถึงวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการสาธารณสุข ด้านการ
คมนาคมและอ่ืน ๆ ส่งผลให้เกิดวิกฤตทางสังคมขนาดหนักไปท่ัวท้ังโลก จากรายงานของ McKinsey & Company
(March 26, 2020) จะส่งผลให้โลกมีผลผลิต (Productivity) ลดลงถึง 30% นั่นหมายถึงโลกจะขาดอาหาร
และเศรษฐกิจจะมีการเติบโตลดลง – 1.5 % ของ World GDP อีกท้ังวิกฤตด้านการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ ท้ังเร่ืองภัยแล้งและน้าท่วมท่ีคาดว่าจะมีความรุนแรงข้ึน ท้ังในเชิงความผันผวน ความถี่ และ
ขอบเขตที่กว้างมากขึ้น ซ่ึงจะสร้างความเสียหายต่อชีวิตและโครงสร้างพนื้ ฐานท่ีจ้าเป็นท้าให้เศรษฐกิจฐานราก
(Local Economy) ของประเทศเกิดความเสียหาย เพิ่มปัญหาความยากจน และความเหล่ือมล้าทางสังคม
ตลอดจนระบบการผลติ ทางการเกษตรที่มคี วามสมั พันธ์ต่อเนอื่ งกบั ความม่ันคงด้านอาหารและนา้ ขณะที่ระบบ
นิเวศต่าง ๆ มีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง และมีแนวโน้มที่จะสูญเสียความสามารถในการรองรับความต้องการ
มนุษย์ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

ทางออกของประเทศไทยในการรอดวิกฤตและเกิดการพัฒนาที่ย่ังยืน ได้ถูกก้าหนดไว้ใน
ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 และนโยบายรัฐบาลทีจ่ ะสืบสาน รักษา ต่อยอด และพัฒนาประเทศตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร กระทรวงมหาดไทย มอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน น้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาเป็นหลักในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชน เน้นประชาชนเป็น
ศูนย์กลาง โดยการพัฒนาคนให้พึ่งตนเอง มีความเป็นเจ้าของและบริหารจัดการโดยชุมชน พัฒนาหมู่บ้านหรือ
ชมุ ชนให้มวี ถิ ีชวี ิตเศรษฐกจิ พอเพยี งและเป็นสงั คม “อยเู่ ย็น เป็นสุข” ท้ังนี้ กรมการพฒั นาชมุ ชน รว่ มกบั มูลนิธิ
กสิกรรมธรรมชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และภาคีเครอื ข่ายภาคส่วนตา่ ง ๆ
ท้ัง 7 ภาคี ได้น้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นข้ันตอน ตามกลไกการ
ขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชา เพื่อการปฏิรูปประเทศ โดยใช้หมู่บ้านเป็นฐานของการพัฒนา มุ่งสร้าง
ภูมิคุ้มกันให้ทุกครัวเรอื น และพัฒนาคนให้มีความรู้และปรับตัวให้สามารถด้าเนินชีวิตอย่างมีความสุข มีอาชีพ
สร้างรายได้ ท่ามกลางวิกฤตโลกท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ด้วยการจัดท้าโครงการท่ีประยุกต์การใช้
ศาสตร์พระราชา และน้อมน้าเอาแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด้าริกว่า 40 ทฤษฎี ท่ี
ทรงพระราชทานไว้ให้ในการแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์กับแนวคิดการ
พัฒนาพ้ืนที่และการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทย เพ่ือการพ่ึงตนเองและรองรับภัยพิบัติในรูปแบบ “โคก หนอง
นา โมเดล” สร้างการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เหมาะสมกับหมู่บ้านในภูมิสังคมต่าง ๆ ผ่านการท้างานในรูปแบบ
การจ้างงานและการร่วมกันลงแรงด้วยการสนับสนุนวัสดุพ้ืนฐานและงบประมาณ และบูรณาการการท้างาน
จากภาคีภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างงานสร้างรายได้ให้กบั ครัวเรือนและชุมชนท่ีเข้าร่วมโครงการในระดับพ้ืนฐาน
ด้าเนินการสร้าง (1) พื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community Lab Model for
quality of life : CLM) ระดับต้าบล จ้านวน 337 ต้าบล แยกเป็น ขนาดพ้ืนท่ี 10 ไร่ จ้านวน 23 พ้ืนที่ และ
พ้ืนท่ี 15 ไร่ จ้านวน 314 พ้ืนท่ี รวมพ้ืนท่ีไม่น้อยกว่า 4,940 ไร่ และให้การสนับสนุนเพ่ือพัฒนา (2) พ้ืนท่ี
ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab Model for quality of life : HLM) ระดับ

2

ครัวเรือน จ้านวนทั้งสิ้น 24,842 ครัวเรือน ขนาดพนื้ ทีไ่ มเ่ กนิ 3 ไร่/ครัวเรือน รวมพน้ื ท่ีไมเ่ กนิ 54,676 ไร่ และ
(3) บูรณาการร่วมพัฒนาพื้นที่ระดับต้าบล เพ่ือการบริหารจัดการน้าขั้นพ้ืนฐานที่เหมาะสมกับภูมิสังคมตาม
แนวทางพระราชด้าริ 10 วิธี เชื่อมโยงกับพ้ืนที่ปฏิบัติการโครงการฯ จากนั้นพัฒนาสู่ระดับก้าวหน้า โดยการ
ด้าเนินการส่งเสริมการสร้างมาตรฐานผลผลิต การแปรรูปและการตลาดตามมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย และ
ยกระดับชุมชนทั้ง 337 ต้าบล ให้สามารถ (1) แก้ไขวิกฤตด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อมของประเทศ
(2) เสริมสร้างความสามคั คีและสร้างเสรมิ สขุ ภาพให้แขง็ แรง ผ่านการท้ากิจกรรมพัฒนาพื้นท่ีรว่ มกนั (3) สร้าง
ระบบเกษตรกรรมยั่งยนื ที่ผลติ อาหารปลอดภัยจากสารเคมีและผลิตสมุนไพรต่าง ๆ เพ่อื ยกระดบั อาหารใหเ้ ป็น
ยาท่ีสามารถสร้างเสริมภูมิต้านทานโรคต่าง ๆ อีกทั้งยัง (4) เพิ่มการจัดการให้กักเก็บน้าฝนที่ตกในพื้นท่ีได้
เพียงพอต่อการเพาะปลูก และการด้ารงชีวิตช่วยแก้ปัญหาภัยแล้งและน้าท่วม (5) เพิ่มพื้นท่ีป่าที่ช่วยฟอก
อากาศท่ีบริสุทธิ์และช่วยกักเก็บคาร์บอนในช้ันบรรยากาศลดปัญหาฝุ่นละออง ขนาดเล็ก PM 2.5 (6) เก็บ
รักษาและฟื้นฟูหน้าดินดว้ ยการเก็บตะกอนดนิ ในพ้ืนท่ี ช่วยสรา้ งความสมดุลของระบบนเิ วศใน ดิน น้า และป่า
(7) เพิ่มความหลากหลายให้กับพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ ท่ีส้าคัญยังช่วยชุมชนได้ ท้ังนี้ การ
ด้าเนนิ การพัฒนาสู่ระดับก้าวหน้าในระยะที่ 2 มีแผนด้าเนินการสง่ เสริมในระดับชุมชนให้รวมตัวกันจัดตั้งกลุ่ม
อาชีพเพ่ือสร้างวิสาหกิจชุมชน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจ และสนับสนุน
กระบวนการผลิต ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้วิสาหกิจชุมชนสามารถพัฒนายกระดับมุ่งไปสู่การจัดต้ัง
บริษทั วสิ าหกิจเพื่อสังคมในระดับต้าบล เพือ่ พัฒนาศักยภาพการเพิ่มผลผลติ ต่าง ๆ ทีไ่ ด้จากในพื้นทดี่ ้าเนินการ
เพ่ิมมูลค่าด้วยการแปรรูป ขยายตลาดการท่องเท่ียวชุมชน ฯลฯ และสร้างงานวิจัยชุมชนเพื่อยกระดับ
ผลิตภัณฑ์หรือค้นหา อัตลักษณ์ของชุมชน การสร้างนวัตกรรมท่ีเหมาะสมกับภูมิสังคมของชุมชน สร้างการ
จัดการความรใู้ นมิตกิ ารพ่ึงตนเองด้านครู คลัง ช่าง หมอ ของชุมชน ร่วมกับสถาบนั การศกึ ษาในพ้ืนทีช่ ุมชนทั่ว
ประเทศ ให้ได้ผลการด้าเนินงานท่ีสามารถน้าไปต่อยอดให้กับวิสาหกิจชุมชนในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว
ชุมชน การเพ่ิมมูลค่าผลผลิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน รวมท้ังสร้างการส่ือสารสังคมให้เกิด
กระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมในระดับชุมชน ระดับต้าบล ระดับอ้าเภอ ระดับจังหวัด และระดับ
นานาชาติ เรื่อง การน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (Sufficiency Economy Philosophy : SEP)
ในรูปแบบการท้างานตามศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวติ ของประชาชนให้บรรลุตามเป้าหมายเพ่ือ
การพัฒนาทยี่ ่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) (SEP for SDGs) ในรูปแบบและวิธีการต่าง
ๆ ท่เี ข้าถึงคนได้ทุกระดับและทุกวัย ผ่านการด้าเนินงานโครงการในทุกพ้ืนท่ี เพือ่ ส่ือสารวิธีการแก้ไขวิกฤตตาม
แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการสร้างตัวอย่างความส้าเร็จท่ีเร่ิมต้นจากการพัฒนาคนให้โลก
ได้รับรู้อย่างแพร่หลาย ซ่ึงการขับเคลื่อนตามกระบวนการทั้ง 2 ระยะจะเป็นการ (8) เตรียมความพร้อมให้
ชุมชนมีความสามารถในการพึ่งตนเองในเรื่องของน้า อาหาร และพลังงานทดแทนสร้างภูมิคุ้มกันชุมชนต่อ
สภาพปัจจุบันท่ีโลกก้าลังเผชิญกับวิกฤตความเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติอย่าง
รนุ แรง วกิ ฤตทางด้านโรคระบาดวกิ ฤตทางด้านความอดยาก และวิกฤตความขัดแยง้ ของสงครามเศรษฐกจิ หรือ
สงครามรูปแบบต่าง ๆ ในอนาคต ดังน้ัน จึงได้มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็น
หน่วยด้าเนินการโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก
หนอง นา โมเดล” กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การ

ปฏบิ ัตใิ นรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล

3

2. เพ่ือพัฒนาพ้ืนท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ระดับต้าบล และระดับครวั เรือน

3. เพื่อฟ้ืนฟูเศรษฐกิจท้องถ่ินและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ ให้แก่เกษตรกร
แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ กลุ่มแรงงานท่ีอพยพกลับท้องถิ่นและชุมชน ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์
ในช่วงวกิ ฤตการแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)

กลุ่มเปำ้ หมำย
จา้ นวนทั้งสิน้ 105 คน ประกอบด้วย
1. ผู้อ้านวยการกลุ่มงานฯ จาก 7 จังหวัดในพื้นท่ีให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน

อบุ ลราชธานี จ้านวน 7 คน
2. พัฒนาการอ้าเภอ จาก 7 จังหวัดในพื้นท่ีให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน

อบุ ลราชธานี จา้ นวน 98 คน

ขน้ั ตอนและวธิ ีดำเนินงำน
1. ศกึ ษาแนวทางการดา้ เนินงานตามโครงการจากส่วนกลาง
2. ประชุมทีมเจ้าหนา้ ท่ีศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนอบุ ลราชธานเี พอ่ื เตรยี มความพร้อม
3. ประสานวทิ ยากร
4. เสนอโครงการขออนมุ ัตดิ ้าเนนิ งานตามโครงการ
5. จดั ท้าคา้ ส่ังแตง่ ตัง้ คณะทา้ งาน
6. จัดเตรียมสถานที่/ฐานการเรียนรู้/ห้องฝึกอบรม/หอพัก/วัสดุอุปกรณ์/โสตทัศนูปกรณ์/

เคร่อื งเสียง
7. ดา้ เนนิ งานตามโครงการ
8. ประเมินผล/สรุปผลการดา้ เนินงาน/รายงานผลต่อผบู้ ริหารกรมการพัฒนาชมุ ชน

งบประมำณดำเนนิ กำร
งบประมาณดา้ เนนิ การ จ้านวนทั้งสิ้น 3,817,770 บาท (สามล้านแปดแสนหนึ่งหมื่นเจ็ดพนั

เจด็ รอ้ ยเจด็ สบิ บาทถ้วน)

ระยะเวลำดำเนนิ กำร
ด้าเนนิ การ 6 รนุ่ ๆ ละ 5 วนั ณ ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนอุบลราชธานี ดงั น้ี
รุ่นที่ 1 ด้าเนินการระหว่างวันที่ 4 – 8 ธันวาคม 2563 ณ หอประชุมค้าคูณ
ร่นุ ที่ 2 ดา้ เนนิ การระหว่างวนั ที่ 5 – 9 ธนั วาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 2
รนุ่ ท่ี 3 ดา้ เนินการระหว่างวนั ที่ 10 – 14 ธนั วาคม 2563 ณ หอประชุมค้าคณู
รนุ่ ท่ี 4 ด้าเนนิ การระหว่างวันที่ 11 – 15 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชมุ ชัน้ 2
รุ่นที่ 5 ด้าเนินการระหว่างวันท่ี 22 – 26 ธนั วาคม 2563 ณ หอประชมุ ค้าคณู
ร่นุ ท่ี 6 ดา้ เนนิ การระหว่างวันท่ี 23 – 27 ธนั วาคม 2563 ณ หอ้ งประชมุ ชั้น 2

ขอบเขตเนื้อหำหลักสูตร
1. การมอบนโยบาย

4

2. กิจกรรมกลุ่มสมั พันธ์
3. เรียนรตู้ า้ ราบนดิน : กจิ กรรมเดนิ ชมพนื้ ท่ี
4. เขา้ ใจ เขา้ ถึง พัฒนาศาสตรพ์ ระราชากบั การพัฒนาทยี่ ่งั ยนื
5. การแปลงปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบัตแิ บบเป็นขนั้ เป็นตอน
6. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “ทฤษฎี บันได 9 ขั้น ส่คู วามพอเพยี ง
7. หลักกสกิ รรมธรรมชาติ
8. แบ่งกลุม่ ฝกึ ปฏบิ ัตติ ามฐานเรียนรู้ 6 ฐาน
9. ถอดบทเรยี นผ่านส่ือ “วถิ ภี มู ปิ ญั ญาไทยกบั การพ่งึ ตนเองในภาวะวิกฤต”
10. “สขุ ภาพพง่ึ ตน พัฒนา 3 ขมุ พลัง” พลังกาย พลงั ใจ พลังปัญญา
11. ฝึกปฏบิ ัติ “จิตอาสาพัฒนาชมุ ชน เอามอ้ื สามัคคี พัฒนาพ้นื ท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่
12. การออกแบบเชิงภูมิสงั คมไทยตามหลักการพัฒนาภูมสิ ังคมอยา่ งยง่ั ยืนเพ่อื การพ่ึงตนเอง
และรองรบั ภยั พิบตั ิ
13. ฝึกปฏิบัติการสร้างหุ่นจ้าลอง (กระบะทราย) การจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
14. น้าเสนองานสร้างหุ่นจ้าลองการจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง
นา โมเดล
15. Team Building ฝึกปฏิบตั ิการบริหารจดั การในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากนิ
16. ถอดบทเรยี นการฝึกปฏิบัติการบรหิ ารจัดการในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากนิ
17. กตัญญตู อ่ สถานท่ี พัฒนาจติ ใจ
18. การขับเคลือ่ นสบื สานศาสตร์พระราชา กลไก 357
19. จดั ทา้ แผนปฏิบัตกิ าร “ยทุ ธศาสตรก์ ารขบั เคลอ่ื นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัติ
20. นา้ เสนอยุทธศาสตร์การขับเคลือ่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลที่คำดว่ำจะไดร้ บั
กลุ่มเป้าหมายสามารถเป็นแกนน้าขับเคล่ือนการน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

และทฤษฎใี หม่ประยุกต์สู่การปฏิบตั ใิ นรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล ในพ้ืนทเี่ ปา้ หมายได้

ตวั ชวี้ ดั กิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย จ้านวน 537 คน ได้รับการพัฒนาตามหลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบ

เศรษฐกิจพอเพียงรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล

5

ส่วนที่ 2
สรปุ เนอ้ื หาวิชาการ

กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็นหน่วย
ดาเนนิ งานโครงการพัฒนาพ้ืนทต่ี ้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา
โมเดล” กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก
หนอง นา โมเดล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล และเพ่ือพัฒนาพ้ืนท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง
นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับตาบล และระดับครัวเรือน ตลอดจนเพ่ือฟื้นฟู
เศรษฐกิจท้องถิ่นและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ ให้แก่เกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ กลุ่ม
แรงงานท่ีอพยพกลับทอ้ งถ่ินและชมุ ชน ท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ในชว่ งวิกฤตการแพร่ระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) กลุ่มเป้าหมาย จานวนทั้งส้ิน 537 คน ประกอบด้วย ครัวเรือนพ้ืนที่
ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต จากจังหวัดยโสธร จานวน 134 คน จังหวัดอานาจเจริญ จานวน 159 คน และ
ผู้เข้าร่วมโครงการจ้างงานสร้างรายได้จากจังหวัดยโสธร จานวน 140 คน จังหวัดอานาจเจริญ จานวน 104 คน
แยกดาเนินการ 6 รุ่น ๆ ละ 5 วัน รุ่นที่ 1 ดาเนินการระหว่างวันที่ 4 – 8 ธันวาคม 2563 ณ ณ หอประชุมค้าคูณ
รุ่นท่ี 2 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 5 – 9 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นที่ 3 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 10 –
14 ธันวาคม 2563 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นที่ 4 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 11 – 15 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม
ช้ัน 2 รุ่นที่ 5 ดาเนนิ การระหวา่ งวันที่ 22 – 26 ธนั วาคม 2563 ณ หอประชุมคา้ คูณ และรุ่นท่ี 6 ดาเนินการระหว่าง
วนั ที่ 23 – 27 ธนั วาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 2 ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี การดาเนินงานตาม
โครงการดงั กลา่ ว ได้กาหนดประเด็นเน้ือหาวิชาหลักตามหลกั สูตร จานวน 20 หวั ขอ้ วชิ า ดงั นี้

เนอ้ื หาวิชาหลัก
จานวน 20 วิชา
1. การมอบนโยบาย
2. กจิ กรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์
3. เรยี นรตู้ าราบนดิน : กิจกรรมเดินชมพื้นท่ี
4. การแปลงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ตั แิ บบเป็นขนั้ เป็นตอน
5. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง “ทฤษฎี บนั ได 9 ขั้น สูค่ วามพอเพยี ง
6. หลักกสกิ รรมธรรมชาติ
7. แบง่ กลุม่ ฝกึ ปฏิบตั ติ ามฐานเรยี นรู้ 6 ฐาน
8. ถอดบทเรียนผา่ นสอื่ “วิถภี ูมิปัญญาไทยกบั การพง่ึ ตนเองในภาวะวกิ ฤต”
9. “สขุ ภาพพ่ึงตน พฒั นา 3 ขุมพลัง” พลังกาย พลงั ใจ พลงั ปญั ญา
10. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ “จติ อาสาพฒั นาชุมชน เอามื้อสามคั คี พัฒนาพ้นื ท่ตี ามหลกั ทฤษฎีใหม่
11. สรปุ บทเรียน “จิตอาสาพฒั นาชุมชนเอาม้ือสามัคคพี ัฒนาพน้ื ที่ตามหลกั ทฤษฎใี หม่
12. การออกแบบเชงิ ภูมิสงั คมไทยตามหลกั การพฒั นาภูมิสังคมอย่างย่ังยืนเพื่อการพง่ึ ตนเอง

และรองรับภัยพิบัติ

6

13. ฝึกปฏิบัติการสร้างหุ่นจาลอง (กระบะทราย) การจัดการพ้ืนท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล

14. นาเสนองานสร้างหุ่นจาลองการจัดการพื้นท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง
นา โมเดล

15. Team Building ฝึกปฏบิ ัตกิ ารบริหารจัดการในภาวะวิกฤต หาอยู่ หากนิ
16. สรุปบทเรยี นฝึกปฏิบตั ิการบรหิ ารจัดการในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากิน
17. กตญั ญูต่อสถานท่ี พัฒนาจติ ใจ
18. การขับเคล่อื นสืบสานศาสตรพ์ ระราชา กลไก 357
19. จดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการ “ยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคลอ่ื นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ
20. นาเสนอยุทธศาสตร์การขบั เคลือ่ นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การเรยี นรใู้ นแตล่ ะวชิ ายดึ ผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลางการเรียนรู้ ด้วยรปู แบบ วิธีการ เทคนิค
ท่ีหลากหลายมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ จากประสบการณ์ตรง และการฝึกปฏิบัติจริงโดยใช้
กระบวนการแบบมสี ่วนร่วมที่สามารถนาไปปรับใช้ในการปฏิบัตงิ านไดจ้ ริง ดังน้ี

1. การบรรยายประกอบสอื่ Power Point
2. เวทแี ลกเปล่ยี นเรียนรู้
3. การฝกึ ปฏบิ ตั ิ

สรุปสาระสาคญั ของเนือ้ หาวชิ าได้ ดังน้ี

วชิ า กิจกรรมกลุ่มสมั พันธแ์ บ่งกลมุ่ มอบภารกจิ

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเป้าหมายด้วยกัน และทีมวิทยากรทาให้เกิดบรรยาย

กาศท่ีดีในการเรียนรู้
2. เพ่ือแบ่งกลมุ่ การร่วมกิจกรรมในแตล่ ะวิชา

ระยะเวลา 1 ชัว่ โมง

ขอบเขตเนอ้ื หา
1. การสร้างกิจกรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์ดว้ ยการละลายพฤติกรรม การสร้างผ้นู ากลุม่ /ผู้นารุ่น
2. การแนะนาตนเอง การสร้างความคุ้นเคย
3. การสรา้ งสญั ลักษณร์ ว่ ม
4. การปรบั ฐานการเรียนรู้
5. การแบง่ กลุม่
6. การรับผา้ พนั คอ
7. การมอบหมายบทบาทหนา้ ที่
8. การสรา้ งความคาดหวัง

7

เทคนิค/วธิ ีการ
ทีมวิทยากรแนะนาตัวเองและเกร่ินนาถึงวัตถุประสงค์ของการปรับฐานการเรียนรู้และการ

ละลายพฤติกรรม เป็นการสร้างบรรยากาศท่ีดีและปลอดภัย ซ่ึงการเรียนรู้ที่จะทาให้ทุกคนมีส่วนร่วมได้นั้น
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องเปิดใจ “ถอดหัวโขน” ลดอายุให้เหมาะสมแก่กิจกรรม โดยใช้หลัก 3 ค คือ คึกคัก
คลอ่ งแคลว่ ครน้ื เครง จงึ เชญิ ชวนใหท้ กุ คนท่เี ข้ารบั การฝกึ อบรมรว่ มทากจิ กรรม ดังน้ี

ทีมวิทยากรนาผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกคนเข้าสู่กระบวนการสร้างความพร้อมด้วยการ
จัดรูปแบบการนั่ง โดยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมยกเก้าอ้ีออกแล้วน่ังกับพื้น แล้วส่ังปรบมือ 1 คร้ัง 2 คร้ัง 3 ครั้ง
เสร็จแลว้ วทิ ยากร สั่งปรบ 3 ครัง้ ..ปรบมือ 3 ครัง้ .. ปรบมอื 7 ครงั้ .. ลองสัง่ 3 เท่ียว จากนน้ั วิทยากรแบ่งทีม
ผู้เข้าอบรมออกเปน็ 2 ฝัง่ โดยใหฝ้ ัง่ หน่งึ ร้องเพลง “ชา้ ง” อีกฝั่งหนึง่ ร้องเพลง “ยมิ้ ” เรมิ่ ดว้ ยการรอ้ งทลี ะฝั่งให้
อีกฝ่ังนั่งฟัง 1 – 2 รอบ และร้องเพลงของฝั่งตนเองพร้อมกันทั้ง 2 ฝ่ัง จากน้ันให้แต่ละฝ่ังรอ้ งเพลงตวั เองในใจ
สดุ ทา้ ยของเนอื้ ร้องทกุ คนต้องร้อง “เฮ” พรอ้ มชูมือขนึ้

วทิ ยากรแบ่งทมี ชาย – หญงิ แลว้ ให้ทุกคนจบั คู่กนั เปา่ ยงิ ฉุบ เพื่อหาผูช้ นะ ผู้ทแ่ี พต้ ้องไปต่อ
แถวของคู่เราท่ีชนะ ดาเนินการต่อไปเรื่อย ๆ จนเหลือผู้ที่ชนะฝ่ายชาย และผู้ชนะฝ่ายหญิง ให้ทั้ง 2 ฝ่าย เป่า
ยิง ฉุบ กนั หาฝา่ ยชนะ วิทยากรสงั่ ให้ฝา่ ยทีช่ นะอยากใหฝ้ ่ายที่แพท้ าอะไรสามารถสง่ั ได้เลย

วิทยากรให้ทั้ง 2 ทีม ยืนเข้าแถว นับ 1 – 6 ไปเร่ือย ๆ เพ่ือทาการแบ่งกลุ่ม เม่ือได้หมายเลข
แล้วให้นั่งจับกลุ่มรวมกัน และให้สมาชิกแต่ละกลุ่มทาความรู้จักกัน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มคัดเลือกผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และน้องเล็กตามลาดับ พร้อมแนะนาบทบาทหน้าท่ีของแต่ละตาแหน่ง จากน้ันให้แต่ละกลุ่ม
ต้ังช่ือบ้าน สโลแกนพร้อมท่าทางประกอบ เพ่ือใช้ในประกอบกิจกรรมการเข้าฐานเรียนรู้ เสร็จแล้วสาธิตให้
เพ่อื นดทู ีละกล่มุ

วิทยากรให้ทุกกลุ่มสีนั่งเป็นแถวตอน และให้ผู้ใหญ่บ้าน ท้ัง 6 กลุ่มสี เลือก “กานัน” หรือ
ผูน้ ารนุ่ เสร็จแล้วใหก้ านันเลือกสารวตั รกานัน แนะนาบทบาทหน้าท่ี วทิ ยากรทบทวนวิธีการ การใช้คาสง่ั “ใส่
รหัส” จากน้นั แจกบัตรคาใหผ้ ูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมเขียนกฎกติกาการอย่กู นั และความคาดหวงั จากการเข้าร่วม
โครงการ สรปุ ได้ ดังน้ี

กฎ กติกาการอยรู่ ่วมกนั ความคาดหวัง

1. ตรงต่อเวลา 1. ได้รับความรู้
2. มมี ารยาท 2. สามารถนาไปปฏิบตั ิตอ่ ยอดได้
3. มคี วามสามัคคี 3. มเี ครอื ข่าย
4. รักษาความสะอาด 4. ออกแบบได้อย่างมืออาชีพ
5. พูดจาไพเราะ 5. คุณภาพชวี ิตดขี น้ึ
6. ซอ่ื สัตย์ อดทน 6. สามารถประกอบอาชพี ยั่งยนื
7. เอ้อื เฟ้ือเผ่ือแผ่
8. ห้ามดื่มสรุ า
9. หา้ มเลน่ การพนนั

วทิ ยากรอธิบายข้ันตอน/วิธีการการเข้ารับ “ผา้ พันคอสี” โดยให้ผใู้ หญบ่ ้านตวั แทนกลุ่มสีเป็น
ผู้เข้ารับผ้าพันคอสีต่อหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ของในหลวง ร.9 และ ร.10 เสร็จแล้วตัวแทนกลุ่มสีกลับเข้า
ประจากลมุ่ สีแล้วส่งผา้ ผ้าพันคอสีให้สมาชิกจนครบ วิทยากรให้ทุกคนวางผ้าพันคอสีไว้บนมือขวา ตักขวา และ

8

หลบั ตาเพอื่ ราลึกถึงพระราชกรณยี กจิ ของในหลวงทั้ง 2 พระองค์ จากนน้ั สั่งลมื ตาและกลา่ วคาปฏิญาณตนตาม
กล่าวจบวิทยากรให้พ่ีเลี้ยงแนะนาวิธีการผูกผ้าพันคอสี และมอบภารกิจการดูแลพ้ืนที่ของแต่ละกลุ่มสี โดยดู
ตามตารางภารกจิ

ผลจากการเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความสนุกสนาน คุ้นเคยกันมากข้ึน สังเกตจากการมีส่วน

ร่วมในการทากิจกรรมร่วมกัน และมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ในเน้ือหาวิชาต่างๆ และทุกคนได้ร่วมกันกาหนด
กฎ กติกาการอยกู่ นั ในระหวา่ งการฝึกอบรมตลอด 5 วนั 4 คนื

วิชา เรียนร้ตู าราบนดิน : กจิ กรรมเดนิ ชมพน้ื ท่ี

วัตถุประสงค์
1. เพ่อื สารวจและศึกษาเรยี นรูต้ าราจากผนื ดินจากพื้นทศ่ี ึกษาและพฒั นาชุมชนอุบลราชธานี
2. เพ่ือวเิ คราะหแ์ ละนาเสนอส่ิงที่สังเกตเหน็ และสิง่ ที่ไดจ้ ากการลงพน้ื ทีใ่ นการเรยี นรู้

ระยะเวลา 1 ชัว่ โมง

ขอบเขตเนือ้ หาวชิ า
1. ศกึ ษา สารวจพ้นื ท่ี
2. บนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ตามประเด็นตา่ ง ๆ
3. แลกเปล่ยี นเรียนรู้เตมิ เม

เทคนคิ /วิธีการ
วิทยากรมอบภารกิจให้แต่ละกลุ่มสีสารวจพ้ืนที่ตามใบงาน ให้บันทึกผลการเรียนรู้ตาม

ประเด็นตา่ ง ๆ โดยมวี ิทยากรประจากลมุ่ สีพาไปสารวจในพืน้ ทแี่ ต่ละโซน กอ่ นปล่อยใหไ้ ปพ้นื ท่ีสารวจของจริง
วทิ ยากรเน้นยา้ “อยา่ ด้วยตัดสนิ ใจ ไม่แนะนา ไมค่ ิดชว่ ยแกไ้ ขปัญหา” ประเด็นคาถามตามใบงาน

- ทา่ นเหน็ อะไรจากการสารวจ
- ท่านได้อะไร จากการสารวจ ให้นา/หยิบ ส่ิงของเหล่านั้นมา 1 ชิ้น เพื่อนาเสนอกับเพ่ือนใน
หอ้ ง
เสร็จแล้วส่งตัวแทนนาเสนอสิ่งที่ได้จากการสารวจ และส่ิงที่ได้มาต่อที่ประชุมใหญ่ วิทยากร
กระบวนการเตมิ เต็ม

สรปุ สง่ิ ท่ไี ดจ้ ากกิจกรรมเดนิ ชมพ้ืนท่ี
1. เห็นอะไรจากการสารวจ
1) แปลงสาธติ
2) สระน้า
3) คลองไสไ้ ก่
4) เรือนเพาะชา
5) สวนสมุนไพร
6) พืชผกั ชนดิ ตา่ ง ๆ

9

7) การปลูกป่า 5 ระดับ
2. เรยี นรู้จากการสารวจ

1) การวางระบบน้า
2) การออกแบบวางแปลน การจดั การพ้นื ท่ี
3) การปอ้ งกนั การพงั ทลายของดิน โดยการปลกู หญ้าแฝก
4) การห่มฟางเพอื่ ใหพ้ ืชช่มุ ชื้น
5) การขดุ สระแบบลาดเอยี ง
6) การปลูกป่า 5 ระดบั
7) มีแหลง่ อาหารในครวั เรือน
8) ระบบการจัดการแบบเกื้อกูลกัน
9) การจัดสรรพน้ื ที่ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด
10) รปู แบบการจัดการพน้ื ที่
11) รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล
ส่งิ ท่หี ยบิ มา
1) ฟาง ประโยชน์

- ใชใ้ นการรักษาความชน้ื ของหนา้ ดิน
- เปน็ ปุ๋ย
- เป็นอาหารสัตว์
2) ใบกลว้ ย ประโยชน์
- ใบใชห้ อ่ อาหาร ทาพานบายศรี
- ผล แก้ทอ้ งผกู ประกอบอาหาร บารุงหวั ใจ
- ลาตน้ เป็นอาหารสตั ว์
3) ใบหมอ่ น ประโยชน์
- ใชต้ ้มกับนา้ ดื่มเป็นยาระงบั ประสาท ช่วยแก้อาการปวดศรี ษะ แก้

กระหายนา้ เป็นยาช่วยขบั ลม

ผลจากการเรยี นรู้
พบวา่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมใหค้ วามสนใจเป็นอย่างดี สังเกตจากการกระตือรือร้นในการเดิน

ชมพื้นท่ี การมีส่วนร่วมในกิจกรรม และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน การพูดคุย ซัก-ถาม การแสดงความ
คดิ เห็น และชิน้ งานทีไ่ ดจ้ ากการสารวจพนื้ ท่ี

10

วิชา ถอดบทเรยี นจากการฝกึ ปฏบิ ตั ฐิ านการเรยี นรู้

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้และเข้าใจถึงการน้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

มาปรบั ใช้ในชีวติ ประจาวนั และสามารถปฏิบัตจิ นเป็นวถิ ีชีวติ
2. เพอื่ ให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมมที ักษะ ความรู้ในแตล่ ะฐานการเรยี นรแู้ ละนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้
3. เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้ารับการฝกึ อบรมสามารถนาความรู้และเทคนคิ ในฐานต่างๆ ไปประยกุ ต์ใช้เป็น

อาชีพเสรมิ ในครัวเรอื น เพ่ือใหเ้ กดิ รายไดแ้ ละพ่ึงพาตนเองได้

ระยะเวลา 6 ช่วั โมง

ขอบเขตเน้ือหาวชิ า
เรียนรู้ฐานคนมีน้ายา, ฐานรักษ์สุขภาพ, ฐานคนมีไฟ, ฐานคนเอาถ่าน, ฐานคนรักษ์แม่ธรณี

และฐานคนรกั ษโ์ ลกพระแมโ่ พสพ

เทคนิค/วธิ กี าร
วิทยากรกระบวนการแนะนาฐานการเรียนรู้แต่ละฐาน ทั้งหมด 6 ฐานการเรียนรู้

ประกอบด้วย ฐานคนมีน้ายา, ฐานรักษ์สขุ ภาพ, ฐานคนมีไฟ, ฐานคนเอาถา่ น, ฐานคนรักษ์แมธ่ รณี และฐานคน
รักษ์โลกพระแม่โพสพ ซ่ึงแต่ละฐานการเรียนรู้จะมีทีมวิทยากรประจาฐานที่จะให้ความรู้ สาธิต และแนะนาผู้
เข้ารับการฝึกอบรม จากน้ันวิทยากรแบ่งกลุ่มผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมออกเป็น 6 กลุ่ม (กลุ่มสีเดิม) มอบหมาย
งาน โดยให้แต่ละกลุ่มถอดบทเรียนจากการเรียนรู้ในแต่ละฐานในประเด็น สิ่งท่ีได้จากการเรียนรู้ และจะ
นาไปใช้ประโยชน์หรือต่อยอดอย่างไร เสร็จแล้วส่งผู้แทนนาเสนอกลุ่มละ 5 นาที สรุปภาพรวมตามท่ีปรากฏ
ดังนี้

สรุปผล/ถอดบทเรียนการฝกึ ปฏบิ ตั ิจากฐานการเรียนรู้

ฐานเรียนรู้คนมีนา้ ยา

ขอ้ ดี
1. ลดค่าใชจ้ ่ายในครวั เรือน
2. แปรรูปวสั ดุดบิ ทเี่ รามรในชุมชน เชน่ มะกรดู มะนาว ขมิน้ ฯลฯ
3. สามารถสร้างรายได้ในครัวเรอื นและชมุ ชน
4. ส่งเสริมการรวมกล่มุ อาชีพ สง่ เสริมให้มีการลงทะเบยี น OTOP
5. มคี วามปลอดภยั ต่อผบู้ ริโภค
6. เป็นการต่อยอดเพื่อสร้างรายได้ใหค้ รวั เรือนและชุมชน

ความร้ทู ไ่ี ด้รับ
1. รวู้ ิธีการทาสบ่ไู วใ้ ช้เอง และสามารถนาความรู้ไปถ่ายทอดสู่ชมุ ชนต่อไปได้
2. ได้ความสามัคคีในหมู่คณะ และฝึกสมาธิ (ทาให้ใจเย็น) ในกระบวนการผลิต
3. ได้เหน็ ประโยชน์จากวตั ถุดิบท่มี ีในชุมชน

11

ฐานคนรักษ์สุขภาพ

ส่ิงที่ได้
1. เรอ่ื งสมนุ ไพร
- ประเภท
- ประโยชน์/สรรพคณุ
- การนาไปใช้
2. การทาสปาเท้า
- ใช้สมุนไพรใกล้ตวั เช่น ผิวมะกรดู มะนาวห่นั ชิ้นเปน็ แว่น ขม้นิ ไพล ใบมะขาม ใบเปา้

ใบหนาด เกลือ น้า
สรรพคุณ

1. ช่วยขบั สารพษิ ในรา่ งกาย
2. ช่วยใหผ้ ่อนคลาย
การนาไปใช้/ต่อยอด
1. สมุนไพรอบแหง้ เพ่ือสร้างรายได้
2. การแปรรปู
- ลกู ประคบสมุนไพร
- เครือ่ งดืม่ สมนุ ไพร
- สมุนไพรพอกหนา้
- น้ามันไพล

คนมไี ฟ

ข้อดี
1. ลดคา่ ใชจ้ ่ายในครัวเรือน ประหยดั ตน้ ทุน
2. ต่อยอดเป็นพลงั งานทดแทน
3. รักษ์โลก ไม่ทาลายสง่ิ แวดล้อม
4. สะดวก ขอให้มีแสงอาทิตย์
5. มีความปลอดภัย
6. บารงุ รักษาง่าย
7. ใช้งานงา่ ย
8. ไดพ้ ลังงานสะอาด
9. เปน็ พลงั งานธรรมชาติทไ่ี ม่มีวนั หมดอายุ
10. ใชส้ ูบนา้ เขา้ นาขา้ ว

ข้อเสีย
- ตอ้ งมที กั ษะดา้ นช่าง

12

ฐานคนเอาถ่าน

จากการปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง เช่น
- ไมอ้ าหาร/สมนุ ไพร
- ไมใ้ ช้สอย
- ไม้เศรษฐกิจ

สิ่งทไี่ ด้
1. สภาพแวดลอ้ มทดี่ ี
2. วิธีการเผาถา่ นโดยใช้ถงั นา้ มนั 200 ลิตร และการสร้างเตาผลติ ถ่าน
3. รู้วธิ ีกลนั่ น้าสม้ ควนั ไมแ้ ละการนาไปใชป้ ระโยชน์
4. ทราบประโยชน์ของถ่าน “ชาโคล”
5. การจดั การของเหลอื ใชจ้ ากการทาการเกษตร เชน่ เปลือกผลไม้
6. วธิ ีการทาถา่ นอัดแท่งจากเศษถ่าน

การนาไปใช้ประโยชน์
1. ทีม่ าของธนาคารต้นไม้
2. ประโยชนจ์ ากการตัดแต่งก่ิงไม้

ฐานคนรกั ษ์โลกรักแมโ่ พสพ

สิ่งท่ีได้
1. วิธปี ลกู ข้าว กข 43
2. ปลูกพชื ใช้นา้ นอ้ ย โดยใช้ปยุ๋ นา้ ชาม/แหง้ ชามวธิ ีเล้ียงหอย กงุ้ ปู
3. โครงสร้างของดิน
1) อากาศ 25 %
2) อนินทรีย์วัตถุ 45 %
3) น้า 25%
4) อินทรียวตั ถุ 5%
4. วิธกี ารเตรยี มดิน ห่มดนิ โดยการนาฟางขา้ วมาคลุมดนิ โคนต้นไม้ให้เหมอื นขนม “โดนทั ”
1) แหง้ ชาม คือใสป่ ุ๋ยแหง้
2) นา้ ชาม คอื ใสจ่ ุลินทรยี ์นา้ หมกั หน่อกลว้ ย (รสจดื )

ประโยชน์ทไี่ ด้รบั คือ ผลผลิตเพ่ิมขนึ้ ปลอดสารเคมี และที่สาคญั ดนิ ดี ปลูกอะไรกง็ าม
ต่อยอด

การนาไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวัน

+

13

คนรักษแ์ มธ่ รณี

สงิ่ ท่ไี ด้
1. หลกั กสิกรรมธรรมชาติ
1) ดนิ
2) น้า
3) ลม
4) ไฟ
2. คาถาเลีย้ งดิน “เล้ียงดิน ให้ดนิ เล้ยี งพืช”
1) หม่ ดนิ ดว้ ยฟาง ใบไม้ ใบหญา้
2) แห้งชาม/นา้ ชาม ใชบ้ ารุงดิน
3. วธิ กี ารทาปุ๋ยแห้งชาม/น้าชาม โดยใช้สมุนไพร 7 รส ประกอบด้วย
- รสจืด
- รสขม
- รสฝาด
- รสเปรี้ยว
- เมาเบ่อื
- หอมระเหย
- รสเผด็ ร้อน

สูตรน้าชาม 3:1:1:10
3 = สมนุ ไพร
1 = หวั เช้อื
1 = นา้ ตาลทรายแดง
10 = นา้ สะอาด

สูตรแห้งชาม
1 : มลู สตั ว์
1 : แกลบ/ใบไม้
1 : ราละเอยี ด
1 : หัวเชอ้ื จลุ ินทรยี ์
10 : น้าสะอาด

4. องค์ประกอบของดนิ ดี

ผลจากการเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดี สังเกตจากการกระตือรือร้นในการ

เรียนรู้ในแต่ละฐาน การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การฝึกปฏิบัติ และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน การพูดคุย
ซกั -ถาม การแสดงความคดิ เห็น และชนิ้ งานที่ไดจ้ ากการถอดบทเรียน

14

วชิ า ถอดบทเรยี นผา่ นสอ่ื “วถิ ีภมู ปิ ัญญาไทยกบั การพ่งึ ตนเองในภาวะวิกฤติ”

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับฝึกอบรมได้สังเคราะห์ความรู้ท่ีได้รับจากวิทยากรที่ได้มาบรรยายในแต่ละ

วิชา
2. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจสถานการณ์โลกปัจจุบันกับการ

เปล่ียนแปลงของดิน ฟ้า อากาศ และตระหนกั ถงึ วิกฤติปัญหาด้าน ดิน นา้ ลมไฟ โรคตดิ ต่อระบาดทอ่ี าจเกิดข้ึน
ในประเทศไทยและการปอ้ งกันภยั

3. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตระหนักถึงความสาคัญของการน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดารงชวี ติ

ระยะเวลา 2 ช่ัวโมง

ขอบเขตเนื้อหาวิชา
1. ภาวะวกิ ฤติสงั คมโลก สงั คมไทย
2. ถา้ เข้าสภู่ าวะวิกฤติจะเอาตัวรอดอย่างไร
3. ทางออกวิกฤติ ดิน นา้ ป่า คน ด้วยโคก หนอง นา

เทคนคิ /วธิ กี าร
วิทยากรแนะนาตวั กล่าวทกั ทายผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรม เกริน่ นาถึงวตั ถุประสงคข์ องวิชา แลว้

เชิญชวนผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมชมคลิปวิดที ัศน์ “แผ่นดินวิกฤติ” จากน้ันวิทยากรแบ่งกลมุ่ ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม
ออกเป็น 6 กลุ่ม (กลุ่มสีเดิม) มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้แต่ละกลุ่มถอดบทเรียนจากการชมสื่อใน
ประเด็น ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะทาอย่างไรต่อไป เสร็จแล้วส่งผ้แู ทนนาเสนอกลุ่มละ 7 นาที และ
เปดิ เวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปภาพรวมตามที่ปรากฏ ดงั นี้

ถอดบทเรียนผ่านส่ือ “วถิ ีปัญญาไทยกบั การพง่ึ ตนเองในภาวะวกิ ฤติ”

สงั คมโลก/สงั คมไทย ถ้าเข้าสู่ภาวะวกิ ฤตทา่ นจะเอาตวั ท่านจะช่วยเหลือชุมชน/ครวั เรอื นใหร้ อด

รอดอยา่ งไร จากวิกฤตอย่างไร

- ส่งิ แวดลอ้ มถูกทาลาย - คืนสรู่ ากเหงา้ ยดึ ทางสายกลาง - สง่ เสรมิ ให้ประชาชนนอ้ มนาหลัก

- เกดิ ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ อย่อู ยา่ งพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปฏิบตั ิ

- การเปลี่ยนแปลงทางภมู ิอากาศโลก - ปรับตัวเอง/ทบทวนตวั เอง/ จนเปน็ วถิ ีชีวิต

มรผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร เรียนรู้ - ส่งเสริมการปรบั เปล่ียนวิธคี ดิ ทศั นคติ

- ความเหล่อื มล้าทางสังคม - ฟื้นฟู พัฒนาทรัพยากรท้องถ่นิ คนในชมุ ชน

- ขาดการวางแผนชีวติ - พ่ึงพาตนเอง/ยึดหลักความ - แนะนาการทาเกษตรแบบผสมผสาน

- ภาวะวกิ ฤตโลก (ความขัดแยง้ , พอเพยี ง - ตงั้ สติ/ให้ความรู้ โดยการสนับสนุนให้

ภัยพบิ ตั ิ,โรคภยั ) - ความสามคั คี คนในชุมชนพ่ึงพาตนเองและทรัพยากรท่ี

- คนตกงาน - การน้อมนาหลักปรัชญาของ มี เพ่อื ให้พอกนิ /พอใช้/พออยู่/พอร่มเย็น

- ระบบทุนนยิ มทาใหโ้ ลกหายนะ เศรษฐกิจพอเพียงมาปฏบิ ัติใน - การเข้าถงึ แหลง่ ความรูข้ องคนในชุมชน

- ผลกระทบของการกระทาของมนุษย์ ชวี ติ ประจาวนั - สง่ เสรมิ การขับเคล่ือน โคก หนอง นา

ทท่ี าลายธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม - สร้างภมู คิ ุ้มกนั ทางอาหาร โมเดล ใหส้ าเรจ็

15

- ขาดความสมดุล - ตง้ั สต/ิ อดทน - สร้างความมัน่ คงทางอาหาร
- รณรงคก์ ารปลูกผักสวนครวั รั้วกนิ ได้
- เหน็ ความสาคัญของการสร้างความ - หาสาเหตปุ ัญหา แลส้ หา - เรยี นรูอ้ ดีต
- สง่ เสรมิ การจดั ต้ังกลุม่ อาชพี ส่คู วาม
ม่นั คงทางอาหาร ทางออก ยั่งยืน
- ประสานหน่วยงานภาคชี ว่ ยเหลือ
- เกดิ ภาวะภยั แลง้ /ภาวะโลกร้อน - ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม - ส่งเสริมใหพ้ ง่ึ พาธรรมชาติ
- สงั คมเก้ือกูล
- ภยั น้าทว่ ม - ลดการพ่ึงพาคนอ่นื สรา้ งโลก - สร้างความปรองดอง
- หนั หลงั ดูอดตี มองหน้าสู่เป้าหมายใหม่
- ความอดอยาก ใหมด่ ้วยเศรษฐกิจพอเพยี ง - สร้างสัมมาชพี ชมุ ชน
- รู้จักวางแผนการจัดการชีวิต โดยใช้
- การอพยพแรงงาน - การสร้างเครอื ข่าย ธรรมะเข้ามาชว่ ย
- ใหค้ วามรู้ถงึ สถานการณ์ภยั ทีจ่ ะมาถงึ
- การบริโภคนิยม - รกั ษาสขุ ภาพและจติ ใจให้ - แนวทางการป้องกนั และแนวทางแก้ไข

- ครอบครวั ลม่ สลาย เขม้ แข็ง

- การแย่งชิงทรัพยากร - การพึ่งตนเอง/ชว่ ยเหลอื /

- การใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีเกินฟน้ื ฟู แบง่ ปัน/ทาน

ส่งผลตอ่ ระบบเศรษฐกจิ สังคม - คนื ถน่ิ อยู่อย่างพอเพียง

การเมือง - สรา้ งความม่นั คงทางอาหารใน

- ตน้ เหตขุ องความทุกขค์ ือ ระบบทุน ครัวเรือน

นยิ มท่สี ามารถทาลายโลกได้ โดย

นาไปส่รู ะเบดิ 4 ลูก ในปัจจุบัน

1) วิกฤตส่ิงแวดล้อม

- นา้ ทว่ ม

- ภัยแล้ง

- นา้ แขง็ ขั้วโลกละลาย

- ดนิ โคลนถลม่

2) วกิ ฤตสังคม

- ความเหลือ่ มล้าทางสงั คม

3) วิกฤตเศรษฐกจิ

- ตกงาน

- หน้สี ิน

4) วิกฤตการแยง่ ชงิ (การเมือง)

- รัฐบาลขาดเสถียรภาพ

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมใหค้ วามสนใจเป็นอย่างดีในการชมสื่อวิดีทัศน์ เพราะทุกคนเป็น

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สังเกตจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคิดเห็น การ
แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และช้นิ งานที่ไดจ้ ากการถอดบทเรยี น

16

วชิ า ถอดบทเรยี นจากการฝกึ ปฏิบตั ิ “จิตอาสาพฒั นาชมุ ชน เอาม้ือสามคั คี พัฒนาพนื้ ทีต่ าม
หลักทฤษฎใี หม”่

วตั ถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดการแลกเปลี่ยนแรงงาน เอามื้อสามัคคี และเป็นการ

แลกเปล่ียนองค์ความรู้ในด้านการพัฒนาพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มักรู้จักในช่ือ
กิจกรรม “ลงแขก” หรือ “เอาแรง” ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมชุมชนท่ีอยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างช้านาน โดยในช่วง
ระยะหลังนอกจากจะเป็นการแลกเปล่ียนในด้านแรงงานแล้วยังไดเ้ กิดการสร้างความรู้ทีเ่ หมาะสมกับสภาพพน้ื ท่ี

ระยะเวลา 7 ช่ัวโมง

ขอบเขตเนอ้ื หาวชิ า
การทากิจกรรมร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมพลังกันในการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง พฒั นาพ้ืนที่ตามหลกั ทฤษฎใี หม่

เทคนิค/วธิ ีการ
วทิ ยากรกระบวนการแนะนาทมี วทิ ยากรครูพาทา และเกรนิ่ นาถึงวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา

แล้วเชื่อมโยงสู่การบรรยายประกอบส่ือ Power Point ในประเด็นการสารวจพื้นท่ี การวางแผนการดาเนินงาน
การลงมือปฏิบัติโดยมีกิจกรรมท่ีดาเนินการตามบริบทของพื้นท่ี เช่น การขุดคลองไส้ไก่ ห่มดิน ปลูกป่า 3 อย่าง
ประโยชน์ 4 อยา่ ง (กระบวนการ 10 ขนั้ ตอน) จากนัน้ วิทยากรแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมออกเป็น 6 กลุ่ม
(กลุ่มสีเดิม) มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้แต่ละกลุ่มลงมือฝึกปฏิบัตจิ ริงในพ้ืนท่ี และถอดบทเรียนจากการ
ทากิจกรรมเอาม้ือสามัคคีในประเด็น ได้อะไรจากการเข้าร่วมกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี และนาไปใช้ประโยชน์
อยา่ งไร เสร็จแลว้ สง่ ผู้แทนนาเสนอกลมุ่ ละ 5 นาที สรุปภาพรวมตามท่ปี รากฏ ดังนี้

สรปุ ผล/ถอดบทเรยี นจิตอาสาพัฒนาชุมชน เอาม้อื สามคั คพี ัฒนาพื้นท่ตี ามหลักทฤษฎีใหม่

ได้อะไรจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเอา นาไปใชป้ ระโยชน์อย่างไร จะส่งเสรมิ ชมุ ชนตามหลักกสกิ รรม
มอ้ื สามัคคี ธรรมชาตอิ ยา่ งไร
1. ใชอ้ งคค์ วามรู้ในพื้นท่จี รงิ
1. เรียนรหู้ ลกั กสกิ รรมธรรมชาติ 2. คนสาราญ งานสาเร็จ 1. แนะนาและสง่ เสริมการทาเกษตร
2. เรียนรู้การจดั การพนื้ ท่ี 3. ปรับใช้กับตนเอง ครอบครัว ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ 10
3. การบรหิ ารจดั การ/การวางแผน และแนะนาครัวเรือนเป้าหมาย ขั้นตอน อย่างถูกต้อง
4. การบริหารจดั การดนิ และนา้ ชุมชน และผสู้ นใจ 2. ลงมือปฏิบตั ิเป็นแบบอยา่ งทีด่ ี
5. การแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า 4. การแบ่งงานรบั ผิดชอบตาม (ตวั อย่างที่ดีมคี ่ากวา่ คาสอน) โดยเริม่
6. การออกแบบพนื้ ที่ ความถนัดของแต่ละบุคคล ที่ตัวเราก่อน เพราะการทจี่ ะเป็น
7. การมสี ว่ นร่วม 5. เก้ือกลู แบ่งปนั น้าใจ แบบอย่างให้กบั คนอื่นนน้ั เราตอ้ ง
8. ความสามคั คี 6. การนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ นพืน้ ท่ี มนั่ ใจแล้ววา่ สิ่งท่ีเราไดเ้ รยี นรู้มานน้ั
9. ความอบอนุ่ อย่างเหมาะสม เปน็ ส่งิ ที่ถกู ต้อง และเหมาะสมกับ
10. องค์ความรู้ 7. การจดั ระบบ สังคมน้นั ๆ
11. การแบ่งงาน 8. การปรบั สภาพดนิ ใหเ้ หมาะสม 3. เปล่ยี นแนวความคดิ จากทาคน
12. เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจรงิ เดียวมาเป็นการรวมกลุ่ม

13. กระบวนการ 10 ขนั้ ตอน 9. การบริหารจัดการ 17
14. ออกกาลังกาย 10. การจัดการพืน้ ท่ี
15. พัฒนาตนเอง 11. การออกแบบพืน้ ที่ 4. เปน็ ครวั เรือนต้นแบบ
16. ความสนกุ สนาน 12. การพัฒนาทมี งาน/ภาคี 5. นาความรู้ไปสง่ เสรมิ และสรา้ ง
17. ความอดทน เครอื ข่าย เครอื ข่ายในชุมชน
18. อุดมการณ์ 13. การทางานเป็นทีม 6. เชญิ ชวน/รณรงคใ์ หค้ นในชุมชน
19. คิดสรา้ งสรรค์ 14. การวางแผน รว่ มทาเกษตรแบบอินทรีย์
20. คิด/วางแผน/ดาเนินงาน/
ประเมนิ ผลความสาเร็จ

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการ

วางแผนการดาเนนิ งาน เริ่มจากการสารวจพ้นื ท่ี การออกแบบ และลงมือปฏบิ ัติ โดยนาข้อมลู จากพื้นที่จริงมา
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สังเกตจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคิดเห็น การ
แลกเปล่ยี นเรียนรู้ การลงมอื ปฏิบตั ิ และชน้ิ งานท่ีได้จากการฝึกปฏิบตั ิ

วชิ า ถอดบทเรียน “Team Building หาอยู่ หากิน”

วัตถปุ ระสงค์
1. เพือ่ ให้ผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมเข้าใจการพ่ึงตนเอง และการใชท้ รัพยากรที่มีอยู่อยา่ งจากัดให้

เกดิ ประโยชนส์ งู สุดในการดารงชวี ติ
2. เพอื่ ให้ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมรู้จักการดารงชวี ติ ในภาวะวกิ ฤต/การประสบภยั พบิ ตั ิ
3. เพ่ือใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมรู้จกั การวางแผนการทางานเปน็ ทีม ได้ฝึกวนิ ยั และคณุ ธรรม
4. เพ่ือการพ่ึงพาตนเอง และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์

สูงสุด
5. เพือ่ เสริมสร้างปฏิสัมพันธ์การทางานเป็นทีม

ระยะเวลา 2 ชั่วโมง

ขอบเขตเนือ้ หาวชิ า
1. การทากิจกรรมแบบพึ่งตนเอง และใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ดารงชวี ิตในภาวะวิกฤต/การประสบภัยพิบตั ิ วางแผนการทางานเปน็ ทีม ฝึกวนิ ยั และคุณธรรม
2. การดารงชวี ติ ในภาวะวิกฤต/การประสบภัยพิบตั ิ
3. รจู้ ักการวางแผนการทางานเป็นทีม ไดฝ้ ึกวนิ ัยและคุณธรรม
4. ความหมาย/เป้าหมาย/รูปแบบ/ความสาคัญ Team Building
5. กติกาการทากิจกรรม

18

6. สภาพพืน้ ท่ใี นการดาเนนิ กจิ กรรม

เทคนิค/วิธีการ
วิทยากรกระบวนการเกริ่นนาถึงวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา ช้ีแจงกฎกติกาการทากิจกรรม

แบบพึ่งตนเอง และการใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อดารงชีวิตในภาวะวิกฤต/การ
ประสบภัยพิบตั ิ แบง่ กลุม่ ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมออกเป็น 6 กลมุ่ (กล่มุ สเี ดิม) มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้
แต่ละกลุ่มลงมือฝึกปฏิบัติจริงในการหาอยู่ หากินในพื้นที่กาหนดให้ และร่วมกันวางแผนการดาเนินงาน การ
กาหนดเมนูอาหารตามวตั ถุดิบที่มีพร้อมลงมือประกอบอาหาร และรบั ประทานอาหารร่วมกนั จากน้ันวทิ ยากร
ให้แต่ละกลุ่มสีถอดบทเรียนจากการหาอยู่ หากิน ในประเด็น ปัญหาท่ีพบ นาปัญหาไปต่อยอดสร้างแรง
บันดาลใจ ข้อคิดที่ได้ และประมาณการค่าอาหาร เสร็จแล้วส่งผู้แทนนาเสนอกลุ่มละ 5 นาที สรุปภาพรวม
ตามท่ีปรากฏ ดงั น้ี

สรปุ บทเรียนจากการฝกึ ปฏิบตั กิ ารบรหิ ารจดั การในภาวะวิกฤต หาอยู่ หากนิ

ปญั หาทพี่ บ นาปัญหาไปต่อยอดสรา้ ง ขอ้ คิด ประมาณการค่าอาหาร
แรงบันดาลใจ
1. ทรพั ยากรไม่เพยี งพอ 1. การบริหารจดั การ - ค่าอาหารประมาณ
2. ความคดิ แตกตา่ ง 1. สร้างเครอื ข่าย/แบ่งปัน
3. ขาดทักษะการหาอาหาร 2. สร้างทีม 2. คนในครวั เรอื นร้จู กั 365 บาท สาหรับคน 18 คน
4. ขาดอปุ กรณจ์ าเปน็ ใน 3. เพิม่ ทักษะอาชีพ
การหาอยู่หากิน 4. สร้างครวั ชุมชน บทบาทหนา้ ท่ี เฉลยี่ คนละ 21 บาท ตาม
5. วัตถุดิบจากัด 5. ปรับตัวตามสถานการณ์
6. ความชานาญในการ 6. กนิ อยอู่ ยา่ งงา่ ย กินส่งิ ท่ี 3. อยา่ ไว้ใจทางอยา่ รายการอาหาร ดังน้ี
ประกอบอาหาร มี
7. หลงไหลในความ 7. ค้นหาเมนทู ี่หลากหลาย วางใจคน 1. ไขเ่ จยี ว (9 ฟอง) 50 บาท
สะดวกสบาย 8. รู้ รกั สามคั คี
8. อาหารตามแหล่ง 9. การบรหิ ารจัดการภาวะ 4. วิธีเอาตวั รอดเมือ่ ใน 2. อ่อมหมูผักรวม 120 บาท
ธรรมชาตมิ นี อ้ ย จากดั
9. ไมม่ ีทักษะในการหา 10. ปลกู ผกั เสยี้ งสัตวไ์ ว้ สถานการณว์ ิกฤต 3. ผัดถวั่ งอกน้ามนั หอย
อาหาร บริโภคเอง
10. พ้นื ที่หากนิ จากดั 11. การเฝา้ ระวงั ความ 5. การแบง่ ปัน/เอ้ือ 15 บาท
11. ไม่ร้สู ภาพพืน้ ที่ ปลอดภยั ในชีวติ และ
12. อปุ กรณ/์ เคร่อื งมือหา ทรัพย์สนิ อารยี ์/แลกเปลี่ยนกัน 4. หมยู า่ งบวกน้าจม้ิ 90 บาท
อยหู่ ากนิ ไม่เหมาะกับสภาพ 12. สร้างความมั่นคงทาง
พน้ื ที่ อาหาร 6. รอบคอบระมดั ระวงั 5. สม้ ตา 30 บาท
13. มีการลกั ขโมยของกนิ 13. เดนิ ตามรอยเทา้ พ่อ
ของใช้ สานต่อสิง่ ท่ีพ่อทา ในการใชท้ รัพยากร 6. ผักชบุ ไข่ทอด 10 บาท
14. ขาดข้อมูลประกอบการ 14. ปลกู ทกุ อยา่ งที่กินกนิ
ตดั สนิ ใจ ทุกอย่างท่ปี ลกู 7. การเตรยี มการ 7. ข้าวสวย 20 บาท
15. ใช้ทรพั ยากรให้คุ้มค่า
รองรบั ภาวะวกิ ฤต 8. ถา่ น 10 บาท

8. ต้องรจู้ กั แกไ้ ขปญั หา 9. ผักสด 20 บาท

เฉพาะหนา้

9. การแบ่งหนา้ ท่ี

10. การต้งั อยู่ในความ

ไมป่ ระมาท

11. สร้างภูมคิ มุ้ กนั

สรา้ งความมนั่ ทาง

อาหาร

12. สรา้ งเครือข่าย

19

16. ความคดิ สรา้ งสรรค์ 13. สรา้ งกฎระเบยี บ
17. ผลติ เครอื่ งมือหาอยู่ รว่ มกัน
หากิน 14. ใชท้ รัพยากรที่มใี ห้
เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด
15. เกบ็ เตรียมเมลด็
พันธ์ุพืช/ผัก/สัตว์
16. สรา้ งนวัตกรรม
ทดแทนอาหาร

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความกระตือรือร้นเป็นอย่างดี สังเกตจากการมีส่วนร่วมใน

กิจกรรมกลุ่ม การวางแผนการดาเนินงาน เช่น การพูดคุย การมอบหมายภารกิจ การแสดงความคิดเห็น
การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ การลงมอื ปฏบิ ัติ และช้นิ งานที่ไดจ้ ากการฝกึ ปฏบิ ัติ

วชิ า การออกแบบภมู สิ งั คมไทยตามหลักการพฒั นาภูมิสงั คมอย่างย่ังยนื เพอื่ การพ่ึงตนเอง
และรองรับภยั พิบตั ิ

วตั ถปุ ระสงค์
เพ่อื ใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบพ้ืนท่ีเชิงภูมิสังคมไทย ตาม

หลกั การพฒั นาภมู สิ ังคมอยา่ งย่งั ยนื เพ่อื การพง่ึ ตนเองและรองรบั ภัยพิบตั ิ “โคก หนอง นา โมเดล”

ระยะเวลา 2 ชั่วโมง

ขอบเขตเนอ้ื หาวิชา
1. สถานการณ์และภาวะวกิ ฤตของโลก ประเทศ ชมุ ชน (น้า อาหาร พลงั งาน)
1.1 ทรพั ยากรน้า
1) การใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรน้า
2) สถานการณ์ทางนา้
1.2 วกิ ฤตการณเ์ กย่ี วกับแรแ่ ละพลังงาน
- การขาดแคลนพลงั งาน
2. แนวทางการแกไ้ ขและรองรับภัยพิบัตดิ ว้ ยการบรหิ ารจัดการพ้ืนท่ี “โคก หนอง นา”
3. กรณศี ึกษาความสาเรจ็ “โคก หนอง นา โมเดล”

เทคนคิ /วธิ ีการ
วิทยากรแนะนาตัว และเกร่ินนาถึงวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา แล้วเช่ือมโยงสู่การออกแบบ

เชิงภูมิสังคมไทยท่ีเหมาะสม โดยวิทยากรตั้งคาถามว่า ทาไมต้องออกแบบพื้นที่ จาเป็นหรือไม่ วิทยากรเล่าถึง
สถานการณแ์ ละวิกฤตของประเทศไทยพร้อมยกตวั อย่างเพื่อนาเขา้ สู่ประเด็นเน้ือหาการออกแบบภูมสิ ังคมไทย
ตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน เพ่ือการพึ่งพาตนเองและรองรับภัยพิบัติ “โคก หนอง นา โมเดล”
การออกแบบพื้นท่ีชีวิต พร้อมยกตัวอย่างแบบจาลองการจัดการพื้นที่กสิกรรมประกอบ เพื่อให้เห็นชัดเจน
ย่ิงขึ้น วิทยากรสรุปเติมเต็มและให้คาแนะนากับผู้เข้ารับการฝึกอบรม จากนั้น วิทยากรแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการ

20

ฝกึ อบรมตามลกั ษณะพ้ืนที่ เชน่ หมบู่ ้านเดียวกัน ตาบลเดยี วกนั โดยการคละชว่ งอายุ เพื่อมอบหมายภารกิจให้
ฝึกปฏิบัติการจริงสร้างหุ่นจาลอง (กระบะทราย) การจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง
นา โมเดล ดงั ตวั อยา่ งทปี่ รากฏ

21

22

23

ผลจากการเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการ

ออกแบบพื้นท่ี การปฏิบัติจริง สังเกตจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคิดเห็น
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ และชน้ิ งานที่ได้จากการฝึกปฏิบตั ิ

วชิ า ยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมมีทกั ษะในการดารงชีวติ แบบพึ่งพาตนเอง สามารถปฏิบัติได้มี

การปรับเปล่ยี นวิถีชวี ติ และนาไปสู่การใชช้ วี ติ แบบพอเพียง
2. เพื่อกาหนดแนวทาง/เป้าหมายในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ี

สอดคลอ้ งกับบรบิ ทพ้ืนที่ของตนเอง
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตระหนักถึงความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9 ) ท่ีทรงงาน
หนกั เพื่อประชาชนและประเทศไทย

4. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนายุทธศาสตร์การขับเคล่ือนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งของตวั เองได้

ระยะเวลา 2 ชั่วโมง

ขอบเขตเนื้อหาวชิ า
1. การกาหนดเป้าหมายของชวี ติ บนวถิ ีชีวติ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. ออกแบบพน้ื ทช่ี วี ติ การดารงอยบู่ นพื้นฐานของการพ่ึงพาตนเอง
3. วิเคราะหบ์ ริบทพ้นื ที่ รเู้ รา รู้เขา รูส้ ถานการณ์ รู้ดนิ ฟา้
4. กาหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติสถานที่จริง

เทคนิค/วธิ ีการ
วทิ ยากรแนะนาตวั และเกร่นิ นาถงึ วัตถุประสงค์ของหวั ข้อวิชา แลว้ เชอื่ มโยงจากการบรรยาย

การขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชากลไก 357 สู่การบรรยายประกอบสื่อ Power Point ในประเด็นการ
กาหนดเป้าหมายของชีวิตบนวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง การออกแบบพื้นท่ีชีวิตการดารงอยู่บนพ้ืนฐานของการ
พงึ่ พาตนเอง การวิเคราะห์บรบิ ทพื้นท่ี ร้เู ขา รเู้ รา รสู้ ถานการณ์ ร้ดู นิ ฟ้า และการกาหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติสถานท่ีจริง จากนั้นวิทยากรแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมออกเป็น
กลุ่มจังหวัก จานวน 7 กลุ่ม มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้แต่ละกลุ่มลงมือฝึกปฏิบัติจริงในการวางแผน
ยุทธศาสตรก์ ารขบั เคลอื่ นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบัติ เสร็จแลว้ สง่ ผแู้ ทนนาเสนอกล่มุ ละ 5 นาที
ดงั ตวั อย่างทีป่ รากฏ

24

กลุ่มท่ี 1

1. วเิ คราะห์ 4 รู้
1.1 รู้เรา : ขาดกาลงั คน แตเ่ รามีองค์ความรู้
1.2 รู้เขา : สภาพพื้นทีเ่ ป็นพ้ืนท่สี ูงเป็นส่วนใหญ่
1.3 รู้สถานการณ์ : ไม่มีพนื้ ที่กกั เก็บน้า
1.4 รู้ฟ้า รู้ดิน : ภัยแล้ง และนา้ ทว่ ม

2. วิเคราะหป์ ัญหาหรือจุดตาย : ขาดแหล่งน้าในการทาการเกษตร
3. กาหนดเป้าหมายทจ่ี ะต้องเอาชนะ : ขดุ สระกกั เก็บน้า
4. วิธีการท่จี ะไปให้เปา้ หมาย

4.1 ขดุ สระ
4.2 ขดุ คลองไสไ้ ก่
4.3 ขดุ คลมุ ขนมครก
5. แผนการปฏิบัติงานทจ่ี ะใหถ้ ึงเปา้ หมาย
5.1 ประชุมจัดทาแผน
5.2 ลงพ้นื ที่จดั เก็บข้อมูล
5.3 ระดมความคิดการออกแบบแปลงพื้นท่ีครวั เรือนต้นแบบ
5.4 ลงพืน้ ท่ปี ฏิบตั จิ ริง
5.5 แบง่ คนสารวจพืน้ ท่ี ติดตามและรายงานผล
5.6 สรุปผลการปฏิบัติงาน
5.7 ขยายเครอื ข่าย

25

กลุ่มที่ 2

1. วเิ คราะห์ 4 รู้
1.1 รู้เรา : ขาดองค์ความรู้ ขาดการจัดการระบบน้า
1.2 รเู้ ขา : รู้สภาพแวดลอ้ มรอบขา้ ง
1.3 รู้สถานการณ์ : ปัญหาสังคม การขาดแคลนด้านทรพั ยากร
1.4 รู้ฟา้ ร้ดู ิน : สภาพอากาศทเ่ี ปล่ียนแปลง ความแห้งแลง้ น้าทว่ ม

2. วิเคราะห์ปญั หาที่มี หรือจดุ ตาย : ขาดการบริหารจัดการระบบน้า
3. กาหนดเป้าหมายที่จะต้องเอาชนะ : ศกึ ษาหาความรู้เพิ่มเตมิ มีการวางแผนจัดทาระบบน้าใหด้ ี
4. วิธกี ารทจี่ ะไปให้ถึงเปา้ หมายทจี่ ะต้องเอาชนะ

4.1 ขุดสระกักเก็บน้า
4.2 ปรบั สภาพภมู สิ ังคมใหเ้ หมาะสม
4.3 วางระบบการบรหิ ารจดั การน้า
5. แผนการปฏิบตั งิ านท่ีจะให้ถงึ เปา้ หมาย

26

กลมุ่ ที่ 3

1. วเิ คราะห์ 4 รู้
1.1 รเู้ รา : รจู้ ักตวั ตน
1.2 รเู้ ขา : รู้จกั เพ่ือนบ้านพน้ื ท่ใี กลเ้ คียง
1.3 รูส้ ถานการณ์ : รจู้ ักส่งิ แวดล้อม โรคระบาด วิกฤตเศรษฐกิจ วกิ ฤตสงั คม
1.4 รฟู้ า้ รดู้ ิน : รู้จักวเิ คราะห์ดิน ทศิ ทางลม ทิศทางน้า

2. วเิ คราะหป์ ัญหาหรือจุดตาย : ไม่มีแหล่งน้าใชใ้ นการทาการเกษตร
3. กาหนดเป้าหมายที่จะเอาชนะ : ต้องการแหลง่ นา้ เพ่ือใช้ในการเกษตรตลอดปี
4. วิธีการทีจ่ ะไปให้ถึงเป้าหมายทจ่ี ะต้องเอาชนะ

4.1 ขดุ สระนา้ เพื่อกักเก็บน้าฝน ติดต้ังแผงโซล่าเซลล์
4.2 ขุดเจาะบ่อบาดาล
4.3 ขดุ คลองไสไ้ ก่ และขุดหลุมขนมครก
5. แผนการปฏบิ ตั ิงานท่ีจะไปใหถ้ งึ เปา้ หมาย

27

กลุ่มท่ี 4

1. วิเคราะห์ 4 รู้
1.1 รู้เรา : ตอ้ งการเปน็ พ้นื ท่ีต้นแบบของชุมชน เพื่อเรยี นรกู้ ารทาเกษตรตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ
1.2 รเู้ ขา : พ้ืนที่รอบข้างไม่ได้รบั ผลกระทบ
1.3 รู้สถานการณ์ : ร้วู ่าบ้านเมืองของเราตกอยูใ่ นสภาววิกฤต เกิดโรคระบาด เราต้องพึ่งพาตนเอง
1.4 รูด้ ินฟ้าอากาศ : ต้องสารวจทิศทางลมและทิศทางแสง

2. วิเคราะหป์ ัญหาหรอื จุดตาย : ไม่มีแหลง่ นา้
3. วิธที จี่ ะเอาชนะ : ขดุ สระ และเรียนรูก้ ารนาระบบโซล่าเซลล์มาใช้
4. จะไปใหถ้ ึงเปา้ หมายไดอ้ ย่างไร

4.1 เราจะต้องวางแผนการทาแปลงกับเจ้าของแปลง
4.2 เราจะตอ้ งวางแผนขุดสระ
4.3 เราตอ้ งเจาะบอ่ บาดาลเพ่ือนาระบบโซล่าเซลลม์ าใช้
5. แผนการปฏบิ ตั งิ านทจ่ี ะไปใหถ้ งึ เปา้ หมาย

28

กล่มุ ที่ 5

1. วเิ คราะห์ 4 รู้
1.1 รเู้ รา : เปน็ พื้นทตี่ ้นแบบ
1.2 ร้เู ขา : เพ่อื นบา้ นใชส้ ารเคมี
1.3 ร้สู ถานการณ์ : สภาพพื้นทเี่ ป็นพืน้ ที่แหง้ แลง้
1.4 รู้ฟ้าดิน : สภาพดินเป็นดินทรายปนดินเหนียว

2. ปัญหาหรอื จุดตาย : น้าทใี่ ช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ
3. กาหนดเปา้ หมาย :

3.1 ขดุ สระนา้ เพอ่ื กักเกบ็ นา้
3.2 ขดุ คลองไสไ้ ก่ ทาหลุมขนมครก และตะพกั น้า
3.3 ตดิ ตั้งแผงโซลา่ เซลล์
4. วิธีการทจ่ี ะไปใหถ้ ึงเปา้ หมาย
4.1 สารวจพนื้ ท่ีทม่ี แี หล่งน้า
4.2 วางแผนขดุ เจาะ
4.3 ออกแบบ
4.4 ตดิ ต่อประสานงานกับผูร้ ับเหมา
4.5 ติดตามประเมินผล
4.6 สรา้ งเครอื ข่าย
5. แผนการปฏิบัตงิ านทจ่ี ะไปให้ถึงเปา้ หมาย

29
กลมุ่ ท่ี 6
1. วเิ คราะห์ 4 รู้
1.1 รเู้ รา : เปน็ เกษตรตน้ แบบ
1.2 รเู้ ขา : พนื้ ท่ีรอบข้างขาดแคลนนา้ แหง้ แลง้
1.3 รู้สถานการณ์ : สภาพดนิ ของพื้นนาเปน็ ดินแขง็ และดินเหนียวลกู รงั
1.4 รฟู้ ้าดิน : สภาพอากาศร้อน และไม่มีการห่มดินตน้ ไม้ ทาให้ที่นากลายสภาพเปน็ ดินแข็งและลูกรัง
2. วิเคราะหป์ ญั หาหรือจดุ ตาย : ดนิ มีสภาพแขง็ และเปน็ ลูกรัง ยากต่อการบริหารจดั การ
3. กาหนดเป้าหมายท่จี ะเอาชนะ :
3.1 โครงการปลูกพืชตระกูลถ่ัว เชน่ ถัว่ เขยี ว ถั่วลสิ ง ปอเทือง เพ่ือบารุงดิน
3.2 ไถกลบ และทาการหม่ ดินดว้ ยฟาง ขดุ คลองไส้ไก่ ทาหลมุ ขนมครก
4. วธิ ีการท่ีจะไปให้ถึงเปา้ หมาย : กาหนดพน้ื ท่ีให้เล็ก – แคบ ชัด เพือ่ ให้ง่ายตอ่ การดูแลบารงุ ดินให้ท่วั ถึง
5. แผนการปฏบิ ัติงานที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการระดมความคิดเห็นเก่ียวกับการ

จดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารยทุ ธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติ สังเกตจากการมสี ่วน
ร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคิดเห็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การลงมือปฏิบัติ และชิ้นงานท่ี
ได้จากการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

30

สว่ นท่ี 3
การประเมนิ ผลโครงการ

การประเมินผลโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกต์สู่ "โคก หนอง นา โมเดล" กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบ
เศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ผู้ประเมินได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้ารับ
การฝกึ อบรม โดยใช้แบบประเมนิ สาหรับกลุม่ เป้าหมาย จานวน 537 คน โดยแยกออกเป็น 6 ร่นุ

วธิ ีการประเมิน
1. กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการประเมินคือ ครัวเรือนต้นแบบ(HLM) และผู้รับจ้างงานใน

โครงการฯ ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรม 537 คน โดยแยกออกเปน็ 6 รุ่น
2. เครื่องมือที่ใช้ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบประเมินผลภาพรวมโครงการ โดย

แยกออกเป็น 5 ตอน ดงั นี้

การประเมินผลโครงการภาพรวม จานวน 5 ตอน ประกอบดว้ ย

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไป แยกเปน็
1.1 เพศ
1.2 อายุ
1.3 การศึกษา

ตอนที่ 2 ความคดิ เหน็ ต่อโครงการ
2.1 การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
2.2 การประเมินผลระดับความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านวิชาการ (ก่อนและหลัง เข้า

รว่ มกจิ กรรม) การฝึกอบรม จานวน 18 ประเด็น ดงั น้ี
1) กจิ กรรมกลุ่มสมั พนั ธ์
2) วชิ า เรยี นรูต้ าราบนดิน : กจิ กรรมเดนิ ชมพน้ื ท่ี
3) วชิ า “เขา้ ใจ เขา้ ถึง พัฒนา ศาสตรพ์ ระราชากบั การพัฒนาท่ีย่งั ยนื ”
4) วิชา การแปลงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ัติแบบเปน็ ขั้นตอน
5) วิชา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “ทฤษฏีบนั ได ๙ ข้ันสู่ความพอเพียง”
6) วชิ า “หลักกสิกรรมธรรมชาติ”
7) ฝึกปฏิบัตฐิ านเรียนรู้ (คนมีนา้ ยา, คนมไี ฟ, คนเอาถา่ น , คนรักษ์สุขภาพ, คนรกั ษ์
แมธ่ รณี , คนรกั ษโ์ ลกพระแมโ่ พสพ)
8) ถอดบทเรยี นผ่านสือ่ “วถิ ีภมู ิปญั ญาไทยกับการพ่งึ ตนเองในภาวะวิกฤติ”
9) วิชา “สุขภาพพ่ึงตน พัฒนา 3 ขมุ พลงั ” พลงั กาย พลังใจ พลงั ปัญญา
10) ฝึกปฏบิ ตั ิ “จติ อาสาพัฒนาชุมชน เอามอื้ สามัคคี พฒั นาพ้ืนท่ตี ามหลกั ทฤษฎี
ใหม่”

31

11) ถอดบทเรยี นการฝึกปฏบิ ัติ “จิตอาสาพัฒนาชมุ ชน เอามื้อสามัคคี พฒั นาพืน้ ที่
ตามหลกั ทฤษฎใี หม่”

12) วิชา การออกแบบเชงิ ภูมสิ งั คมไทยตามหลกั การพฒั นาภูมสิ ังคมอย่างยัง่ ยนื เพอ่ื
การพ่งึ ตนเองและรองรบั ภัยพิบตั ิ

13) ฝกึ ปฏิบตั กิ าร สร้างหุน่ จาลองการจดั การพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎใี หม่ ประยุกต์สู่
โคก หนอง นา โมเดล

14) ฝกึ ปฏิบัตกิ าร Team Building การบริหารจดั การในภาวะวกิ ฤตหาอยู่
หากนิ

15) ถอดบทเรยี นการฝึกปฏบิ ัติ “การบรหิ ารจัดการในภาวะวิกฤตหาอยูห่ ากนิ
16) วชิ า การขบั เคล่ือนสืบสานศาสตรพ์ ระราชา กลไก 357
17) การจัดทาแผนปฏิบตั กิ าร “ยุทธศาสตรก์ ารขับเคลอ่ื นปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิ”
18) นาเสนอ “ยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การ

ปฏบิ ัติ”

2.3 การประเมินผลระดับความคิดเห็นต่อการนาความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน
จานวน 18 ประเดน็ ดงั นี้

1) กิจกรรมกลุ่มสัมพนั ธ์
2) วิชา เรียนรตู้ าราบนดนิ : กิจกรรมเดนิ ชมพนื้ ที่
3) วชิ า “เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา ศาสตรพ์ ระราชากับการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน”
4) วิชา การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏิบตั แิ บบเปน็ ขน้ั ตอน
5) วชิ า ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “ทฤษฏบี ันได ๙ ข้นั สูค่ วามพอเพยี ง”
6) วิชา “หลักกสกิ รรมธรรมชาติ”
7) ฝกึ ปฏิบตั ฐิ านเรยี นรู้ (คนมีน้ายา, คนมไี ฟ, คนเอาถ่าน , คนรกั ษส์ ุขภาพ, คนรักษ์

แมธ่ รณี , คนรักษโ์ ลกพระแมโ่ พสพ)
8) ถอดบทเรียนผ่านส่อื “วิถภี ูมิปัญญาไทยกบั การพงึ่ ตนเองในภาวะวิกฤติ”
9) วิชา “สุขภาพพ่งึ ตน พฒั นา 3 ขุมพลัง” พลังกาย พลังใจ พลังปัญญา
10) ฝกึ ปฏบิ ัติ “จิตอาสาพัฒนาชุมชน เอามื้อสามัคคี พัฒนาพน้ื ท่ีตามหลักทฤษฎี

ใหม่”
11) ถอดบทเรยี นการฝกึ ปฏิบัติ “จิตอาสาพฒั นาชุมชน เอาม้ือสามัคคี พัฒนาพน้ื ท่ี

ตามหลกั ทฤษฎีใหม่”
12) วชิ า การออกแบบเชิงภมู สิ ังคมไทยตามหลักการพัฒนาภมู สิ ังคมอยา่ งย่งั ยนื เพื่อ
การพ่งึ ตนเองและรองรบั ภยั พิบัติ
13) ฝึกปฏบิ ตั ิการ สร้างหุ่นจาลองการจัดการพืน้ ท่ีตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่

โคก หนอง นา โมเดล
14) ฝกึ ปฏิบัติการ Team Building การบรหิ ารจดั การในภาวะวกิ ฤตหาอยู่

หากนิ
15) ถอดบทเรยี นการฝึกปฏบิ ัติ “การบริหารจดั การในภาวะวกิ ฤตหาอย่หู ากนิ
16) วชิ า การขบั เคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชา กลไก 357

32

17) การจัดทาแผนปฏิบัตกิ าร “ยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคลือ่ นปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารปฏบิ ัติ”

18) นาเสนอ “ยุทธศาสตร์การขบั เคลอื่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การ
ปฏิบัติ”

2.4 การประเมินผลระดบั ความพงึ พอใจตอ่ ภาพรวมของโครงการจานวน 4 ดา้ น ดังน้ี
1) ด้านวทิ ยากร
(1) ความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย
(2) เทคนคิ และวธิ ีการท่ใี ชใ้ นการถา่ ยทอดความรู้
(3) การเปิดโอกาสใหซ้ ักถามแสดงความคดิ เห็น
(4) การสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้
2) ด้านการใหบ้ รกิ าร
(1) เจา้ หนา้ ท่มี กี ริ ยิ า มารยาท และการแตง่ กายเหมาะสม
(2) เจ้าหน้าทก่ี ระตือรอื ร้นในการให้บริการ
(3) สัญญาณ wifi ในหอ้ งฝึกอบรม
(4) สญั ญาณ wifi ในหอ้ งพัก
(5) โสตทศั นปู กรณ์ (ชุดโปรเจคเตอร์ เครือ่ งเสยี งฯลฯ) เหมาะสม
(6) ห้องฝึกอบรม หอ้ งพกั หอ้ งนา้ โรงอาหาร และบริเวณโดยรอบมี
ความสะอาด
(7) อาหาร/อาหารวา่ ง/เคร่ืองดืม่ มีคุณภาพเหมาะสม

3) ดา้ นอาคารและสถานท่ี
(1) ขนาดหอ้ งฝกึ อบรม มีความเหมาะสมกับจานวนผ้เู ข้าอบรม
(2) ห้องอาหารมคี วามเหมาะสม ถูกสขุ ลกั ษณะ
(3) หอ้ งพักมคี วามเหมาะสม
(4) ห้องนา้ อาคารฝกึ อบรม มคี วาม สะอาด

4) ด้านคณุ ภาพ
(1) ความสอดคลอ้ งของเนื้อหาหลกั สตู รกบั ความตอ้ งการ
(2) เน้อื หาหลักสตู รเป็นปัจจบุ ันทนั ต่อการเปลยี่ นแปลง
(3) ความรู้ท่ไี ดร้ บั สามารถนาไปปรับใชใ้ นการปฏิบัตงิ านได้
(4) ความคุม้ คา่ ของการฝึกอบรม

2.5 กรมการพัฒนาชุมชนควรเพิ่มเติมความรู้เร่ืองใด หรือฝึกทักษะด้านใดให้แก่ท่าน เพื่อ
ประโยชนใ์ นการปฏบิ ัตงิ าน นอกเหนอื จากทท่ี า่ นได้รบั จากการฝึกอบรมหลักสตู รน้ี

33

ตอนท่ี 3 ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอน่ื ๆ

การวเิ คราะหข์ ้อมูล
1. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ท่วั ไปของกลุ่มเปา้ หมายใชค้ า่ ร้อยละ

2. การวิเคราะหค์ วามคดิ เหน็ ทไี่ ด้จากแบบสอบถาม ใช้คา่ เฉล่ีย x ซึง่ เปน็ คาถาม

เชิงนิมาน (เชิงบวก) คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสุด โดยการกาหนดเกณฑ์ให้คะแนน
ดงั นี้

มากท่ีสุด มีค่าเทา่ กับ 5
มาก มคี ่าเท่ากับ 4
ปานกลาง มคี า่ เทา่ กับ 3
น้อย มคี ่าเทา่ กบั 2
น้อยที่สุด มีคา่ เทา่ กับ 1

เกณฑ์การประเมนิ
การแปลความหมายระดับความคิดเห็นของผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการพัฒนาพ้ืนที่

ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ "โคก หนอง นา โมเดล" กิจกรรมที่ 1
ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล

จานวน 537 คน โดยพิจารณาจากคะแนนท่ีได้จากแบบสอบถามนามาหาค่าเฉลี่ย xแล้วใช้แปล

ความหมายตามเกณฑ์การประเมนิ ค่าความคิดเห็น ดงั นี้
- ค่าเฉลี่ยทีไ่ ด้รับจากการวิเคราะห์ระหว่าง 4.50-5.00 มีค่าเท่ากบั มากทีส่ ุด
- คา่ เฉลย่ี ที่ได้รับจากการวิเคราะห์ระหว่าง 3.50-4.49 มีค่าเท่ากบั มาก
- ค่าเฉลี่ยทีไ่ ดร้ ับจากการวเิ คราะห์ระหว่าง 2.50-3.49 มคี า่ เท่ากับ ปานกลาง
- ค่าเฉลยี่ ทีไ่ ด้รบั จากการวเิ คราะหร์ ะหว่าง 1.50-2.49 มคี ่าเทา่ กบั น้อย
- ค่าเฉลยี่ ทีไ่ ดร้ บั จากการวิเคราะห์ระหว่าง 1.00-1.49 มคี า่ เท่ากบั น้อยที่สุด

เกณฑก์ ารประเมินทถ่ี อื วา่ ผ่านเกณฑ์จะต้องมีคา่ เฉล่ียไมน่ อ้ ยกวา่ 2.50

34

การประเมนิ ผลภาพรวม ของโครงการพฒั นาพ้นื ท่ตี ้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่
"โคก หนอง นา โมเดล" กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพม่ิ ทักษะระยะสั้นการพัฒนากสกิ รรมสรู่ ะบบเศรษฐกิจพอเพียง
รปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล (ผตู้ อบแบบสอบถามจานวน 533 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 99.25)
สว่ นที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป
ตารางที่ 1 แสดงขอ้ มลู ทวั่ ไป

ประเด็น จานวน ร้อยละ

1) เพศ

- ชาย 280 52.53
- หญิง 253 47.47

2) อายุ

- ตา่ กวา่ 20 ปี 6 1.13
- 20–30 ปี 140 26.27
- 31–40 ปี 63 11.82
- 41–50 ปี 134 25.14
- 51–60 ปี 125 23.45
- 60 ปีข้นึ ไป 65 12.20

3) วฒุ กิ ารศกึ ษา

- ประถมศกึ ษา 104 19.51

- มธั ยมศกึ ษา 228 42.78

- อนปุ รญิ ญา 61 11.44

- ปรญิ ญาตรี 124 23.26
- ปรญิ ญาโท 14 2.63
2 0.38
- อื่นๆ

จากตารางท่ี 1 พบวา่
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 280 คน คิดเป็นร้อยละ 52.53 และเพศหญิง จานวน

253 คน คิดเป็นร้อยละ 47.47 ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 20-30 ปี จานวน 140 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.27 รองลงมา
ตามลาดับคือ อายุระหว่าง 41–50 ปี จานวน 134 คน คิดเป็นร้อยละ 25.14 อายุระหว่าง 51-60 ปี จานวน 125
คน คดิ เป็นร้อยละ 23.45 อายุ 60 ปขี ึ้นไป จานวน 65 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.20 อายุระหว่าง 31-40 ปี จานวน 63

35

คน คิดเป็นร้อยละ 11.82 และ อายุต่ากว่า 20 ปี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 1.13 ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่จบ

การศึกษาระดับมัธยมศึกษา จานวน 228 คน คิดเป็นร้อยละ 42.78 รองลงมาตามลาดับคือ จบการศึกษาระดับ

ปริญญาตรี จานวน 124 คน คิดเป็นร้อยละ 23.26 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 104 คน คิดเป็นร้อย

ละ 19.51 จบการศึกษาระดับอนุปริญญาจานวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 11.44 จบการศึกษาระดับปริญญาโท

จานวน 14 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.63 และอ่นื ๆ จานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.38

ตอนท่ี 2 ความคิดเหน็ ตอ่ โครงการ

ตารางท่ี 2 แสดงระดับการบรรลวุ ัตถุประสงค์ของโครงการ

สว่ นที่ 2.1 การบรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ อง ระดบั ความคดิ เหน็

โครงการ ระดบั คะแนน คา่ การ

วัตถปุ ระสงค์ มาก มาก ปาน น้อย น้อย เฉลีย่ แปรผล
ทีส่ ดุ กลาง ทีส่ ุด

1.เพ่ือส่งเสรมิ การเรยี นรู้การน้อมนาหลกั 360 152 20 1 0 4.63 ระดับ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่ (67.54) (28.52) (3.75) (0.19) (0.00) มากทสี่ ุด
การปฏบิ ตั ิในรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล

2.เพือ่ พัฒนาพนื้ ท่ีเรียนรู้ชมุ ชนต้นแบบ 333 177 19 3 1
(62.48) (33.21) (3.56) (0.56) (0.19)
“โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรชั ญา 4.57 ระดบั
ของเศรษฐกจิ พอเพียงระดบั ตาบล และ มากท่สี ดุ

ระดบั ครวั เรอื น

3.เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกจิ ทอ้ งถ่นิ และชมุ ชนผา่ น

การสร้างงานสร้างรายได้ ใหแ้ ก่ เกษตรกร

แรงงาน และบัณฑติ จบใหม่ แรงงานที่ 306 189 34 2 2 4.49 ระดับ
อพยพ กับท้องถิ่นและชมุ ชนทไ่ี ด้รบั (57.41) (35.46) (6.38) (0.38) (0.38) มาก
ผลกระทบจากสถานการณ์ในชว่ งวิกฤตกิ าร

แพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา

2019 (Covid-19)

ภาพรวม 4.57 ระดบั
มากที่สดุ

จากตารางที่ 2 พบวา่
ผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมสว่ นใหญม่ รี ะดบั ความคิดเหน็ เกยี่ วกับการบรรลุวตั ถุประสงคข์ องโครงการ

โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากท่สี ดุ ค่าเฉล่ีย 4.57 และเมอื่ พิจารณาเรยี งลาดับเปน็ รายประเดน็ พบว่าระดับ
ความคดิ เห็นเกย่ี วกับการบรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการมากท่สี ดุ คือ เพื่อส่งเสรมิ การเรียนรู้การน้อมนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งประยุกตส์ ูก่ ารปฏบิ ตั ใิ นรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล อยู่ในระดบั มาก
ท่สี ุด ค่าเฉล่ีย 4.63 รองลงมาคอื เพ่ือพฒั นาพืน้ ทีเ่ รียนรู้ชุมชนตน้ แบบ “โคก หนอง นาโมเดล” ตามหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งระดบั ตาบล และระดับครัวเรือน อยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด มีคา่ เฉลีย่ 4.57 และ
เพือ่ ฟ้นื ฟูเศรษฐกจิ ท้องถ่ินและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ ให้แก่ เกษตรกร แรงงาน และบณั ฑติ จบ
ใหม่ แรงงานที่อพยพ กับท้องถิน่ และชุมชนที่ไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณใ์ นชว่ งวกิ ฤตกิ ารแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.49

2.2 ความรคู้ วามเขา้ ใจและทักษะก่อนและหลงั ฝึกอบรม
ตารางที่ 3 แสดงระดบั ความร้แู ละความเขา้ ใจดา้ นวิชาการ (กอ่ นและหลังเขา้ รว่ ม

ก่อนเขา้ ร่วมกิจกรรม

ประเด็น ระดับคะแนน
1. กจิ กรรมกลุม่ สัมพนั ธ์
มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย
ทสี่ ุด กลาง ทส่ี ดุ

63 143 224 89 14

(11.82) (26.83) (42.03) (16.70) (2.63)

2. วิชา เรียนรู้ตาราบนดิน : 62 134 198 117 22
กจิ กรรมเดนิ ชมพนื้ ท่ี
(11.63) (25.14) (37.15) (21.95) (4.13)

3. วชิ า “เข้าใจ เข้าถึง 64 129 212 109 19
พัฒนา ศาสตร์พระราชา (12.01) (24.20) (39.77) (20.45) (3.56)

4. วชิ า การแปลงปรัชญา 73 118 204 112 26
เศรษฐกิจพอเพียงสู่การ

ปฏบิ ตั ิแบบเป็นข้นั ตอน (13.70) (22.14) (38.27) (21.01) (4.88)

5. วชิ า ปรัชญาของเศรษฐกิจ 77 109 197 123 27
พอเพยี ง “ทฤษฎีบันได ๙

ข้ันสูค่ วามพอเพียง” (14.45) (20.45) (36.96) (23.08) (5.07)

6. วิชา “หลกั กสกิ รรม 58 110 202 133 30
ธรรมชาติ” (10.88) (20.64) (37.90) (24.95) (5.63)

36

มกิจกรรม)

หลังเข้ารว่ มกจิ กรรม

คา่ การ ระดับคะแนน ค่า การ

เฉลย่ี แปรผล มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย เฉล่ยี แปรผล
ท่ีสดุ กลาง ท่สี ุด

ระดบั 312 207 13 1 0 ระดับ

3.29 ปานกลาง (58.54) (38.84) (2.44) (0.19) (0.00) 4.56 มากทส่ี ดุ

ระดับ 312 206 15 0 0 ระดบั

3.18 ปานกลาง (58.54) (38.65) (2.81) (0.00) (0.00) 4.56 มากที่สดุ

ระดบั 323 193 16 1 0 ระดับ

3.21 ปานกลาง (60.60) (36.21) (3.00) (0.19) (0.00) 4.57 มากที่สดุ

ระดบั 327 192 14 0 0 ระดบั

3.19 ปานกลาง (61.35) (36.02) (2.63) (0.00) (0.00) 4.59 มากทสี่ ุด

ระดบั 342 176 15 0 0 ระดบั

3.16 ปานกลาง (64.17) (33.02) (2.81) (0.00) (0.00) 4.61 มากที่สุด

ระดับ 327 193 13 0 0 ระดบั

3.06 ปานกลาง (61.35) (36.21) (2.44) (0.00) (0.00) 4.59 มากทสี่ ุด

ก่อนเข้ารว่ มกิจกรรม

ประเดน็ มาก ระดับคะแนน นอ้ ย
ทส่ี ุด ปาน ทีส่ ุด
7. ฝึกปฏิบัติฐานเรยี นรู้ (คน 78 26
มีน้ายา, คนมไี ฟ, คนเอาถา่ น มาก กลาง นอ้ ย
, คนรักษ์สขุ ภาพ, คนรักษแ์ ม่ (14.63) 95 206 128 (4.88)
ธรณี , คนรักษโ์ ลกพระแม่ 52 23
โพสพ) (9.76) (17.82) (38.65) (24.02) (4.32)
53 129 219 110 26
8. ถอดบทเรียนผา่ นส่ือ “วิถี (9.94) (24.20) (41.09) (20.64) (4.88)
ภูมปิ ัญญาไทยกบั การ 73 114 230 110 23
พึ่งตนเองในภาวะวกิ ฤติ” (21.39) (43.15) (20.64)
9. วชิ า “สุขภาพพง่ึ ตน (13.70) 124 216 97 (4.32)
พัฒนา 3 ขมุ พลัง” พลงั กาย 62 22
พลังใจ พลังปัญญา (23.26) (40.53) (18.20)
10. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ “จติ อาสา (11.63) 116 220 113 (4.13)
พัฒนาชมุ ชน เอามื้อสามัคคี
พัฒนาพนื้ ทต่ี ามหลกั ทฤษฎี (21.76) (41.28) (21.20)
ใหม่”
11. ถอดบทเรยี นการฝกึ
ปฏบิ ตั ิ “จิตอาสาพฒั นา
ชมุ ชน เอาม้อื สามัคคี พฒั นา
พนื้ ท่ตี ามหลักทฤษฎีใหม่”

37

หลงั เขา้ รว่ มกจิ กรรม

การแปร มาก ระดบั คะแนน นอ้ ย ค่า การแปร
คา่ เฉล่ยี ผล ที่สุด ท่ีสุด เฉลย่ี ผล
ปาน
มาก กลาง นอ้ ย

313 204 16 0 0 ระดับ
มากท่สี ุด
ระดบั
ปานกลาง

(3.13) (58.72) (38.27) (3.00) (0.00) (0.00) 4.56

ระดบั 281 228 24 0 0 ระดับ
(3.14) ปานกลาง (52.72) (42.78) (4.50) (0.00) (0.00) 4.48 มาก

ระดับ 291 217 25 0 0 ระดับ

(3.11) ปานกลาง (54.60) (40.71) (4.69) (0.00) (0.00) 4.50 มากทีส่ ุด

340 182 11 0 0 มากทส่ี ุด

ระดับ
ปานกลาง

(3.24) (63.79) (34.15) (2.06) (0.00) (0.0) 4.62

ระดับ 321 198 14 0 0 ระดบั

3.16 ปานกลาง 4.58 มากที่สุด

(60.23) (37.15) (2.63) (0.00) (0.00)

ก่อนเข้ารว่ มกิจกรรม

ประเดน็ มาก ระดบั คะแนน นอ้ ย
ทสี่ ุด ปาน ทส่ี ุด
12. วชิ า การออกแบบเชงิ ภมู ิ 55 30
สงั คมไทยตามหลกั การ มาก กลาง น้อย
พัฒนาภมู สิ ังคมอยา่ งย่ังยืน (10.32) 106 217 125 (5.63)
เพ่อื การพึ่งตนเองและรองรับ 52 28
ภัยพิบตั ิ (19.89) (40.71) (23.45)
13. ฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร สรา้ ง (9.76) 95 212 146 (5.25)
หุ่นจาลองการจัดการพน้ื ท่ี 44 21
ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ (8.26) (17.82) (39.77) (27.39) (3.94)
ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา 63 120 232 116 18
โมเดล (11.82) (22.51) (43.53) (21.76) (3.38)
14. ฝึกปฏบิ ตั ิการ Team 50 99 228 125 32
Building การบริหารจัดการ (9.38) (18.57) (42.78) (23.45) (6.00)
ในภาวะวกิ ฤตหาอยู่ หากิน 112 185 154
15. ถอดบทเรียนการฝกึ (21.01) (34.71) (28.89)
ปฏิบัติ “การบริหารจดั การ
ในภาวะวกิ ฤตหาอยู่ หากนิ
16. วิชา การขบั เคล่ือนสืบ
สานศาสตรพ์ ระราชา กลไก
357

38

หลังเข้ารว่ มกิจกรรม

การแปร ระดับคะแนน คา่ การแปร
ผล
คา่ เฉลี่ย มาก ปาน นอ้ ย เฉล่ีย ผล

ท่สี ุด มาก กลาง นอ้ ย ทีส่ ุด

287 220 25 1 0 ระดับ
มาก
ระดับ
ปานกลาง

3.06 (53.85) (41.28) (4.69) (0.19) (0.00) 4.49

295 213 23 2 0 ระดบั

ระดับ มากท่สี ดุ
ปานกลาง

2.99 (55.35) (39.96) (4.32) (0.38) (0.00) 4.50

ระดับ 297 214 20 1 1 ระดับ

3.09 ปานกลาง (55.72) (40.15) (3.75) (0.19) (0.19) 4.51 มากทสี่ ุด

ระดับ 295 213 25 0 0 ระดบั

3.12 ปานกลาง (55.35) (39.96) (4.69) (0.00) (0.00) 4.51 มากทสี่ ุด

ระดบั 276 217 40 0 0 ระดบั
2.99 ปานกลาง (51.78) (40.71) (7.50) (0.00) (0.00) 4.44 มาก


Click to View FlipBook Version