The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้น การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล (หัวหน้ากลุ่มงานฯ,พัฒนาการอำเภอ)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DCLC UBON, 2021-07-07 02:53:49

เอกสารสรุปรายงานผล โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล

กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้น การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล (หัวหน้ากลุ่มงานฯ,พัฒนาการอำเภอ)

(ก)

คำนำ

กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็นหน่วย
ดาเนินการโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนองนา
โมเดล” กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก
หนอง นา โมเดล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ตลอดจนเพ่ือพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก
หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับตาบล และระดับครัวเรือน รวมทั้งฟื้นฟู
เศรษฐกิจท้องถ่ินและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ กลุ่ม
แรงงานที่อพยพกลับท้องถ่ินและชุมชน ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงวิกฤตการแพร่ระบาดของโรค
ตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVI – 19) กลมุ่ เป้าหมาย จานวนทงั้ สิน้ 105 คน ประกอบด้วย ผู้อานวยการกลุ่ม
งานฯ จานาน 7 คน และพัฒนาการอาเภอ จานวน 98 คน จาก 7 จังหวัดในพ้ืนที่ให้บริการของศูนย์ศึกษา
และพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ดาเนินการระหวา่ งวันท่ี 29 พฤศจิกายน – 3 ธนั วาคม 2563 ณ หอประชมุ คา้ คูณ
ศนู ย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนอุบลราชธานี

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ได้สรุปผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาพ้ืนที่
ตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ “โคก หนองนา โมเดล” กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรม
เพิ่มทักษะระยะส้ันการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล รวมท้ัง
ประเมินผลโครงการ เพื่อทราบผลสัมฤทธ์ิ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการนาไปปรับใช้ในการ
ดาเนนิ งานครงั้ ตอ่ ไป

ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนอุบลราชธานี
ธันวาคม 2563

สารบัญ (ข)

คานา หนา้
สารบัญ (ก)
สารบัญตาราง (ข)
บทสรปุ สาหรับผูบ้ ริหาร (ค)
ส่วนที่ 1 บทนา (ง)

ความสาคัญ 1
วัตถปุ ระสงค์ 2
กลมุ่ เปา้ หมาย 3
ขน้ั ตอนและวิธีดาเนนิ งาน 3
งบประมาณดาเนินการ 3
ระยะเวลาดาเนนิ การ 3
ขอบเขตเนอ้ื หาหลักสูตร 3
ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั 4
ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็ 4
ส่วนที่ 2 สรปุ เนอื้ หาวิชาการ
เน้ือหาวชิ า 5
ถอดบทเรยี นจากการฝกึ ปฏิบัตฐิ านการเรยี นรู้ 6
ถอดบทเรยี นผ่านส่อื “วถิ ภี ูมิปัญญาไทยกับการพงึ่ ตนเองในภาวะวิกฤต” 9
ถอดบทเรยี นจากการฝกึ ปฏิบัติ “จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน เอาม้อื สามัคคี พัฒนาพนื้ ท่ีตาม 11
หลักทฤษฎใี หม่
ถอดบทเรยี น “Team Building หาอยู่ หากนิ ” 12
วิชายทุ ธศาสตร์การขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 14
ส่วนที่ 3 การประเมนิ ผลโครงการ
วิธกี ารประเมนิ 18
การวิเคราะห์ข้อมลู 19
เกณฑ์การประเมิน 19
ผลการประเมนิ 20
ภาคผนวก
ภาพกิจกรรมการฝกึ อบรม 28
รายช่อื กลุม่ เป้าหมาย 62
ตารางการฝึกอบรม 67
แบบประเมินโครงการ 68

สารบัญตาราง (ค)

ตารางที่ หน้า

1 แสดงขอ้ มลู ท่ัวไป 20
2 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 21
3 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร 22
4 แสดงระดบั ความพึงพอใจเจ้าหนา้ ท่ีผ้ใู หบ้ ริการ/ผูป้ ระสานงาน 23
5 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อการอานวยความสะดวก 24
6 แสดงระดับความพึงพอใจต่อคณุ ภาพการใหบ้ ริการ 25
7 แสดงระดับความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ 26

(ง)

บทสรปุ สำหรับผบู้ ริหำร

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการพัฒนาต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบ
เศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้ศนู ย์ศึกษาและพัฒนา
ชุมชนอุบลราชธานีเป็นหน่วยดาเนินการฝึกอบรมโครงการดังกล่าว กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วยผู้อานวยการ
กลุ่มงานฯ จังหวัด จานวน 7 คน และพัฒนาการอาเภอ จานวน 98 คน ซึ่งเป็นบุคลากรจาก 7 จังหวัดในพ้ืนท่ี
ให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี รวมท้ังสิ้น 105 คน ดาเนินการระหว่างวันท่ี 29
พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การปฏิบัติรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล เพื่อพัฒนาพื้นท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบ
“โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับตาบล และระดับครัวเรือน และเพ่ือ
ฟ้ืนฟูเศรษฐกิจท้องถ่ินและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร แรงงาน และบัณฑิตจบใหม่
กลุ่มแรงงานที่อพยพกลับทอ้ งถิน่ และชมุ ชน ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงวิกฤตการแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) รูปแบบการฝึกอบรมใช้กระบวนการแบบมีส่วนร่วม ยึดผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง การบรรยายประกอบส่ือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการฝึกปฏิบัติ กลุ่มเป้าหมายสาหรับการ
ประเมนิ ผล คือผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม จานวน 105 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ใชแ้ บบสอบถาม
ประเมินผลภาพรวมโครงการในระบบออนไลน์ แล้วนาผลท่ีได้มาวิเคราะห์ข้อมูลเรียบเรียงแบบร้อยแก้วเชิง
พรรณนา ใชค้ ่าสถิตริ อ้ ยละ คา่ เฉล่ีย สรปุ ผลการฝึกอบรมได้ ดังน้ี

ผลกำรฝกึ อบรม

1. ข้อมูลท่วั ไปของกลุ่มเป้ำหมำย
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 52.38

และเพศชายจานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ดารงพัฒนาการอาเภอ จานวน 72 คน
คิดเป็นร้อยละ 85.71 รองลงมาตามลาดับคือตาแหน่งผู้อานวยการกลุ่มงานฯ จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 8..33
ตาแหน่งเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนอาเภอ จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 3.57 ตาแหน่งเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน
จังหวัดมีค่าเท่ากับตาแหน่ง นว.พช.ชก. รกท.พอ. จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.19 ส่วนใหญ่จบการศึกษา
ระดับปริญญาตรี จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมาตามลาดับคือจบการศึกษาระดับปริญญาโท
จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 และจบการศึกษาระดับปริญญาเอก จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38
ส่วนใหญ่มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จานวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 รองลงมาตามลาดับคืออายุระหว่าง 41–50 ปี
จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 26.19 อายุระหว่าง 31 - 40 ปี มีค่าเท่ากับ อายุระหว่าง 25- 30 ปี จานวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 1.19

2. ควำมพงึ พอใจตอ่ โครงกำร
2.1 ดำ้ นกระบวนกำร ข้ันตอนกำรใหบ้ รกิ ำร
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อกระบวนการ ข้ันตอนการ

ให้บริการโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.07 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับเป็นรายประเด็นจากมาก
ไปหาน้อย พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจต่อความเหมาะสมของสถานท่ี อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.25

(จ)

รองลงมาตามลาดบั คอื พึงพอใจต่อการจัดลาดับข้ันตอนของการจดั กิจกรรม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.14
ความเหมาะสมของระยะเวลา อยใู่ นระดับมาก ค่าเฉล่ยี 4.10 และพึงพอใจตอ่ ความเหมาะสมของชว่ งเวลา อยู่
ในระดับมาก มีคา่ เฉลยี่ 3.80

2.2 ด้ำนวทิ ยำกร
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อวิทยากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับ

มาก ค่าเฉล่ีย 3.98 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับเป็นรายประเด็นจากมากไปหาน้อย พบว่า ผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรมมีความพอใจต่อความรอบรู้ ในเน้ือหาของวิทยากร อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.12 รองลงมา
ตามลาดบั คอื พอใจต่อความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ อยู่ในระดบั มาก มคี า่ เฉล่ีย 4.06 พอใจตอ่ การเปิด
โอกาสให้ซักถามแสดงความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 3.95 และพอใจต่อการสร้างบรรยากาศในการ
เรียนรู้ อยู่ในระดับมาก มคี ่าเฉล่ีย 3.80

2.3 ด้ำนเจำ้ หนำ้ ทผ่ี ู้ให้บรกิ ำร/ผปู้ ระสำนงำน
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ/ผู้ประสานงาน

(ของหน่วยงานท่ีจัด) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.11 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับเป็นรายประเด็น
จากมากไปหาน้อย พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพอใจต่อความสุภาพของเจ้าหน้าท่ีผู้ให้บริการ/ผู้
ประสานงาน (ของหน่วยงานที่จัด) อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.18 รองลงมาตามลาดับคือ พอใจต่อการตอบ
คาถามและการประสานงานเจา้ หน้าท่ผี ู้ให้บรกิ าร/ผปู้ ระสานงาน (ของหน่วยงานที่จดั ) มีค่าเทา่ กัน อยู่ในระดับ
มาก มีค่าเฉลี่ย 4.10 และพอใจต่อการแต่งกายเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ/ผู้ประสานงาน (ของหน่วยงานที่จัด) อยู่
ในระดบั มาก มคี ่าเฉลยี่ 4.06

2.4 ดำ้ นกำรอำนวยควำมสะดวก
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการอานวยความสะดวก (ของ

หน่วยงานท่ีจัด) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 3.90 และเมื่อพิจารณาเรยี งลาดับเป็นรายประเด็นจาก
มากไปหาน้อย พบวา่ ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมมีความพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีสนบั สนนุ อยูใ่ นระดับมาก ค่าเฉลย่ี 4.10
รองลงมาตามลาดับคือ พอใจต่อโสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.95 พึงพอใจต่ออาหาร,
เคร่ืองดื่มและสถานท่ี อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 3.89 และพอใจต่อเอกสารประกอบการฝึกอบรม อยู่ในระดับ
มาก มีค่าเฉล่ีย 3.67

2.5 ด้ำนกำรให้บริกำร
พบวา่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสว่ นใหญ่มีความพึงพอใจต่อคณุ ภาพการให้บริการ โดยภาพรวม

อยใู่ นระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.12 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับเป็นรายประเด็นจากมากไปหาน้อย พบว่า ผ้เู ข้ารับ
การฝึกอบรมมีความพอใจต่อประโยชน์ที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.19
รองลงมาตามลาดับคือ พอใจต่อท่านสามารถนาสิ่งท่ีได้รับจากโครงการ/กิจกรรมน้ีไปใช้ในการเรียน/การ
ปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.18 พึงพอใจต่อท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์
ใหม่ ๆ จากโครงการ/กิจกรรมนี้ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.17 พึงพอใจต่อสิ่งที่ท่านได้รับจากโครงการ/
กิจกรรมครั้งน้ีตรงตามความคาดหวังของท่านหรือไม่ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.12 และพอใจต่อสัดส่วน
ระหวา่ งการฝึกอบรมภาคทฤษฎีกบั ภาคปฏบิ ตั ิ (ถา้ ม)ี มคี วามเหมาะสม อยู่ในระดบั มาก มีค่าเฉล่ีย 3.96

2.6 ดำ้ นควำมพงึ พอใจของผเู้ ข้ำรับกำรฝึกอบรมต่อภำพรวมของโครงกำร
พบว่า ผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มคี วามพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ อย่ใู นระดับ

มาก คา่ เฉล่ีย 4.02

(ฉ)

3. ขอ้ เสนอแนะ
3.1 สิง่ ท่ที ำ่ นพึงพอใจในกำรกำรรว่ มโครงกำร/กจิ กรรมคร้ังนี้
1) กระบวนการมสี ่วนรว่ ม
2) วิทยากรครพู าทา ประจาฐานเรยี นรู้
3) ความครบถว้ นด้านวิชาการ
4) บรรยากาศเปน็ กันเอง
5) ได้ลงมือปฏบิ ตั ิในพื้นท่จี ริง
6) การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
7) วทิ ยากรมคี วามรู้ ประสบการณ์ และความตงั้ ใจสงู
8) ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนอุบลราชธานี มโี คก หนอง นา ตน้ แบบ
9) การนาความไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั
10) การเตรียมความพร้อมด้านอุปกรณใ์ นการฝึกปฏิบัติ

3.2 สง่ิ ทีค่ วรเสนอแนะ นำไปพฒั นำกำรจัดโครงกำร/กจิ กรรมคร้งั ต่อไป
1) การรักษาเวลา การปรบั ระยะเวลาให้เหมาะสม กระชับ
2) เอกสารประกอบการฝึกอบรมควรครอบคลุมหลักสูตร
3) ตารางการฝึกอบรมไม่ควรแนน่ เกนิ ไป
4) ใช้เวลาเรียนรวู้ ิชาการ ทฤษฎีมากเกินไป
5) การประสานงานของวิทยากรต้องชดั เจน

4. ขอ้ เสนแนะเชิงนโยบำย
4.1 เพม่ิ ครวั เรือนต้นแบบให้ครอบคลมุ ทุกหม่บู ้าน
4.2 ประชาสมั พนั ธ์โครงการใหก้ วา้ งขวางชัดเจนย่ิงขน้ึ

1

สว่ นท่ี 1
บทนำ

ควำมสำคญั
สถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบันต้องเผชิญกับผลกระทบจากวิกฤตการแพร่ระบาดของโรค

ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD-19) ซ่ึงส่งผลกระทบไปถึงวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการสาธารณสุข ด้านการ
คมนาคมและอ่ืน ๆ ส่งผลให้เกิดวิกฤตทางสังคมขนาดหนักไปท่ัวท้ังโลก จากรายงานของ McKinsey & Company
(March 26, 2020) จะส่งผลให้โลกมีผลผลิต (Productivity) ลดลงถึง 30% นั่นหมายถึงโลกจะขาดอาหาร
และเศรษฐกิจจะมีการเติบโตลดลง – 1.5 % ของ World GDP อีกท้ังวิกฤตด้านการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ ท้ังเร่ืองภัยแล้งและน้าท่วมท่ีคาดว่าจะมีความรุนแรงข้ึน ท้ังในเชิงความผันผวน ความถี่ และ
ขอบเขตที่กว้างมากขึ้น ซ่ึงจะสร้างความเสียหายต่อชีวิตและโครงสร้างพนื้ ฐานท่ีจ้าเป็นท้าให้เศรษฐกิจฐานราก
(Local Economy) ของประเทศเกิดความเสียหาย เพิ่มปัญหาความยากจน และความเหล่ือมล้าทางสังคม
ตลอดจนระบบการผลติ ทางการเกษตรที่มคี วามสมั พันธ์ต่อเนอื่ งกบั ความม่ันคงด้านอาหารและนา้ ขณะที่ระบบ
นิเวศต่าง ๆ มีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง และมีแนวโน้มที่จะสูญเสียความสามารถในการรองรับความต้องการ
มนุษย์ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

ทางออกของประเทศไทยในการรอดวิกฤตและเกิดการพัฒนาที่ย่ังยืน ได้ถูกก้าหนดไว้ใน
ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 และนโยบายรัฐบาลทีจ่ ะสืบสาน รักษา ต่อยอด และพัฒนาประเทศตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร กระทรวงมหาดไทย มอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน น้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาเป็นหลักในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชน เน้นประชาชนเป็น
ศูนย์กลาง โดยการพัฒนาคนให้พึ่งตนเอง มีความเป็นเจ้าของและบริหารจัดการโดยชุมชน พัฒนาหมู่บ้านหรือ
ชมุ ชนให้มวี ถิ ีชวี ิตเศรษฐกจิ พอเพยี งและเป็นสงั คม “อยเู่ ย็น เป็นสุข” ท้ังนี้ กรมการพฒั นาชมุ ชน รว่ มกบั มูลนิธิ
กสิกรรมธรรมชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และภาคีเครอื ข่ายภาคส่วนตา่ ง ๆ
ท้ัง 7 ภาคี ได้น้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นข้ันตอน ตามกลไกการ
ขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชา เพื่อการปฏิรูปประเทศ โดยใช้หมู่บ้านเป็นฐานของการพัฒนา มุ่งสร้าง
ภูมิคุ้มกันให้ทุกครัวเรอื น และพัฒนาคนให้มีความรู้และปรับตัวให้สามารถด้าเนินชีวิตอย่างมีความสุข มีอาชีพ
สร้างรายได้ ท่ามกลางวิกฤตโลกท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ด้วยการจัดท้าโครงการท่ีประยุกต์การใช้
ศาสตร์พระราชา และน้อมน้าเอาแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด้าริกว่า 40 ทฤษฎี ท่ี
ทรงพระราชทานไว้ให้ในการแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์กับแนวคิดการ
พัฒนาพ้ืนที่และการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทย เพ่ือการพ่ึงตนเองและรองรับภัยพิบัติในรูปแบบ “โคก หนอง
นา โมเดล” สร้างการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เหมาะสมกับหมู่บ้านในภูมิสังคมต่าง ๆ ผ่านการท้างานในรูปแบบ
การจ้างงานและการร่วมกันลงแรงด้วยการสนับสนุนวัสดุพ้ืนฐานและงบประมาณ และบูรณาการการท้างาน
จากภาคีภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างงานสร้างรายได้ให้กบั ครัวเรือนและชุมชนท่ีเข้าร่วมโครงการในระดับพ้ืนฐาน
ด้าเนินการสร้าง (1) พื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community Lab Model for
quality of life : CLM) ระดับต้าบล จ้านวน 337 ต้าบล แยกเป็น ขนาดพ้ืนท่ี 10 ไร่ จ้านวน 23 พ้ืนที่ และ
พ้ืนท่ี 15 ไร่ จ้านวน 314 พ้ืนท่ี รวมพ้ืนท่ีไม่น้อยกว่า 4,940 ไร่ และให้การสนับสนุนเพ่ือพัฒนา (2) พ้ืนท่ี
ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab Model for quality of life : HLM) ระดับ

2

ครัวเรือน จ้านวนทั้งสิ้น 24,842 ครัวเรือน ขนาดพนื้ ทีไ่ มเ่ กนิ 3 ไร่/ครัวเรือน รวมพน้ื ท่ีไมเ่ กนิ 54,676 ไร่ และ
(3) บูรณาการร่วมพัฒนาพื้นที่ระดับต้าบล เพ่ือการบริหารจัดการน้าขั้นพ้ืนฐานที่เหมาะสมกับภูมิสังคมตาม
แนวทางพระราชด้าริ 10 วิธี เชื่อมโยงกับพ้ืนที่ปฏิบัติการโครงการฯ จากนั้นพัฒนาสู่ระดับก้าวหน้า โดยการ
ด้าเนินการส่งเสริมการสร้างมาตรฐานผลผลิต การแปรรูปและการตลาดตามมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย และ
ยกระดับชุมชนทั้ง 337 ต้าบล ให้สามารถ (1) แก้ไขวิกฤตด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อมของประเทศ
(2) เสริมสร้างความสามคั คีและสร้างเสรมิ สขุ ภาพให้แขง็ แรง ผ่านการท้ากิจกรรมพัฒนาพื้นท่ีรว่ มกนั (3) สร้าง
ระบบเกษตรกรรมยั่งยนื ที่ผลติ อาหารปลอดภัยจากสารเคมีและผลิตสมุนไพรต่าง ๆ เพ่อื ยกระดบั อาหารใหเ้ ป็น
ยาท่ีสามารถสร้างเสริมภูมิต้านทานโรคต่าง ๆ อีกทั้งยัง (4) เพิ่มการจัดการให้กักเก็บน้าฝนที่ตกในพื้นท่ีได้
เพียงพอต่อการเพาะปลูก และการด้ารงชีวิตช่วยแก้ปัญหาภัยแล้งและน้าท่วม (5) เพิ่มพื้นท่ีป่าที่ช่วยฟอก
อากาศท่ีบริสุทธิ์และช่วยกักเก็บคาร์บอนในช้ันบรรยากาศลดปัญหาฝุ่นละออง ขนาดเล็ก PM 2.5 (6) เก็บ
รักษาและฟื้นฟูหน้าดินดว้ ยการเก็บตะกอนดนิ ในพ้ืนท่ี ช่วยสรา้ งความสมดุลของระบบนเิ วศใน ดิน น้า และป่า
(7) เพิ่มความหลากหลายให้กับพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ ท่ีส้าคัญยังช่วยชุมชนได้ ท้ังนี้ การ
ด้าเนนิ การพัฒนาสู่ระดับก้าวหน้าในระยะที่ 2 มีแผนด้าเนินการสง่ เสริมในระดับชุมชนให้รวมตัวกันจัดตั้งกลุ่ม
อาชีพเพ่ือสร้างวิสาหกิจชุมชน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจ และสนับสนุน
กระบวนการผลิต ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้วิสาหกิจชุมชนสามารถพัฒนายกระดับมุ่งไปสู่การจัดต้ัง
บริษทั วสิ าหกิจเพื่อสังคมในระดับต้าบล เพือ่ พัฒนาศักยภาพการเพิ่มผลผลติ ต่าง ๆ ทีไ่ ด้จากในพื้นทดี่ ้าเนินการ
เพ่ิมมูลค่าด้วยการแปรรูป ขยายตลาดการท่องเท่ียวชุมชน ฯลฯ และสร้างงานวิจัยชุมชนเพื่อยกระดับ
ผลิตภัณฑ์หรือค้นหา อัตลักษณ์ของชุมชน การสร้างนวัตกรรมท่ีเหมาะสมกับภูมิสังคมของชุมชน สร้างการ
จัดการความรใู้ นมิตกิ ารพ่ึงตนเองด้านครู คลัง ช่าง หมอ ของชุมชน ร่วมกับสถาบนั การศกึ ษาในพ้ืนทีช่ ุมชนทั่ว
ประเทศ ให้ได้ผลการด้าเนินงานท่ีสามารถน้าไปต่อยอดให้กับวิสาหกิจชุมชนในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว
ชุมชน การเพ่ิมมูลค่าผลผลิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน รวมท้ังสร้างการส่ือสารสังคมให้เกิด
กระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมในระดับชุมชน ระดับต้าบล ระดับอ้าเภอ ระดับจังหวัด และระดับ
นานาชาติ เรื่อง การน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (Sufficiency Economy Philosophy : SEP)
ในรูปแบบการท้างานตามศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวติ ของประชาชนให้บรรลุตามเป้าหมายเพ่ือ
การพัฒนาทยี่ ่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) (SEP for SDGs) ในรูปแบบและวิธีการต่าง
ๆ ท่เี ข้าถึงคนได้ทุกระดับและทุกวัย ผ่านการด้าเนินงานโครงการในทุกพ้ืนท่ี เพือ่ ส่ือสารวิธีการแก้ไขวิกฤตตาม
แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการสร้างตัวอย่างความส้าเร็จท่ีเร่ิมต้นจากการพัฒนาคนให้โลก
ได้รับรู้อย่างแพร่หลาย ซ่ึงการขับเคลื่อนตามกระบวนการทั้ง 2 ระยะจะเป็นการ (8) เตรียมความพร้อมให้
ชุมชนมีความสามารถในการพึ่งตนเองในเรื่องของน้า อาหาร และพลังงานทดแทนสร้างภูมิคุ้มกันชุมชนต่อ
สภาพปัจจุบันท่ีโลกก้าลังเผชิญกับวิกฤตความเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติอย่าง
รนุ แรง วกิ ฤตทางด้านโรคระบาดวกิ ฤตทางด้านความอดยาก และวิกฤตความขัดแยง้ ของสงครามเศรษฐกจิ หรือ
สงครามรูปแบบต่าง ๆ ในอนาคต ดังน้ัน จึงได้มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็น
หน่วยด้าเนินการโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก
หนอง นา โมเดล” กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การ

ปฏบิ ัตใิ นรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล

3

2. เพื่อพัฒนาพ้ืนท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ต้าบล และระดับครัวเรอื น

3. เพ่ือฟื้นฟูเศรษฐกิจท้องถิ่นและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ ให้แก่เกษตรกร
แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ กลุ่มแรงงานท่ีอพยพกลับท้องถ่ินและชุมชน ท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์
ในช่วงวิกฤตการแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)

กลุ่มเปำ้ หมำย
จ้านวนท้ังส้นิ 105 คน ประกอบด้วย
1. ผู้อ้านวยการกลุ่มงานฯ จาก 7 จังหวัดในพื้นท่ีให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน

อบุ ลราชธานี จ้านวน 7 คน
2. พัฒนาการอ้าเภอ จาก 7 จังหวัดในพ้ืนท่ีให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน

อบุ ลราชธานี จ้านวน 98 คน

ข้นั ตอนและวิธดี ำเนินงำน
1. ศกึ ษาแนวทางการดา้ เนินงานตามโครงการจากส่วนกลาง
2. ประชุมทีมเจา้ หนา้ ที่ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนอบุ ลราชธานีเพ่ือเตรียมความพร้อม
3. ประสานวิทยากร
4. เสนอโครงการขออนมุ ตั ดิ า้ เนนิ งานตามโครงการ
5. จดั ทา้ ค้าสง่ั แต่งต้ังคณะท้างาน
6. จัดเตรียมสถานท่ี/ฐานการเรียนรู้/ห้องฝึกอบรม/หอพัก/วัสดุอุปกรณ์/โสตทัศนูปกรณ์/

เครือ่ งเสียง
7. ด้าเนนิ งานตามโครงการ
8. ประเมนิ ผล/สรปุ ผลการด้าเนินงาน/รายงานผลตอ่ ผู้บริหารกรมการพัฒนาชุมชน

งบประมำณดำเนนิ กำร
งบประมาณดา้ เนินการ จา้ นวนทั้งส้นิ 688,800 บาท (หกแสนแปดหมน่ื แปดพันแปดร้อย

บาทถว้ น)

ระยะเวลำดำเนินกำร
ด้าเนินการ 5 วัน ระหว่างวันที่ 29 พฤศจกิ ายน – 3 ธันวาคม 2563 ณ หอประชุมค้าคูณ

ศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชนอุบลราชธานี

ขอบเขตเนื้อหำหลกั สูตร
1. การมอบนโยบาย
2. กิจกรรมกลมุ่ สมั พันธ์
3. เรียนร้ตู ้าราบนดิน : กิจกรรมเดนิ ชมพ้ืนท่ี
4. โครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก

หนอง นา โมเดล
5. การแปลงปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั แิ บบเปน็ ขั้นเปน็ ตอน

4

6. ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง “ทฤษฎี บันได 9 ขัน้ สคู่ วามพอเพยี ง
7. หลกั กสิกรรมธรรมชาติ
8. แบ่งกลุ่มฝกึ ปฏบิ ัติตามฐานเรียนรู้ 6 ฐาน
9. ถอดบทเรยี นผา่ นสอื่ “วถิ ีภมู ิปญั ญาไทยกบั การพ่งึ ตนเองในภาวะวิกฤต”
10. “สุขภาพพึง่ ตน พัฒนา 3 ขุมพลัง” พลงั กาย พลงั ใจ พลงั ปัญญา
11. ฝกึ ปฏิบตั ิ “จติ อาสาพัฒนาชุมชน เอามือ้ สามคั คี พัฒนาพ้ืนท่ตี ามหลักทฤษฎีใหม่
12. การออกแบบเชิงภมู ิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสงั คมอย่างย่งั ยืนเพ่อื การพ่ึงตนเอง
และรองรับภัยพบิ ตั ิ
13. พ้ืนฐานการออกแบบเพ่ือการจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา
โมเดล
14. ฝึกปฏิบัติการสร้างหุ่นจ้าลอง (กระบะทราย) การจัดการพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
15. น้าเสนองานสร้างหุ่นจ้าลองการจัดการพื้นท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง
นา โมเดล
16. Team Building ฝึกปฏิบัตกิ ารบริหารจัดการในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากนิ
17. สรุปบทเรียนฝึกปฏิบตั กิ ารบริหารจัดการในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากนิ
18. กตัญญูต่อสถานท่ี พัฒนาจติ ใจ ทา้ บญุ ตัดบาตร
19. การขับเคลอื่ นสบื สานศาสตร์พระราชา กลไก 357
20. จดั ท้าแผนปฏิบตั ิการ “ยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบตั ิ
21. นา้ เสนอยุทธศาสตรก์ ารขบั เคล่อื นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลท่คี ำดวำ่ จะไดร้ ับ
กลุ่มเป้าหมายสามารถเป็นที่ปรึกษาให้ค้าแนะน้าการขับเคล่ือนการน้อมน้าหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎใี หม่ประยกุ ตส์ ู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ในพนื้ ท่เี ปา้ หมายได้

ตัวช้ีวดั กิจกรรม
กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาตามหลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง

รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล จา้ นวน 105 คน

5

ส่วนที่ 2
สรปุ เนอื้ หาวิชาการ

กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็นหน่วย
ดาเนนิ งานโครงการพัฒนาพื้นทต่ี ้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตตามหลกั ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา
โมเดล” กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก
หนอง นา โมเดล โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล และเพ่ือพัฒนาพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง
นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับตาบล และระดับครัวเรือน ตลอดจนเพื่อฟ้ืนฟู
เศรษฐกิจท้องถ่ินและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ ให้แก่เกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ กลุ่ม
แรงงานที่อพยพกลับทอ้ งถิ่นและชุมชน ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงวิกฤตการแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) กลุ่มเป้าหมาย จานวนท้ังส้ิน 105 คน ประกอบด้วยผู้อานวยการกลุ
ถ่มงานฯ จังหวัด จานวน 7 คน และพัฒนาการอาเภอ จานวน 98 คน จาก 7 จังหวัดในพ้ืนที่ให้บริการของศูนย์
ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ดาเนินการ 5 วัน ระหว่างวันท่ี 29 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม 2563
ณ หอประชุมค้าคูณ ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี การดาเนินงานตามโครงการดังกล่าว ไดก้ าหนด
ประเด็นเนอื้ หาวิชาหลกั ตามหลกั สูตร จานวน 21 หวั ข้อวชิ า ดงั นี้

เน้ือหาวชิ าหลกั
จานวน 21 วิชา
1. การมอบนโยบาย
2. กจิ กรรมกลุ่มสมั พันธ์
3. เรยี นร้ตู าราบนดิน : กิจกรรมเดินชมพน้ื ท่ี
4. โครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก

หนอง นา โมเดล
5. การแปลงปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ัตแิ บบเปน็ ขัน้ เป็นตอน
6. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎี บันได 9 ข้ัน สคู่ วามพอเพยี ง
7. หลกั กสิกรรมธรรมชาติ
8. แบง่ กลุ่มฝกึ ปฏิบตั ติ ามฐานเรียนรู้ 6 ฐาน
9. ถอดบทเรยี นผ่านสอ่ื “วถิ ภี ูมิปญั ญาไทยกบั การพ่ึงตนเองในภาวะวิกฤต”
10. “สขุ ภาพพ่ึงตน พฒั นา 3 ขมุ พลงั ” พลงั กาย พลังใจ พลงั ปัญญา
11. ฝกึ ปฏิบัติ “จิตอาสาพฒั นาชมุ ชน เอามื้อสามัคคี พัฒนาพ้ืนทตี่ ามหลกั ทฤษฎีใหม่
12. การออกแบบเชิงภมู สิ งั คมไทยตามหลักการพฒั นาภมู สิ งั คมอย่างย่ังยนื เพื่อการพง่ึ ตนเอง

และรองรบั ภยั พิบัติ
13. พื้นฐานการออกแบบเพื่อการจัดการพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา

โมเดล
14. ฝึกปฏิบัติการสร้างหุ่นจาลอง (กระบะทราย) การจัดการพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่

ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล

6

นา โมเดล 15. นาเสนองานสร้างหุ่นจาลองการจัดการพื้นท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง

16. Team Building ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารบริหารจดั การในภาวะวิกฤต หาอยู่ หากนิ
17. สรปุ บทเรียนฝึกปฏิบัตกิ ารบรหิ ารจัดการในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากนิ
18. กตญั ญตู อ่ สถานท่ี พัฒนาจติ ใจ ทาบุญตัดบาตร
19. การขบั เคลือ่ นสบื สานศาสตร์พระราชา กลไก 357
20. จดั ทาแผนปฏิบัตกิ าร “ยุทธศาสตรก์ ารขบั เคล่อื นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิ
21. นาเสนอยุทธศาสตรก์ ารขบั เคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

การเรียนรู้ในแต่ละวิชายึดผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลางการเรยี นรู้ ดว้ ยรูปแบบ วิธกี าร เทคนคิ
ทหี่ ลากหลายมุง่ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจ จากประสบการณ์ตรง และการฝึกปฏบิ ัตจิ รงิ โดยใช้
กระบวนการแบบมีส่วนรว่ มที่สามารถนาไปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านไดจ้ ริง ดังน้ี

1. การบรรยายประกอบส่ือ Power Point
2. เวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้
3. การฝกึ ปฏบิ ตั ิ

สรุปสาระสาคญั ของเน้อื หาวชิ าได้ ดงั น้ี

วชิ า ถอดบทเรยี นจากการฝกึ ปฏบิ ัตฐิ านการเรียนรู้

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้และเข้าใจถึงการน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

มาปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั และสามารถปฏบิ ตั ิจนเป็นวถิ ชี ีวิต
2. เพอ่ื ใหผ้ ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมมที ักษะ ความรใู้ นแตล่ ะฐานการเรยี นรูแ้ ละนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้
3. เพ่อื ใหผ้ ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมสามารถนาความรู้และเทคนิคในฐานต่างๆ ไปประยุกตใ์ ช้เป็น

อาชีพเสริมในครัวเรอื น เพือ่ ใหเ้ กดิ รายไดแ้ ละพงึ่ พาตนเองได้

ระยะเวลา 6 ช่วั โมง

ขอบเขตเนอ้ื หาวชิ า
เรียนรู้ฐานคนมีน้ายา, ฐานรักษ์สุขภาพ, ฐานคนมีไฟ, ฐานคนเอาถ่าน, ฐานคนรักษ์แม่ธรณี

และฐานคนรักษโ์ ลกพระแมโ่ พสพ

เทคนคิ /วิธีการ
วิทยากรกระบวนการแนะนาฐานการเรียนรู้แต่ละฐาน ทั้งหมด 6 ฐานการเรียนรู้

ประกอบดว้ ย ฐานคนมนี ้ายา, ฐานรักษ์สขุ ภาพ, ฐานคนมีไฟ, ฐานคนเอาถา่ น, ฐานคนรักษแ์ มธ่ รณี และฐานคน
รักษ์โลกพระแม่โพสพ ซึ่งแต่ละฐานการเรียนรู้จะมีทีมวิทยากรประจาฐานที่จะให้ความรู้ สาธิต และแนะนาผู้
เข้ารับการฝึกอบรม จากนั้นวิทยากรแบ่งกลุ่มผู้เข้ารบั การฝึกอบรมออกเป็น 6 กลุ่ม (กลุ่มสีเดิม) มอบหมาย
งาน โดยให้แต่ละกลุ่มถอดบทเรียนจากการเรียนรู้ในแต่ละฐานในประเด็น ส่ิงที่ได้จากการเรียนรู้ และจะ

7

นาไปใช้ประโยชน์หรือต่อยอดอย่างไร เสร็จแล้วส่งผู้แทนนาเสนอกลุ่มละ 5 นาที สรุปภาพรวมตามท่ีปรากฏ
ดังนี้

สรุปผล/ถอดบทเรียนการฝกึ ปฏบิ ตั ิจากฐานการเรยี นรู้

ฐานเรยี นรคู้ นมนี า้ ยา

ขอ้ ดี
1. ลดค่าใชจ้ า่ ย
2. ใช้วัสดใุ นพน้ื ท่ี
3. สามารถสร้างรายได้ในครัวเรือนและชมุ ชน
4. สง่ เสริมการรวมกล่มุ อาชีพ สง่ เสริมให้มีการลงทะเบยี น OTOP
5. มคี วามปลอดภยั ต่อผบู้ ริโภค

ขอ้ พึงระวัง
1. ตอ้ งผสมตามอตั ราส่วนทีก่ าหนด
ตอ้ งระวังน้าด่าง อย่าให้ถูกผิวหนัง

ฐานคนรักษส์ ขุ ภาพ

สงิ่ ทไี่ ด้
1. เรอ่ื งสมุนไพร
- ประเภท
- ประโยชน์/สรรพคณุ
- การนาไปใช้
2. การทาสปาเท้า
- ใชส้ มุนไพรใกล้ตวั เชน่ มะกรูด มะนาว ขมิ้น ไพล ใบมะขาม

การนาไปใช้/ต่อยอด
1. สมนุ ไพรอบแห้งเพ่ือสรา้ งรายได้
2. การแปรรูป
- ลูกประคบสมนุ ไพร
- เคร่อื งดมื่ สมนุ ไพร
- สมนุ ไพรพอกหนา้
- น้ามันไพล

คนมีไฟ

ข้อดี
1. ลดคา่ ใช้จ่าย
2. ต่อยอดเปน็ พลงั งานทดแทน
3. รกั ษโ์ ลก ไมท่ าลายส่ิงแวดลอ้ ม

8

4. สะดวก ขอให้มีแสงอาทิตย์
5. มคี วามปลอดภยั
6. บารงุ รักษาง่าย
7. ใชง้ านง่าย
ขอ้ เสีย
1. มีค่าใช้จ่ายด้านอุปกรณ์
2. ต้องมีทักษะดา้ นชา่ ง

ฐานคนเอาถ่าน

จากการปลูกป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง เช่น
- ไม้อาหาร/สมุนไพร
- ไม้ใช้สอย
- ไม้เศรษฐกจิ

สงิ่ ทไ่ี ด้
1. สภาพแวดลอ้ มท่ีดี
2. เตาเผาถ่าน อวิ าเตะ”
3. ถ่าน “ชาโคล” ถ่านเผาผีใช้ในครัวเรือน
4. น้าส้มควันไม้ ใชป้ อ้ งกันโรค ไล่แมลง รักษาแผล เชื้อรา ดูดซบั กล่นิ

ฐานคนรกั ษโ์ ลกรกั แม่โพสพ

ส่งิ ท่ไี ด้
1. วิธีปลูกขา้ ว กข 43
2. ปลกู พชื ใชน้ ้าน้อย โดยใชป้ ยุ๋ น้าชาม/แห้งชามวธิ เี ล้ยี งหอย กงุ้ ปู

ต่อยอด
การนาไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั

คนรกั ษ์แม่ธรณี

สง่ิ ทไ่ี ด้
1. คาถาเลี้ยงดนิ “เลย้ี งดนิ ใหด้ นิ เลีย้ งพืช”
2. วิธีการทาปยุ๋ แหง้ ชาม/น้าชาม โดยใชส้ มุนไพร 7 รส ประกอบดว้ ย
- รสจืด
- รสขม
- รสฝาด
- รสเปรีย้ ว
- เมาเบอื่
- หอมระเหย
- รสเผ็ดร้อน

9

สตู รน้าชาม 3:1:1:10
3 = สมนุ ไพร
1 = หัวเชือ้
1 = นา้ ตาลทรายแดง
10 = นา้ สะอาด

สูตรแห้งชาม
1 : มลู สัตว์
1 : แกลบ/ใบไม้
1 : ราละเอยี ด
1 : หัวเชอื้ จุลนิ ทรีย์
10 : นา้ สะอาด

3. องคป์ ระกอบของดนิ ดี

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดี สังเกตจากการกระตือรือร้นในการ

เรียนรใู้ นแต่ละฐาน การมีสว่ นร่วมในกจิ กรรม และการแลกเปล่ยี นเรียนรู้รว่ มกนั การพดู คยุ ซกั -ถาม การแสดง
ความคิดเห็น และชิน้ งานที่ได้จากการถอดบทเรยี น

วชิ า ถอดบทเรียนผา่ นสื่อ “วิถภี มู ิปัญญาไทยกบั การพ่ึงตนเองในภาวะวกิ ฤติ”

วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับฝึกอบรมได้สังเคราะห์ความรู้ท่ีได้รับจากวิทยากรที่ได้มาบรรยายในแต่ละ

วิชา
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจสถานการณ์โลกปัจจุบันกับการ

เปลยี่ นแปลงของดนิ ฟ้า อากาศ และตระหนักถงึ วิกฤติปญั หาดา้ น ดนิ นา้ ลมไฟ โรคตดิ ตอ่ ระบาดทอี่ าจเกิดข้ึน
ในประเทศไทยและการปอ้ งกันภัย

3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตระหนักถึงความสาคัญของการน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดารงชีวติ

ระยะเวลา 2 ชวั่ โมง
ขอบเขตเนือ้ หาวชิ า

1. ภาวะวิกฤตสิ ังคมโลก
2. ถ้าเขา้ สูภ่ าวะวกิ ฤติจะเอาตวั รอดอย่างไร
3. ทางออกวิกฤติ ดนิ น้า ปา่ คน ด้วยโคก หนอง นา โมเดล

เทคนคิ /วธิ ีการ
วทิ ยากรแนะนาตัว กลา่ วทักทายผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม เกร่ินนาถึงวัตถปุ ระสงคข์ องวชิ า แลว้

เชิญชวนผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมชมคลิปวิดที ัศน์ “แผ่นดินวิกฤติ” จากน้ันวิทยากรแบ่งกล่มุ ผู้เข้ารับการฝกึ อบรม
ออกเป็น 6 กลุ่ม (กลุ่มสีเดิม) มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้แต่ละกลุ่มถอดบทเรียนจากการชมสื่อใน

10

ประเด็น ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะทาอย่างไรต่อไป เสร็จแล้วส่งผู้แทนนาเสนอกลุ่มละ 7 นาที และ
เปดิ เวทแี ลกเปลีย่ นเรยี นรู้ สรุปภาพรวมตามทีป่ รากฏ ดังนี้

ถอดบทเรียนผ่านส่ือ “วถิ ปี ัญญาไทยกบั การพ่งึ ตนเองในภาวะวกิ ฤติ”

สงั คมโลก/สงั คมไทย ถา้ เขา้ สูภ่ าวะวกิ ฤตท่านจะเอาตวั ท่านจะชว่ ยเหลอื ชุมชน/ครวั เรอื นให้รอด

รอดอย่างไร จากวกิ ฤตอยา่ งไร

- ส่งิ แวดล้อมถูกทาลาย - คนื สรู่ ากเหงา้ ยดึ ทางสายกลาง - ส่งเสริมใหป้ ระชาชนน้อมนาหลกั

- เกดิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปฏบิ ตั ิ

- การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศโลก - ปรับตวั เอง/ทบทวนตวั เอง/ จนเปน็ วถิ ีชีวติ

มรผลกระทบต่อความมน่ั คงทางอาหาร เรียนรู้ - สง่ เสริมการปรบั เปล่ียนวธิ ีคดิ ทัศนคติ

- ความเหลอ่ื มล้าทางสงั คม - ฟื้นฟู พัฒนาทรพั ยากรท้องถิ่น คนในชุมชน

- ขาดการวางแผนชวี ติ - พง่ึ พาตนเอง/ยดึ หลักความ - แนะนาการทาเกษตรแบบผสมผสาน

- ภาวะวกิ ฤตโลก (ความขัดแยง้ , พอเพยี ง - ตั้งสต/ิ ใหค้ วามรู้ โดยการสนบั สนุนให้

ภัยพิบัติ,โรคภัย) - ความสามัคคี คนในชุมชนพ่ึงพาตนเองและทรัพยากรท่ี

- คนตกงาน - การนอ้ มนาหลักปรัชญาของ มี เพอ่ื ให้พอกิน/พอใช้/พออยู่/พอรม่ เย็น

- ระบบทุนนิยมทาให้โลกหายนะ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏบิ ัติใน - การเขา้ ถงึ แหล่งความรขู้ องคนในชุมชน

- ผลกระทบของการกระทาของมนุษย์ ชีวิตประจาวัน - ส่งเสริมการขับเคล่ือน โคก หนอง นา

ที่ทาลายธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม - สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทางอาหาร โมเดล ให้สาเร็จ

- ขาดความสมดลุ - ต้งั สติ/อดทน - สร้างความมน่ั คงทางอาหาร

- เห็นความสาคัญของการสร้างความ - หาสาเหตปุ ัญหา แลส้ หา - รณรงคก์ ารปลกู ผักสวนครวั รว้ั กินได้

ม่ันคงทางอาหาร ทางออก - เรยี นรู้อดีต

- เกิดภาวะภัยแล้ง/ภาวะโลกร้อน - ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม - สง่ เสริมการจัดตง้ั กลุม่ อาชพี สู่ความ

- ภัยนา้ ทว่ ม - ลดการพ่งึ พาคนอืน่ สร้างโลก ยงั่ ยืน

- ความอดอยาก ใหม่ดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพยี ง - ประสานหน่วยงานภาคีช่วยเหลอื

- การอพยพแรงงาน - การสรา้ งเครือข่าย - ส่งเสรมิ ให้พงึ่ พาธรรมชาติ

- การบริโภคนิยม - รักษาสุขภาพและจติ ใจให้ - สังคมเก้อื กูล

- ครอบครวั ลม่ สลาย เขม้ แข็ง - สร้างความปรองดอง

- การแยง่ ชงิ ทรัพยากร - การพ่งึ ตนเอง/ช่วยเหลือ/ - หนั หลังดอู ดีต มองหน้าสูเ่ ปา้ หมายใหม่

- การใชท้ รัพยากรธรรมชาตทิ ี่เกนิ ฟืน้ ฟู แบ่งปัน/ทาน - สรา้ งสมั มาชีพชมุ ชน

สง่ ผลต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม - คนื ถน่ิ อยู่อย่างพอเพียง - รจู้ กั วางแผนการจดั การชวี ิต โดยใช้

การเมือง - สรา้ งความมั่นคงทางอาหารใน ธรรมะเข้ามาชว่ ย

- ต้นเหตขุ องความทุกขค์ ือ ระบบทนุ ครวั เรอื น - ให้ความร้ถู งึ สถานการณ์ภยั ท่จี ะมาถึง

นิยมทส่ี ามารถทาลายโลกได้ โดย - แนวทางการป้องกันและแนวทางแก้ไข

นาไปสรู่ ะเบิด 4 ลูก ในปจั จบุ ัน

1) วิกฤตสิ่งแวดล้อม

2) วกิ ฤตสังคม

3) วิกฤตเศรษฐกจิ

4) วกิ ฤตการแยง่ ชงิ (การเมือง)

11

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการชมส่ือวิดีทัศน์ และการ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สังเกตจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคิดเห็น การ
แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และช้นิ งานที่ได้จากการถอดบทเรยี น

วิชา ถอดบทเรยี นจากการฝกึ ปฏิบตั ิ “จติ อาสาพัฒนาชมุ ชน เอามือ้ สามคั คี พฒั นาพ้ืนท่ตี าม
หลกั ทฤษฎใี หม”่

วตั ถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดการแลกเปล่ียนแรงงาน เอามื้อสามัคคี และเป็นการ

แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในด้านการพัฒนาพ้ืนท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มักรู้จักในช่ือ
กิจกรรม “ลงแขก” หรือ “เอาแรง” ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมชุมชนที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างช้านาน โดยในช่วง
ระยะหลังนอกจากจะเป็นการแลกเปลี่ยนในด้านแรงงานแล้วยังได้เกิดการสร้างความรู้ที่เหมาะสมกับสภาพ
พนื้ ท่ี

ระยะเวลา 7 ช่วั โมง

ขอบเขตเน้อื หาวิชา
การทากิจกรรมร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมพลังกันในการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง พัฒนาพ้นื ทีต่ ามหลกั ทฤษฎีใหม่

เทคนคิ /วิธกี าร
วิทยากรกระบวนการแนะนาทมี วิทยากรครูพาทา และเกริ่นนาถึงวัตถุประสงค์ของหวั ข้อวิชา

แล้วเชื่อมโยงสู่การบรรยายประกอบสื่อ Power Point ในประเด็นการสารวจพ้ืนที่ การวางแผนการดาเนินงาน
การลงมือปฏิบัติโดยมีกิจกรรมท่ีดาเนินการตามบริบทของพ้ืนที่ เช่น การขุดคลองไส้ไก่ ห่มดิน ปลูกป่า 3 อย่าง
ประโยชน์ 4 อยา่ ง (กระบวนการ 10 ขน้ั ตอน) จากนัน้ วิทยากรแบง่ กลุ่มผู้เข้ารบั การฝึกอบรมออกเปน็ 6 กลุ่ม
(กลุ่มสีเดิม) มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้แต่ละกลมุ่ ลงมอื ฝึกปฏิบัติจริงในพ้ืนท่ี และถอดบทเรียนจากการ
ทากิจกรรมเอามื้อสามัคคีในประเด็น ได้อะไรจากการเข้าร่วมกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี และนาไปใช้ประโยชน์
อย่างไร เสรจ็ แลว้ สง่ ผู้แทนนาเสนอกลุ่มละ 5 นาที สรุปภาพรวมตามทปี่ รากฏ ดังนี้

12

สรปุ ผล/ถอดบทเรยี นจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน เอามือ้ สามคั คีพฒั นาพ้นื ท่ตี ามหลักทฤษฎีใหม่

ไดอ้ ะไรจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเอาม้ือสามัคคี นาไปใชป้ ระโยชนอ์ ย่างไร

1. เรียนรู้กสิกรรมธรรมชาติ 1. ใชอ้ งค์ความรู้ในพ้ืนท่ีจริง
2. เรียนรกู้ ารจดั การพืน้ ท่ี 2. คนสาราญ งานสาเร็จ
3. การบริหารจัดการ/การวางแผน 3. ปรับใชก้ บั ตนเอง ครอบครัว และแนะนา
4. การบริหารจดั การดนิ และนา้ ครัวเรือนเปา้ หมาย ชุมชน และผู้สนใจ
5. การแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้า 4. การแบ่งงานรับผดิ ชอบตามความถนดั ของแตล่ ะ
6. การออกแบบพ้นื ท่ี บคุ คล
7. การมีส่วนร่วม 5. เกอ้ื กูลแบ่งปนั น้าใจ
8. ความสามคั คี 6. การนาความรไู้ ปปรบั ใช้ในพื้นที่อย่างเหมาะสม
9. ความอบอุ่น 7. การจดั ระบบ
10. องค์ความรู้ 8. การปรับสภาพดนิ ใหเ้ หมาะสม
11. การแบ่งงาน 9. การบริหารจัดการ
12. เรยี นรจู้ ากการฝึกปฏิบตั ิจริง 10. การจดั การพ้ืนที่
13. กระบวนการ 10 ข้ันตอน 11. การออกแบบพ้นื ท่ี
14. ออกกาลงั กาย 12. การพฒั นาทมี งาน/ภาคีเครอื ขา่ ย
15. พฒั นาตนเอง 13. การทางานเป็นทมี
16. ความสนกุ สนาน 14. การวางแผน
17. ความอดทน
18. อุดมการณ์
19. คิดสร้างสรรค์
20. คิด/วางแผน/ดาเนินงาน/ประเมนิ ผล
ความสาเรจ็

ผลจากการเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการ

วางแผนการดาเนินงาน เร่มิ จากการสารวจพน้ื ท่ี การออกแบบ และลงมอื ปฏบิ ตั ิ โดยนาข้อมูลจากพื้นทีจ่ ริงมา
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สังเกตจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคิดเห็น การ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ การลงมอื ปฏิบัติ และช้นิ งานที่ได้จากการฝึกปฏิบตั ิ

วชิ า ถอดบทเรยี น “Team Building หาอยู่ หากิน”

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมเข้าใจการพึง่ ตนเอง และการใชท้ รัพยากรทมี่ ีอยู่อยา่ งจากัดให้

เกดิ ประโยชนส์ งู สุดในการดารงชีวติ
2. เพือ่ ให้ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมรู้จกั การดารงชวี ิตในภาวะวกิ ฤต/การประสบภยั พิบัติ
3. เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รับการฝกึ อบรมร้จู กั การวางแผนการทางานเป็นทมี ได้ฝึกวินัยและคุณธรรม

13

4. เพ่ือการพ่ึงพาตนเอง และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์
สงู สุด

5. เพ่อื เสรมิ สร้างปฏสิ ัมพันธ์การทางานเป็นทมี

ระยะเวลา 2 ช่ัวโมง

ขอบเขตเนื้อหาวิชา
1. การทากิจกรรมแบบพ่ึงตนเอง และใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ดารงชวี ิตในภาวะวกิ ฤต/การประสบภัยพิบัติ วางแผนการทางานเปน็ ทีม ฝกึ วินยั และคุณธรรม
2. การดารงชวี ติ ในภาวะวิกฤต/การประสบภัยพิบตั ิ
3. รู้จกั การวางแผนการทางานเปน็ ทีม ได้ฝึกวนิ ัยและคณุ ธรรม
4. ความหมาย/เปา้ หมาย/รปู แบบ/ความสาคัญ Team Building
5. กตกิ าการทากจิ กรรม
6. สภาพพืน้ ท่ใี นการดาเนนิ กจิ กรรม

เทคนคิ /วิธกี าร
วิทยากรกระบวนการเกร่ินนาถึงวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา ช้ีแจงกฎกติกาการทากิจกรรม

แบบพ่ึงตนเอง และการใช้ทรัพยากรท่ีมีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อดารงชีวิตในภาวะวิกฤต/การ
ประสบภยั พบิ ัติ แบง่ กลมุ่ ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมออกเปน็ 6 กลมุ่ (กลุม่ สเี ดิม) มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้
แต่ละกลุ่มลงมือฝึกปฏิบัติจริงในการหาอยู่ หากินในพื้นที่กาหนดให้ และร่วมกันวางแผนการดาเนินงาน การ
กาหนดเมนูอาหารตามวตั ถุดบิ ที่มีพร้อมลงมือประกอบอาหาร และรับประทานอาหารร่วมกัน จากนั้นวทิ ยากร
ให้แต่ละกลุ่มสีถอดบทเรียนจากการหาอยู่ หากิน ในประเดน็ ปญั หาทีพ่ บ นาปัญหาไปต่ยอดสรา้ งแรงบันดาล
ใจ ข้อคิดที่ได้ และประมาณการค่าอาหาร เสร็จแล้วส่งผู้แทนนาเสนอกลุ่มละ 5 นาที สรุปภาพรวมตามท่ี
ปรากฏ ดังนี้

สรุปบทเรยี นจากการฝึกปฏิบัติการบริหารจัดการในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากิน

ปญั หาทีพ่ บ นาปญั หาไปต่อยอดสรา้ ง ข้อคิด ประมาณการค่าอาหาร

1. ทรัพยากรไมเ่ พยี งพอ แรงบนั ดาลใจ - คา่ อาหารประมาณ
2. ความคดิ แตกต่าง 365 บาท สาหรบั คน
3. ขาดทักษะการหาอาหาร 1. สรา้ งเครือขา่ ย/แบง่ ปนั 1. การบริหารจัดการ 18 คน เฉลี่ยคนละ 21
4. ขาดอปุ กรณ์จาเป็นใน บาท ตามรายการ
การหาอยู่หากิน 2. สรา้ งทีม 2. คนในครวั เรือนรู้จกั อาหาร ดังนี้
5. วตั ถดุ ิบจากัด 1. ไขเ่ จยี ว (9 ฟอง) 50
6. ความชานาญในการ 3. เพ่ิมทักษะอาชีพ บทบาทหนา้ ที่ บาท
ประกอบอาหาร 2. อ่อมหมผู ักรวม 120
7. หลงไหลในความ 4. สร้างครัวชุมชน 3. อย่าไวใ้ จทางอยา่ บาท
สะดวกสบาย
5. ปรบั ตัวตามสถานการณ์ วางใจคน

6. กนิ อยู่อย่างงา่ ย กินสิง่ ที่ 4. วิธีเอาตวั รอดเมื่อใน

มี สถานการณว์ ิกฤต

7. ค้นหาเมนูทหี่ ลากหลาย 5. การแบ่งปัน/เอ้ือ

8. รู้ รกั สามคั คี อารยี /์ แลกเปลย่ี นกัน

14

8. อาหารตามแหลง่ 9. การบริหารจัดการภาวะ 6. รอบคอบระมัดระวงั 3. ผดั ถ่ัวงอกน้ามนั หอย
ธรรมชาตมิ ีนอ้ ย จากัด ในการใช้ทรัพยากร 15 บาท
9. ไม่มีทักษะในการหา 10. ปลูกผกั เส้ียงสตั วไ์ ว้ 7. การเตรียมการรองรับ 4. หมยู า่ งบวกน้าจม้ิ 90
อาหาร บรโิ ภคเอง ภาวะวิกฤต บาท
10. พน้ื ทีห่ ากินจากดั 11. การเฝ้าระวงั ความ 8. ต้องรูจ้ กั แกไ้ ขปญั หา 5. ส้มตา 30 บาท
11. ไมร่ ้สู ภาพพน้ื ที่ ปลอดภยั ในชีวติ และ เฉพาะหน้า 6. ผักชบุ ไข่ทอด 10
12. อุปกรณ์/เครื่องมือหา ทรพั ย์สิน 9. การแบ่งหน้าท่ี บาท
อยหู่ ากนิ ไมเ่ หมาะกบั สภาพ 12. สรา้ งความมั่นคงทาง 10. การตงั้ อยู่ในความไม่ 7. ข้าวสวย 20 บาท
พ้ืนที่ อาหาร ประมาท 8. ถ่าน 10 บาท
13. มกี ารลักขโมยของกิน 13. เดินตามรอยเท้าพ่อ 11. สร้างภูมิคมุ้ กนั สร้าง 9. ผกั สด 20 บาท
ของใช้ สานต่อส่ิงที่พ่อทา ความมั่นทางอาหาร
14. ขาดข้อมลู ประกอบการ 14. ปลกู ทุกอย่างท่ีกนิ กิน 12. สร้างเครือข่าย
ตัดสนิ ใจ ทุกอย่างท่ีปลกู 13. สร้างกฎระเบยี บ
15. ใชท้ รพั ยากรให้คุ้มคา่ ร่วมกนั
16. ความคิดสรา้ งสรรค์ 14. ใชท้ รพั ยากรที่มีให้
17. ผลิตเคร่อื งมือหาอยู่ เกดิ ประโยชน์สูงสุด
หากิน 15. เกบ็ เตรียมเมล็ดพนั ธ์ุ
พชื /ผัก/สัตว์
16. สร้างนวตั กรรม
ทดแทนอาหาร

ผลจากการเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความกระตือรือร้นเป็นอย่างดี สังเกตจากการมีส่วนร่วมใน

กิจกรรมกลุ่ม การวางแผนการดาเนินงาน เช่น การพูดคุย การมอบหมายงาน การแสดงความคิดเห็น การ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การลงมือปฏิบตั ิ และช้ินงานทไี่ ด้จากการฝกึ ปฏิบตั ิ

วิชา ยุทธศาสตร์การขับเคลอื่ นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีทักษะในการดารงชวี ิตแบบพึ่งพาตนเอง สามารถปฏบิ ัติได้มี

การปรับเปลย่ี นวิถชี วี ิต และนาไปสู่การใชช้ วี ติ แบบพอเพยี ง
2. เพ่ือกาหนดแนวทาง/เป้าหมายในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่

สอดคลอ้ งกบั บริบทพืน้ ท่ีของตนเอง
3. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตระหนักถึงความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9 ) ที่ทรงงาน
หนักเพ่ือประชาชนและประเทศไทย

4. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนายุทธศาสตร์การขับเคล่ือนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งของตัวเองได้

15

ระยะเวลา 2 ชวั่ โมง

ขอบเขตเน้ือหาวิชา
1. การกาหนดเป้าหมายของชีวติ บนวถิ ีชีวติ เศรษฐกจิ พอเพียง
2. ออกแบบพืน้ ทช่ี ีวิตการดารงอยบู่ นพื้นฐานของการพ่ึงพาตนเอง
3. วเิ คราะหบ์ ริบทพ้ืนที่ ร้เู รา รูเ้ ขา รสู้ ถานการณ์ รูด้ นิ ฟา้
4. กาหนดยุทธศาสตร์การขับเคลือ่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบัตสิ ถานท่ีจริง

เทคนคิ /วธิ กี าร
วิทยากรแนะนาตวั และเกร่ินนาถงึ วัตถุประสงค์ของหวั ข้อวชิ า แล้วเชือ่ มโยงจากการบรรยาย

การขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชากลไก 357 สู่การบรรยายประกอบสื่อ Power Point ในประเด็นการ
กาหนดเป้าหมายของชีวิตบนวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง การออกแบบพื้นที่ชีวิตการดารงอยู่บนพื้นฐานของการ
พึ่งพาตนเอง การวิเคราะห์บริบทพ้ืนท่ี ร้เู ขา รเู้ รา ร้สู ถานการณ์ รูด้ นิ ฟา้ และการกาหนดยุทธศาสตร์การขับเคล่ือน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติสถานที่จริง จากน้ันวิทยากรแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมออกเป็น
กลุ่มจังหวัก จานวน 7 กลุ่ม มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้แต่ละกลุ่มลงมือฝึกปฏิบัติจริงในการวางแผน
ยทุ ธศาสตร์การขบั เคลอื่ นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ เสรจ็ แลว้ ส่งผู้แทนนาเสนอกล่มุ ละ 5 นาที
ดังตัวอยา่ งทปี่ รากฏ ดงั นี้

16

17

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการระดมความคิดเห็นเก่ียวกับการ

จดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏบิ ัติ สงั เกตจากการมสี ่วน
ร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคิดเหน็ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ การลงมือปฏิบัติ และช้ินงานท่ี
ได้จากการฝึกปฏิบัติ

18

สว่ นที่ 3
การประเมินผลโครงการ

การประเมินผลโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกต์สู่ "โคก หนอง นา โมเดล" กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบ
เศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ประจาปีงบประมาณ 2563 ผู้ประเมินได้ดาเนินการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรม โดยใชแ้ บบประเมินออนไลน์สาหรับกลุ่มเป้าหมาย จานวน 105 คน

วิธีการประเมนิ
1. กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการประเมินคือ ผู้อานวยการกลุ่มงานฯและพัฒนาการอาเภอ

ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมจานวน 105 คน
2. เครื่องมือท่ีใชใ้ นการจัดเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ใชแ้ บบประเมินออนไลน์ โดยแยกการประเมิน

ออกเป็น 3 ส่วน ดังน้ี

สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ประกอบดว้ ย
1.1 เพศ
1.2 ตาแหนง่ ปจั จุบัน
1.3 การศกึ ษา
1.4 อายุ

ส่วนท่ี 2 ความพึงพอใจตอ่ โครงการ แบ่งออกเป็น 5 ประเด็น ประกอบด้วย

ประเด็นท่ี 1 กระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ
1.1 ความเหมาะสมของสถานที่
1.2 ความเหมาะสมของระยะเวลา
1.3 ความเหมาะสมของชว่ งเวลา
1.4 การจัดลาดบั ขัน้ ตอนของการจัดกจิ กรรม

ประเดน็ ท่ี 2 วิทยากร
2.1 ความรอบรู้ ในเนอื้ หาของวิทยากร
2.2 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้
2.3 การเปิดโอกาสให้ซกั ถามแสดงความคิดเหน็

ประเดน็ ท่ี 3 เจ้าหนา้ ท่ีผใู้ หบ้ รกิ าร/ผู้ประสานงาน (ของหนว่ ยงานทจี่ ดั )
3.1 การแต่งกาย
3.2 ความสภุ าพ
3.3 การตอบคาถาม
3.4 การประสานงาน

ประเดน็ ที่ 4 การอานวยความสะดวก (ของหนว่ ยงานท่ีจัด)
4.1 เอกสาร

19

4.2 โสตทัศนปู กรณ์
4.3 เจ้าหน้าทส่ี นบั สนุน
4.4 อาหาร, เครอ่ื งด่ืมและสถานท่ี

ประเดน็ ที่ 5 คุณภาพการให้บรกิ าร
5.1 ทา่ นไดร้ ับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณใ์ หม่ๆ จากโครงการ/กจิ กรรมน้ี
5.2 ทา่ นสามารถนาสิง่ ท่ไี ดร้ ับจากโครงการ/กิจกรรมนไ้ี ปใชใ้ นการเรียน/การปฏิบตั ิงาน
5.3 ส่ิงที่ท่านไดร้ บั จากโครงการ/กจิ กรรมคร้งั นีต้ รงตามความคาดหวังของท่านหรอื ไม่
5.4 สัดส่วนระหว่างการฝกึ อบรมภาคทฤษฎกี บั ภาคปฏิบตั ิ มีความเหมาะสม
5.5 ประโยชน์ท่ที ่านไดร้ บั จากโครงการ/กจิ กรรม

ประเด็นที่ 6 ความพึงพอใจของทา่ นตอ่ ภาพรวมของโครงการ

ส่วนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ
3.1 ส่งิ ที่ท่านพึงพอใจในการร่วมโครงการ/กิจกรรมครั้งนี้
3.2 สิ่งทค่ี วรเสนอแนะนาไปพฒั นาการจดั โครงการ/กิจกรรมครง้ั ต่อไป

การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
1. การวเิ คราะหข์ ้อมูลท่ัวไปของกลมุ่ เป้าหมายใช้คา่ ร้อยละ

2. การวเิ คราะหค์ วามคดิ เห็นทไ่ี ด้จากแบบสอบถาม ใช้ค่าเฉลี่ย x ซง่ึ เปน็ คาถาม

เชงิ นมิ าน (เชิงบวก) คือ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทสี่ ุด โดยการกาหนดเกณฑ์ให้คะแนน ดังน้ี
มากทสี่ ดุ มีค่าเทา่ กับ 5
มาก มีค่าเทา่ กบั 4
ปานกลาง มคี า่ เทา่ กับ 3
นอ้ ย มคี ่าเทา่ กบั 2
นอ้ ยท่สี ุด มีคา่ เท่ากบั 1

เกณฑก์ ารประเมนิ
การแปลความหมายระดับความคิดเห็นของผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการฝึกอบรมหลักสูตร

หลักสูตรการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ประจาปีงบประมาณ 2563 จานวน 204 คน โดย

พิจารณาจากคะแนนที่ได้จากแบบสอบถามนามาหาค่าเฉล่ีย xแล้วใช้แปลความหมายตามเกณฑ์การ

ประเมินคา่ ความคดิ เห็น ดงั นี้
- คา่ เฉลีย่ ท่ไี ด้รับจากการวเิ คราะห์ระหว่าง 4.50-5.00 มคี ่าเทา่ กับ มากทส่ี ุด
- ค่าเฉลย่ี ที่ไดร้ บั จากการวเิ คราะหร์ ะหวา่ ง 3.50-4.49 มีคา่ เท่ากบั มาก
- ค่าเฉลย่ี ที่ไดร้ ับจากการวิเคราะหร์ ะหวา่ ง 2.50-3.49 มคี า่ เท่ากับ ปานกลาง
- ค่าเฉลยี่ ที่ได้รบั จากการวเิ คราะหร์ ะหวา่ ง 1.50-2.49 มีค่าเท่ากับ น้อย
- คา่ เฉลย่ี ที่ไดร้ ับจากการวเิ คราะห์ระหวา่ ง 1.00-1.49 มคี ่าเท่ากับ นอ้ ยท่ีสุด

เกณฑก์ ารประเมนิ ที่ถือว่าผา่ นเกณฑ์จะต้องมีค่าเฉล่ียไมน่ ้อยกวา่ 2.50

20

การประเมนิ ผลภาพรวมของโครงการพัฒนาพ้นื ท่ตี น้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่
"โคก หนอง นา โมเดล" กิจกรรมที่ 1 ฝกึ อบรมเพ่ิมทักษะระยะสั้นการพฒั นากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล (ผ้ตู อบแบบสอบถามจานวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 80 )
ส่วนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป
ตารางที่ 1 แสดงข้อมลู ทวั่ ไป

ประเด็น จานวน ร้อยละ

1) เพศ

- ชาย 40 47.62
- หญงิ 44 52.38
2) ตาแหนง่ ปจั จุบัน

- ผ้อู านวยการกลุ่มงานฯ 7 8.33
- พฒั นาการอาเภอ 72 85.71
- เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนจงั หวัด 1 1.19
- เจา้ หนา้ ทพี่ ฒั นาชุมชนอาเภอ 3 3.57
- นว.พช.ชก. รกท.พอ. 1 1.19
3) การศึกษา

- ปริญญาตรี 42 50.00
- ปริญญาโท 40 47.62
- ปริญญาเอก 2 2.38

4) อายุ

- 25–30 ปี 1 1.19
- 31–40 ปี 1 1.19
- 41–50 ปี 22 26.19
- 51 ปขี ้นึ ไป 60 71.43

จากตารางที่ 1 พบว่า
ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 44 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 52.38 และเพศชายจานวน 40

คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ดารงพัฒนาการอาเภอ จานวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71
รองลงมาตามลาดบั คอื ตาแหน่งผู้อานวยการกลมุ่ งานฯ จานวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 8..33 ตาแหน่งเจา้ หนา้ ท่พี ัฒนา
ชมุ ชนอาเภอ จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 3.57 ตาแหนง่ เจา้ หน้าท่ีพฒั นาชุมชนจังหวดั มีค่าเทา่ กบั ตาแหนง่ นว.พช.
ชก. รกท.พอ. จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 1.19 สว่ นใหญ่จบการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี จานวน 40 คน คิดเป็นรอ้ ย
ละ 50 รองลงมาตามลาดบั คือจบการศึกษาระดับปริญญาโท จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 และจบการศึกษา
ระดับปริญญาเอก จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38 ส่วนใหญ่มีอายุ 51 ปีข้ึนไป จานวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ

21

71.43 รองลงมาตามลาดับคืออายุระหว่าง 41–50 ปี จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 26.19 อายุระหว่าง 31-40 ปี
มคี า่ เท่ากับ อายุระหว่าง 25- 30 ปี จานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.19

สว่ นท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการ
1. กระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ
ตารางท่ี 2 แสดงความพึงพอใจตอ่ กระบวนการ ขนั้ ตอนการให้บรกิ าร

ระดบั ความคดิ เหน็ ค่า การ

หวั ข้อ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย เฉลยี่ แปรผล
1.1 ความเหมาะสมของสถานท่ี ทีส่ ุด กลาง ที่สดุ

30 46 7 1 0 ระดับ

(35.71) (54.76) (8.33) (1.19) (0.00) 4.25 มาก

1.2 ความเหมาะสมของระยะเวลา 24 45 14 1 0 ระดับ

(28.57) (53.57) (16.67) (1.19) (0.00) 4.10 มาก

1.3 ความเหมาะสมของช่วงเวลา 17 39 22 6 0 ระดับ

(20.24) (46.43) (26.19) (0.00) (0.00) 3.80 มาก

1.4 การจดั ลาดับขัน้ ตอนของการจัดกิจกรรม 19 49 19 0 0 ระดบั

(22.62) (58.33) (22.62) (0.00) (0.00) 4.14 มาก

ภาพรวม ระดบั
4.07 มาก

จากตารางท่ี 2 พบวา่
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อกระบวนการ ข้ันตอนการให้บริการโดย

ภาพรวม อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉลยี่ 4.07 และเมือ่ พิจารณาเรียงลาดบั เปน็ รายประเดน็ จากมากไปหาน้อย พบว่า
ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจต่อความเหมาะสมของสถานที่ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.25 รองลงมาตามลาดับ
คือ พึงพอใจต่อการจัดลาดับข้ันตอนของการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.14 ความเหมาะสมของ
ระยะเวลา อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.10 และพึงพอใจต่อความเหมาะสมของช่วงเวลา อยู่ในระดับมาก
ค่าเฉล่ีย 3.80

22

2. ด้านวทิ ยากร
ตารางท่ี 3 แสดงความพึงพอใจตอ่ วิทยากร

ระดับความคดิ เห็น ค่า การ

หัวข้อ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย เฉลยี่ แปรผล
ที่สุด กลาง ทส่ี ุด

2.1 ความรอบรู้ ในเนื้อหาของวทิ ยากร 19 56 9 0 0 ระดับ

(22.62) (66.67) (10.71) (0.00) (0.00) 4.12 มาก

2.2 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 21 48 14 1 0 ระดับ

(25.00) (57.14) (16.67) (1.19) (0.00) 4.06 มาก

2.3 การเปิดโอกาสใหซ้ ักถามแสดงความ 21 44 13 6 0 ระดับ
คิดเห็น (25.00) (52.38) (15.48) (7.14) (0.00) 3.95 มาก

2.4 การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ 17 38 24 5 0 ระดับ

(20.24) (45.24) (28.57) (5.95) (0.00) 3.80 มาก

ภาพรวม 3.98 ระดับ
มาก

จากตารางท่ี 3 พบว่า
ผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อวิทยากร โดยภาพรวมอย่ใู นระดับมาก คา่ เฉล่ยี 3.98 และ

เมอื่ พจิ ารณาเรียงลาดับเป็นรายประเด็นจากมากไปหาน้อย พบวา่ ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมมีความพอใจต่อความรอบรู้ ใน
เน้ือหาของวิทยากร อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.12 รองลงมาตามลาดับคือ พอใจต่อความสามารถในการถ่ายทอด
ความรู้ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.06 พอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถามแสดงความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย
3.95 และพอใจต่อการสร้างบรรยากาศในการเรยี นรู้ อยูใ่ นระดับมาก คา่ เฉลี่ย 3.80

23

3. เจ้าหนา้ ทผี่ ้ใู ห้บริการ/ผ้ปู ระสานงาน (ของหน่วยงานทจี่ ัด)
ตารางที่ 4 แสดงความพึงพอใจต่อเจ้าหนา้ ท่ีผู้ให้บริการ/ผ้ปู ระสานงาน(ของหน่วยงานที่จดั )

ระดบั ความคดิ เหน็ ค่า การ

หวั ข้อ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เฉลย่ี แปรผล
3.1 การแตง่ กาย ทส่ี ดุ กลาง ทีส่ ุด
3.2 ความสภุ าพ
3.3 การตอบคาถาม 22 46 15 1 0 ระดบั
3.4 การประสานงาน
(26.19) (54.76) (17.86) (1.19) (0.00) 4.06 มาก

27 46 10 1 0 ระดบั

(32.14) (54.76) (11.90) (1.19) (0.00) 4.18 มาก

21 51 11 1 0 ระดับ

(25.00) (60.71) (13.10) (1.19) (0.00) 4.10 มาก

23 46 15 0 0 ระดับ

(27.38) (54.76) (17.86) (0.00) (0.00) 4.10 มาก

ภาพรวม 4.11 ระดบั
มาก

จากตารางที่ 4 พบวา่
ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมสว่ นใหญม่ คี วามพึงพอใจต่อเจา้ หน้าท่ผี ้ใู หบ้ ริการ/ผู้ประสานงาน (ของหนว่ ยงาน

ท่ีจัด) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.11 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับเป็นรายประเด็นจากมากไปหา
น้อย พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพอใจต่อความสุภาพของเจ้าหน้าท่ีผู้ให้บริการ/ผู้ประสานงาน อยู่ใน
ระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.18 รองลงมาตามลาดับคือ พอใจต่อการตอบคาถามและการประสานงานเจ้าหน้าท่ีผู้
ให้บริการ/ผู้ประสานงาน (ของหน่วยงานที่จัด) มีค่าเท่ากัน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.10 และพอใจต่อการ
แตง่ กายเจา้ หนา้ ทผ่ี ู้ให้บรกิ าร/ผู้ประสานงาน อยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ีย 4.06

24

4. การอานวยความสะดวก(ของหน่วยงานที่จดั )
ตารางท่ี 5 แสดงความพึงพอใจตอ่ การอานวยความสะดวก(ของหนว่ ยงานทจ่ี ัด)

ระดับความคดิ เห็น ค่า การ

หัวข้อ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย เฉลยี่ แปรผล
4.1 เอกสาร ทีส่ ุด กลาง ท่ีสุด
4.2 โสตทัศนูปกรณ์
4.3 เจา้ หนา้ ทส่ี นับสนนุ 12 37 30 5 0 ระดบั
4.4 อาหาร,เคร่อื งด่มื และสถานท่ี
(14.29) (44.05) (35.71) (5.95) (0.00) 3.67 มาก

19 44 19 2 0 ระดบั

(22.62) (52.38) (22.62) (2.38) (0.00) 3.95 มาก

19 55 9 1 0 ระดบั

(22.62) (65.48) (10.71) (1.19) (0.00) 4.10 มาก

17 46 16 5 0 ระดบั

(20.24) (54.76) (19.05) (5.95) (0.00) 3.89 มาก

ภาพรวม 3.90 ระดับ
มาก

จากตารางท่ี 5 พบวา่
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการอานวยความสะดวก (ของหน่วยงานท่ีจัด) โดย

ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก คา่ เฉล่ยี 3.90 และเม่ือพจิ ารณาเรยี งลาดับเปน็ รายประเด็นจากมากไปหาน้อย พบว่า
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพอใจต่อเจ้าหน้าที่สนับสนุน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.10 รองลงมาตามลาดับ
คือ พอใจต่อโสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 3.95 พึงพอใจต่ออาหาร,เคร่ืองด่ืมและสถานท่ี อยู่ใน
ระดบั มาก ค่าเฉลยี่ 3.89 และพอใจต่อเอกสารประกอบการฝกึ อบรม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ยี 3.67

25

5. คุณภาพการให้บรกิ าร
ตารางท่ี 6 แสดงความพึงพอใจตอ่ คณุ ภาพการให้บริการ

ระดับความคดิ เหน็ ค่า การ

หัวข้อ มาก มาก ปาน น้อย น้อย เฉลย่ี แปรผล
ท่สี ดุ กลาง ทส่ี ุด

5.1 ทา่ นไดร้ ับความรู้ แนวคิด ทักษะและ 22 54 8 0 0 ระดับ

ประสบการณ์ใหม่ ๆ จากโครงการ/กิจกรรมนี้ (26.19) (64.29) (9.52) (0.00) (0.00) 4.17 มาก

5.2 ท่านสามารถนาสิ่งที่ได้รับจากโครงการ/ 24 51 9 0 0 ระดับ

กจิ กรรมนี้ไปใช้ในการเรยี น/การปฏบิ ตั งิ าน (28.57) (60.71) (10.71) (0.00) (0.00) 4.18 มาก

5.3 สิง่ ทท่ี า่ นไดร้ บั จากโครงการ/กจิ กรรมคร้งั นี้ 26 43 14 1 0 ระดบั

ตรงตามความคาดหวงั ของท่านหรือไม่ (30.95) (51.19) (16.67) (1.19) (0.00) 4.12 มาก

5.4 สดั สว่ นระหวา่ งการฝึกอบรมภาคทฤษฎกี บั 18 49 14 2 1 ระดับ

ภาคปฏิบัติ (ถ้าม)ี มีความเหมาะสม (21.43) (58.33) (16.67) (2.38) (1.19) 3.96 มาก

5.5 ประโยชน์ทที่ า่ นไดร้ ับจากโครงการ/ 24 53 6 1 0 ระดับ

กจิ กรรม (28.57) (63.10) (7.14) (1.19) (0.00) 4.19 มาก

ภาพรวม 4.12 ระดบั
มาก

จากตารางท่ี 6 พบว่า
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ

มาก ค่าเฉลี่ย 4.12 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับเป็นรายประเด็นจากมากไปหาน้อย พบว่า ผู้เข้ารับการ
ฝกึ อบรมมีความพอใจตอ่ ประโยชน์ที่ทา่ นไดร้ บั จากโครงการ/กิจกรรม อยู่ในระดบั มาก ค่าเฉล่ีย 4.19 รองลงมา
ตามลาดับคือ พอใจต่อท่านสามารถนาสิ่งท่ีได้รับจากโครงการ/กิจกรรมน้ีไปใช้ในการเรียน/การปฏิบัติงาน อยู่
ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.18 พึงพอใจต่อท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ ๆ จาก
โครงการ/กิจกรรมน้ี อยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉล่ีย 4.17 พึงพอใจตอ่ สิ่งทีท่ ่านไดร้ ับจากโครงการ/กจิ กรรมครงั้ นี้ตรง
ตามความคาดหวังของท่านหรือไม่ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.12 และพอใจต่อสัดส่วนระหว่างการฝึกอบรม
ภาคทฤษฎกี บั ภาคปฏิบตั ิ (ถา้ ม)ี มคี วามเหมาะสม อยู่ในระดับมาก มีคา่ เฉล่ีย 3.96

26

6. ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ
ตารางที่ 7 แสดงความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ

ระดับความคดิ เห็น คา่ การ

หัวข้อ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เฉลย่ี แปรผล
ที่สดุ กลาง ท่ีสดุ
ความพงึ พอใจของท่านต่อภาพรวมของ
โครงการ 22 44 16 2 0 ระดับ

(26.19) (52.38) (19.05) (2.38) (0.00) 4.02 มาก

ภาพรวม 4.02 ระดบั
มาก

จากตารางที่ 7 พบว่า
ผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมสว่ นใหญม่ ีความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ อยู่ในระดับมาก คา่ เฉลยี่

4.02

ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ
3.1 สิ่งทท่ี ่านพึงพอใจในการการรว่ มโครงการ/กิจกรรมครั้งนี้
1.1 กระบวนการมสี ่วนร่วม
1.2 วิทยากรครพู าทา ประจาฐานเรียนรู้
1.3 ความครบถว้ นด้านวชิ าการ
1.4 บรรยากาศเปน็ กันเอง
1.5 ไดล้ งมอื ปฏิบตั ิในพน้ื ท่ีจรงิ
1.6 การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
1.7 วทิ ยากรมคี วามรู้ ประสบการณ์ และความต้งั ใจสงู
1.8 ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนอุบลราชธานี มีโคก หนอง นา ต้นแบบ
1.9 การนาความไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวัน
1.10 การเตรียมความพร้อมด้านอุปกรณใ์ นการฝกึ ปฏบิ ัติ

3.2 สง่ิ ที่ควรเสนอแนะ นาไปพัฒนาการจัดโครงการ/กิจกรรมครัง้ ตอ่ ไป
2.1 การรักษาเวลา การปรบั ระยะเวลาให้เหมาะสม กระชับ
2.2 เอกสารประกอบการฝึกอบรมควรครอบคลุมหลักสูตร
2.3 ตารางการฝึกอบรมไม่ควรแน่นเกินไป
2.4 ใช้เวลาเรยี นรวู้ ชิ าการ ทฤษฎีมากเกนิ ไป
2.5 การประสานงานของวิทยากรตอ้ งชัดเจน

ภาคผนวก

- ภาพกจิ กรรมการฝึกอบรมฯ
- รายชอื่ กลมุ่ เปา้ หมาย
- ตารางการฝึกอบรมฯ
- แบบประเมนิ โครงการ

28

ประมวลภาพกจิ กรรม
โครงการพัฒนาพ้นื ท่ีต้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่

ประยุกต์สู่ "โคก หนอง นา โมเดล"
กิจกรรมท่ี 1 ฝกึ อบรมเพ่มิ ทักษะระยะส้ันการพัฒนากสิกรรมสูร่ ะบบเศรษฐกิจพอเพียง

รปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล
ผูอ้ านายการกล่มุ งานฯ , พัฒนาการอาเภอ

29

ลงทะเบยี น/ปฐมนเิ ทศ

30

พิธเี ปดิ /มอบนโยบาย

31

กิจกรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์ แบ่งกลมุ่ มอบภารกิจ

เรียนรตู้ าราบนดิน : กจิ กรรมเดนิ ชมพนื้ ที่ 32

"เข้าใจ เขา้ ถงึ พัฒนา ศาสตรพ์ ระราชากับการพฒั นาท่ียงั่ ยืน 33

34

การแปลงปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง สู่การปฏิบัตแิ บบเป็นข้ันเปน็ ตอน

35

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง "ทฤษฎีบนั ได 9 ข้นั สู่ความพอเพยี ง

36

กิจกรรมเคารพธงชาติ

37

"หลกั กสกิ รรมธรรมชาติ"

38

ฝกึ ปฏิบัติ "ฐานคนมนี า้ ยา"

ฝึกปฏบิ ตั ิ "ฐานคนรักษ์สขุ ภาพ" 39

40

ฝกึ ปฏิบตั ิ "ฐานคนมไี ฟ"

41

ฝกึ ปฏิบัติ "ฐานคนเอาถา่ น"

42

ฝึกปฏบิ ตั ิ "ฐานคนรักษแ์ ม่ธรณ"ี

43

ฝึกปฏิบตั ิ "ฐานคนรกั ษ์โลกพระแมโ่ พสพ"


Click to View FlipBook Version