The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติงานการเงินและการบันทึกรายการควบคุมเงินของสถานศึกษาตามระบบการควบคุมเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ.2544

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ratchanok-suri, 2022-03-05 00:51:33

คู่มือการปฏิบัติงานการเงินและการบันทึกรายการควบคุมเงินของสถานศึกษาตามระบบการควบคุมเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ.2544

คู่มือการปฏิบัติงานการเงินและการบันทึกรายการควบคุมเงินของสถานศึกษาตามระบบการควบคุมเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ.2544

คมู่ อื

การปฏบิ ตั ิงานการเงินและการบนั ทึกรายการ
ควบคุมเงินของสถานศกึ ษา

ตามระบบการควบคมุ เงินของหน่วยงานยอ่ ย พ.ศ.2544

เอกสารลาดับที่ 10 / 2560
หน่วยตรวจสอบภายใน

สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1

คานา

ตามโครงสร้างของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ได้กาหนดให้
มีหน่วยตรวจสอบภายใน เพื่อทาหน้าที่ตรวจสอบ ติดตาม และให้คาปรึกษาแก่สถานศึกษา
และหน่วยงานในสงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา หนว่ ยตรวจสอบภายในจงึ ได้จดั ทาคู่มือการ ปฏิบัติงาน
การเงิน และการบันทึกรายการควบคุมเงินของสถานศึกษา ตามระบบการควบคุมเงินของหน่วยงานย่อย
พ.ศ. 2544 เพ่ือเป็นเคร่ืองมือแก่สถานศึกษาที่มีอัตรากาลังจากัด ไม่มีบุคลากรที่มีคุณวุฒิทางการเงิน การ
บัญชี สามารถใช้คู่มือนี้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ข้าราชการ
ครูทีป่ ฏบิ ตั ิงานการเงนิ และบญั ชีมเี วลากับภารกจิ หลักของสถานศึกษา

หนว่ ยตรวจสอบภายในหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน
ของผู้ท่ีมีหน้าท่ีดาเนินการด้านการเงินและบัญชีในสถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้องให้สามารถปฏิบัติงานได้ดี
ยิง่ ขนึ้

อมั พร สาระพนั ธ์
ผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน

สารบัญ

หนา้

คานา

การควบคมุ เงนิ ของหน่วยงานยอ่ ย

คานิยาม 1

วัตถุประสงค์ 1

ประโยชน์ 1

ขอบเขตความรับผดิ ชอบดา้ นการเงินของหน่วยงานย่อย 1

กระบวนการดาเนนิ งานการเงนิ ในสถานศึกษา 2

เงนิ งบประมาณ 3

เงินนอกงบประมาณ 4

 แผนผังการใชจ้ า่ ยเงินอดุ หนุนของสถานศกึ ษา 5

 เงนิ อุดหนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

รายการคา่ จดั การเรียนการสอน (เงนิ อุดหนุนรายหัว) 6

 เงินอุดหนนุ ค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

รายการค่าจดั การเรยี นการสอน (เงนิ อุดหนนุ ปัจจยั พ้ืน

ฐานสาหรบั นกั เรยี นยากจน) 8

 เงินอดุ หนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

รายการคา่ จัดการเรียนการสอน (เงนิ อุดหนุนคา่ อาหาร

นกั เรียนประจาพักนอน) 9

 เงินอุดหนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 15 ปี

โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย (คา่ หนังสอื เรยี น, คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น,

ค่าเครื่องแบบนักเรยี น, คา่ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน) 10

 การยมื เงินอุดหนนุ 15

 เงินรายไดส้ ถานศกึ ษา 16

 เงนิ ภาษหี กั ณ ท่ีจ่าย 20

 เงินลกู เสือ 21

 เงินเนตรนารี 22

 เงนิ ยวุ กาชาด 22

 เงินประกันสญั ญา 22

 เงนิ ประกนั ซอง 24

เงินรายได้แผ่นดิน 24

การบควบคมุ ภายในด้านการเงิน หน้า
ขอ้ กาหนดในการรับเงิน
ข้อกาหนดในการจา่ ยเงิน 26
ข้อกาหนดในการเก็บรักษาเงิน 26
ขอ้ กาหนดในการควบคุมและตรวจสอบ 28
ขอ้ กาหนดในการจดั ทาและส่งรายงาน 28
29

การบนั ทกึ รายการในทะเบยี นคุมเงนิ

เอกสาร / หลกั ฐานท่ีใช้ประกอบการบันทกึ รายการ 30

การบันทกึ รายการในทะเบยี น 31

 ทะเบียนคมุ หลกั ฐานขอเบิก 31

 ทะเบยี นคมุ เงินนอกงบประมาณ 32

 ทะเบียนคมุ เงนิ นอกงบประมาณ (มีการยมื เงนิ ) 32

 ทะเบียนคมุ เงนิ นอกงบประมาณ (เงนิ ฝาก) 33

 สมุดคมู่ อื ฝาก 33

 ทะเบียนคมุ การรับและนาสง่ เงนิ รายได้แผ่นดิน 34

 ทะเบยี นคมุ เงินฝากและกระแสรายวนั 34

 รายงานเงนิ คงเหลือประจาวนั 35

แบบฟอร์มทะเบยี นคุมต่าง

 ทะเบยี นคมุ หลกั ฐานขอเบิก 36

 ทะเบยี นคมุ เงินนอกงบประมาณ 37

 ทะเบยี นคมุ เงินนอกงบประมาณ (มกี ารยืมเงิน) 38

 ทะเบียนคมุ เงินนอกงบประมาณ (โครงการอาหารกลางวัน) 39

 ทะเบยี นคุมเงินนอกงบประมาณ (เงินฝาก) 40

 สมดุ คฝู่ าก 41

 ทะเบียนคุมการรับและนาส่งเงนิ รายไดแ้ ผน่ ดิน 42

 ทะเบยี นคุมเงนิ ฝากธนาคารประเภทและกระแสรายวัน 43

 รายงานเงินคงเหลือประจาวัน 44

สรปุ การจัดทาบญั ชตี ามระบบควบคมุ การเงินหนว่ ยงานยอ่ ย

การควบคมุ เงินของหน่วยงานยอ่ ย
ตามระบบการควบคุมเงนิ ของหน่วยงานยอ่ ย พ.ศ.2544

คานยิ าม
“หน่วยงานย่อย” คือส่วนราชการท่ีมีการจัดเก็บและนาส่งเงินรายได้แผ่นดิน และ/หรือมีการ

เบิกจ่ายเงินงบประมาณ ซึ่งมิได้เบิกตรงต่อกรมบัญชีกลาง หรือสานักงานคลังจังหวัด เช่น แผนกต่าง ๆ
ประจาอาเภอ หรือกิ่งอาเภอ สถานีตารวจ สถานีอนามัย โรงเรียนต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
วิทยาลัยและโรงพยาบาลต่าง ๆ ในส่วนกลาง เป็นต้น ทั้งน้ีไม่รวมถึงหน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบบริหารราชการสว่ นทอ้ งถิ่น

วตั ถปุ ระสงค์
ระบบการควบคุมเงินน้ีมุ่งท่ีจะช่วยให้หน่วยงานย่อย (สถานศึกษา) ซึ่งมีอัตรากาลังจากัด ไม่มี

บุคลากรท่มี คี ุณวุฒิทางบญั ชี และมกี ารใช้จ่ายเงินไมม่ าก ไม่ต้องมีภาระทางบัญชี เพื่อให้มีเวลากับภารกิจ
หลกั ของสถานศึกษาไดเ้ ต็มท่ี

ประโยชน์
1. ทาให้สะดวกในการควบคุมและตรวจสอบ
2. ทาให้มกี ารแบ่งงานและความรับผิดชอบอยา่ งมสี ัดส่วน
3. ทาใหส้ ามารถพิสูจน์ความถกู ตอ้ งในการปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ท่ี
4. ทาให้สามารถจัดทารายงานการเงนิ ได้รวดเร็ว

ขอบเขตความรบั ผดิ ชอบดา้ นการเงนิ ของหนว่ ยงานย่อย
1. การเบิก - จ่ายเงนิ งบประมาณ ใหส้ ถานศึกษารวบรวมหลกั ฐานการขอเบิกเงินงบประมาณจาก

เจ้าหน้ีหรือผู้มีสิทธิ ส่งให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตรวจสอบความถูกต้อง ก่อนเบิกเงินจาก
สานักงานคลังจังหวัด และจ่ายเงินให้เจ้าหน้ีหรือผู้มีสิทธิโดยตรง หรือใช้วิธีโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝาก
ธนาคารของเจา้ หนี้ หรือผมู้ สี ิทธิแล้วแต่กรณี

2. การรับ - นาส่งเงินรายได้แผ่นดิน ให้สถานศึกษารับและนาส่งสานักงานคลังจังหวัดโดยตรง
หรือนาฝากเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของส่วนราชการผู้เบิก หรือนาส่งสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และ
ใหร้ ายงานการรับและนาส่ง หรือนาฝากเงนิ ใหส้ ว่ นราชการผเู้ บิกทราบ

3. การรับ - จ่ายเงินนอกงบประมาณ การรับและนาส่งหรือนาฝากเงินนอกงบประมาณ
ให้ปฏิบัติทานองเดียวกับเงินรายได้แผ่นดิน สาหรับเงินนอกงบประมาณท่ีสถานศึกษาได้รับ และ
สามารถเก็บไว้ใช้ตามวัตถุประสงค์ของเงินนอกงบประมาณน้ัน ๆ ให้บันทึกควบคุมและรายงานตาม
วิธีการและรูปแบบทก่ี าหนด

2

กระบวนการปฏบิ ตั ิงานการเงนิ ในสถานศึกษา
ระบบควบคมุ การเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2544 ไม่ใช่ระบบบญั ชี แตเ่ ปน็ ระบบท่ีจัดทาขน้ึ

เพ่ือควบคมุ เงนิ ในสถานศึกษา ระบบดังกล่าวกาหนดใหจ้ ัดทาทะเบยี นคมุ เงินแทนสมดุ เงินสด โดย
กระบวนการในการควบคมุ เป็นดังน้ี

ระบบการควบคมุ เงนิ ของหน่วยงานย่อย พ.ศ.2544

การบันทึกควบคมุ เงนิ

เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินรายไดแ้ ผน่ ดนิ

ทะเบียนคมุ รับ จ่าย รับ/นาสง่
หลักฐานขอเบกิ ทะเบยี นคมุ
ใบสาคญั คจู่ ่าย ทะเบียนคุมการรบั
สง่ เบิก สพป. และนาส่ง เงิน
สพป.ชลบุรี เขต 1 ทะเบยี นคุมเงนิ นอกงบประมาณ รายไดแ้ ผ่นดิน
ประเภท......................................
เจ้าหนี/้ ผูม้ ีสทิ ธริ บั
เงนิ (แยกคุมตามประเภทการรับ-จา่ ย)

สพป.ชลบรุ ี เขต 1 แจง้ สถานศึกษาทราบ รายงานเงนิ คงเหลอื ประจาวัน
หลังจากจา่ ยเงนิ ใหเ้ จา้ หน/้ี ผมู้ สี ทิ ธริ ับเงิน

3

เงินท่สี ถานศกึ ษาไดร้ บั แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ดังน้ี
1. เงนิ งบประมาณ
2. เงินนอกงบประมาณ
3. เงนิ รายได้แผ่นดิน

เงินงบประมาณ

หมายถงึ เงินท่สี ่วนราชการได้รับตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจา่ ยประจาปี หรือเบกิ จ่าย
ในรายจา่ ยงบกลาง รายจ่ายตามงบประมาณจาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่

1. เงินงบประมาณรายจา่ ยของส่วนราชการและรัฐวสิ าหกิจ ได้แก่
1.1 งบบุคลากร
1.2 งบดาเนนิ งาน
1.3 งบลงทุน
1.4 งบเงินอุดหนุน
1.5 งบรายจ่ายอื่น

2. เงินงบประมาณรายจ่ายงบกลาง ได้แก่
2.1 เงนิ เบี้ยหวัดบาเหน็จบานาญ
2.2 เงินชว่ ยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ
2.3 เงินสวสั ดิการค่ารกั ษาพยาบาล/การศกึ ษาบตุ ร/เงินช่วยเหลือบตุ ร
2.4 เงินสารองเงินสมทบและเงินชดเชยข้าราชการ
2.5 เงนิ เล่ือนขัน้ เล่อื นอันดับเงินเดอื นและเงนิ ปรับวุฒิข้าราชการ

สาหรบั เงนิ งบประมาณ สถานศึกษาวางเบิกโดยใช้หนังสือราชการส่งเร่ืองเบิกและสานักงานเขต
พื้นท่กี ารศกึ ษา จะทาหน้าที่เบิกจ่ายเงินให้เจ้าหน้ีหรือผู้มีสิทธิรับเงินแทนสถานศึกษา เม่ือสถานศึกษาส่ง
เอกสารและหลักฐาน เพ่ือเบิกกับสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ให้บันทึกรายการในทะเบียนคุมหลักฐาน
ขอเบกิ

4

เงนิ นอกงบประมาณ

หมายถึง เงินที่กฎหมายกาหนดไม่ต้องนาส่งเป็นเงินรายได้แผ่นดิน หรือเงินท่ีได้รับอนุญาตให้
เก็บไว้ใช้จ่ายได้ตามพระราชบัญญัติ วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24 ซึ่งสถานศึกษาจะได้รับ
ดังนี้

1. เงินอุดหนนุ ทั่วไป
2. เงินรายได้สถานศกึ ษา
3. เงนิ ภาษหี ัก ณ ทจ่ี ่าย
4. เงนิ ลกู เสือ
5. เงนิ เนตรนารี
6. เงนิ ยุวกาชาด
7. เงนิ ประกันสญั ญา
8. เงนิ ประกนั ซอง

1. เงินอดุ หนนุ ทั่วไป เนอ่ื งจากมีบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

2550 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้
บญั ญตั เิ ก่ยี วกับสิทธิและหนา้ ทีท่ างการศกึ ษา มาตรา 10 วรรคหนึ่ง ได้บัญญัติไว้ว่า “การจัดการศึกษาต้อง
จดั ใหบ้ คุ คลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้
อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” โดยให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนท่ัวไป เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายใน
การจดั การศกึ ษาสาหรับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 15 ปี เป็นรายคนที่เหมาะสมแก่ผู้เรียน ท้ังสถานศึกษาของ
รฐั และเอกชน เงินอุดหนุนทส่ี านกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (สพฐ.) จัดสรรให้สถานศึกษา
มดี งั น้ี

1.1 เงินอดุ หนุนค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน รายการคา่ จดั การเรยี นการสอน
(เงินอดุ หนุนรายหัว)

1.2 เงนิ อดุ หนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน รายการค่าจดั การเรียนการสอน
(เงินอุดหนนุ ปัจจยั พน้ื ฐานสาหรบั นักเรียนยากจน)

1.3 เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน
(เงนิ อุดหนุนค่าอาหารนักเรยี นประจาพกั นอน)

1.4 เงินอุดหนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 15 ปี โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จ่าย
(ค่าหนังสือเรียน, ค่าอุปกรณก์ ารเรยี น, คา่ เครอ่ื งแบบนกั เรยี น, ค่ากจิ กรรมพัฒนา
คุณภาพผเู้ รียน)

การใช้จา่ ย

เงนิ อุดหนุนรายหวั เงนิ อดุ หนุนปัจจัยพื้นฐานฯ เงิน

งบบุคลากร ค่าอาหาร
- คา่ จา้ งชั่วคราว 1. จดั ซ้ือวัตถดุ บิ

(1) จา้ งครชู ่วยสอน มาประกอบอาหาร
(2) จ้างนักการภารโรง 2. จา้ งเหมาทาอาหาร
(3) จา้ งคนสวน 3. จ่ายเงนิ สดให้นักเรียน

ฯลฯ ค่าเสื้อผา้ และวสั ดเุ ครอื่
1. จัดซื้อ
งบดาเนินงาน 2. จดั จา้ งเหมาตดั เยบ็ เส้ือ
- ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย
คา่ วสั ดุ และค่าสาธารณูปโภค ค่าหนังสือและอุปกรณก์ า
- จัดซ้อื แจกนักเรยี น
งบลงทุน
- คา่ ครภุ ัณฑ์ ค่าพาหนะ
- คา่ ท่ดี นิ และสิ่งก่อสรา้ ง 1. จ้างเหมารถรบั - สง่ น
2. จา่ ยเป็นเงินสดให้นกั เ

ยเงนิ อดุ หนุนของสถานศกึ ษา

นอดุ หนุนค่าอาหารนกั เรยี นประจาพกั นอน เงนิ อดุ หนุนคา่ ใช้จา่ ย 15 ปี
โดยไม่เก็บคา่ ใช้จ่าย
น คา่ อาหาร
องแต่งกาย 1. จดั ซอ้ื วัตถดุ บิ ค่าหนงั สือเรยี น
อผา้ - ให้ยมื เรยี น
ารเรยี น มาประกอบอาหาร
2. จ้างเหมาทาอาหาร ค่าเครอ่ื งแบบนกั เรยี น
3. จา่ ยเงินสดให้นักเรยี น - แจกเงินสดให้นักเรียน/ผ้ปู กครอง

นักเรยี น ค่าอุปกรณ์การเรียน
เรยี น - จ่ายเงนิ สดให้นกั /ผู้ปกครอง

คา่ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
1. กิจกรรมวชิ าการ
2. กจิ กรรมคุณธรรมจริยธรรม

ลกู เสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ฯลฯ
3. กจิ กรรมทศั นศกึ ษา
4. การให้บริการ ICT





6

1.1 เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน
(เงนิ อุดหนุนรายหัว) จัดสรรให้สถานศึกษา เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้ได้ประโยชน์สูงสุดใน
การพัฒนานักเรียน ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 โดยสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเป็นผู้โอนเงินตรงให้กับสถานศึกษา ในปี พ.ศ. 2550 คณะรัฐมนตรีมี
มติอนุมัติหลักการ ให้ปรับอัตราเงินอุดหนุนรายหัวเพ่ิมข้ึน โดยจะทยอยปรับเพ่ิมให้ครบอัตราที่กาหนด
ภายในระยะเวลา 3 ปี การศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนือ่ งตง้ั แตป่ กี ารศึกษา 2553 ใช้อตั ราดงั กล่าวจนถึงปัจจบุ ัน ดงั นี้

อตั ราเงินอุดหนุนค่าใชจ้ ่ายรายหัวที่ปรับเพ่มิ ภายใน 3 ปี

อัตราเดมิ ปกี ารศกึ ษา (ตอ่ คน/ปีการศกึ ษา)

ระดับสถานศึกษา (ตอ่ คน/ อัตราใหม่ ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553-
ปีการศกึ ษา) ปจั จบุ ัน
ก่อนประถมศึกษา (ต่อคน/
ประถมศกึ ษา ปกี ารศึกษา)
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 600 1,700 783 1,149 1,516 1,700

1,100 1,900 1,233 1,499 1,766 1,900

1,800 3,500 2,083 2,649 3,216 3,500

2,700 3,800 2,883 3,249 3,616 3,800

และจัดสรรเพมิ่ เติมให้อกี สาหรับโรงเรยี นขนาดเลก็ ดังนี้
- โรงเรียนประถมศกึ ษาขนาดเล็กท่ีมีนกั เรยี น 120 คนลงมา จดั เพ่ิมอีก 250 บาท/คน/ภาคเรยี น
(500 บาท/คน/ปี)
- โรงเรียนมธั ยมศึกษาขนาดเลก็ ท่มี ีนักเรยี น 300 คนลงมา จดั เพ่ิมอีก 500 บาท/คน/ภาคเรียน
(1,000 บาท/คน/ป)ี
- โรงเรียนขยายโอกาสท่มี นี กั เรียน 300 คนลงมา จดั เพิม่ อกี 500 บาท/คน/ภาคเรยี น
(1,000 บาท/คน/ปี)

7

การใช้จ่ายเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน สถานศึกษาต้องถือปฏิบัติตามระเบียบ
ท่ีกระทรวงการคลังกาหนด ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด ท่ี กค 0409.6/ว 126 ลงวันที่ 7
กันยายน 2548 และหลักเกณฑ์ท่ีสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกาหนด ตามหนังสือ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ี ศธ 04006/2279 ลงวันท่ี 16 ธันวาคม 2548 เร่ือง
หลักเกณฑแ์ ละแนวปฏิบัตกิ ารใช้จ่ายงบประมาณ งบเงนิ อุดหนนุ มสี าระสาคัญดงั น้ี

1. เมื่อสถานศึกษาได้รับเงินอุดหนุนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของสถานศึกษาเรียบร้อยแล้ว
สถานศึกษาต้องใช้จ่ายเงินภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลืออยู่และยังไม่สิ้นสุดโครงการให้รีบ
ดาเนินการเสร็จส้ินอย่างช้าภายในปีงบประมาณถัดไป เช่น ได้รับเงินงบประมาณปี 2557 สถานศึกษา
สามารถใช้จา่ ยได้ 2 ปีงบประมาณ หมายถึง ภายในปีงบประมาณ 2557 และปีงบประมาณ 2558

2. สถานศึกษาใชจ้ ่ายเงนิ ไม่หมดตามระยะเวลาข้อ 1 เงินทเ่ี หลือตอ้ งสง่ คืนคลงั เป็นเงินรายได้
แผน่ ดนิ

3. ดอกเบยี้ ท่ีเกิดจากเงนิ ฝากธนาคาร สถานศึกษาตอ้ งนาสง่ คนื คลังเป็นเงินรายไดแ้ ผ่นดนิ
4. การจัดซ้อื /จ้าง ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และ
ทีแ่ ก้ไขเพม่ิ เตมิ
5. บันทึกรายการรบั - จา่ ยเงินในทะเบียนคมุ ที่เกยี่ วข้อง ตามระบบการควบคมุ เงินของหนว่ ยงาน
ย่อย พ.ศ. 2544
6. การใชจ้ ่ายเงินต้องเกิดประโยชนต์ อ่ นักเรียนเป็นลาดับแรก และใชจ้ ่ายให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑท์ ่ีสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกาหนด
7. หลกั ฐานการใช้จา่ ยเงิน ให้สถานศกึ ษาเปน็ ผู้เกบ็ รกั ษาไว้และสามารถเรียกตรวจสอบได้
แนวทางการใช้งบประมาณ
 เพ่ือใหก้ ารใชจ้ า่ ยเงนิ อดุ หนุนทัว่ ไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน รายการค่าจัดการเรยี นการสอน (เงินอุดหนนุ รายหัว) เกดิ ประโยชนต์ ่อการเรียนการสอนมาก
ท่ีสดุ ให้สถานศึกษาปฏบิ ตั ิ ดังน้ี
1. ใหส้ ถานศึกษาจดั ทาแผนปฏิบัตงิ านประจาปขี องสถานศึกษาทส่ี อดคล้องกับนโยบาย
และจดุ เน้นของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
2. เสนอแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปขี องสถานศกึ ษา ให้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
3. รายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษาให้สาธารณชนไดร้ ับทราบ
4. การใชจ้ า่ ยงบประมาณต้องสอดคล้องกบั แผนการปฏิบตั งิ านประจาปีของสถานศึกษา

8

ลักษณะการใช้งบประมาณ

 การใชง้ บประมาณงบเงินอุดหนนุ ทวั่ ไป เงินอุดหนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษา
ขั้นพ้ืนฐาน รายการค่าจัดการเรยี นการสอน (เงินอุดหนนุ รายหัว) ให้ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บของทางราชการท่ี
เกี่ยวข้อง โดยใหใ้ ช้ในลกั ษณะ 3 ประเภท งบรายจา่ ย ดงั นี้

1. งบบุคลากร เช่น ค่าจ้างครูอัตราจา้ งรายเดอื น จา้ งพนักงานขบั รถ ฯลฯ
2. งบดาเนินงาน

(1) ค่าตอบแทน เชน่ ค่าตอบแทนวทิ ยากร คา่ ตอบแทนวิทยากรวิชาชพี ท้องถนิ่ ฯลฯ
(2) คา่ ใชส้ อย เชน่ ค่าเบี้ยเล้ียง ค่าเชา่ ทพี่ กั คา่ พาหนะ คา่ จ้างซ่อมแซม ค่าจ้างเหมาบริการ
คา่ พาหนะพานักเรียนไปทัศนศกึ ษาแหลง่ เรยี นรู้ ฯลฯ
(3) คา่ วสั ดุ เช่น คา่ วัสดุการศึกษา คา่ เคร่ืองเขยี น คา่ วัสดุ คา่ วัสดเุ วชภัณฑ์ คา่ ซ่อมแซม
บารงุ รกั ษาทรพั ยส์ นิ ฯลฯ
(4) ค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้า คา่ ไฟฟา้ ค่าโทรศัพท์ ฯลฯ
3. งบลงทุน
(1) คา่ ครุภัณฑ์ เช่น จัดซือ้ อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ เครอ่ื งถ่ายเอกสาร ฯลฯ
(2) ค่าท่ีดินและสิ่งกอ่ สร้าง รายจ่ายเพอื่ ประกอบดัดแปลงต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดินและหรือ
สิง่ ก่อสร้าง ท่ีมีวงเงนิ เกินกวา่ 50,000 บาท เช่น ค่าจดั สวน ค่าถมดนิ ถนน รว้ั สะพาน บ่อน้า ฯลฯ
1.2 เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน
(เงินอุ ด หนุนปัจ จั ยพื้ นฐานส า หรั บ นักเรี ยนยา ก จ น) ไ ด้จัดส รรใ ห้แก่ ส ถ า นศึ ก ษ า ท่ี มี นักเรี ย นย า ก จน
(นักเรียนยากจน หมายถึง นักเรียน ที่ผู้ปกครองมีรายได้ต่อครัวเรือน ไม่เกิน 40,000 บาทต่อปี)
เพ่ือจดั หาปจั จยั พื้นฐานที่จาเปน็ ต่อการดารงชวี ิต และเพ่มิ โอกาสทางการศึกษา เป็นการช่วยเหลือนักเรียน
ท่ียากจน ตั้งแต่ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พนื้ ฐานจัดสรรและโอนเงินให้สถานศึกษาโดยตรง
เกณฑ์การจัดสรร โดยจัดสรรให้กับนักเรียนท่ียากจนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ยกเว้น สถานศึกษาสงั กดั สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ ดังน้ี
1. ระดับประถมศึกษา คนละ 500 บาท/ภาคเรียน
2. ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ คนละ 1,500 บาท/ภาคเรียน

9

ลกั ษณะการใช้งบประมาณ

การใช้จ่ายเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสาหรับนักเรียนยากจน ให้ใช้ในลักษณะแบบ
ถัวจา่ ย เปน็ ค่าหนังสือและอุปกรณก์ ารเรยี น ค่าเสื้อผ้าและเคร่ืองแต่งกายนักเรียน ค่าอาหารกลางวัน และ
ค่าพาหนะในการเดินทาง สถานศึกษาสามารถเลือกวิธีดาเนินการจ่ายหรือจัดหาปัจจัยพ้ืนฐาน ท่ี
จาเป็นตอ่ การดารงชีวติ และเพม่ิ โอกาสทางการศึกษาใหแ้ ก่นักเรียนยากจนได้ตามความเหมาะสม โดยให้
ดาเนินการจัดซื้อ/จัดจ้าง/จัดหา ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และ ที่
แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยให้ดาเนินการตามรายการ ดงั น้ี

1. ค่าหนังสือและอุปกรณก์ ารเรียน จัดซ้อื แจกจา่ ยให้แก่นกั เรียน หรือใหย้ มื ใช้
2. ค่าเส้ือผ้าและวัสดุเครื่องแต่งกายนักเรียน จัดซ้ือหรือจัดจ้างผลิตแจกจ่ายให้แก่
นักเรียน
3. ค่าอาหารกลางวนั จดั ซ้ือวัตถดุ ิบมาประกอบอาหาร หรือจ้างเหมาทาอาหาร หรือจ่าย
เป็นเงนิ สดใหแ้ กน่ ักเรียนโดยตรง
4. ค่าพาหนะในการเดินทาง จ่ายเป็นเงินสดให้แก่นักเรียนโดยตรง หรือจ้างเหมารถ
รับสง่ นกั เรยี น
กรณที ่จี ่ายเปน็ เงินสดใหแ้ ก่นักเรียนโดยตรง ให้สถานศึกษาแต่งต้งั คณะกรรมการ อย่าง
น้อย 3 คน ร่วมกนั จา่ ยเงิน โดยใชใ้ บสาคญั รับเงนิ เป็นหลักฐาน
1.3 เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน
(เงินอุดหนุนค่าอาหารนักเรียนประจาพักนอน) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
จัดสรรและโอนเงินผ่านสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เป็นงบประมาณท่ีจัดสรรให้แก่สถานศึกษาท่ีได้
ดาเนินการจัดที่พักให้แก่นักเรียน ซ่ึงมีถ่ินที่อยู่ไม่สะดวก ห่างไกล กันดาร ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการ
เดินทางไป - กลับ ระหว่างถิ่นที่อยู่กับสถานศึกษาและจาเป็นต้องพักอาศัยในสถานท่ีที่สถานศึกษาจัดให้
ท้งั ท่จี ดั ภายสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา โดยสถานศกึ ษาได้ดาเนินการควบคุมดูแลและจัดระบบแบบ
เต็มเวลา ต้ังแต่ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยจัดสรรให้นักเรียนพักนอนทุกคน
คนละ 4,000 บาท/ ภาคเรียน ยกเว้น
1. นักเรียนในสถานศึกษาทั่วไปแบบประจา ได้แก่โรงเรียน ภ.ป.ร ราชวิทยาลัย โรงเรียน
จุฬาภรณร์ าชวิทยาลัย โรงเรยี นประชามงคล โรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รติฯ จังหวัดน่าน ฯลฯ เป็นตน้
2. นักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ได้แก่ โรงเรียนศึกษา
สงเคราะห์ โรงเรียนการศกึ ษาพเิ ศษ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ
3. สถานศึกษาที่จัดหอพักในสถานศึกษา และเรียกเก็บเงินค่าอาหารนักเรียนประจาพักนอน
ทุกคนแล้ว กรณีที่ได้เรียกเก็บเงินไม่ครบทุกคน สามารถจัดสรรให้ได้เฉพาะจานวนนักเรียนส่วนท่ีเหลือ
และตอ้ งเป็นนักเรียนทเี่ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์ทก่ี าหนด

10

ลักษณะการใช้งบประมาณ

การใชจ้ ่ายเงนิ คา่ อาหารสาหรับนกั เรียนพกั นอน ใหส้ ถานศึกษาดาเนินการ ดังน้ี
1. ให้สถานศกึ ษาจา่ ยหรือจัดหาอาหารให้แก่นักเรียนประจาพักนอน โดยสามารถเลือก
วธิ ดี าเนินการได้ ดงั น้ี

(1) จัดซ้ือวัตถุดิบประกอบอาหารหรือจ้างเหมาทาอาหาร โดยให้ดาเนินการตาม
ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพ่ิมเตมิ

(2) จา่ ยเปน็ เงินสดให้แก่นักเรียน โดยให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย
3 คน ร่วมกันจา่ ยเงนิ โดยใช้ใบสาคัญรบั เงนิ เปน็ หลักฐาน

2. หากมีเงินงบประมาณคงเหลือ สามารถนาไปใช้จ่ายในรายการอ่ืนที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดหาอาหารให้แก่นักเรยี นได้

1.4 เงนิ อุดหนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 15 ปี โดยไมเ่ ก็บคา่ ใชจ้ ่าย
(คา่ หนงั สอื เรียน, คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น, ค่าเคร่ืองแบบนกั เรียน, ค่ากจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน)

เป็นเงินอุดหนุนเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเต็มตามศักยภาพ
ตามมติของคณะรัฐมนตรีเห็นชอบงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2552 แผนงานเสริมสร้างรายได้และ
พัฒนาคุณภาพชีวิตและความม่ันคงด้านสังคม เพื่อใช้จ่ายเป็นค่าเล่าเรียนเพิ่มเติม โดยสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน โอนเงินตรงใหก้ ับสถานศกึ ษา ซ่ึงมีแนวทางในการจัดซ้ือ จัดหาและ
จัดจ้าง ดังนี้

1.4.1 ค่าหนังสือเรียน สานักงานคณะกรรมการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานจะโอนเงิน เข้า
บญั ชเี งินฝากธนาคารของสถานศึกษา และให้สถานศึกษาจัดซ้ือหนังสือเรียนทุกระดับช้ันและแบบฝึกหัด
รายวิชาพื้นฐานเฉพาะ ป.1-ป.6 ใน 3 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ในการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน และเป็นค่าหนังสือเสริม
ประสบการณ์ในการศึกษาปฐมวัย เพื่อจัดสรรให้นักเรียนมีหนังสือใช้เรียนครบทุกคนโดยให้ดาเนินการ
ดังนี้

1. การคัดเลือกหนังสือเรียน ครูผู้สอน เป็นผู้คัดเลือกหนังสือเรียนเสนอให้คณะกรรมการ
บรหิ ารหลกั สูตรและวิชาการผา่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง
ผู้แทนชุมชนและผู้แทนกรรมการนักเรียน) และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยหนังสือเรียน
และแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐานพิจารณาคัดเลือกจากหนังสือที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐานหลักสูตรการศึกษา มีเน้ือหาสาระยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน ให้เลือกจากบัญชีกาหนด
ส่อื การเรียนรสู้ าหรบั เลอื กใชใ้ นสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2560

11

2. วธิ ีดาเนนิ การจดั ซอ้ื
2.1 ให้สถานศกึ ษาดาเนินการจัดซอื้ โดยถือปฏิบัติตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่า

ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม ดาเนินการโดยให้คานึงถึงคุณภาพท่ีเหมาะสมกับราคา
และให้ต่อรอง ราคาจากผู้ขายเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด และหากดาเนินการด้วยวิธีพิเศษตามระเบียบฯ
ขอ้ 23 (6)

กรณีหนังสือเรียนที่คัดเลือกมีความจาเป็นต้องระบุช่ือสานักพิมพ์และชื่อผู้แต่ง เป็น
การเฉพาะ ใหด้ าเนนิ การโดยเปดิ เผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม โดยให้
จัดทาหนังสือแจ้งให้ผู้มีอาชีพ ร้านค้า สานักพิมพ์ เข้าแข่งขันราคาให้มากท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ เม่ือมีผู้
เสนอราคาตา่ สดุ แล้ว หากเห็นวา่ ราคายังไม่เหมาะสมใหท้ าการตอ่ รองราคาให้มากทสี่ ุดเทา่ ทจ่ี ะทาได้

2.2 ให้สถานศึกษาเตรียมดาเนินการหาผู้ขายไว้ให้พร้อม เพื่อที่จะทาสัญญาได้ทันที
เมอื่ ได้รบั แจง้ อนุมตั กิ ารโอนเงินงบประมาณเข้าบัญชเี งินฝากธนาคารของสถานศึกษา

2.3 เม่ือได้รับเงินงบประมาณให้ตรวจสอบจานวนเงินที่ได้รับแจ้งการโอนเงิน
และจานวนเงนิ ในสมดุ คฝู่ ากธนาคารว่ามจี านวนเงนิ ที่ถกู ตอ้ งตรงกนั

2.4 ออกใบเสร็จรับเงินตามแบบของทางราชการ ในนามของสถานศึกษา โดยออก
ให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามจานวนเงินที่ได้รับส่งสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เพ่อื รวบรวมไว้เปน็ หลกั ฐาน

2.5 เม่ือดาเนินการจัดซื้อหนังสือเรียนเรียบร้อยแล้วให้สถานศึกษาลงบัญชีวัสดุ
หนงั สอื เรียน และใหน้ ักเรยี นลงชอื่ รบั หนงั สือไวเ้ ปน็ เปน็ หลกั ฐานเพอ่ื การตรวจสอบ

2.6 จัดระบบการยืมหนังสือเรียนให้แก่นักเรียนทุกคน และสามารถส่งต่อไปยัง
นักเรยี นรนุ่ ตอ่ ไป

2.7 การจัดซือ้ หนังสือเรียนจะต้องดาเนินการดว้ ยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
และใหท้ ันกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น

2.8 งบประมาณที่เหลือจากการจดั ซื้อหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน/รายวิชา
พนื้ ฐาน ใหแ้ กน่ ักเรียนทุกคนแลว้ สามารถนาไปจัดซอ้ื หนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ระดับปฐมวัย หนังสือ
เรยี นสาระการเรยี นรู้ เพิ่มเตมิ /รายวิชาเพิม่ เตมิ ที่เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รสถานศกึ ษาหรือ
จัดทาสาเนาเอกสารประกอบการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ ใบงาน ใบความรู้ เป็นต้น โดยผา่ นความเห็นชอบ
ร่วมกนั ของคณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย และคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

12

1.4.2 อุปกรณ์การเรียน สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานจะโอนเงนิ งบประมาณ
คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี นเข้าบัญชเี งินฝากธนาคารของสถานศกึ ษาโดยใหส้ ถานศกึ ษาจ่ายเงินสดให้กับนกั เรียน
และผู้ปกครอง เพ่ือนาไปเลอื กซ้ืออุปกรณ์การเรียนท่จี าเป็นตอ้ งใช้ในการเรยี นการสอนได้ ตามความ
ต้องการให้เหมาะสมกับนกั เรียนในแตล่ ะระดบั ช้ันโดยส่งผลต่อคณุ ภาพ ได้แก่ สเี ทียน สีนา้ ดินนา้ มัน
ไรส้ ารพิษ กรรไกรสาหรบั เดก็ ปฐมวนั กระดาษ สมุด ดินสอ ปากกา ยางลบ ไม้บรรทัด เครื่องมือ
เรขาคณิต วสั ดุฝึกตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ วสั ดุฝกึ อาชีพ วสั ดุดา้ น ICT กระเปา๋ นักเรียนฯลฯ
สถานศกึ ษาจะไดร้ ับจดั สรรค่าอปุ กรณก์ ารเรยี นในอัตรา ดังน้ี

1. ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา 100 บาท/คน/ภาคเรียน (200 บาท/คน/ป)ี

2. ระดับประถมศกึ ษา 195 บาท/คน/ภาคเรียน (390 บาท/คน/ปี)

3. ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น 210 บาท/คน/ภาคเรียน (420 บาท/คน/ป)ี

4. ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 230 บาท/คน/ภาคเรียน (460 บาท/คน/ป)ี

 โดยใหส้ ถานศกึ ษาดาเนนิ การ ดังน้ี

1. เม่ือสถานศึกษาได้รับเงินงบประมาณให้ตรวจสอบจานวนเงินท่ีได้รับแจ้งการโอนเงินและ

จานวนเงนิ ในสมุดคฝู่ ากของธนาคารวา่ มจี านวนเงนิ ทถี่ กู ต้องตรงกัน

2. สถานศกึ ษาออกใบเสร็จรบั เงนิ ตามแบบของทางราชการในนามของสถานศึกษาตามจานวน

เงนิ ท่ีได้รับสง่ สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาเพือ่ รวบรวมไว้เปน็ หลักฐาน

3. สถานศึกษาแต่งตั้งผู้จ่ายเงินอย่างน้อย 2 คน เพ่ือร่วมกันจ่ายเงินให้กับนักเรียนและ/หรือ

ผปู้ กครองโดยลงลายมือชือ่ รับเงิน กรณีนักเรียนไม่สามารถลงลายมือช่ือรับเงินได้ให้ผู้ปกครองลงลายมือ

ช่ือรบั เงนิ แทนเพื่อเก็บไวเ้ ปน็ หลกั ฐานการจา่ ยเงิน ตามแบบหลกั ฐานการจา่ ยเงนิ

4. สถานศึกษาแจ้งให้นักเรียนและ/หรือผู้ปกครองจัดซ้ือ จัดหาอุปกรณ์การเรียนได้ตามความ

ต้องการ ได้แก่ จัดซื้อจากสหกรณ์ ร้านค้า ชุมชน โดยดาเนินการให้ทันก่อนเปิดภาคเรียนสาหรับ

โรงเรยี นทห่ี า่ งไกลทรุ กันดาร โรงเรียนการศกึ ษาพิเศษ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ และศูนย์การศึกษาพิเศษ

ผ้ปู กครองหาซ้ือได้ลาบาก โรงเรียนสามารถดาเนินการช่วยเหลือในการจัดหาได้ โดยความเห็นชอบของ

คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

5. สถานศกึ ษาติดตามใบเสร็จรบั เงินหรอื หลกั ฐานการจัดหาอปุ กรณ์การเรียน จากนักเรียนหรือ

ผู้ปกครอง กรณีไม่มีใบเสร็จให้ใช้แบบหลักฐานยืนยันการจัดหา (กรณีไม่มีใบเสร็จรับเงินให้ใช้หลักฐาน

การจัดหาแทน)

6. สถานศึกษาดูแลใหน้ กั เรียนมีอปุ กรณ์การเรยี นจริง

7. สถานศึกษาตรวจสอบ หากพบว่านักเรียนไม่มีอุปกรณ์การเรียน โดยท่ีนาเงินไปใช้จ่าย

อย่างอน่ื ทไี่ ม่เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ ผู้ปกครองจะต้องคนื เงินให้กบั ทางราชการ

13

1.4.3 คา่ เคร่ืองแบบนกั เรียน สานักงานคณะกรรมการการจดั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน จะโอนเงนิ

งบประมาณคา่ เคร่ืองแบบนักเรียน เข้าบญั ชีเงินฝากธนาคารของสถานศึกษาและให้สถานศกึ ษาจ่ายเงินสด

ใหก้ บั นักเรยี นและผูป้ กครอง เพื่อไปจัดซ้ือเครอ่ื งแบบนกั เรยี นประกอบด้วย เสื้อ/กางเกง/กระโปรง คน

ละ 2 ชุด/ปี หากมเี คร่ืองแบบนักเรยี นปกติเพียงพอแล้ว สามารถนาเงินไปจัดซือ้ เข็มขดั รองเท้า ถุงเทา้

ชุดกีฬา ชดุ ลูกเสือ ชดุ ยวุ กาชาด ชดุ เนตรนารีได้ โดยส

ถานศึกษาจะได้รบั จดั สรรค่าเครื่องแบบนกั เรียน ดงั น้ี

1. ระดับก่อนประถมศึกษา 300 บาท/คน/ปี

2. ระดับประถมศึกษา 360 บาท/คน/ปี

3. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 450 บาท/คน/ปี

4. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 500 บาท/คน/ปี

วิธีปฏบิ ัติในการจ่ายเงนิ การควบคุม ติดตาม และตรวจสอบใหป้ ฏบิ ตั ิเหมอื นกบั การ

จา่ ยเงินคา่ อุปกรณก์ ารเรียน

1.4.4 กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน เปน็ กิจกรรมท่ีสถานศึกษาจดั ขึ้น ประกอบดว้ ย

1. กิจกรรมวิชาการ

2. กจิ กรรมคณุ ธรรม จริยธรรม/ลกู เสอื /เนตรนารี/ยวุ กาชาด/ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์

3. กิจกรรมทศั นศกึ ษา

4. กิจกรรมการบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (ICT)

ทั้งนี้ในการวางแผนกาหนดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนต้องให้คณะกรรมการภาคี 4

ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน และผู้แทนกรรมการนักเรียน) และคณะกรรมการ

สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีส่วนร่วมและพิจารณาโดยท่ีผลการพิจารณาต้องไม่เป็นการรอนสิทธ์ิของเด็ก

ยากจน เดก็ ท่มี คี วามตอ้ งการพิเศษและเด็กดอ้ ยโอกาสท่พี ่ึงจะไดร้ ับ

โดยการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมให้ครอบคลุม

ตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” ตามคู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”

โดยวางแผนดาเนินการในแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา และสามารถใช้งบประมาณงบเงิน

อุดหนุน รายการกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนในการดาเนินการตามกจิ กรรมดังกล่าวได้

14

กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน มีสาระสาคัญดงั ตอ่ ไปน้ี
1. กิจกรรมวิชาการ เป็นกิจกรรมท่ีสถานศึกษาจัดเพ่ิมเติมนอกจากการเรียนปกติในช้ัน
เรียน เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ ส่งเสริมเด็กเก่งให้มีความเป็นเลิศ และแก้ไข
ข้อบกพร่องของนักเรียนที่เรียนอ่อนให้มีศักยภาพสูงขึ้น เน้นกิจกรรมที่เสริมสร้างจินตนาการให้โอกาส
นักเรียนได้เรียนรู้ ได้แก่ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านประชาธิปไตย ท้ังนี้ กิจกรรม “ลดเวลาเรียน
เพิ่มเวลารู้ โดยพัฒนาความสามารถด้านการส่ือสารด้านการคิดและการพัฒนากรอบความคิดแบบเปิด
กว้าง (Growth Mindset) ด้านการแก้ปัญหา ด้านการใช้เทคโนโลยีและทักษะการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมการ
เรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และเพื่อเสริมสร้างทักษะการทางาน การดารงชีพ และทักษะชีวิต
โดยตอบสนองความสนใจ ความถนัด และความต้องการของผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคลฝึก
การทางาน ทักษะอาชีพ ทรัพย์สินทางปัญญา อยู่อย่างพอเพียงและมีวินัยทางการเงิน พัฒนา
ความสามารถดา้ นการใชท้ ักษะชวี ิตและสรา้ งเสริมสมรรถนะทางกาย รวมทั้งการส่งเสริมการศึกษาอาชีพ
เพ่ือการมงี านทาโดยกาหนดใหด้ าเนนิ การกจิ กรรม ดังกลา่ วอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 คร้ัง
2. กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ผู้บาเพ็ญประโยชน์
เป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ทั้งนี้กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” เป็นการดาเนินการเพ่ือเสริมสร้างคุณลักษณะและค่านิยม
โดยปลูกฝังค่านิยมและจิตสานึกการทาประโยชน์ต่อสังคมมีจิตสาธารณะและการให้บริการต่าง ๆ ทั้งที่
เป็นประโยชน์ต่อตนเองและต่อส่วนรวม ปลูกฝังความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ปลูกฝัง
คณุ ธรรม จริยธรรม (มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งมั่นในการทางานกตัญญู) และปลูกฝังความ
รักความภาคภมู ิใจในความเป็นไทยและหวงแหนสมบตั ขิ องชาติ
โดยมสี าระสาคัญดงั ตอ่ ไปนี้
- กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา ได้แก่ ค่ายเด็กดีของชุมชน ค่ารักษ์โลก
คา่ ยรกั ษ์สตั ว์ คา่ ยยวุ ชนคนดี ค่ายสันติวิธี กิจกรรมอาสาพัฒนา กิจกรรอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมเสรมิ สร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มหลกั 12 ประการ
- ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ผู้บาเพ็ญประโยชน์ เป็นกิจกรรมภาคปฏิบัติในการเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกทักษะการจัดการเผชิญ
สถานการณ์การใช้ชีวิตร่วมกันเป็นหมู่คณะ ได้แก่ การเดินทางไกล การอยู่ค่ายพักแรม การผจญภัย
(ไต่เขาปืนไม้ ฯลฯ) โดยกาหนดใหม้ ีการดาเนนิ การกจิ กรรมดังกล่าวอย่างน้อยปีละ 1 คร้งั
3. กิจกรรมทัศนศึกษาโดยเน้นภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ของชาติและท้องถิ่น และ/
หรือทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพ่ือสร้างเสริมประสบการณ์ตรงให้กับนักเรียนท่ีเพิ่มเติมจากการ
เรียนในห้องเรียน เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และประสบการณ์อย่างกว้างขวาง โดยกาหนดให้ดาเนินการ
กจิ กรรมดงั กล่าวอยา่ งน้อยปีละ 1 คร้งั

15

4. กิจกรรมการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อการส (ICT) เป็นกิจกรรมการ

ใหบ้ ริการ ICT/บริการคอมพวิ เตอรแ์ กน่ กั เรียนเพ่ิมเตมิ จากการเรียนคอมพิวเตอร์พ้ืนฐานตามหลักสูตรปกติ

ได้แก่ การให้บริการสืบค้นความรู้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต การให้บริการคอมพิวเตอร์ในการจัดทาส่ือ

รายงาน การนาเสนอข้อมูล การออกแบบสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยกาหนดให้

ดาเนินกิจกรรมดังกล่าวอย่างนอ้ ย 40 ชั่วโมง/คน/ปี

งบประมาณพฒั นากจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นต่อนกั เรียน 1 คน ดงั นี้

- ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา 215 บาท/ภาคเรียน (430 บาท/คน/ปี)

- ระดับประถมศึกษา 240 บาท/ภาคเรียน (480 บาท/คน/ปี)

- ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 440 บาท/ภาคเรียน(880 บาท/คน/ป)ี

- ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 475 บาท/ภาคเรียน(950 บาท/คน/ปี)

- ปวช.1-3 (สถานประกอบการ) 475 บาท/ภาคเรยี น(950 บาท/คน/ปี)

 โดยใหส้ ถานศึกษาดาเนินการตามข้ันตอน ดังนี้

1. เมื่อได้รับเงินงบประมาณให้ตรวจสอบจานวนเงินที่ได้รับแจ้งการโอนเงิน

และจานวนเงนิ ในสมดุ คู่ฝากของธนาคารวา่ มจี านวนเงนิ ทถ่ี กู ตอ้ งรวมกัน

2. ออกใบเสร็จรับเงินตามแบบของทางราชการ ในนามของสถานศึกษาตาม

จานวนเงินทไ่ี ดร้ ับสง่ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา เพอ่ื รวบรวมไวเ้ ป็นหลกั ฐาน

3. กาหนดกิจกรรมท่ีจะพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียน โดยความ

เหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานและคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย

4. การใช้จ่ายเงินงบประมาณต้องดาเนินการตามระเบียบของทางราชการ

เพือ่ ให้เกดิ ความโปร่งใส สามารถตรวจสอบไดแ้ ละเกิดประโยชนส์ ูงสุดตอ่ นกั เรยี น

5. เงินที่เหลือจากการดาเนินการแล้วสามารถนาไปใช้จ่ายในรายการโครงการ

เรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพได้ตามความจาเป็นและเหมาะสมโดยผ่านความเห็นชอบร่วมกันของภาคี

4 ฝ่ายและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

การยมื เงินอุดหนนุ
การยืมเงินอุดหนุน สถานศึกษาสามารถดาเนินการได้ เพื่อใช้จ่ายในการดาเนินงานตาม
ภารกิจของสถานศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ซ่ึงผู้อานวยการสถานศึกษา
มอี านาจพิจารณาอนมุ ัตใิ หย้ ืมเงินเฉพาะเทา่ ทจี่ าเป็นเพอื่ ใชใ้ นราชการ หรือกรณีอ่ืนที่จาเป็นเร่งด่วนแก่ทาง
ราชการ และห้ามมใิ หอ้ นุมัตใิ หย้ ืมเงินรายใหมใ่ นกรณีผู้ยมื มไิ ดช้ าระเงินยืมรายเกา่ ใหเ้ สรจ็ ส้นิ

16

กฎหมายและระเบยี บที่เกย่ี วขอ้ ง
- ระเบียบการเกบ็ รกั ษาเงินและการนาเงนิ สง่ คลงั ในหนา้ ที่ของอาเภอและกิง่ อาเภอ
พ.ศ. 2520
- ระเบียบการเบกิ จ่ายเงนิ จากคลงั การเกบ็ รักษาเงนิ และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551
- คาส่ังสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ท่ี 264/2549
เรอ่ื งมอบอานาจการอนมุ ัติการจา่ ยเงนิ และอนุมตั ิการจา่ ยเงินยืมของหน่วยงานย่อย
ส่ัง ณ วนั ที่ 21 มนี าคม 2549

เอกสารประกอบการยืม
1. บนั ทึกขออนมุ ัติยืมเงนิ
2. สัญญายืมเงิน
3. ประมาณการค่าใช้จ่าย และเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง

2. เงนิ รายไดส้ ถานศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยเงินบารุง
การศึกษา พ.ศ. 2534 โดยให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล (สถานศึกษาข้ันพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล
ในสังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา) และสถานศึกษาของรัฐท่ีไม่เป็นนิติบุคคล บริหารจัดการเกี่ยวกับ
การเงนิ และบัญชใี นส่วนทีเ่ ป็นรายไดแ้ ละผลประโยชนข์ องสถานศึกษา เพอ่ื ใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญัติ
การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545

ตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.
2545 มาตรา 59 กาหนดให้สถานศึกษาจัดหาประโยชน์จากทรพั ย์สินของสถานศึกษาทั้งที่เป็นท่รี าช
พัสดแุ ละทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานอื่น รวมทั้งการจัดหารายได้จากการบริการของสถานศกึ ษา และค่าธรรมเนียม
การศกึ ษาที่ไมข่ ัดแยง้ กับนโยบาย วตั ถุประสงคแ์ ละภารกิจหลักของสถานศึกษา เงนิ ที่สถานศกึ ษาได้รบั
ไว้เป็นกรรมสทิ ธท์ิ ุกประเภทที่เกี่ยวเน่อื งกบั การศึกษาย่อมเป็นเงินรายไดส้ ถานศกึ ษา เมอ่ื สถานศกึ ษา
ได้รบั แลว้ ไม่ต้องนาสง่ เป็นเงินรายไดแ้ ผ่นดนิ แตส่ ามารถนาไปใชจ้ า่ ยเพ่ือประโยชน์ต่อการจัดการเรยี น
การสอนของนักเรยี นได้ตามระเบยี บท่กี ระทรวงการคลัง และตามวรรค 3 กาหนดให้บรรดารายไดแ้ ละ
ผลประโยชนข์ องสถานศกึ ษา ยอ่ มหมายรวมถงึ เงนิ ท่สี ถานศึกษาไดร้ ับไวท้ ุกประเภท เพ่อื ใช้ในการจัด
การศกึ ษาซึง่ เป็นภารกิจของสถานศึกษา ดงั นี้

2.1 บรรดารายได้ หมายถึง การรับเงินทุกประเภทท่ีเป็นรายได้ของสถานศึกษา หรือ
สถานศึกษาทากจิ การอะไรทก่ี ่อใหเ้ กดิ รายได้ ถือว่าเป็นเงินรายได้สถานศึกษาท้ังสิ้น เช่น รายได้จากการ
ขายอาหาร รายไดจ้ ากการใหเ้ ชา่ อาคาร/สถานที่ เงนิ ผา้ ปา่ เงนิ รายไดจ้ ากงานเลีย้ งศิษยเ์ ก่า ฯลฯ

17

2.2 ผลประโยชนท์ ่ีเกิดจากทร่ี าชพัสดุ หมายถึง บรรดาผลประโยชน์ท่ีสถานศึกษาได้รับ
จากที่ราชพัสดุของสถานศึกษา รวมท้ังการจัดหารายได้จากการบริการของสถานศึกษาและค่าธรรมเนียม
การศึกษาท่ีไม่ขัดแย้งกับนโยบาย วัตถุประสงค์ และภารกิจหลักของสถานศึกษา แต่การทาประโยชน์
ต้องไม่ทาในเชิงธุรกิจ เช่น การปลูกยางพาราบนพ้ืนท่ีราชพัสดุของสถานศึกษา รายได้จากการขาย
ยางพารากต็ อ้ งนาเงนิ เขา้ เปน็ เงนิ รายไดส้ ถานศกึ ษา

2.3 เบ้ียปรับท่ีเกิดจากการผิดสัญญาการซ้ือทรัพย์สิน หรือจ้างทาของ เช่น ดาเนินการ
จัดซอ้ื /จัดจา้ ง เม่อื มกี ารสง่ มอบสินคา้ หรืองานจ้าง และมีการผิดสัญญาเกิดข้ึนผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ต้องจ่ายเบ้ีย
ปรับใหก้ ับสถานศึกษา

2.4 เบ้ียปรับท่ีเกิดจากการผิดสัญญาลาศกึ ษาตอ่ เชน่ กรณสี ถานศกึ ษามีขา้ ราชการครู
ลาศกึ ษาตอ่ แต่มกี ารทาผิดสัญญา สถานศกึ ษาได้เรยี กค่าปรับต้องนาเงินเข้าบัญชเี งินรายไดส้ ถานศกึ ษา

2.5 เงินบริจาค หมายถึง เงินท่ีมีผู้มอบให้สถานศึกษา เพื่อใช้ในกิจกรรมของ
สถานศกึ ษา ใหป้ ฏบิ ัติตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สินท่ีมีผู้บริจาคให้แก่
สถานศึกษา พ.ศ. 2552 และระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการรับเงินบรจิ าค พ.ศ.2526

2.6 เงินหรือผลประโยชน์อน่ื ทีส่ ถานศึกษารับไว้เปน็ กรรมสทิ ธิ์ แตไ่ ม่รวมถึง
งบประมาณรายจ่าย เช่น เงินระดมทรัพยากร (ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการศึกษาขัน้
พนื้ ฐานก่อน) เงินบารุงการศึกษา (ทีเ่ กบ็ นอกเหนอื จากหลักสตู ร) เงนิ รายไดอ้ ่ืน ๆ

2.7 คา่ ขายแบบรปู รายการ เมอื่ สถานศึกษามีการกอ่ สรา้ งอาคารเรียน หรืออาคาร
ประกอบอื่นภายในโรงเรยี นจะจัดพมิ พแ์ บบรูปรายการเพ่ือจาหน่ายให้กบั ผู้รับจ้าง คา่ ขายแบบรปู รายการ
ใหป้ ฏิบตั ติ ามหนงั สอื สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ี ศธ 04002/ว2511 ลงวันที่
17 พฤศจกิ ายน 2552 ดังน้ี

2.7.1 เงินที่ได้รับจากการขายแบบรูปรายการที่จัดทาขึ้นโดยใช้เงินงบประมาณ
แผน่ ดิน หรอื ไดร้ บั จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ถือว่าเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลต้อง
นาส่งคลังเป็นรายได้แผน่ ดิน

2.7.2 เงินท่ีได้รับจากการขายแบบรูปรายการท่ีจัดทาขึ้นโดยใช้เงินรายได้สถานศึกษา
ถือเป็นรายได้ของสถานศกึ ษาที่ได้รับการยกเวน้ ไมต่ อ้ งนาส่งคลงั เป็นรายไดแ้ ผน่ ดิน

2.8 เงนิ อดุ หนุนจากองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ได้แก่
2.8.1 เงินสนับสนุนการจดั กิจกรรมของสถานศกึ ษา โดยสถานศึกษาจัดทาโครงการ

เกี่ยวกับการดาเนินงานกิจกรรม เพื่อขอรับเงินอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ถือเป็นเงินท่ีมีผู้
มอบใหโ้ ดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ สถานศกึ ษาสามารถเกบ็ ไวใ้ ช้จา่ ยตามวัตถุประสงค์โดยไม่ตอ้ ง นาสง่ คลงั

18

2.8.2 เงินสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและ
ขัน้ ตอนการกระจายอานาจให้แกอ่ งค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น พ.ศ.2542 มาตรา 30 (1) กาหนดให้ดาเนิน
การาถ่ายโอนภารกิจให้บริการสาธารณะท่ีรัฐดาเนินการอยู่ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เงิน
อุดหนุนเพ่ือโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา จึงได้ถ่ายโอนให้องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นเป็นผู้ดาเนินการ โดยเร่ิมถ่ายโอนในปีงบประมาณ 2544 โดยกรมการปกครองเป็นผู้โอนเงิน
ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้จัดสรรและโอนเงินให้กับ
สถานศึกษา เพื่อเป็นผู้ดาเนินการตามโครงการ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดาเนินการจัดหา
อาหารให้กับสถานศึกษาเอง ซึ่งในปีงบประมาณ 2553 สถานศึกษาทุกแห่งจะต้องได้รับการสนับสนุน
ครบ 100% ตามจานวนนักเรียนและได้รับรายหัวละ 13 บาท และในปัจจุบันได้รับรายหัวละ 20 บาท
จานวน 200 วัน/ปี หากสถานศึกษาเป็นผู้ดาเนินการจัดหาอาหารกลางวันให้กับนักเรียนเองสามารถ
ดาเนินการได้ ดงั นี้

(1) การจ้างเหมาทาอาหาร จะต้องจดั จ้างตามเงนิ งบประมาณท่ีไดร้ ับ
(2) การซ้อื อาหารสด อาหารแหง้ มาประกอบอาหารเอง
(3) แจกคูปอง โดยให้นักเรียนนาคูปองไปซ้ืออาหารจากผู้ขายอาหารใน
สถานศึกษาและผู้ขายนาคปู องมาขอเบิกเงนิ กบั โรงเรียน
2.9 เงินกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน โดยนาเงินดอกผลของกองทุนซ่ึงเป็นทุน
ประเดิมจากรัฐบาล จัดสรรให้กับนักเรียนท่ีมีภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนท่ีขาดแคลนอาหารกลางวัน
และจัดสรรใหเ้ ปน็ ทนุ หมุนเวียนสาหรับสง่ เสรมิ ผลผลิตเพ่อื โครงการอาหารกลางวัน
2.10 เงินค่าขายทรัพย์สินของสถานศึกษา เป็นการขายวัสดุ ครุภัณฑ์ หรือส่ิงก่อสร้าง
ที่สถานศึกษาจัดหามาด้วยเงินงบประมาณ เพื่อใช้ในการเรียนการสอนของนักเรียน ซ่ึงสถานศึกษาหมด
ความจาเป็นหรือชารุด ได้ดาเนินการตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุฯ เงินค่าขาย
ทรัพย์สินดังกล่าว ต้องนาส่งเป็นรายได้แผ่นดิน แต่ถ้าทรัพย์สินที่สถานศึกษาซ้ือมาด้วยเงินนอก
งบประมาณ เป็นกรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา เงินท่ีได้รับจากการขายทรัพย์สิน เป็นเงินรายได้ของ
สถานศึกษา (ตามหนงั สอื ที่ ศธ 04002/1903 ลงวนั ท่ี 28 สิงหาคม 2551)
2.11 เงนิ หลักประกนั สัญญาทผี่ ขู้ ายหรือผรู้ ับจา้ งไม่รับคืน เมื่อพ้นกาหนดภาระผกู พัน
ตามสัญญา หลกั ประกันดังกลา่ วเกิดจากการทาสญั ญาซ้ือ/จา้ ง ในการจัดหาพสั ดุท่ใี ช้เพอ่ื จดั การเรียนการ
สอน หากผขู้ าย/ผู้รับจ้างไม่รับคืนเมอ่ื สัญญาครบกาหนดแล้ว ย่อมเป็นเงินรายได้สถานศึกษา
2.12 เงินค่าธรรมเนียมการสอบแข่งขัน เงินที่สถานศึกษาเรียกเก็บจากผู้สมัครในการ
สอบแขง่ ขันโดยท่สี ถานศึกษาไม่ได้ตงั้ งบประมาณไว้ หรือตั้งไว้ไมเ่ พียงพอในการดาเนินการสอบแข่งขัน
เมื่อจัดเก็บแล้วให้นาไปใช้จ่ายเก่ียวกับการสอบแข่งขัน เม่ือมีเงินเหลือให้นาเข้าบัญชีเงินรายได้
สถานศึกษา

19

การรับเงินและการเก็บรักษาเงนิ รายไดส้ ถานศึกษา สถานศกึ ษาต้องออกใบเสร็จรับเงินตามแบบท่ี
กระทรวงการคลังกาหนดให้แก่ผู้ชาระเงินทุกคร้ังท่ีมีการรับเงิน เว้นแต่กรณีท่ีไม่สามารถออก
ใบเสร็จรับเงินได้ ให้ใช้หลักฐานการรับเงินตามแบบที่ทางราชการกาหนด และต้องควบคุม
ใบเสร็จรบั เงินหรอื หลักฐานการรับเงินไว้เพ่ือใหส้ ามารถตรวจสอบได้

1. อานาจการเกบ็ รักษา ให้ปฏิบตั ิตามหนงั สอื กรมบัญชีกลางที่ กค 0414/07509 ลงวันท่ี

5 ตลุ าคม 2549 เร่ือง การทบทวนเพิ่มวงเงนิ รายได้สถานศกึ ษาเก็บไว้ ณ ที่ทาการ เงินรายได้สถานศึกษา

ส่วนท่ีเกนิ วงเงินทก่ี าหนดให้นาฝากสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา

1.1 การเก็บรกั ษาเงินรายไดส้ ถานศึกษา

โรงเรยี น/สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา วงเงินสารองจา่ ย วงเงินฝากธนาคาร
ณ สถานศกึ ษา ไมเ่ กินวันละ

โรงเรียนขนาดเลก็ ทม่ี ีนกั เรียนไม่เกนิ 120 คน 20,000 บาท 30,000 บาท

โรงเรยี นท่มี ีนักเรยี นเกนิ 120 คนขึ้นไป 30,000 บาท ไมเ่ กิน 1 ลา้ นบาท

สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา 100,000 บาท ไมเ่ กนิ 5 ลา้ นบาท

สาหรับโรงเรียนที่มีการจัดอาหารกลางวัน (ท่ีมิได้มาจากเงินงบประมาณ)ให้มีวงเงิน

สารองจา่ ย ณ โรงเรียนไดเ้ พ่ิมอกี ไมเ่ กินวนั ละ 20,000 บาท

1.2 เงินรายได้สถานศึกษาท่เี บิกถอนเพ่อื สารองจา่ ยเปน็ เงินสด สถานศกึ ษาใดที่ไม่มีตู้

นริ ภยั ใหจ้ ัดทาแบบบันทึกการรบั เงนิ เพื่อเก็บรักษา

1.3 เงินรายได้สถานศึกษาส่วนท่ีเกินวงเงินเก็บรักษา ให้สถานศึกษานาส่วนท่ีเกิน

ฝากสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา

1.4 เงินรายได้สถานศึกษาให้นาฝากธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจท่ีตั้งอยู่ในท้องที่อาเภอ

เดียวกันกับท้องที่ตั้งของสถานศึกษา หากท้องที่นั้นไม่มีธนาคารที่เป็นรัฐวิสาหกิจ ให้นาฝากธนาคาร

พาณิชย์อื่นได้ภายในท้องท่ีอาเภอเดียวกัน สาหรับประเภทเงินฝากให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา

โดยคานงึ ถงึ ประโยชน์ของทางราชการเป็นสาคัญ

1.5 เงินดอกผลท่ีเกิดจากบัญชีเงินฝากธนาคาร ให้ถือเป็นเงินรายได้สถานศึกษา

สามารถนาไปใชจ้ ่ายเพ่อื จดั การศกึ ษาได้

2. อานาจการส่ังจ่ายเงิน ให้ปฏิบัติตามคาส่ังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ท่ี 1505/2551 สั่ง ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2551 เรื่องมอบอานาจเก่ียวกับเงินรายได้
สถานศกึ ษา ซึ่งกาหนดให้

2.1 ผู้อานวยการสถานศึกษา หรือผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ มีอานาจสั่งจ่ายได้
ครั้งละไมเ่ กนิ 15 ลา้ นบาท

20

2.2 ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา คร้ังละไมเ่ กนิ 20 ลา้ นบาท
2.3 ผู้อานวยการสานักการคลังและสินทรัพย์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน คร้ังละไมเ่ กนิ 20 ลา้ นบาท
2.4 ผู้วา่ ราชการจังหวดั คร้ังละไมเ่ กิน 25 ลา้ นบาท
2.5 ที่ปรึกษาที่รับผิดชอบการปฏิบัติราชการของสานักการคลังและสินทรัพย์
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ครัง้ ละไม่เกนิ 30 ลา้ นบาท
2.6 รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ีรับผิดชอบการปฏิบัติ
ราชการของสานกั การคลังและสินทรพั ย์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ครัง้ ละไมเ่ กิน
40 ลา้ นบาท
2.7 นอกเหนือจากทีก่ าหนด ให้เป็นอานาจของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน
3. อานาจอนุมัตใิ นการก่อหนีผ้ ูกพัน และการใชจ้ ่ายเงินรายได้สถานศึกษา ให้ปฏิบัติตาม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม และให้ปฏิบัติตามคาส่ัง
ประกาศและหนังสือท่เี ก่ยี วข้อง ดังน้ี
- หนังสือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ี ศธ 04002/ว2742 ลงวันที่
26 พฤศจิกายน 2551 เร่ืองการใช้จ่ายเงินและการมอบอานาจเกี่ยวกับเงินรายได้สถานศึกษาท่ีเป็นนิติ
บคุ คล
- คาส่ังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ท่ี 1505/2551 สง่ั ณ วันท่ี 26
พฤศจกิ ายน 2551
- ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานว่าด้วยหลักเกณฑ์ อัตราและ
วิธีการนาเงินรายได้สถานศึกษาไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน
ทเี่ ป็นนติ ิบคุ คลในสงั กดั เขตพน้ื ท่ีการศึกษา พ.ศ. 2551 ประกาศ ณ วนั ที่ 26 พฤศจกิ ายน 2551

3. เงนิ ภาษหี ัก ณ ทีจ่ ่าย
เงนิ ภาษหี ัก ณ ทจ่ี า่ ย คือ เงนิ ท่ีเจา้ หน้าทผี่ ู้จา่ ยเงนิ ของสถานศกึ ษาหกั จากผขู้ ายหรอื

ผู้รับจ้าง เพ่อื นาสง่ กรมสรรพากร กรณซี ือ้ หรือจ้าง มีหลกั เกณฑ์การจ่ายและหกั ภาษี ณ ท่ีจ่าย ดงั นี้
1. ซ้ือหรือจ้างบคุ คลธรรมดา ตงั้ แต่ 10,000 บาทข้ึนไป หักร้อยละ 1 ของมูลค่าสินค้า/

บรกิ ารก่อนบวกภาษีมูลคา่ เพ่ิม
2. ซ้ือหรือจ้างนิติบุคคล ต้ังแต่ 500 บาทขึ้นไป หักร้อยละ 1 ของมูลค่าสินค้า/บริการ

กอ่ นบวกภาษีมูลคา่ เพ่ิม

21

การหักภาษี ณ ท่ีจ่ายต้องยึดเกณฑ์เงินสด หมายความว่า จ่ายเงินวันใดต้องหัก

ภาษี ณ ทีจ่ ่ายในวันนนั้ ซง่ึ แบ่งออกเป็น

- การจา่ ยเงินสด หากจ่ายเงินสดวันใดต้องหักภาษี ณ วันที่จา่ ยไวด้ ว้ ย

- การจ่ายเป็นเช็ค จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายตามวันที่ท่ีปรากฏสั่งจ่ายบนเช็ค โดยไม่

สนใจว่าผรู้ ับเงินจะมารบั เชค็ หรือไมก่ ็ตาม

การออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย เม่ือมีการหักภาษี ณ ที่จ่ายจากผู้รับเงิน

หน้าท่ีของผู้จ่ายเงินต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ท่ีจ่ายเป็นหลักฐานให้กับผู้รับเงิน โดยออก

ทันทีท่ีมีการหักภาษี ณ ท่ีจ่าย สาหรับสาเนาให้นามาบันทึกรายการรับในทะเบียนคุมเงินนอก

งบประมาณ ประเภทเงินภาษีหัก ณ ทจ่ี า่ ย

วธิ ีการคานวณภาษีเงนิ ไดห้ กั ณ ท่จี า่ ย

ตวั อยา่ ง ราคาวัสดสุ านักงาน (หจก.ช.พานชิ ) 4,000 บาท

ภาษมี ลู ค่าเพิม่ 280 บาท

ราคาซ้ือวัสดุสานักงาน 4,280 บาท

ภาษหี ัก ณ ท่ีจ่าย (4,000x 1%) 40 บาท

จานวนเงนิ ทตี่ ้องจา่ ยใหก้ บั หจก. 4,240 บาท

วธิ ีนาสง่ เงนิ ภาษหี กั ณ ทีจ่ า่ ย ให้เจ้าหน้าท่ีนาเงินภาษีหัก ณ ท่ีจ่ายส่งสรรพากร
ท้องท่ี ภายในวันท่ี 7 ของเดือนถัดจากเดือนที่จ่ายเงิน หากไม่นาส่งภายในกาหนดเวลา ผู้จ่ายเงินต้อง
รับผิดชอบชาราเงินเพิ่มเองร้อยละ 1.5 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของภาษีที่นาส่ง และอาจได้รับโทษ
ทางอาญา ปรบั ไมเ่ กนิ 2,000 บาท บนั ทึกรายการนาส่งในทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณ ประเภทเงิน
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย โดยใช้ใบเสร็จรับเงินท่ีได้รับจากสรรพากรท้องท่ี (บจ.)เป็นหลักฐานในการบันทึก
รายการ

4. เงินลกู เสือ
ให้ถือปฏิบัติตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครองหลักสูตรและวิชา

พิเศษลูกเสือ พงศ. 2509 ข้อ 18 - 35 อัตราการเก็บค่าบารุงลูกเสือประจาปี เม่ือจัดเก็บแล้วให้นาฝาก
ธนาคารเทา่ นัน้

1. เก็บจากลูกเสอื คนหนง่ึ ไม่เกนิ ปีละ 5 บาท
2. เกบ็ จากผบู้ ังคบั บัญชาลูกเสอื ไมเ่ กนิ ปีละ 10 บาท
การใช้ใบเสร็จรับเงิน ให้ใช้ใบเสร็จรับเงินและแบบพิมพ์ต่าง ๆ ตามแบบท่ีกาหนดโดย
ซือ้ ไดจ้ ากกองลกู เสือ สังกดั สานักงานคณะกรรมการบริหารลกู เสอื แห่งชาติ

22

หลักฐานการจ่าย ให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการจ่ายเงินของทางราชการ และให้รวบรวม
หลักฐานการจา่ ยไวท้ ่สี ถานศกึ ษา และต้องจดั เก็บไวใ้ ห้ครบถ้วน เพ่อื รับการตรวจสอบได้เสมอ

5. เงนิ เนตรนารี
ให้ถือปฏิบัติตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครองหลักสูตร

วิชาพเิ ศษ และเครื่องแบบของเนตรนารี ฉบบั ชว่ั คราว พ.ศ. 2520 อัตราการเก็บค่าบารุงเนตรนารีประจาปี
เมอ่ื จดั เก็บแล้วให้นาฝากธนาคารเท่าน้ัน

1. เกบ็ จากเนตรนารีคนหนึง่ ไม่เกินปีละ 5 บาท
2. เกบ็ จากผู้บังคบั บญั ชาเนตรนารี ไมเ่ กนิ ปลี ะ 10 บาท
การใช้ใบเสร็จรับเงิน ให้ใช้ใบเสร็จรับเงินและแบบพิมพ์ต่าง ๆ ตามแบบที่กาหนดโดย
ซอื้ ไดจ้ ากกองลูกเสือ สงั กัดสานักงานคณะกรรมการบริหารลกู เสือแห่งชาติ
หลักฐานการจ่าย ให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการจ่ายเงินของทางราชการ และให้รวบรวม
หลักฐานการจ่ายไวท้ ่สี ถานศกึ ษา และตอ้ งจดั เก็บไวใ้ ห้ครบถว้ น เพอ่ื รับการตรวจสอบได้เสมอ

6. เงินยวุ กาชาด
ให้ถอื ปฏิบตั ติ ามประกาศคณะกรรมการบริหารยุวกาชาด เร่ืองระเบียบปฏิบตั ิเกย่ี วกบั

ยุวกาชาด พ.ศ. 2533 หมวด 4 ว่าดว้ ยเร่ืองเงิน
เงินบารงุ ยุวกาชาด คือ เงินค่าบารงุ ประจาปที ่ีเกบ็ จากยุวกาชาดคนหน่งึ ไม่เกิน 10 บาท
การเก็บรกั ษาเงินยุวกาชาด ให้นาฝากธนาคารออมสนิ หรอื ธนาคารพาณชิ ยป์ ระเภท

ออมทรัพย์
การรับเงิน ให้ใช้ใบเสรจ็ รบั เงนิ ตามแบบทีก่ องยุวกาชาดกาหนดทุกครัง้
หลกั ฐานการจา่ ยเงิน ให้ปฏิบัตเิ ช่นเดียวกบั การจ่ายเงินของทางราชการ และให้รวบรวม

หลักฐานการจา่ ยไวท้ ี่สถานศึกษา และตอ้ งจดั เกบ็ ไวใ้ ห้ครบถ้วน เพือ่ รบั การตรวจสอบได้เสมอ

7. เงนิ ประกันสญั ญา
เงินประกันสัญญาเป็นเงินท่ีสถานศึกษารับจากผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เม่ือทาสัญญาซ้ือหรือ

สัญญาจ้างในอัตราร้อยละ 5 ของวงเงินในสัญญา เพ่ือเป็นการประกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจาก
การทผี่ ู้ขายหรอื ผู้รบั จ้างไมป่ ฏบิ ตั ิตามสัญญา เงินประกันสญั ญาใช้หลักประกันอย่างใดอยา่ งหนึง่ ดังน้ี

1. เงนิ สด
2. เช็คที่ธนาคารสั่งจ่าย ซ่ึงเป็นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็คน้ันชาระต่อเจ้าหน้าที่ หรือก่อน
วนั น้ันไม่เกนิ 3 วนั ทาการ
3. หนงั สอื คา้ ประกันของธนาคารภายในประเทศตามท่ี กวพ. กาหนด
4. พนั ธบตั รรัฐบาลไทย

23

เมื่อสถานศกึ ษารับเงนิ ประกันสญั ญา จะต้องนาเงนิ ฝากสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและ
เมื่อพ้นกาหนดข้อผูกพันตามสัญญา สถานศึกษาต้องจ่ายคืนผู้ขายหรือผู้รับจ้างโดยเร็ว อย่างช้าไม่เกิน
15 วันนับแต่วันที่พ้นข้อผูกพันตามสัญญา (สาหรับหลักประกันสัญญาที่เป็นพันธบัตร หรือสัญญาค้า
ประกนั ของธนาคารไม่ต้องปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนข้างล่าง)

ขนั้ ตอนการรับเงนิ ประกันสัญญา ใหอ้ อกใบเสร็จรับเงิน โดยใช้ใบเสร็จรับเงินตามแบบ
ของทางราชการ แล้วบันทกึ รายการรับเงินในทะเบียนคุมเงนิ นอกงบประมาณประเภทเงินฝาก และบันทึก
ในรายงานเงินคงเหลือประจาวันในช่อง “เงินสด” หรือ “เงินฝากธนาคาร” หรือ “เงนิ ฝากส่วนราชการ
ผเู้ บิก”

ขัน้ ตอนการฝากเงนิ ประกนั สญั ญา ใหป้ ฏิบัติ ดังน้ี
1. กรณีนาฝากส่วนราชการผ้เู บกิ (สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา)
1.1 จดั ทาใบนาฝากส่วนราชการผู้เบกิ จานวน 2 ฉบับ
1.2 บนั ทกึ การฝากในสมดุ ค่ฝู ากสว่ นราชการผเู้ บิก และทะเบียนคุมเงินนอก

งบประมาณประเภทเงินฝาก
1.3 นาใบนาฝากและสมดุ คฝู่ าก พร้อมเงินประกนั สญั ญายน่ื ต่อสานักงานเขต

พืน้ ทกี่ ารศึกษา
2. กรณีนาฝากเขา้ บัญชีเงินฝากธนาคารของสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
2.1 จัดทาใบนาฝากธนาคาร (Pay in slip) แล้วนาเงนิ ฝากเข้าบัญชีเงนิ ฝากธนาคาร

ของสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาทธี่ นาคารกรุงไทย
2.2 บันทึกการฝากในสมุดคู่ฝากส่วนราชการผู้เบิก พร้อมทั้งหมายเหตุว่า

นาฝากเข้าบัญชีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และบันทึกการฝากในทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณ
ประเภทเงนิ ฝาก

2.3 ทุกวันท่ี 15 ของเดือน ให้รายงานการรับและนาส่ง หรือนาฝากส่ง
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาพร้อมสาเนาใบนาฝากธนาคาร

3. กรณีนาฝากเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของสานกั งานคลงั จังหวดั
3.1 จัดทาใบนาฝากธนาคาร (Pay in slip) พร้อมท้ังใบนาส่งเงินนอกงบประมาณ

ตามแบบท่กี ระทรวงการคลังกาหนด ยน่ื ตอ่ ธนาคารกรุงไทยพร้อมนาเงินฝากเขา้ บัญชีเงินฝากธนาคารของ
สานักงานคลังจงั หวัด

3.2 บนั ทึกการฝากในสมุดคู่ฝาก พรอ้ มท้ังหมายเหตุวา่ นาฝากเขา้ บัญชีสานักงาน
คลงั จงั หวัดและบันทกึ การฝากในทะเบียนคมุ เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินฝาก

24

3.3 ทุกส้ินเดือนให้รายงานการรับและนาส่งหรือนาฝาก ส่งสานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา พรอ้ มสาเนาใบนาฝากธนาคารและคฉู่ บบั ใบนาส่งเงินนอกงบประมาณ

* ท้ัง 3 กรณี บันทึกในรายงานเงินคงเหลือประจาวันในช่อง “เงินฝากส่วนราชการผู้เบิก”
ข้นั ตอนการถอนเงนิ ประกันสัญญา
1. เมื่อครบกาหนด ให้สถานศึกษาจัดทาหนังสือแจ้งและใบเบิกถอน 2 ฉบับ

พรอ้ มสมุดค่ฝู ากยน่ื ต่อสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา เพือ่ ใหโ้ อนเงินให้เจา้ หนหี้ รือผู้มสี ิทธิรับเงิน
2. บันทึกรายการถอนในสมุดคู่ฝากส่วนราชการผู้เบิก พร้อมท้ังหมายเหตุใน

ทะเบียนคุมเงนิ นอกงบประมาณประเภทเงนิ ฝาก ชอ่ งหมายเหตุ
3. เม่ือได้รับแจ้งจากสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาว่าได้โอนเงินให้เจ้าหน้ีหรือผู้มี

สิทธิรับเงินแล้ว ให้บันทึกวันที่จ่ายในทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณประเภทเงินฝาก ช่อง “วันที่ผู้
เบกิ จ่ายคืนผมู้ สี ิทธิ”

8. เงินประกันซอง
ใชเ้ พอ่ื เป็นหลักประกันในการย่ืนซองเสนอราคา การจัดซื้อ/จัดจ้างด้วยวิธีประกวดราคา

ซ่ึงตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้กาหนดให้รับเป็น
จานวนอตั ราร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของราคาพัสดุ หรอื ราคาจา้ งที่จ้างในครั้งนั้น โดยนามามอบ
ให้กับคณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคาในวันยื่นซองประกวดราคา แต่หากเป็นส่วนราชการ
หรือรัฐวิสาหกจิ เป็นผู้เสนอราคาไม่ต้องวางหลักประกัน (หลักประกันซอง ใช้หลักประกันอย่างใดอย่าง
หนง่ึ เช่นเดียวกบั หลักประกนั สญั ญา)

วิธีการรับเงินหลักประกัน กรณีรับหลักประกันซองเป็นเงินสด ให้ออกใบเสร็จรับเงิน
โดยใช้ใบเสร็จรบั เงินตามแบบของทางราชการ แล้วบันทึกรายการรับเงินในทะเบียนคุมหลักประกันซอง
และบนั ทึกในรายงานเงินคงเหลือประจาวันในช่อง “เงนิ สด” หรือ “เงินฝากธนาคาร”

วิธีการจ่ายเงินคืนหลกั ประกันซอง ใหค้ ืนแกผ่ ู้เสนอราคาหรือผู้ค้าประกันภายใน 15 วัน
นับแต่วันที่ได้พิจารณาในเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว เว้นแต่ผู้เสนอราคารายการที่คัดเลือกไว้ ซึ่งเสนอราคา
ตา่ สดุ ไมเ่ กิน 3 ราย ใหค้ ืนไดต้ ่อเม่ือได้ทาสญั ญาหรอื ข้อตกลง หรือผูเ้ สนอราคาไดพ้ ้นจากข้อผูกพนั แล้ว

เงินรายได้แผ่นดนิ

เงินรายได้แผ่นดิน หมายถึง เงินท่ีส่วนราชการจัดเก็บหรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธ์ิตามกฎหมาย
ระเบียบ ขอ้ บงั คบั หรือจากนติ กิ รรม หรอื นิติเหตุ และไม่มีกฎหมายอ่ืนใดกาหนดให้ส่วนราชการเก็บไว้
หรือหักไว้เพ่ือจ่าย เช่น เงินอุดหนุนท่ัวไปที่เหลือจ่ายเกิน 2 ปีงบประมาณ เงินดอกเบ้ียจากบัญชีเงิน
ฝากธนาคาร ประเภทออมทรพั ย์ของเงนิ อุดหนุนทั่วไป ฯลฯ มีแนวทางการดาเนินการ ดงั น้ี

25

1. การจัดเก็บเงินรายได้แผ่นดิน ให้สถานศึกษาออกใบเสร็จรับเงินให้ผู้ชาระเงินรายได้แผ่นดิน
ทุกราย พร้อมทัง้ บันทึกควบคมุ ไว้ในทะเบียนคุมการรับและนาส่งเงินรายได้แผ่นดิน สาหรับดอกเบี้ยเงิน
ฝากธนาคาร ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป ไม่ต้องออกใบเสร็จรับเงิน ให้บันทึกรับในทะเบียนคุมการรับ
และนาสง่ เงนิ รายไดแ้ ผ่นดิน โดยอา้ งเลขที่บัญชเี งินฝากธนาคารเป็นหลกั ฐานการรับ

2. การนาสง่ เงินรายไดแ้ ผน่ ดิน
2.1 ใหโ้ รงเรยี นรวบรวมเงินรายได้แผ่นดินนาส่งอย่างน้อยเดอื นละ 1 คร้ัง เว้นแต่มีเงินรายได้

แผน่ ดนิ ในขณะใดขณะหนงึ่ เกินกวา่ 10,000 บาท ให้นาส่งภายใน 3 วันทาการ
2.2 วิธีการนาส่ง ให้สถานศึกษานาเงินสด/เช็คธนาคาร พร้อมหนังสือราชการนาส่ง ย่ืนต่อ

สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา หรือ จัดทาใบนาฝากเงนิ (Pay in slip) ตามแบบท่ีกระทรวงการคลังกาหนด
ยื่นต่อธนาคารกรุงไทยพร้อมนาเงนิ ฝากเข้าบัญชเี งินฝากธนาคารของสานักงานคลังจงั หวัด

2.3 บนั ทกึ รายการนาสง่ ในทะเบยี นคุมการรบั และนาสง่ เงินรายไดแ้ ผ่นดิน
2.4 จัดทาหนังสือแจ้งสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พร้อมสาเนาใบนาฝากเงิน (Payin Slip)
และใบนาฝากเงินของธนาคารกรุงไทย

การควบคุมภายในดา้ นการเงิน
ตามระเบียบการเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนาเงนิ สง่ คลัง

ในหนา้ ที่ของอาเภอและกิ่งอาเภอ พ.ศ. 2520

ขอ้ กาหนดในการรับเงิน
1. ใบเสรจ็ รบั เงิน
1.1 ใชต้ ามแบบทกี่ ระทรวงการคลงั กาหนด
1.2 จดั ทาทะเบยี นคุมการใช้ใบเสรจ็ รบั เงิน
1.3 การเขยี นใบเสรจ็ รบั เงินถูกตอ้ งตามระเบียบ
1.4 ไม่ใชใ้ บเสรจ็ รับเงินขา้ มปงี บประมาณในเล่มเดียวกัน
1.5 สิ้นปีงบประมาณ ใบเสร็จรับเงนิ ส่วนทเ่ี หลอื ให้เจาะรู ปรุ หรือประทับตราเลิกใช้
1.6 สน้ิ ปีงบประมาณ ให้รายงานการใชใ้ บเสรจ็ รบั เงิน
2. การรบั เงิน
2.1 การรับเงินมกี ารออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้ชาระเงินทกุ ครัง้
2.2 บันทึกเงินทไ่ี ดร้ ับในทะเบียนคมุ ท่เี ก่ียวข้องภายในวันทีไ่ ดร้ บั เงนิ น้ัน

ข้อกาหนดในการจา่ ยเงิน
1. การจ่ายเงิน
1.1 จา่ ยตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั มติคณะรฐั มนตรี หรือไดร้ ับอนญุ าตจาก

กระทรวงการคลัง
1.2 เจา้ หน้าที่การเงนิ จดั ทาบนั ทกึ เพอ่ื ขออนุมัติการเบิกจ่ายจากผ้มู อี านาจอนุมตั ิ
1.3 มหี ลักฐานการจ่ายเงนิ ที่ถกู ต้อง
1.4 เจ้าหน้าที่ผู้จ่ายเงินรับรองการจ่ายโดยประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” บนหลักฐาน

การจ่ายเงิน ลงลายมือชื่อพรอ้ มดว้ ยชอื่ ตวั บรรจง วันท่ีจา่ ยเงินกากบั ไว้ในหลักฐานการจ่ายเงนิ
1.5 บันทกึ การจา่ ยเงนิ ในทะเบียนคมุ ท่ีเกี่ยวข้องในวนั ท่จี ่ายเงนิ

2. หลักฐานการจ่าย
2.1 หลกั ฐานการจา่ ยท่ีส่วนราชการจัดทาตามแบบทีก่ ระทรวงการคลังกาหนด
2.2 ใบสาคัญคู่จ่ายท่ีเป็นใบเสร็จรับเงิน ซึ่งเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินออกให้ต้องมี

รายการสาคญั ดงั นี้
(1) ชื่อ สถานที่อยู่ หรอื ท่ีทาการของผูร้ บั เงนิ
(2) วนั เดอื น ปี ที่รับเงนิ
(3) รายการแสดงการรับเงนิ ระบุว่าเปน็ ค่าอะไร

(4) จานวนเงินทั้งตัวเลข และตัวอักษร
(5) ลายมอื ชื่อของผ้รู ับเงนิ

27

กรณใี บเสรจ็ รับเงินมรี ายการไมค่ รบถ้วนท้งั 5 รายการ ให้ผจู้ ่ายเงินทาใบรบั รองการ
จ่ายเงนิ (แบบ บก.111)

(1) ระบวุ ่าเปน็ การจา่ ยเงนิ ค่าอะไร
(2) วัน เดือน ปใี ด
(3) จานวนเงินเท่าใด
(4) ลงลายมอื ชอื่ รบั รองการจ่ายเงิน
(5) แนบหลักฐานการรับเงิน เพอื่ การตรวจสอบ
3. การเขยี นเช็คสงั่ จา่ ย
3.1 จ่ายเงินตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป สงั่ จ่ายในนามเจ้าหน/้ี ผมู้ ีสทิ ธิรบั เงิน และขีดฆ่า
“หรือตามคาสั่ง” หรอื “หรอื ผู้ถือ” ออก (จะขดี คร่อมหรือไม่ก็ได้)
3.2 จา่ ยเงนิ ตา่ กว่า 5,000 บาท ส่ังจา่ ยในนามเจ้าหนี้/ผู้มสี ิทธิรบั เงิน และจะไมข่ ีดฆ่า
“หรือผู้ถือ” ออกกไ็ ด้ โดยอยู่ในดุลยพินจิ ของผู้สัง่ จ่าย
3.3 สัง่ จ่ายเงินเพื่อขอรบั เงินสดมาจา่ ย ใหอ้ อกเช็คสัง่ จ่ายในนามเจ้าหน้าทกี่ ารเงิน
และขดี ฆา่ คาวา่ “หรอื ตามคาส่งั ” หรอื “หรือผถู้ ือ” หา้ มออกเช็คส่ังจา่ ยเป็นเงินสด
3.4 ต้นข้วั เชค็ ใหร้ ะบุรายการ ดังน้ี
- วันที่เขยี นเชค็
- ชือ่ ผูร้ บั เช็ค / เจ้าหน้ี / ผมู้ ีสิทธิรบั เงิน
- จานวนเงินคงเหลือก่อนและหลังการจา่ ย
- ดา้ นหลงั ตน้ ขว้ั เช็ค ให้ผู้รับลงลายมือชื่อวนั ที่รับเชค็
3.5 จดั ทาทะเบียนคุมการจ่ายเชค็
4. การจ่ายเงินยืม
ตามระบบการควบคมุ เงินของหนว่ ยงานย่อย พ.ศ. 2544 สัญญายืมเงนิ ไม่ตอ้ งบันทึก
รายการในทะเบยี นคุมเอกสารแทนตัวเงิน ดังน้ันเม่ือจา่ ยเงนิ ยืมหรือจ่ายตามใบสาคัญรองจา่ ย จะต้องตัด
จ่ายจากทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณทเี่ กยี่ วขอ้ ง
4.1 จัดทาสัญญาการยมื เงินตามแบบทกี่ ระทรวงการคลังกาหนด
4.2 ประมาณการคา่ ใช้จ่ายและกาหนดเวลาสง่ ใช้
4.3 ผมู้ ีอานาจอนุมัตจิ า่ ยเงนิ ยมื โดยให้ยมื เทา่ ทจี่ าเป็นเพือ่ ใชใ้ นราชการ
4.4 ห้ามอนุมัติใหย้ มื เงินรายใหม่ ถ้าผูย้ ืมมไิ ด้สง่ ใชเ้ งนิ ยมื รายเก่าให้เสรจ็ สิน้ ก่อน
4.5 เมื่อครบกาหนดสง่ ใช้เงินยมื ผยู้ มื ยังมิได้สง่ ใช้ใหเ้ จา้ หน้าที่ติดตามและทวงถาม
4.6 เมือ่ ผู้ยมื เงนิ สง่ ใชเ้ งนิ ยืม ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ผี ู้รบั คืนบันทกึ การรบั คนื ดา้ นหลงั สัญญายมื เงนิ

28

- ส่งใชเ้ ป็นเงนิ สด ให้เจา้ หน้าที่ผรู้ ับคืน ออกใบเสรจ็ รบั เงินตามแบบท่ี
กระทรวงการคลังกาหนดให้กบั ผยู้ มื เงนิ

- ส่งใชเ้ ป็นใบสาคญั ใหเ้ จา้ หน้าท่ีผ้รู ับคืน ออกใบรบั ใบสาคัญตามแบบที่
กระทรวงการคลงั กาหนดให้กับผ้ยู ืมเงนิ

4.7 บนั ทึกรายการในทะเบยี นคุมเงนิ นอกงบประมาณ ตามประเภทของเงินท่ียืม
ขอ้ กาหนดในการเก็บรกั ษาเงนิ

1. ทุกส้ินวนั ให้เจา้ หน้าทีผ่ รู้ บั ผดิ ชอบสรุปยอดเงนิ คงเหลอื แตล่ ะประเภทท่ีปรากฏใน
ทะเบียนคุมเงินประเภทต่าง ๆ เพ่ือจัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวัน เสนอกรรมการเก็บรักษาเงินที่
ผู้อานวยการสถานศึกษาแต่งต้ัง โดยจานวนเงินคงเหลือท่ีปรากฏในรายงานเงินคงเหลือประจาวัน
จะประกอบดว้ ย

- รายการเงนิ สดจะต้องเทา่ กับตัวเงนิ สด เชค็ หรอื ธนาณัติ ทตี่ รวจนับได้
- รายการเงินฝากธนาคารจะต้องเทา่ กับยอดทป่ี รากฏในบัญชีเงินฝากธนาคาร
สาหรบั บัญชีเงินฝากธนาคาร ทกุ สน้ิ เดือนให้จัดทางบเทียบยอดบญั ชี
เงินฝากธนาคาร
- รายการเงนิ ฝากส่วนราชการผู้เบกิ จะตอ้ งเทา่ กบั ยอดท่ีปรากฏในสมุดค่ฝู าก
2. คณะกรรมการเกบ็ รักษาเงนิ รว่ มกันตรวจสอบตัวเงิน และหลักฐานแทนตวั เงนิ กับ
รายงานเงินคงเหลือประจาวัน เมื่อถูกต้องตรงกันแล้ว ให้ลงลายมือชื่อในรายงานเงินคงเหลือประจาวัน
การแต่งตัง้ คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน ให้แต่งต้ังและปฏิบัติตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนาเงิน
สง่ คลังในหนา้ ทข่ี องอาเภอและกงิ่ อาเภอ พ.ศ. 2520 ขอ้ 53 ถึง ขอ้ 62
3. กรณีมีตู้นริ ภยั ใหน้ าเงินเข้าเกบ็ ในตู้นิรภัย
4. กรณีที่ไม่มีตู้นิรภัย เม่ือมีเงินสดคงเหลือให้จัดทาบันทึกการรับเงินเพื่อเก็บรักษาตาม
จานวนเงินและตามประเภทของเงิน เมอ่ื สน้ิ วันทาการให้นาฝากผู้อานวยการสถานศกึ ษา
5. เจ้าหน้าที่การเงินนารายงานเงินคงเหลือประจาวัน เสนอผู้อานวยการสถานศึกษาเพ่ือ
ทราบ
6. วงเงนิ เกบ็ รกั ษาและเงนิ แตล่ ะประเภท ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กาหนดในเร่ืองนน้ั ๆ
ข้อกาหนดในการควบคุมและตรวจสอบ
เพ่ือใหก้ ารบรหิ ารงานดา้ นการเงนิ ของสถานศกึ ษาเป็นไปอย่างถกู ต้อง จงึ ตอ้ งมกี าร
ตรวจสอบการปฏิบัติงาน โดยให้ผู้อานวยการสถานศึกษาหรือผู้ท่ีผู้อานวยการสถานศึกษามอบหมาย
ให้ดาเนินการ ดังนี้
1. ตรวจสอบการส่งเอกสารหลักฐานในทะเบยี นคุมหลักฐานขอเบิกว่าได้มกี ารสง่
หลักฐานให้สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา เปน็ ไปตามลาดบั ก่อนหลังหรือไม่

29

2. ทุกส้ินวันทาการ ให้ตรวจสอบการบันทึกรายการเคล่ือนไหวในทะเบียนคุมต่าง ๆ
ซึ่งจานวนเงินรวมของเงินแต่ละประเภทที่สถานศึกษาได้รับ หักจานวนเงินท่ีนาส่งหรือนาฝากในวันน้ัน
จะเปน็ ยอดทแ่ี สดงไวใ้ นรายงานเงินคงเหลอื ประจาวันตามประเภทเงนิ

ผู้บริหารสถานศึกษาควรแต่งตั้งผู้ตรวจสอบการรับ- จ่ายเงินประจาวัน ตามระเบียบการ
เก็บรักษาเงนิ และการนาเงนิ ส่งคลงั ในหน้าท่ขี องอาเภอและกิง่ อาเภอ พ.ศ. 2520 ใหป้ ฏิบัติดังนี้

- ตรวจสอบการรับเงิน ตามระเบยี บฯ ขอ้ 20 ตรวจสอบจานวนเงินทีจ่ ดั เกบ็ และ
นาส่งกับหลักฐาน และรายการท่ีบันทึกไว้ในทะเบียนคุม หากถูกต้องให้ลงลายมือช่ือกากับไว้ในสาเนา
ใบเสรจ็ รับเงนิ ฉบับสดุ ท้าย

- ตรวจสอบการจ่ายเงิน ตามระเบียบฯ ข้อ 37 ตรวจสอบรายการจ่ายเงิน
ท่ีบันทึกในทะเบียนคุมกับหลักฐานการจ่าย หากถูกต้องให้ลงลายมือชื่อกากับยอดเงินคงเหลือใน
ทะเบียนคมุ ทุกเล่ม

ขอ้ กาหนดในการจัดทารายงานและสง่ รายงาน
1. ตามระบบการควบคุมเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2544 การจดั ทารายงานเงิน

คงเหลือประจาวัน ในกรณีที่วันใดไม่มีการรับ - จ่ายเงิน ก็ให้จัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวัน
และหมายเหตุในรายงานวา่ ไม่มีการรับ – จ่ายเงิน และทกุ สิ้นเดือนให้สาเนารายงานเงินคงเหลือประจาวัน
ณ วันทาการสุดท้ายของเดือน ส่งให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาทราบ โดยส่งรายงานภายในวันที่
15 ของเดือนถดั ไป เพือ่ ประโยชน์ในการกากบั ดแู ล

2. งบเทียบยอดเงินฝากธนาคารหรืองบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร เป็นรายงานทาง
การเงินท่ีจะต้องจัดทา เพ่ือพิสูจน์ความถูกต้องของยอดคงเหลือในบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทกระแส
รายวัน ตามทะเบียนคุมเงินฝากกระแสรายวันของสถานศึกษา และจัดส่งสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ภายในวนั ท่ี 15 ของเดือนถดั ไป

3. รายงานการใช้จ่ายเงินอุดหนุนท่ัวไป ให้รายงานทุกภาคเรียน โดยให้ส่งภายใน
15 วันนบั จากวนั ที่ปิดภาคเรยี น

4. รายงานการรับ – จ่าย เงินรายได้สถานศึกษา ให้รายงานให้คณะกรรมการ
สถานศกึ ษาทราบทกุ ส้นิ ภาคเรยี น และจัดสง่ รายงานใหส้ านกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาทกุ สน้ิ ปีงบประมาณ

5. รายงานการใช้ใบเสร็จรับเงิน ส่งทุกส้ินปีงบประมาณ อย่างช้าไม่เกินวันท่ี
31 ตลุ าคมของปงี บประมาณถัดไป

การบันทกึ รายการในทะเบยี นคมุ เงิน

ตามระบบการควบคมุ เงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2544

เอกสาร / หลักฐาน ที่ใช้ประกอบการบนั ทึกรายการ
หลักฐานซ่ึงแสดงการรับหรือจ่ายเงินของสถานศึกษา ให้ถือเป็นเอกสารประกอบการบันทึกใน

ทะเบยี นคุมเงนิ ไดแ้ ก่
ดา้ นรับ
1. สาเนาใบเสรจ็ รบั เงิน เอกสารแสดงการรับเงนิ ของสถานศึกษา เขียนยอ่ ว่า “บร.”
2. สมุดบัญชเี งินฝากธนาคาร เอกสารแสดงการรับเงินดอกเบี้ย บันทึกเลขท่บี ัญชเี งนิ ฝาก
3. สาเนาใบรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย เอกสารท่ีแสดงการหักภาษี ณ ทจ่ี ่าย เขียนยอ่ ว่า “บก.28”
4. หนังสือแจ้งการโอนเงิน เอกสารท่ีแสดงการโอนเงินให้กับสถานศึกษา บักทึกในทะเบียนคุม
เงินฝากกระแสรายวนั เขียนตัวยอ่ ตามเลขทขี่ องหนงั สือที่แจง้ การโอนเงิน เช่น “ศธ 04034/.....”
ด้านจ่าย
1. ตน้ ขว้ั เชค็ เป็นเอกสารที่แสดงการจ่ายเงินให้กับผู้มีสิทธิรับเงิน บันทึกในทะเบียนคุมเงินฝาก

กระแสรายวัน และทะเบียนคมุ การจ่ายเชค็
2. ใบเสร็จรับเงนิ ที่ได้รับจากบคุ คลภายนอก เป็นเอกสารแสดงการจ่ายเงนิ ของสถานศึกษาใหก้ บั

บุคคลภายนอก ใบเสรจ็ รับเงินดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามข้อกาหนดตามประมวลรัษฎากร โดยเขียนย่อว่า
“บจ” ใบเสร็จของบุคคลภายนอก เชน่

- สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา
- กรมสรรพากร
- การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค
- สานักงานประปา
- บริษัททีโอที จากัด, บรษิ ทั ทที ีแอนดท์ ี
- บริษทั /ห้างหนุ้ สว่ น/ร้านค้า
3. ใบสาคัญรบั เงนิ เป็นเอกสารแสดงการจา่ ยเงนิ ของสถานศึกษาให้กับบคุ คล/ร้านคา้ ท่ีไม่
สามารถออกใบเสร็จรบั เงนิ ให้ได้ เขียนตัวยอ่ วา่ “บค”
4. สญั ญายมื เงิน เปน็ เอกสารทีแ่ สดงการจ่ายเงนิ ยืมของสถานศึกษา บนั ทึกตวั ย่อวา่ “บย”

กอ่ นการบนั ทึกรายการในทะเบียนคุมเงนิ เจ้าหนา้ ท่ผี ู้รับผิดชอบต้องตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน
และจัดเก็บไหค้ รบถว้ น ดังนี้

31

1. ตน้ เรอ่ื งเบิกทัง้ หมด ได้แก่
- โครงการ (ถา้ ม)ี
- เรอ่ื งที่ดาเนินการจัดซ้อื /จัดจา้ ง/จดั หา ตามระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรวี า่ ด้วยการ

พัสดุ พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพิม่ เตมิ
- บันทกึ ขออนมุ ตั ิเบกิ เงนิ ของเจ้าหน้าทก่ี ารเงิน ที่มีลายมอื ชื่อผ้อู านวยการสถานศกึ ษา

เป็นผูอ้ นมุ ัติ
- บันทกึ ขออนมุ ัติจ่ายเงินทม่ี ีลายมือช่อื ผอู้ านวยการสถานศึกษา หรือผ้ทู ไี่ ด้รับ

มอบหมาย เป็นผู้อนมุ ัติ
2. หลกั ฐานท่ีแสดงว่าได้มกี ารจา่ ยเงินให้แกเ้ จา้ หน้ี / ผูม้ สี ทิ ธิรับเงิน ได้แก่ ใบเสรจ็ รับเงินหรือ

ใบสาคญั รับเงิน
3. กรณีเปน็ ใบสาคัญรับเงิน ให้แนบสาเนาบัตรประจาตวั ประชาชนของผู้รบั เงิน หรือบนั ทึก

เลขท่บี ตั รประจาตัวประชาชนไวท้ ่ีใบสาคัญรบั เงนิ เพื่อประโยชนใ์ นการยนื ยัน ช่ือ และสถานที่อยู่
ทถ่ี ูกตอ้ งของผู้รับเงิน

4. หลักฐานการจ่ายทกุ ฉบับทเี่ จ้าหน้าที่ผู้จา่ ยเงนิ รับรองการจ่ายเรยี บร้อยแลว้ โดยประทบั ตรา
“จ่ายเงินแลว้ ” พร้อมทง้ั ลายมือชือ่ ชอ่ื ตัวบรรจง วันทีจ่ า่ ย

การบันทกึ รายการในทะเบียน
1. ทะเบียนคุมหลักฐานขอเบิก ใช้สาหรับบันทึกการรับหลักฐานขอเบิกเงินจากเจ้าหน้ี หรือผู้มี

สิทธิรับเงิน และส่งให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพื่อดาเนินการจ่ายเงินให้เจ้าหนี้ หรือผู้มีสิทธิรับเงิน
โดยตรง การบันทึกรายการในชอ่ งตา่ ง ๆ ใหป้ ฏิบตั ิดงั น้ี

ชอ่ งท่ี 1 “วัน เดือน ปี” ใหบ้ นั ทึก วัน เดอื น ปี ทร่ี ับหลักฐานขอเบกิ
ชอ่ งที่ 2 “เจ้าหน้ี หรอื ผ้ขู อเบิก” ใหบ้ นั ทึกชือ่ เจา้ หน้ี หรอื ผู้ขอเบกิ
ช่องท่ี 3 “ประเภทรายจ่าย” ให้บกั ทกึ ประเภทรายจ่ายที่ขอเบิก
ชอ่ งที่ 4 “จานวนเงนิ ” ให้บนั ทกึ จานวนเงินที่ขอเบิกตามหลักฐานขอเบิก
ช่องที่ 5 “ลายมือชอ่ื ผูร้ บั หลกั ฐาน” ใหเ้ จ้าหน้าทีผ่ รู้ บั หลกั ฐานขอเบกิ ลงลายมือชอ่ื
ชอ่ งท่ี 6 “วนั ทสี่ ่งสว่ นราชการผูเ้ บิก” ใหบ้ ักทกึ วนั เดอื น ปี และเลขทหี่ นงั สือที่ส่งหลกั ฐาน
ขอเบกิ ให้ส่วนราชการผ้เู บิก
ชอ่ งท่ี 7 “หมายเหต”ุ ให้บักทกึ ขอ้ ความอน่ื ที่จาเปน็ เช่น ได้รบั เปน็ เงนิ สด
เช็ค หรือโอนเงนิ เข้าบัญชีผมู้ สี ิทธแิ ลว้

32

2. ทะเบยี นคุมเงินนอกงบประมาณ ใชบ้ ันทึกรายการเก่ยี วกบั การรบั จ่ายเงนิ นอกงบประมาณ

ประเภทเงินอุดหนนุ ท่ัวไป เงินรายไดส้ ถานศกึ ษา เงนิ ภาษหี ัก ณ ทีจ่ า่ ย ฯลฯ การบันทึกรายการในชอ่ ง

ต่าง ๆ ให้ปฏบิ ัติดงั น้ี

ชอ่ งท่ี 1 “วัน เดอื น ปี” สาหรับบนั ทกึ วนั เดือน ปี ท่ีเกิดรายการรับ-จา่ ยเงนิ

ชอ่ งท่ี 2 “ท่ีเอกสาร” สาหรับบนั ทึกเลขทเ่ี อกสารประกอบรายการ (เลขท่ี

ใบเสร็จรับเงิน หรือเลขทใี่ บสาคญั คูจ่ า่ ย)

ช่องท่ี 3 “รายการ” สาหรับบันทึกคาอธิบายรายการรบั หรือจ่ายเงนิ โดยย่อ

ชอ่ งท่ี 4 “รับ” สาหรับบันทกึ จานวนเงินทไ่ี ด้รับ

ชอ่ งท่ี 5 “จา่ ย” สาหรับบันทกึ จานวนเงินทจ่ี ่าย

ชอ่ งท่ี 6 “คงเหลอื ” “เงนิ สด” สาหรบั บันทกึ จานวนเงินคงเหลือทีเ่ ปน็ เงนิ สดในมือ

ช่องท่ี 7 “คงเหลอื ” “เงนิ ฝากธนาคาร” สาหรบั บันทกึ จานวนเงินคงเหลือทอ่ี ย่ใู นบัญชีเงนิ

ฝากธนาคาร

ช่องท่ี 8 “คงเหลือ” “เงินฝากส่วนราชการผู้เบกิ ” สาหรบั บันทึกจานวนเงนิ ทีน่ าฝากสว่ นราชการ

ผเู้ บิก

ช่องที่ 9 “หมายเหตุ” สาหรับบันทึกขอ้ ความอื่นที่จาเปน็

3. ทะเบยี นคมุ เงินนอกงบประมาณ กรณีบันทกึ รายการตามสัญญายมื เงนิ ใช้บันทึกรายการ

เกยี่ วกับการรับจา่ ยเงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินอดุ หนุนท่ัวไป เงนิ รายไดส้ ถานศึกษา (เงนิ โครงการ

อาหารกลางวนั ) การบนั ทกึ รายการในช่องตา่ ง ๆ ให้ปฏบิ ัติดงั น้ี

ชอ่ งที่ 1 “วัน เดอื น ปี” สาหรบั บนั ทกึ วนั เดือน ปี ที่เกิดรายการรับ-จ่ายเงิน

ชอ่ งที่ 2 “ท่ีเอกสาร” สาหรับบนั ทึกเลขทเ่ี อกสารประกอบรายการ (เลขที่

ใบเสร็จรับเงิน หรอื เลขท่ีใบสาคญั คูจ่ ่าย หรือเลขท่ี

สัญญายืมเงนิ )

ช่องที่ 3 “รายการ” สาหรบั บันทกึ คาอธบิ ายรายการรบั หรือจ่ายเงินโดยย่อ

ชอ่ งที่ 4 “รบั ” สาหรบั บันทกึ จานวนเงินที่ไดร้ บั

ชอ่ งที่ 5 “จ่าย” “ลกู หน้ี” สาหรบั บันทกึ จานวนเงินที่จ่ายตามสัญญายมื เงิน

ชอ่ งที่ 6 “จา่ ย” “ใบสาคัญ” สาหรบั บนั ทึกจานวนเงินท่ีจ่ายตามหลักฐานการจ่าย

ชอ่ งที่ 7 “คงเหลอื ” “เงนิ สด” สาหรบั บันทึกจานวนเงินคงเหลอื ทเ่ี ปน็ เงนิ สดในมือ

ช่องที่ 8 “คงเหลอื ” “เงนิ ฝากธนาคาร” สาหรบั บันทกึ จานวนเงินคงเหลอื ท่ีอยใู่ นบญั ชเี งนิ

ฝากธนาคาร

33

ช่องท่ี 9 “คงเหลอื ”“เงินฝากส่วนราชการผูเ้ บกิ ” สาหรับบันทึกจานวนเงินท่ีนาฝากส่วนราชการผู้เบิก

ชอ่ งที่ 10 “หมายเหตุ” สาหรับบนั ทึกข้อความอื่นทจี่ าเปน็

ท้งั นีร้ ูปแบบทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณ จะเลือกใช้แบบใด ขึ้นอยกู่ บั ความจาเป็นในการใช้

รายละเอยี ดขอ้ มลู ของเงนิ นอกงบประมาณนนั้ ๆ )

4. ทะเบยี นคมุ เงนิ นอกงบประมาณ (เงินฝาก) ใชส้ าหรับบันทึกการรับเงนิ นอกงบประมาณ

ซ่ึงต้องจ่ายคืนเม่ือถึงกาหนดเวลา เช่น เงินมัดจาประกันสัญญา เป็นต้น การบันทึกรายการในช่องต่าง ๆ

ให้ปฏบิ ัติดังน้ี

ช่องท่ี 1 “ลาดับท่ี” ใหบ้ ันทกึ ลาดับท่ีของรายการ

ช่องท่ี 2 “รายการ” ให้บนั ทกึ ช่ือเจ้าของเงินนอกงบประมาณ

ชอ่ งที่ 3 “ประเภท” ใหบ้ ันทึกประเภทเงนิ ทร่ี ับ

ชอ่ งที่ 4 “การรับ” ให้บันทกึ วัน เดือน ปี เลขทีเ่ อกสาร และจานวนเงินที่รับ

ช่องท่ี 5 “การฝาก” ให้บนั ทึกวัน เดือน ปี เลขที่เอกสาร และจานวนเงินที่

ฝากสว่ นราชการผเู้ บิก

ช่องท่ี 6 “วนั ครบกาหนด” ใหบ้ นั ทึกวันครบกาหนดของเงนิ ทนี่ าฝากส่วนราชการ

ผู้เบกิ หากเงินประเภทใดท่นี าฝากไมส่ ามารถระบุวัน

ครบกาหนด ใหแ้ สดงเครอ่ื งหมายขีด (-)

ช่องท่ี 7 “วนั ท่ีผู้เบิกจา่ ยเงินคืนผมู้ ีสทิ ธิ” ใหบ้ นั ทกึ วันทสี่ ่วนราชการผู้เบกิ จ่ายเงินคืนให้ผูม้ ีสทิ ธิ

ช่องที่ 8 “หมายเหตุ” ให้บันทึกข้อความอ่นื ทจี่ าเป็น

5. สมุดคู่ฝาก ใช้สาหรับบันทึกรายการฝาก และถอนเงนิ นอกงบประมาณกบั ส่วนราชการผเู้ บิก

การบันทกึ รายการในช่องตา่ ง ๆ ให้ปฏิบัตดิ งั นี้

ช่องท่ี 1 “วัน เดอื น ปี” ให้บันทกึ วัน เดือน ปี ที่เกิดรายการ

ช่องท่ี 2 “ท่ีเอกสาร” ให้บนั ทกึ เลขท่ใี บนาฝาก หรือหนงั สอื เพ่อื นาส่งให้

ส่วนราชการผู้เบิก และใบเบิกเงนิ ฝาก

ช่องท่ี 3 “ฝาก” ให้บนั ทกึ จานวนเงินที่ฝากส่วนราชการผู้เบกิ

ช่องท่ี 4 “ถอน” ให้บันทกึ จานวนเงินท่ขี อถอนจากส่วนราชการผเู้ บิก

ซงึ่ อาจเกิดจากการแจง้ ใหส้ ่วนราชการผู้เบิกจ่ายคนื

เงนิ ให้ผ้มู สี ิทธิโดยตรง หรือการขอรับเงนิ จากสว่ น

ราชการผเู้ บกิ มาจา่ ยใหผ้ ู้มสี ิทธริ ับเงนิ ที่สถานศกึ ษา

ช่องที่ 5 “คงเหลือ” ใชบ้ ันทึกจานวนเงนิ คงเหลือ

34

ชอ่ งท่ี 6 “ลายมือช่อื ผฝู้ าก” ใหผ้ ูเ้ บกิ หรือผทู้ ีผ่ ู้เบกิ มอบหมายลงลายมอื ชือ่ การรับ

ฝากหรอื ถอนเงนิ ฝาก

ชอ่ งที่ 7 “ลายมือชอ่ื ผนู้ าฝากหรอื ผู้เบกิ ถอน” ใหห้ วั หน้าสถานศึกษาหรือผู้ทห่ี ัวหนา้ สถานศกึ ษา

มอบหมายใหน้ าเงนิ ฝากหรือถอนเงนิ จากส่วน

ราชการผเู้ บกิ ลงลายมอื ชื่อ

ชอ่ งท่ี 8 “หมายเหตุ” ให้บนั ทึกข้อความอนื่ ทีจ่ าเป็น

6. ทะเบยี นคมุ การรับและนาสง่ เงินรายได้แผน่ ดนิ ใชส้ าหรับบนั ทกึ การรับและนาส่งเงนิ รายได้

แผน่ ดนิ โดยแยกตามประเภทของเงินท่ีไดร้ ับหรือนาสง่ การบันทึกรายการในช่องต่าง ๆ ใหป้ ฏบิ ัติดังน้ี

ช่องท่ี 1 “วัน เดอื น ปี” ใหบ้ ันทกึ วนั เดือน ปี ท่ีเกิดรายการ

ชอ่ งท่ี 2 “ทีเ่ อกสาร” ใหบ้ นั ทกึ เลขท่เี อกสารประกอบรายการ (เลขท่ีใบเสร็จ

รับเงิน เลขท่ีบัญชีเงินฝากธนาคาร หรอื เลขทใี่ บสาคัญ

คู่จา่ ย)

ช่องที่ 3 “รายการ” ให้บันทกึ คาอธบิ ายรายการโดยย่อ

ชอ่ งท่ี 4 “ประเภท รบั นาสง่ คงเหลอื ” ใหบ้ นั ทึกประเภทรายได้แผน่ ดิน แต่ละประเภทใน

แต่ละวนั ให้บันทึกด้วยยอดรวม

ชอ่ งท่ี 5 “รวมยอดคงเหลือทุกประเภท” ใหบ้ ันทกึ จานวนคงเหลอื ของรายไดแ้ ผน่ ดนิ ทกุ

ประเภทแสดงเปน็ ยอดสะสม

ช่องที่ 6 “หมายเหตุ” ใหบ้ นั ทกึ ขอ้ ความอืน่ ท่ีจาเป็น

7. ทะเบียนคุมเงินฝากกระแสรายวนั ใชส้ าหรบั แสดงรายละเอยี ดการฝากและถอนเงินจากบญั ชี

เงินฝากกระแสรายวัน การบันทึกรายการในช่องต่าง ๆ ให้ปฏิบตั ิดงั น้ี

ชอ่ งท่ี 1 “วัน เดอื น ปี” ใหบ้ นั ทึกวนั เดือน ปี ทม่ี ีการฝาก และถอนเงนิ

ชอ่ งท่ี 2 “ทีเ่ อกสาร” ใหบ้ นั ทึกเลขท่เี อกสารประกอบรายการ (เลขท่ีหนงั สือ

แจ้งการโอนเงิน หรือหมายเลขเชค็ )

ชอ่ งที่ 3 “รายการ” ให้บนั ทกึ คาอธิบายรายการโดยย่อ

ชอ่ งท่ี 4 “ฝาก” ใหบ้ นั ทึกจานวนเงนิ ทม่ี ีรายการฝาก หรือได้รับการ

โอนเงิน

ช่องที่ 5 “ถอน” ให้บันทกึ จานวนเงนิ ท่ีมีรายการจ่าย และถอนออก

จากธนาคาร

ชอ่ งท่ี 6 “คงเหลอื ” ให้บันทกึ จานวนเงนิ คงเหลือในบัญชีธนาคาร

35

ชอ่ งท่ี 7 “ลายมือชื่อหวั หน้าหนว่ ยงานยอ่ ย” ใหผ้ ู้มีอานาจในสถานศึกษาเป็นผ้ลู งนาม

ชอ่ งที่ 8 “หมายเหตุ” ใหบ้ นั ทึกขอ้ ความอ่นื ทจ่ี าเป็น

8. รายงานเงนิ คงเหลือประจาวัน ใชส้ าหรับแสดงรายละเอียดประเภทเงินคงเหลอื ที่อยู่ในความ

รับผิดชอบของหนว่ ยงานย่อย (สถานศึกษา) ได้แก่ เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินฝากส่วนราชการผู้เบิก

โดยจัดเก็บข้อมูลจากทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณ ทะเบียนคุมการรับและนาส่งเงินรายได้แผ่นดิน

การบันทกึ รายการในช่องตา่ ง ๆ ใหป้ ฏบิ ตั ิดงั นี้

ช่องที่ 1 “ประเภท” ให้แสดงประเภทเงนิ และรายละเอียด (ถา้ ม)ี

ชอ่ งท่ี 2 “เงินสด” ใหแ้ สดงยอดเงินคงเหลือแต่ละประเภทท่ีอยู่ในรูปของ

เงนิ สด ธนาณตั ิ เช็ค ดร๊าฟ ซึ่งยอดรวมของเงินสด

จะต้องเท่ากบั จานวนเงนิ ที่กรรมการตรวจนบั ได้ ณ

สนิ้ วนั ทาการ

ช่องท่ี 3 “เงนิ ฝากธนาคาร” ให้แสดงยอดเงินคงเหลอื แตล่ ะประเภททีฝ่ ากธนาคาร

ชอ่ งท่ี 4 “เงินฝากสว่ นราชการผู้เบกิ ” ให้แสดงยอดเงินคงเหลอื แต่ละประเภททฝี่ ากสว่ น

ราชการผเู้ บกิ

ชอ่ งท่ี 5 “รวม ” ให้แสดงยอดรวมของเงินแต่ละประเภท

ชอ่ งท่ี 6 “หมายเหตุ” ให้บันทึกขอ้ ความอนื่ ทจี่ าเป็น


Click to View FlipBook Version