\ การเสนอญัตติ 1. ญัตติมี 2 อย่างคือ (1) ญัตติเกี่ยวกับกิจการสภาทอ้งถิ่น (2) ญัตติร่างขอบัญญัติ 2.การยืนญัตติ (1)จัดท าเป็ นหนังสือ -การเสนอยนื่ต่อประธานสภาล่วงหนา้ก่อนวนั ประชุมไม่นอ้ยกวา่5วนั -การรับรอง * ญตัติที่เสนอโดยผบู้ริหารทอ้งถิ่นไม่ตอ้งมีผูร้ับรอง * ญัตติที่เสนอโดยสมาชิก ต้องมีสมาชิกรับรองอย่างน้อยกว่า 8 คน ให้มี สมาชิกรับรอง 1 คน (เว้นแต่ กม. ก าหนดเป็ นอย่างอื่น) * ญัตติร่างขอบัญญัติเกี่ยวกับด้วยการเงินจะเสนอได้ต่อเมื่อมีค ารับรองของ ผบู้ริหารทอ้งถิ่น -การบรรจุญัตติ ประธานบรรจุญัตติที่เสนอมาเข้าระเบียบวาระภายในเวลาอันสมควร ใน สมยัประชุมน้นั/ถา้มีเหตุจา เป็น ใหบ้รรจุในสมยัประชุมถดัไป ใหแ้จง้ เหตุจา เป็นต่อสภาในสมยัประชุมน้นั (2)การเสนอญัตติด้วยวาจา 2.1 ญัตติที่อาจเสนอด้วยวาจามีดงัน้ี (1) ขอให้รับรองรายงานการประชุม (2)ขอให้รับรองรายงานอื่น ๆ ของคณะกรรมการต่าง ๆที่สภาต้งัข้ึน (3) ขอปรึกษาหรือขอให้พิจารณาเป็ นเรื่องด่วน (4) ขอให้พิจารณาร่างข้อบัญญัติสามวาระรวดเดียวตามข้อ 45 (5) ญัตติตามข้อ 41 (6) ญัตติที่ประธานที่ประชุมเห็นควรอนุญาต ข้อ 37 ข้อ 38 ข้อ 38 วรรค 4 ข้อ 38 ข้อ 38 วรรค 3 ข้อ 38 วรรค 5 ข้อ 40วรรค 1,2
3.ญัตติตกไป - ญตัติที่บรรจุเขา้ระเบียบวาระแลว้หากไม่พิจารณาในสมยัประชุมน้นั/ พิจารณาไม่ แล้วเสร็จ เว้น ญัตติร่างข้อบัญญัติให้บรรจุสมัยถัดไป - ญัตติที่ที่ประชุมสภายังไม่ได้พิจารณา/พิจารณายังไม่เสร็จ เมื่อสภาครบวาระ/ยุบสภา 4.การถอนญัตติ -ยังไม่บรรจุญัตติลงระเบียบวาระ **การขอถอนต่อประธานสภา - บรรจุญัตติลงระเบียบวาระแล้ว *** การถอนต้องได้รับความยินยอมจากที่ประชุม 5.กรณีที่ถือว่าได้ถอนญัตติ -ถึงวาระพิจารณาแล้ว ผู้เสนอ/ผู้แปรญัตติไม่อยู่หรือไม่ขออภิปราย ให้ถือว่าได้ถอน ญัตติ/ค าแปรญัตติ -กรณีผู้บริหารเสนอญัตติ/แปรญัตติ>อาจมอบหมายให้รองนายก/เลขา/ที่ปรึกษา นายก เป็นผอู้ภิปราย/ช้ีแจง/แถลงแทนก็ได้> ต้องท าเป็ นหนังสือ ข้อ 56 ข้อ 40 วรรค 3 ข้อ 57 ข้อ 56 วรรค 2 ข้อ 55 ข้อ 38 วรรคท้าย ข้อ 39 2.2การด าเนินการ -การเสนอ ยกมือพ้นศีรษะ เมื่อประธานอนุญาต จึงกล่าวได้ -การรับรองยกมือข้ึนพน้ศีรษะ -การบรรจุญัตติ ประธานสภาต้องบรรจุเข้าระเบียบวาระในการประชุม คราวน้นั ข้อระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา่ดว้ยขอ้บงัคบัการประชุมสภาทอ้งถิ่น พ.ศ.2547 และฉบบัแกไ้ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554