สรุปประเด็นข้อกฎหมายและแนวนโยบาย ในการแก้ไขปัญหากรณีโป่งลึก-บางกลอย ในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
การคุ้มครอง รักษาป่าแก่งกระจาน ได้มีการคุ้มครองรักษามาแต่อดีต • พระราชบัญญัติรักษาป่า พระพุทธศักราช 2456 • พระราชบัญญัติป่าคุ้มครองและสงวนป่า พุทธศักราช 2481 • พระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 • ประมวลกฎหมายที่ดิน (2497) • พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 • พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2514 จ าแนกที่ดินเป็นป่าคุ้มครอง • พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562
ล าดับการคุ้มครองพื้นที่ป่าตามกฎหมาย อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี • พระราชกฤษฎีกาก าหนดป่าคุ้มครอง พ.ศ. 2492 • กฎกระทรวงป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2508 • ป่าไม้ถาวรตามมติ ครม. 2 ส.ค. 2514 • พระราชกฤษฎีกาประกาศจัดตั้งอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน พ.ศ. 2524
การเคลื่อนย้ายกลุ่มชาติพันธุ์ (ชาวกะเหรี่ยง/กะหร่าง) ปี พ.ศ. 2537 -2539 • สาเหตุ - ช า วก ะเห รี่ ยง/ก ะห ร่ าง ได้อพ ยพ ถิ่น ฐ าน ม า จ ากเทือ กเ ข าต ะน า วศ รี แล ะป ร ะเทศพม่ า เข้ามาตั้งชุมชนอย่างกระจัดกระจายตามบริเวณที่มีแม่น้ าไหลผ่าน และอพยพลงมาเรื่อยๆจนถึงบริเวณหมู่บ้าน โป่งลึกในปัจจุบัน ซึ่งระหว่างการอพยพดังกล่าว ได้มีการแผ้วถางป่าส่งผลให้บริเวณพื้นที่โดยรอบเกิดความ เสื่อมโทรม อันเป็นการฝ่าฝืนกระท าผิดกฎหมาย ในการสงวน คุ้มครอง ดูแลรักษาพื้นที่ ตามมาตรา 11, 54, 72 ตรี และมาตรา 73 แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484, มาตรา 16(1), 18, 24 และมาตรา 25 แห่ง พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504, มาตรา 14 และมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 ประกอบมีสาเหตุจากความมั่นคงชายแดนด้วย • แนวทางการอพยพ ด าเนินการร่วมกันระหว่างกองทัพบกและอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ย้ายเข้ามาอยู่บริเวณบ้านโป่งลึก-บางกลอย มีการจัดสรรที่ดินให้ 57 ครอบครัว กลุ่มที่ 2 กลับไปอาศัยอยู่ประเทศพม่าตามเดิม ไม่เข้าบุกรุกอุทยานแห่งชาติหรือประเทศไทยอีก กลุ่มที่ 3 มีความประสงค์จะขอไปอยู่ในเขตพื้นที่พุระก า อ าเภอสวนผึ้ง จังหวัดเพชรบุรี
ยุทธการตะนาวศรีช่วงปี พ.ศ. 2553 - 2555 • สาเหตุ - ในช่วงปี พ.ศ. 2541 – 2552 พบกลุ่มชาติพันธุ์ (ชาวกะเหรี่ยง/กะหร่าง) บางส่วนกลับขึ้นไปบริเวณจุดเดิม และพบการบุกรุก โค่นล้มต้นไม้ใหญ่เพื่อปลูกข้าว และพริก รวมทั้งพบการปลูกกัญชา ซึ่งเป็นการฝ่าฝืนกระท า ความผิดกฎหมายตามมาตรา 11, 54, 72 ตรี และมาตรา 73 แห่งพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484, มาตรา 16(1), 18, 24 และมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504, มาตรา 14 และมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 • การด าเนินการยุทธการตะนาวศรี ครั้งที่ 1 – 3 (ในช่วงเดือนเมษายน 2553 – เดือนเมษายน 2554) เป็นการเจรจาลดความขัดแย้ง ให้ชาวกะเหรี่ยง/กะหร่างไม่ให้กระท าผิดกฎหมาย • การด าเนินการยุทธการตะนาวศรี ครั้งที่ 4 – 6 (ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2554 – เดือนกรกฎาคม 2554) เนื่องจากการเจรจาในครั้งที่ 1 – 3 ยังพบการกระท าผิดกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ คือมีการบุกรุก แผ้วถาง พบการปลูก กัญชาแซมในกอข้าว รวมทั้งพบอุปกรณ์ล่าสัตว์จ านวนมาก คณะเจ้าหน้าที่จึงมีกรื้อถอนท าลายเพิงพัก
ยุทธการตะนาวศรีช่วงปี พ.ศ. 2553 – 2555 (ต่อ) • การด าเนินการยุทธการตะนาวศรี ครั้งที่ 7 – 9 (ในช่วงเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2555 – เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555) - มีการบินส ารวจผืนป่าในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน พบการบุกรุกรวม 33 จุด 49 แปลง เนื้อที่บุกรุกประมาณ 427 ไร่ และ พ บ ร่ อง ร อ ย ก า ร ป ลู ก กั ญ ช า จ า น ว น 3 จุ ด เ นื้ อ ที่ ม า ก ก ว่ า 65 ไร่ รวมทั้งค้นพบอาวุธสงคราม (ปืน AK47 (อาก้า) ปืนแก๊บ ซากสัตว์ ป่าสงวน (เก้งหม้อ เลียงผา) ซากสัตว์ป่าคุ้มครอง (ค่างแว่นถิ่นใต้) ร่องรอยการหาไม้กฤษณา และอุปกรณ์ล่าสัตว์อีกจ านวนมาก ถือ ว่ าเป็นก า รกระท าผิดกฎหมาย ว่ าด้วยป่ าไม้ ค ว ามผิดต าม พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 และความผิดตาม พระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และ สิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ. 2490
การจับกุมและด าเนินคดีผู้กระท าความผิดกฎหมาย เกี่ยวกับการป่าไม้ ในช่วงปี พ.ศ. 2552 - 2563 • พบการกระท าความผิดในบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จ านวนทั้งสิ้น 516 คดี แบ่งเป็น คดีบุกรุกแผ้วถาง จ านวน 311 คดี คดีท าไม้ จ านวน 89 คดี คดีลักลอบล่าสัตว์ป่า จ านวน 116 คดี • พบการกระท าความผิดในบริเวณพื้นที่บ้านบางกลอยและบ้านโป่งลึก จ านวนทั้งสิ้น 91 คดี แบ่งเป็น คดีบุกรุกแผ้วถาง จ านวน 68 คดี คดีท าไม้ จ านวน 6 คดี คดีลักลอบล่าสัตว์ป่า จ านวน 17 คดี ที่มา ส านักป้องกัน ปราบปราม และควบคุมไฟป่า
ยุทธการพิทักษ์ป่าต้นน้ าเพชร ปี พ.ศ. 2564 • สาเหตุ - ส าหรับกรณีชาวกะเหรี่ยงบางกลอยเข้าไปยังบางกลอยบนในช่วงมกราคมถึงกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ที่ผ่านมา และมีการแผ้วถาง หลายจุดเท่ากับเป็นการไม่เคารพกฎหมายเป็นการบุกรุกพื้นที่ ใหม่ ฝ่าฝืนกฎหมายมาตรามาตรา 19 (1) (2) มาตรา 40 และมาตรา 54 แห่งพระราชบัญญัติ อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 - อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานพยายามเจรจาให้กลับลงมาพูดคุยที่บางกลอยล่าง ปรากฏว่ามีการ บุกรุกเพิ่มขยายพื้นที่อีก และเรียกร้องจะไปยังใจแผ่นดิน ซึ่งสภาพเป็นป่าต้นน้ าของจังหวัดเพชรบุรี ที่มีความสมบูรณ์มาก และอยู่ใกล้ชายแดนเป็นเขตความมั่นคง
ยุทธการพิทักษ์ป่าต้นน้ าเพชร ปี พ.ศ. 2564 (ต่อ) • การด าเนินการ - ร่ วมกันด าเนินก า รต ร ว จยึด พื้นที่บุก รุก แผ้ ว ถ าง พื้นที่อุทย านแห่งช าติแก่งก ร ะจ าน บริเวณป่าบางกลอยบน หมู่ที่ 1 ต าบลห้วยแม่เพรียง อ าเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ตรวจพบพื้นที่ ที่ถูกบุกรุก แผ้วถางอย่างเห็นได้ชัดเจน จ านวน 18 แปลง เนื้อที่รวม 154 – 1 - 22 ไร่ - คณะพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ด าเนินการตรวจสอบวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม ในห้วงเวลาต่างๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2496 ถึง พ.ศ.2556 ไม่ปรากฏร่องรอยการท าประโยชน์แต่อย่างใด และตรวจสอบภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel-2 เริ่มพบการแผ้วถางตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม 2564 และมีการ บุกรุกแผ้วถางเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง เห็นได้อย่างชัดเจนจากภาพถ่ายดาวเทียมเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564 และวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564
ยุทธการพิทักษ์ป่าต้นน้ าเพชร ปี พ.ศ. 2564 (ต่อ) • การกระท าดังกล่าวเป็นการกระท าผิดกฎหมายว่าด้วยป่าไม้ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ - ฐ านยึดถือห รือค รอบค รองที่ดิน ก่นส ร้ าง แผ้ ว ถ าง เผ าป่ า ห รือก ร ะท าด้ วยป ร ะ ก า รใดๆ ให้เสื่อมสภาพหรือเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ไปจากเดิม มาตรา 19 (1) แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ประกอบมาตรา 41 - ฐานเก็บหา น าออกไป กระท าด้วยประการใดๆ ให้เป็นอันตราย หรือท าให้เสื่อมสภาพซึ่งไม้ ดิน หิน กรวด ท ร า ย แ ร่ ปิโ ต ร เ ลี ย ม ห รื อท รัพ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ อื่ น ห รื อ ก ร ะ ท า ก า ร อื่ นใ ด อั น ส่ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่อระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพ และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา 19 (2) แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ประกอบมาตรา 42
ยุทธการพิทักษ์ป่าต้นน้ าเพชร ปี พ.ศ. 2564 (ต่อ) - ฐานกระท าการหรืองดเว้นกระท าการไม่ว่าจงใจหรือประมาทเลินเล่อโดยมิชอบด้วยกฎหมาย และก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพยากรธรรมชาติในอุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน สวนพฤกษศาสตร์ หรือสวนรุกขชาติ ผู้นั้นต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายให้แก่รัฐตามมูลค่าทั้งหมดของทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกท าลาย สูญหาย หรือเสียหายไปนั้น ตามมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 - ตามมาตรา 54 แห่งพระราชบัญญัติอุทย านแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ในการด าเนินคดีอาญ า แก่ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ เมื่อพนักงานอัยการยื่นฟ้องคดีอาญา ให้เรียกค่าเสียหาย ตามมาตรา 40 ไปในคราวเดียวกัน
ยุทธการพิทักษ์ป่าต้นน้ าเพชร ปี พ.ศ. 2564 (ต่อ) ผลการปฏิบัติการ สรุปได้ดังนี้ การจับกุมและเคลื่อนย้ายผู้กระท าความผิดกฎหมายว่าด้วยการป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2564 ได้แก่ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน, ส านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 สาขาเพชรบุรี, ส่วนยุทธการด้านป้องกันและปราบปราม, หน่วยพญาเสือ, หน่วยทหารทัพพระยาเสือ, หน่วยต ารวจ ชายแดน 144, หน่วยปกครอง อส., ผู้ใหญ่บ้าน, ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน, หน่วยรบพิเศษแก่งกระจานที่ 1 (แก่งกระจาน), ต ารวจภูธรแก่งกระจาน, โรงพยาบาลแก่งกระจาน ใด โดยเคลื่อนย้ายผู้กระท าความผิดด้วยเฮลิคอปเตอร์ จากนั้น บุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลแก่งกระจานท าการตรวจคัดกรองโควิด 19 เจ้าหน้าที่พิสูจน์หลักฐาน จังหวัด เพชรบุรีด าเนินการตรวจพิสูจน์บุคคล เจ้าหน้าที่ฯ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พืช ด าเนินคดีตามกฎหมาย โดยมิได้ใช้ความรุนแรงแต่อย่าง ผลการปฏิบัติ - ผู้กระท าผิดตามหมายจับได้รวม 22 คน (แยกเป็นชาย 15 คน หญิง 7 คน ) - ท าการเปรียบเทียบปรับ จ านวน 28 คน (แยกเป็นชาย 13 คน หญิง 15 คน ) - คัดกรองบุคคลที่เป็นเด็ก น าส่งผู้ปกครอง จ านวน 37 คน (แยกเป็นชาย 19 คน หญิง 18 คน )
ยุทธการพิทักษ์ป่าต้นน้ าเพชร ปี พ.ศ. 2564 (ต่อ) การด าเนินการ เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2564 คณะเจ้าหน้าที่เข้าพื้นที่แปลงเพื่อตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ และ เก็บหลักฐานเพิ่มเติม การด าเนินการ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2564 อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน รายงานเรื่องผู้ต้องหา ตามเลข คดีอาญาที่ 65/64 ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2564 จ านวน 22 ราย ขอประกันตัวในชั้นศาล โดยเขียนค าร้องด้วย ตนเองว่าเป็นผู้ยากไร้ โดยศาลจังหวัดเพชรบุรี ให้ผู้ต้องหาสาบานตนว่าจะไม่กลับไปกระท าความผิดดังกล่าว หรือขึ้นไปบริเวณป่าบางกลอยบนอีก หรือพื้นที่อื่นในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ที่อุทยานแห่งชาติแก่ง กระจานไม่อนุญาตให้เข้าไป หาฝ่าฝืนจะปรับครั้งละ 50,000 บาทและถอนประกัน ทั้งนี้ ให้ผู้ต้องหาทั้งหมดอยู่ภายใต้ก ากับดูแล สอดส่องของผู้ปกครองท้องที่ พร้อมรายงานตัวกับฝ่ายปกครองทุก 12 วัน
การบินตรวจสภาพป่าเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2564 อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ร่วมกับ กองการบิน กระทรวงทรัพย ากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขอรายงานผลการบินตรวจสอบสภาพป่า ภายใน อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน พบการบุกรุก แผ้วถางป่า และเปิดพื้นที่ป่าใหม่ ภายในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จ านวน 4 แปลง บริเวณห้วยสามแพร่ง และบริเวณตามแนว ชายแดน พิกัด wgs1984 zone47p ดังนี้ 1.520997E 1439924N 2.518503E 1439911N 3.516662E 1445844N 4.515430E 1454519N ทั้งนี้ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จะวางแผนการด าเนินการ ตรวจยึดพื้นที่ และด าเนินคดีตามกฎหมายต่อไป
แนวทางการแก้ไขปัญหา กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ให้ความส าคัญในการดูแลคุณภาพชีวิตของชาวกะเหรี่ยง /กะหร่าง ที่อาศัยอยู่ในบ้านโป่งลึก – บางกลอย ในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน โดยอุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน ได้มีการส ารวจการถือครองที่ดินของประชาชนชาวกะเหรี่ยง/กะหร่างที่อยู่อาศัย หรือท ากิน ในอุทยานแห่งชาติ ตามมาตรา 64 แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 เพื่อให้มีที่อยู่อาศัย และที่ท ากิน ภายใต้กรอบของกฎหมาย และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง และจัดให้มีโครงการอนุรักษ์และการใช้ ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ตามมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 โดยสามารถเก็บหา หรือใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถเกิดใหม่ทดแทนได้ตามฤดูกาลที่มีศักยภาพเหมาะสม และเพียงพอในการเก็บหาหรือใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตินั้น โดยไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพธรรมชาติ สัตว์ป่า ความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบนิเวศ และเป็นกรณีที่มีความจ าเป็นเพื่อแก้ไขปัญหาการด ารงชีพ ตามวิถีชุมชนหรือวิถีดั้งเดิม