คาํแนะนาํของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ทีÉ ๑/๒๕๔๐ เรืÉอง หลักเกณฑ์การแจ้งสิทธิในการอุทธรณ์หรือโต้แย้งคําสัÉงทางปกครอง ด้วยคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมีความเห็นว่า เมืÉอพระราช บัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใช้ บังคับ (ตังแต่วันทีÊ É ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐) การแจ้ งคําสัÉงทางปก ครอง ให้ แก่บุคคล ทีÉเกีÉย วข้ องจะ มีหลักเกณฑ์บ างป ระ ก า รทีÉ แตกต่างไปจากทีÉเคยเป็นมา กล่าวคือ การแจ้ งคําสัÉงทางปกครองจะต้องปฏิบัติตามมาตรา ๔๐[๑] แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ทีÉกําหนดว่าคําสัÉงทางปกครอง ทีÉอาจอุทธรณ์หรือโต้ แย้ งต่อไปได้ เจ้ าหน้ าทีÉผู้ออกคําสÉังทางปกครองต้องแจ้งให้ผู้รับคําสÉังทราบ ถึงรายละเอียดและระยะเวลาในการยืÉนอุทธรณ์หรือโต้แย้งคําสัÉงดังกล่าวด้วย ในกรณีทีÉเจ้ าหน้ าทีÉ ผู้ออกคําสัÉงทางปกครองมิได้แจ้ งรายละเอียดและระยะเวลาในการอุทธรณ์หรือโต้แย้ งไว้ในคําสัÉง และไม่มีการแจ้ งการใช้ สิทธิในการอุทธรณ์หรือโต้ แย้ งใหม่ในภายหลัง ระยะเวลาในการอุทธรณ์ หรือโต้ แย้ งจะขยายออกไปเป็ นหนึÉงปี ตามมาตรา ๔๐ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ เพืÉอให้เกิดความเป็นธรรมแก่ผู้รับคําสÉังทางปกครองและ จะส่งผลให้ ท างราชการต้ องผูกพันในการพิจารณาอุทท ธรณ์หรื อโต้ แย้ งคําสัÉงทางปกครอง นานขึนกว่ากฎหมายในเรืÊ ÉองนันÊๆได้บญัญัติไว้ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเห็นว่าการแจ้ งรายละเอียดและ ระยะเวลาในการใช้ สิทธิอุทธรณ์หรือโต้แย้ งคําสัÉงทางปกครองแก่คู่กรณีเป็นเรืÉองทีÉมีความสําคัญ เพราะเป็นการคุ้มครองสิทธิของคู่กรณีผู้รับคําสÉัง สมควรแนะนําให้ เจ้ าหน้ าทีÉผู้ออกคําสัÉงทาง ปกครองปฏิบัติให้ ครบถ้ วนถูกต้ องตามข้ อกําหนดทีÉบัญญัติไว้ ในมาตรา ๔๐ วรรคหนึÉงแห่ง พระราชบญัญัติวิธีปฏิบตัิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ดงันีÊ ๑. รายละเอียดในการแจ้งสิทธิอุทธรณ์หรือโต้แย้งคาํสÉังทางปกครอง (๑) ระบุกรณีทีÉอาจอทุธรณ์หรือโต้แย้งไว้ในคําสงในกรณีเป็นคําสัÉังทางÉ ปกครองทีÉอาจอทุธรณ์หรือโต้แย้งต่อไปได้ (๒) ระบุการยืÉนคําอุทธรณ์หรือคําโต้แย้ง ประกอบด้วย บุคคลผู้รับคําอุทธรณ์ หรือคําโต้ แย้ ง สถานทีÉยืÉนคําอุทธรณ์หรือคําโต้ แย้ ง เงืÉอนไขอันเป็ นสาระสําคัญในการอุทธรณ์ หรือโต้แย้งในกรณีทีÉกฎหมายกําหนดไว้ (๓) ระบุระยะเวลาสําหรับการยืÉนอทุธรณ์หรือโต้แย้ง
ตัวอย่างเช่น ใช้ข้อความว่า “ถ้าหากท่านประสงค์จะอุทธรณ์หรือโต้แย้งคําสัÉงนีÊ ให้ ยืÉนอุทธรณ์หรื อโต้ แย้ งคําสัÉงดังกล่าวต่อ ..........(๑).........ภายใน.....(๒).....นับแต่วันทีÉ รับทราบคําสังนีÉ ”Ê หมายเหตุ (๑) ให้ระบุบุคคล คณะบคุคล หรือเจ้าหน้าทÉผีู้รับอทุธรณ์คําสงทางปกครอง ัÉ (๒) ให้ระบุระยะเวลาในการยืÉนอทุธรณ์ ๒. กรณีทีÉต้องแจ้งรายละเอียดและระยะเวลาในการอุทธรณ์หรือโต้แย้ง คาํสÉงทางปกครองที ัÉทาํเป็นหนังสือ อาจแยกเป็นกรณีได้ดังนีÊ (ก) ในกรณีมีกฎหมายเฉพาะเรืÉองกําหนดระยะเวลาอุทธรณ์หรือโต้แย้ งคําสัÉง ไว้ เช่น การยืÉนอทุธรณ์ตามมาตรา ๔๘ แห่งพระราชบญัญัติการขนสง่ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ “มาตรา ๔๘ ผู้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่งซÉึงถูกสัÉงเพิกถอนใบอนุญาตมี สิทธิอทุธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสิบห้าวนันบัแต่วนัทีÉทราบคําสังÉ ฯลฯ ฯลฯ” หรือการยืÉนอทุธรณ์ตามมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบญัญัติพนัธ์ุพืช พ.ศ. ๒๕๑๘ “มาตรา ๒๐ ถ้าพนักงานเจ้าหน้าทีÉไม่ออกใบอนุญาต หรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุ ใบอนุญาต ผู้ขอใบอนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรี ภายในสามสิบวันนับแต่วันทีÉได้รับหนังสือของพนักงานเจ้ าหน้ าทีÉแจ้ งการไม่ออกใบอนุญาตหรือ ไม่อนุญาตให้ต่ออายใุบอนญุาต ฯลฯ ฯลฯ” ในกรณีนีให้เจ้าหน้าทีÊ Éผู้ออกคําสÉังทางปกครองแจ้งรายละเอียดและระยะเวลา ตามทีÉกําหนดไว้ในกฎหมายดงักล่าว (ข) ในกรณีไม่มีกฎหมายเฉพาะกําหนดระยะเวลาในการใช้ สิทธิอุทธรณ์หรือ โต้ แย้ งคําสัÉงไว้ ให้ เจ้ าหน้ าทีÉผู้ออกคําสÉังแจ้งให้ผู้รับคําสัÉงยืÉนอุทธรณ์หรือโต้ แย้ งคําสัÉงต่อเจ้ าหน้ า ทีÉผู้ออกคําสัÉงภายในสิบห้ าวันนับแต่วันทีÉได้รับแจ้งคําสัÉงตามทีÉกําหนดไว้ในมาตรา ๔๔[๒] ของพระ ร า ช บัญ ญั ติ วิ ธี ป ฏิ บัติ ร า ช ก า รท า ง ป ก ค ร อ ง พ . ศ . ๒ ๕ ๓ ๙ เ ช่น ม า ต รา ๒ ๑ แ ห่ ง พ ร ะ ร า ช บญัญัติอทุยานแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๐๔ “มาตรา ๒๑ ให้พนกังานเจ้าหน้าทÉมีีอาํนาจออกคําสงัÉให้ผู้กระทําผิดตาม มาตรา ๑๖ ออกจากเขตอทุยานแห่งชาติหรืองดเว้นการกระทําใด ๆในเขตอทุยานแห่งชาต”ิ ๓. กรณีคําสัÉงทางปกครองทีÉไม่อยู่ในบังคับทÉีต้องแจ้งให้คู่กรณีทราบถึงการ ใช้สิทธิอุทธรณ์หรือโต้แย้งตามมาตรา ๔๐[๓]
คําสัÉงด้วยวาจาโดยสภาพไม่สามารถแจ้งรายละเอียดและระยะเวลาให้ใช้สิทธิ อุทธรณ์ได้ถ้าผู้รับคําสัÉงร้ องขอโดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวันนับแต่วันทีÉมีคําสัÉงดังกล่าว เจ้ าหน้ าทีÉผู้ออกคําสÉังต้ องยืนยันคําสัÉงนันเป็ นหนังสือตามมาตรา ๓๕Ê [๔] และในคําสัÉงยืนยันเป็ น หนังสือดังกล่าวเจ้ าหน้ าทีÉต้ องแจ้ งรายละเอียดและระยะเวลาในการยืÉนอุทธรณ์หรือโต้ แย้ งไว้ใน หนังสือนันด้ วยโดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ทีÊ Éระบุไว้ ในข้ อ (ก) หรือ (ข) กล่าวคือ ถ้ ามีกฎหมาย เฉพาะกําหนดระยะเวลาในการใช้ สิทธิอุทธรณ์หรือโต้แย้ งไว้ก็ให้ แจ้ งรายละเอียดและระยะเวลา ตามนัน ถ้ ากฎหมายเฉพาะไม่ได้ กําหนดระยะเวลาดังกล่าวไว้ ก็ให้ เจ้ าหน้ าทีÊ Éผู้ออกคําสÉังแจ้ งให้ ผู้รับคําสÉังยืÉนอุทธรณ์หรือโต้ แย้ งคําสัÉงต่อเจ้ าหน้ าทีÉผู้ออกคําสÉังภายในสิบห้ าวันนับแต่วันทีÉได้ รับ แจ้งคําสังÉ ๔. กรณีทีÉไม่อยู่ในบังคับทÉีต้องแจ้งการใช้สิทธิอุทธรณ์หรือโต้แย้งตามพระ ราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยทีÉหน้ าทีÉต้ องแจ้ งสิทธิอุทธรณ์หรือโต้ แย้ งไว้ ในคําสัÉงทางปกครองนีจะใช้Ê บังคับเฉพาะในกรณีทีÉมีบทบัญญัติแจ้ งชัดไว้ ในกฎหมายว่าคําสัÉงทางปกครองใดของเจ้ าหน้ าทีÉ ต้ องอุทธรณ์หรื อโต้ แย้ งอย่างไรและภายในระยะเวลาเท่าใดเท่านัน ส่วนกรณีทีÊ Éกระบวนการ พิจารณาของฝ่ ายปกครองสินÊสุดลงแล้ว และคู่กรณียังไม่พอใจในผลของคําสัÉงทางปกครองนันÊ คู่กรณีย่อมมีสิทธิทÉีจะนําเรืÉองไปฟ้องเป็ นคดีต่อศาลปกครองได้ ต่อไปตามหลัก การทบ ท วน ทางกฎหมาย ซึÉงการทีÉจะแจ้งให้ ทราบในกรณีดังกล่าวเป็นการแจ้ งตาม มาตรา ๕๐ แห่งพระราช บัญญัติจัดตังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒Ê มิใช่การแจ้ งรายละเอียด และระยะเวลาใน การใ ช้ สิทธิอุทธรณ์หรื อโต้ แย้ งตามพระราชบัญญัติวิธี ปฏิบัติราชก าร ทาง ปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ๕. ปัญหาคาบเกีÉยวในการใช้พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ เนืÉองจากหลักการในพระราชบัญญัติดังกล่าวถือว่าการแจ้งสิทธิในการอุทธรณ์ หรือโต้แย้งคําสัÉงทางปกครองเป็นส่วนหนึÉงของการทําคําสัÉงทางปกครอง การไม่แจ้ งรายละเอียด และระยะเวลาในการยืÉนอุทธรณ์หรือโต้ แย้ งจะมีผลเป็ นการขยายระยะเวลาอุทธรณ์หรือโต้ แย้ ง ทีÉสันกว่าหนึÊ Éงปี ออกไปเป็ นหนึÉงปี และมีผลใช้ บังคับแก่คําสัÉงทางปกครองทีÉออกตังแต่วันทีÊ É ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐ เป็นต้นไป ดังนัน คําสัÊ ÉงทางปกครองทีÉออกก่อนวันทีÉ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐ การไม่แจ้ งรายละเอียดและระยะเวลาในการยืÉนอุทธรณ์หรือโต้แย้งจึงไม่อยู่ในบังคับของมาตรา ๔๐[๕] วรรคสอง แห่งพระราชบญัญัติวิธีปฏิบตัิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
๖. แนวทางปฏิบัติเกีÉยวกับคําสัÉงทางปกครองทีÉออกตัÊงแต่ วันทีÉ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐ และเจ้าหน้าทีÉไม่ได้แจ้งสิทธิในการอุทธรณ์หรือโต้แย้งไว้ในคําสัÉงทาง ปกครอง บรรดาคําสัÉงทางปกครองทีÉออกตังแต่วันทีÊ É ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐ เป็นต้นมา ถ้าเจ้ าหน้ าทีÉไม่ได้แจ้ งรายระเอียดและระยะเวลาในการยืÉนอุทธรณ์หรือโต้แย้งให้ผู้รับคําสÉังทราบ ผลทางกฎหมายจะทําให้ ระยะเวลาการใช้ สิทธิอุทธรณ์หรือโต้ แย้ งทีÉสันกว่าหนึÊ Éงปี ขยายไปเป็ น หนึÉงปี เสมอ ฉะนัน เจ้ าหน้ าทีÊ Éควรพิจารณาว่าจะแจ้งคําสัÉงใหม่หรือไม่ หากเห็นเป็นการสมควรก็ ให้ แจ้ งคําสัÉงทางปกครองไปใหม่พร้ อมทังกําหนดระยะเวลาอุทธรณ์หรือโต้ แย้ งไปด้ วย เพืÊ Éอให้ ระยะเวลาอุทธรณ์เป็นไปตามทีÉกําหนดไว้ในกฎหมายเฉพาะหรือตามมาตรา ๔๔[๖] แห่งพระราช บัญญัติวิธี ปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ แล้ วแต่กรณี ทังนีÊเพืÊ Éอมิให้ การใช้ สิทธิ อุทธรณ์ในทุกเรืÉองต้ องขยายระยะเวลาออกไปเป็ นหนึÉงปี อันจะทําให้ การบริหารราชการไม่ตรง ตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย เฉลิมชยัวสีนนท์ (นายเฉลิมชยัวสีนนท์) ประธานคณะกรรมการวิธีปฏิบตัิราชการทางปกครอง [๑]มาตรา ๔๐ คําสังทางปกครองทีÉ Éอาจอทุธรณ์หรือโต้แย้งต่อไปได้ให้ระบกุรณีทีÉอาจอทุธรณ์หรือ โต้แย้ง การยืÉนคําอทุธรณ์หรือคําโต้แย้ง และระยะเวลาสําหรับการอทุธรณ์หรือการโต้แย้งดงักล่าวไว้ด้วย ในการทีÉมีการฝ่ าฝื นบทบัญญัติตามวรรคหนึÉง ให้ ระยะเวลาสําหรับการอุทธรณ์หรือการโต้ แย้ งเริÉม นับใหม่ตังแต่วันทีÊ Éได้ รับแจ้ งหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึÉง แต่ถ้ าไม่มีการแจ้ งใหม่และระยะเวลาดังกล่าว มีระยะ เวลาสันกว่าหนึÊ Éงปี ให้ขยายเป็นหนึÉงปีนบัแต่วนัทีÉได้รับคําสังทางปกครองÉ [๒]มาตรา ๔๔ ภายใต้บังคับมาตรา ๔๘ ในกรณีทีÉคําสัÉงทางปกครองใดไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรี และไม่ มีกฎหมายกําหนดขันÊตอนอุทธรณ์ภายในฝ่ายปกครองไว้เป็นการเฉพาะ ให้คู่กรณีอุทธรณ์คําสÉังทางปกครอง นัน โดยยืÊ Éนต่อเจ้าหน้าทีÉผู้ทําคําสงÉัทางปกครองภายในสิบห้าวนันบัแต่วนัทีÉตนได้รับแจ้งคําสังÉดงักล่าว คําอุทธรณ์ต้ องทําเป็ นหนังสือโดยระบุข้ อโต้ แย้ งและข้ อเท็จจริงหรือข้ อกฎหมายทีÉอ้ างอิงประกอบ ด้วย การอุทธรณ์ไม่เป็ นเหตุให้ ทุเลาการบังคับตามคําสัÉงทางปกครอง เว้ นแต่จะมีการสัÉงให้ ทุเลาการ บงัคบัตามมาตรา ๕๖ วรรคหนÉงึ [๓] โปรดดเูชิงอรรถทีÉ ๑
[๔] มาตรา ๓๕ ในกรณีทีÉคําสัÉงทางปกครองเป็นคําสัÉงด้วยวาจา ถ้าผู้รับคําสÉังนันร้ องขอและการร้ องขอÊ ได้ กระทําโดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวันนับแต่วันทีÉมีคําสัÉงดังกล่าว เจ้ าหน้ าทีÉผู้ออกคําสÉังต้องยืนยันคําสัÉง เป็นหนงัสือ [๕] โปรดดเูชิงอรรถ ๑ [๖] โปรดดเูชิงอรรถ ๒