The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by spykanokwan1610, 2021-10-12 09:58:18

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ_clone

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ

รายงาน
เร่อื ง กจิ กรรมเคลอื่ นไหวและจงั หวะ

จดั ทาโดย
นางสาวเจนจิรา กลุ คาแสง รหัส 6281107030
นางสาวกนกวรรณ ออ่ นนวล รหัส 6281107039
นางสาวพัชราภา สงิ หท์ ุม รหัส 6281107040
นางสาวปภาดา พมิ พา รหสั 6281107042

หม่เู รียน D2

เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารยว์ มิ ลกั สรรคพงษ์
รายงานนเ้ี ป็นส่วนหน่งึ ของวิชา การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการสาหรับ

เดก็ อายุ 3-6ปี (1191303)
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา



คานา

รายงานฉบบั นีเ้ ปน็ ส่วนหนึง่ ของวิชาการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้แบบบูรณาการสาหรับ
เด็กอายุ 3-6ปี (1191303) จัดทาขึ้นเพ่ือให้ความรู้เกี่ยวกับ ความหมายของกิจกรรมเคล่ือนไหว
และจังหวะ ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับการเคลื่อนไหวและจังหวะ ความสาคัญของการเคล่ือนไหวและ
จังหวะ ขอบขา่ ย/เน้ือหา/กจิ กรรม และ กิจกรรมการเคลอ่ื นไหวท่ีสัมพันธก์ บั เนื้อหา

ผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ท่ีกาลังหา
ขอ้ มลู เรอื่ งนอ้ี ยู่ หากมีข้อผดิ พลาดประการใด ทางผูจ้ ดั ทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภัยมา ณ ทีน่ ้ี

คณะผู้จดั ทา

สารบัญ ข

เรือ่ ง หน้า

คานา ก
สารบัญ ข
ความหมายของการเคล่ือนไหวและจงั หวะ 1
ทฤษฎีท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การเคลื่อนไหวและจังหวะ 2
ความสาคญั ของการเคลื่อนไหวและจงั หวะ 3
จุดประสงค์ 4
ขอบข่าย/เน้ือหา/กิจกรรม 4
ลักษณะการเคล่ือนไหว 5
ทศิ ทางการเคล่ือนไหว 5
กจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวทส่ี มั พันธก์ ับเนอ้ื หา 6
สอ่ื กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 6
ข้อเสนอแนะ 7
บรรณานกุ รม 8
ภาคผนวก 9

1

กจิ กรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ

ความหมายของการเคลื่อนไหวและจังหวะ

การจัดการศึกษาปฐมวัย เป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยยึดหลักการเลี้ยงดูควบคู่กับการให้
การศึกษา โดยคานึงถึงความสนใจความต้องการ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและสภาพแวดล้อมของเด็ก
ปฐมวยั ด้วยความรกั ความเอื้ออาทรและความเขา้ ใจของทุกคนเพือ่ สรา้ งรากฐานคุณภาพชวี ิตให้เด็กพัฒนาไปสู่
ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเองและสังคม ซ่ึงการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยจะไม่
จัดเป็นรายวิชาแต่จัดในรูปกิจกรรมบูรณาการผ่านการเล่นเพ่ือให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้ได้
พัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา เด็กปฐมวัยเป็นวัยทองของชีวิตเป็นวัยเริ่มต้น
ของพัฒนาการทุกๆ ด้าน การอบรมเล้ียงดูที่ถูกต้องจึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างย่ิงที่จะส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้
ประสบการณ์ชีวิตต่างๆเพื่อพัฒนาความสามารถของตนเองในทุกๆ ด้าน กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
สาหรับเด็กปฐมวัยเป็นกิจกรรมท่ีระบุไว้ในตารางกิจกรรมประจาวันตามแผนการจัดประสบการณ์ของ
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นกิจกรรมที่ช่วย
พัฒนาเด็กในด้านต่างๆ เช่น การเคลื่อนไหวร่างกาย การฟัง การปฏิบัติตามคาส่ัง การเป็นผู้นา ผู้ตามและการ
ใช้จินตนาการในการพัฒนาเด็กปฐมวัยเราสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้านร่างกายซ่ึงอยู่ในลักษณะ
กิจกรรมต่างๆ การเคลื่อนไหวและจังหวะ ซึ่งนับว่าเป็นกิจกรรมท่ีสามารถพัฒนาด้านต่าง โดยเฉพาะด้าน
ร่างกาย เพราะเด็กได้เคล่ือนไหวโดยใช้กล้ามเนื้อใหญ่-เล็ก และพัฒนาความรู้สึกนึกคิด การรับรู้และเกิดการ
เรยี นรู้ไปดว้ ย การจดั กจิ กรรมเพ่ือส่งเสริมความพร้อมทางด้านร่างกายใหก้ ับเด็กปฐมวัยควรมกี ารจัดอุปกรณ์ให้
เด็กได้เล่นและฝึกการใช้กลา้ มเน้ือใหญ่-เล็ก เช่น ชิงช้า ม้าหมุน บาร์เดี่ยว เครื่องห้อยโหน ซึ่งเป็นอุปกรณ์ทจี่ ัด
ไว้ที่สนามให้เด็กได้เล่นในกิจกรรมกลางแจ้งเช่นเดียวกันการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวอ่ืนๆ ก็ควรท่ีจะมี
อุปกรณ์ประกอบการเคล่ือนไหว เพราะเด็กได้ฝึกฝนและเรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัส เด็กจะเรียนรู้ได้ดี ซึ่ง
สอดคลอ้ งกบั จอหน์ ดิวอี้ ที่กลา่ วว่าเดก็ เรียนรโู้ ดยผา่ นการกระทา จะทาใหเ้ ดก็ มีความเข้าใจดขี ึ้น และเพียเจท์
เหน็ ว่า เดก็ ควรเรยี นรโู้ ดยใช้ประสาทสมั ผสั อันเปน็ พ้ืนฐานของการพัฒนาทางสติปญั ญา การเล่นเปน็ การเตรียม
ความพร้อมให้กับเด็ก อุปกรณ์ที่นามาจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้านร่างกายเพ่ือพัฒนาด้านการเคล่ือนไหว
เป็นอปุ กรณท์ ีม่ ีจุดประสงค์เพ่ือสง่ เสริมความพร้อมทางด้านร่างกาย ช่วยสร้างพัฒนาการของกล้ามเนื้อท้งั ความ
แข็งแรง และความสมั พันธใ์ นการแสดงออกจนเกิดเป็นความคล่องแคลว่ ซง่ึ ความแขง็ แรงของกล้ามเนือ้ นี้ส่งผล
ใหเ้ ดก็ มีนา้ หนกั ตวั และส่วนสูงเพ่มิ ขนึ้ ท้งั ยงั ชว่ ยส่งเสริมบุคลิกภาพทส่ี ง่างามอีกดว้ ยการจดั กิจกรรมเพ่ือส่งเสริม
พัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยมีหลากหลายวิธี สาหรับการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้กิจกรรมการ
เคล่อื นไหวและจังหวะมาเป็นรูปแบบในการดาเนนิ กิจกรรม ดงั ท่ี

กุลยา ต้นติผลาชีวะ กล่าวว่า กิจกรรมการเคล่ือนไหวและจังหวะมีความจาเป็นสาหรับเด็กปฐมวัย ท่ี
ควรไดร้ บั การสนับสนุนและฝึกหดั อยา่ งสมา่ เสมอ เพราะโดยธรรมชาตเิ ดก็ ปฐมวัยจะชอบเคล่ือนไหวรา่ งกายอยู่
ตลอดเวลา ครูควรเปิดโอกาสให้เด็กได้เคล่ือนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่างอิสระตามจินตนาการ เริ่มจาก
การเรียนรู้ส่วนต่างๆของร่างกาย พื้นที่ จังหวะ ทิศทางและระดับ สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะช่วยเสริมสร้างความ
แข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อ เพ่ือให้เด็กสามารถเคล่ือนไหวร่างกายได้คล่องตัวว่องไว กล้ามเน้ือแข็งแรง มีความ

2

ยืดหยุ่นและสามารถทรงตัวได้ดี หากเด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายมากเพียงใด ย่อมเกิดการเรียนรู้ทางสังคม มาก
ยิ่งข้ึน เพราะกิจกรรมการเคลื่อนไหวมีผลต่อความสาเรจ็ ในการเรียนรู้ของเด็กและช่วยให้เด็กมีทักษะในการใช้
รา่ งกาย ทักษะในการควบคมุ กล้ามเน้ือหยบิ จับ มที กั ษะทางสงั คม สามารถแก้ปญั หาเรยี นรู้ทจี่ ะปรับตวั มสี ่วน
ร่วมในการทากิจกรรมและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน หากเด็กปฐมวัยได้รับการส่ งเสริมด้านการ
เคล่อื นไหวร่างกายอย่างเตม็ ท่ยี อ่ มทาใหเ้ ด็กมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ นอกจากน้ี

วราภรณ์ รักวิจัย กล่าวว่า โดยธรรมชาติของเด็กปฐมวัยไม่ชอบอยู่นิ่งจะมีการเคล่ือนไหวร่างกายอยู่
ตลอดเวลา เช่น วิ่งกระโดด ปีนป่าย กลิ้ง หมุน เป็นตัน ดังน้ันเพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของเด็ก
ปฐมวัย ครูควรจัดกิจกรมท่ีเปิดโอกาสให้เด็กได้เคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆ ของร่างกายอย่างสม่าเสมอ หากเด็ก
ได้รับการจัดกิจกรรมการเคล่ือนไหวร่างกายอย่างสม่าเสมอ ย่อมส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทางานของ
อวยั วะต่างๆ ทค่ี รอบคลุมถึงการพัฒนาความสามารถด้านการเคล่ือนไหวร่างกายและพัฒนาทักษะกลไกในการ
ทางานของอวัยวะต่างๆ ซง่ึ ล้วนมีปัจจัยสาคัญมาจากความสามารถในการเคลื่อนไหวรา่ งกายในวัยเดก็ ท้ังสนิ้

สรุปได้ว่า กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคล่ือนไหวส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะ โดยใช้เสียงเพลง คาคล้องจองเครื่องเคาะจังหวะ และอุปกรณ์อื่นๆ มา
ประกอบการเคล่ือนไหวซึ่งจังหวะและดนตรีที่ใช้ประกอบ ได้แก่ เสียงตบมือ เสียงเพลง เสียงเคาะไม้ เคาะ
เหล็กกรงุ๋ กรง่ิ รามะนา กลอง กรับ ฯลฯ มาประกอบการเคลื่อนไหวเพ่ือส่งเสริมให้เด็กเกิดจนิ ตนาการความคิด
สร้างสรรค์ เด็กวัยน้ีร่างกายกาลังอยู่ในระหว่างพัฒนาการใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ยังไม่ประสานสัมพันธ์กัน
อย่างสมบูรณ์

ทฤษฎที ี่เก่ียวขอ้ งกับการเคลื่อนไหวและจังหวะ

1.ทฤษฎีท่ีใช้เป็นแนวความคดิ ในการศึกษาครงั้ นี้ คือ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของธอรน์ ไดค์

(Thorndike's Law of Lcaning) ซ่งึ เน้นการเรียนรู้ทสี่ าคญั ดว้ ยกฎ 3 ประการ ได้แก่

1.1กฎแห่งความพร้อม (Law of Rcadiness) การเรยี นร้จู ะเกิดขนึ้ ไดก้ ต็ ่อเมอื่ มคี วามพร้อมท้ังทางกาย
และใจเก่ียวกับรา่ งกาย (Physical) เพือ่ เปน็ การเตรยี มการใชก้ ลา้ มเนือ้ และระบบประสาทใหส้ ัมพนั ธ์กัน
(Co-Ordination) และเพื่อเป็นการฝึกทักษะเก่ียวกับจิตใจ (Mental) เป็นความพร้อมทางด้านสมองหรือ
สตปิ ัญญา และควรคานงึ ถึงความพรอ้ มในวยั ต่างๆ ดว้ ยวา่ มีความแตกต่างกันอยา่ งไร เมอื่ เด็กมคี วามพร้อมท้ัง
ทางร่างกายและจติ ใจจะส่งผลให้เกดิ การเรยี นรู้ทีด่ ี

1.2กฎแหง่ การฝึกหัด (Law of Exercise) เดก็ จะเรียนร้จู ากการกระทาซ้าๆ กันหลายๆ ครัง้ นนั่ เอง
เก่ยี วกบั การเคลื่อนไหวและจังหวะเด็กจะเกิดทักษะในแบบตา่ งๆ ซึง่ ทาใหร้ ะบบประสาทและกล้ามเนื้อทางาน
สมั พนั ธก์ นั ดี

1.3 กฎแหง่ ผล (Law of Effects) เด็กจะเรียนรู้ได้ดีขน้ึ ถา้ ผลของการกระทาน้นั เป็นไปในทางบวก
หรอื ทางที่ดี ซ่งึ จะทาให้เด็กเกิดความสนใจ เกิดทักษะทาใหเ้ ดก็ มคี วามสนุกสนานและความพอใจ
2. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ (Piaget's Cognitive Development Theary) เพียเจต์ถือว่า
การให้เด็กได้สัมผัสวัตถุต่างๆจะส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้โดยเฉพาะในเด็กก่อนศึกษา ซึ่งอาศัยการรับรู้
เป็นสือ่ ในการกระตุน้ ทางความคดิ ของเด็กจาเปน็ ต้องใหเ้ ด็กมีโอกาสเคล่ือนไหวและสัมผสั ส่งิ ต่างๆ ทฤษฎนี เี้ ป็น

3

ประโยชน์ในการจัดเนื้อหาและกิจกรรมทางการเคลื่อนไหว โดยให้เด็กสัมผัสวัตถุต่างๆ ที่อยู่รอบๆ ตัวเด็ก ซ่ึง
จะช่วยให้เด็กเรียนรู้ในส่ิงใหม่ๆ ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับการเคล่ือนไหว และจังหวะมีอยู่หลายทฤษฎีการเลือกให้
ทฤษฎีใดน้ันขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของครู โดยคานึงถึงความเหมาะสมกับวัยและความแตกต่างของเด็กแต่ละ
คนเพอื่ ใหเ้ ดก็ เกดิ การเรียนรู้ท่ีดี

ความสาคญั ของการเคลือ่ นไหวและจงั หวะ

การเคลื่อนไหวและจังหวะมีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงสาหรับมนุษย์ โดยเฉพาะในสภาพความ
เป็นอยู่ของมนุษย์ในสังคมปัจจุบันซึ่งเต็มไปด้วยการต่อสู้ดิ้นรนควบคู่ไปกับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
สมัยใหม่ เพราะจะช่วยให้บุคคลได้ระบายออกทางความรู้สึกผ่อนคลายตึงเครียดทางร่างกายและจิตใจได้ดี
สามารถพัฒนาปรับตัวตา้ นสังคมดีขึ้น และพร้อมที่จะประกอบกิจวัตรในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และมีชีวิตอยา่ งสุขสมบูรณใ์ นสังคมเปน็ อย่างดี

การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นสิ่งจาเป็นต่อการดารงชีวิตมนุษย์ต้ังแต่แรกเกิดจนถึงส้ิน อายุขัย
โดยเฉพาะในเด็กแรกเกิดจะมีการเคล่ือนไหวตามธรรมชาติตามธรรมชาติ โดยไม่ต้องรับ การฝึกหัด เช่น การ
ด้ินไปมา การไขวค่ ว้า ซง่ึ เป็นการเคล่ือนไหวทีช่ ว่ ยใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทางรา่ งกาย และการสือ่ ความหมาย

ภรณี ดุรุรัตนะ กล่าวว่า การส่งเสริมให้เด็กมีอิสระในการเคลื่อนไหวที่เหมาะสมกับพัฒนาการและวัย
ของเดก็ จะช่วยให้เดก็ ได้แสดงออกถงึ ความรูส้ ึกและอารมณ์อยา่ งเปิดเผยและเปน็ ธรรมชาติ ซงึ่ เป็นการสง่ เสริม
ให้เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์การจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะให้กับเด็กต้ังแต่ยังเล็ก
จะชว่ ยให้เด็กเกิดทักษะพื้นฐานในการเรียนวชิ าตา่ งๆ เชน่ ภาษา คนตรี นาฏศิลป์ ฯลฯ ขณะเดยี วกนั จะทาให้
เดก็ มีจังหวะในการเคล่ือนไหว ไม่เกดิ ปัญหาการว่ิงชนผู้อ่ืนหรือส่ิงของต่างๆ ในขณะทากจิ กรรม ซงึ่ มผี ลต่อการ
ปรับตัวของเด็ก เพราะการรู้จักจังหวะจะเป็นผลทาให้ไม่กระทบกระท่ังผู้อ่ืนได้สามารถดาเนินชีวิตได้ถูกต้อง
และอยู่ในสงั คมได้อย่างเป็นสขุ

วรศกั ด์ิ เพียรชอบ ได้กลา่ วถึงความสาคัญของกาเคลื่อนไหวพอจะสรปุ ความสาคัญไดด้ ังนี้

1. ชว่ ยใหเ้ ดก็ เรยี นรูใ้ นเทคนิคและวธิ ีการคิดคน้ และการแกป้ ญั หาการเคลื่อนไหวหรอื ปัญหาอ่ืนๆ ที่เกย่ี วขอ้ งได้
ดีย่ิงขึ้น ท้ังน้ีเพราะว่าการจัดกิจกรรมส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมให้เด็กมี ประสบการณ์ด้วยการแก้ปัญหา การ
เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยวิธกี ารต่างๆ ฉะน้ัน จึงเป็นโอกาสดีท่ีเด็กได้เรยี นรู้และเข้าใจวธิ กี าร และ
เทคนคิ ในการคิดค้นเหล่านไี้ ด้ด้วย

2. ช่วยให้เด็กได้เรียนรู้การเคล่ือนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถพัฒนาความสามารถในการเคล่ือนไหว
เหล่าน้ันให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน จนกระทั่งสามารถท่ีจะมีทักษะในการเคลื่อนไหวในแต่ละอย่างได้เป็นอย่างดี
ตอ่ ไป

3. เคล่ือนไหวของส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างดีกว่า ส่วนต่างๆ ของร่างกายของตนเองน้ันส่วนใดมี
ความสามารถและมีความจากัดในการเคล่ือนไหวอย่างไร และในขณะเดียวกันก็จะได้ปรับความสามารถและ
ความจากดั เหลา่ นั้นมาใชเ้ ปน็ ประโยชน์เหมาะสมตอ่ ไป

4

4. ช่วยให้เด็กมีพัฒนาการในทางสร้างสรรค์และรักษาไว้ ซ่ึงความสามารถในทางสร้างสรรค์นั้น ท้ังนี้เพราะว่า
การเรียนแบบวิธีคิดค้นการเคล่ือนไหวน้ันเป็นกิจกรรมได้แก้ปัญหาการเคล่ือนไหวของร่างกายด้วยตนเองอยู่
ตลอดเวลา ซึง่ เปน็ วธิ ีหนึง่ ท่ีจะชว่ ยให้มีพฒั นาการในทางสร้างสรรค์และรักษาไว้ ซ่ึงความสามารถน้ีในตวั เด็กได้
เปน็ อย่างดี

5. ช่วยให้เด็กเข้าใจประโยชน์ของการเคลื่อนไหวของส่วนต่างๆ ของรา่ งกายได้เปน็ อยา่ งดี ทาใหส้ ามารถนา
ประโยชน์ในการเคล่ือนไหวเหลา่ น้ี ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ของตนเองต่อไป เชน่ สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์
ในทางนันทนาการในชว่ งเวลาว่าง เปน็ ตน้

6. ช่วยใหเ้ ด็กได้เรยี นรู้และมคี วามรูส้ ึกชอบเคลื่อนไหวหรอื ออกกาลังกายสว่ นตา่ งๆของรา่ งกายซึ่งเป็นสว่ น
สาคัญมากในชวี ติ การเปน็ อยู่ของสงั คมในเมอื งปัจจบุ ันท่เี ต็มไปด้วยเครื่องผอ่ นแรงท่ีเปน็ อยู่ การท่จี ะช่วยใหเ้ ด็ก
มคี วามรักในการเคลือ่ นไหวหรือออกกาลงั กายส่วนตา่ งๆ ของร่างกายนับว่ามีความสาคญั ทสี่ ุด

7. ทาใหเ้ ด็กได้เรียนรแู้ ละเขา้ ใจลกั ษณะและความหมายของการเคลอ่ื นไหวสว่ นต่างๆของร่างกายไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
สามารถเรยี กช่ือลักษณะการเคล่ือนไหวเหล่านนั้ ได้ถูกตอ้ งต่อไป จะเหน็ ไดว้ า่ การเคลอื่ นไหวและจังหวะมี
ความสาคญั และจาเป็นอย่างย่ิงสาหรบั เด็กปฐมวยั เพราะเด็กจะเกิดการเรยี นรูจ้ ากการเคลื่อนไหวและยัง
สามารถสง่ เสริมพฒั นาการทางดา้ นร่างกายอารมณ์ สังคม สติปัญญา และจนิ ตนาการของเด็กอีกดว้ ย

จดุ ประสงค์

๑. เพ่ือพฒั นาอวยั วะทุกส่วนให้มีความสัมพันธก์ ันอย่างดใี นการเคลื่อนไหว

๒. เพอ่ื ฝกึ ทักษะภาษา ฝึกฟงั คาส่งั และข้อตกลง

๓. เพอ่ื ให้เกดิ ความซาบซ้ึงและสนุ ทรยี ภาพในการเคลื่อนไหว

๔. เพอ่ื พฒั นาด้านสงั คม การปรับตวั และความรว่ มมือในกลมุ่

๕. เพอ่ื ใหโ้ อกาสเด็กไดแ้ สดงออก และความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์

๖. เพอ่ื ให้เกิดความสนกุ สนาน ผ่อนคลายความตงึ เครยี ด

๗. เพ่อื ให้ไดร้ บั ประสบการณ์ สนุกสนาน ร่ืนเรงิ จากการเคลื่อนไหว และจงั หวะแบบต่างๆ

ขอบข่าย/เนื้อหา/กิจกรรม

๑. กิจกรรมการเคล่ือนไหวพ้ืนฐาน เปน็ กจิ กรรมท่ตี ้องฝึกทุกครัง้ กอ่ นทีจ่ ะเร่ิมฝกึ กจิ กรรมอ่ืนๆ ต่อไป

ลกั ษณะการจัดกิจกรรมมีจุดเนน้ ในเร่อื งจงั หวะและการเคล่ือนไหวหรอื ท่าทางอย่างอสิ ระ การเคลอื่ นไหวตาม
ธรรมชาตขิ องเด็ก มี ๒ ประเภท คือ การเคลื่อนไหวอยกู่ บั ท่ี เช่น ตบมือ ผงกศีรษะ ขยบิ ตา ชนั เขา่ เคาะเทา้
เคล่ือนไหวมือและแขน มือและน้วิ มือ เท้าและปลายเทา้ การเคลอ่ื นไหวเคลื่อนท่ี เช่น คลาน คืบ เดิน วง่ิ
กระโดด ควบม้า ก้าวกระโดด เขยง่ ก้าวชดิ

5

โดยกจิ กรรมการเคล่ือนไหวพ้นื ฐานอาจดาเนนิ การ ดงั น้ี
๑.๑ ให้เด็กทราบถงึ ขอ้ ตกลงร่วมกันในการกาหนดสัญญาณและจังหวะ โดยผูส้ อนต้องทาความเข้าใจกับเด็ก
ก่อนวา่ สญั ญาณนั้นหมายถงึ อะไร เช่น

(๑) ใหจ้ งั หวะ ๑ ครง้ั สม่าเสมอ แสดงว่าใหเ้ ด็กเดนิ หรือเคลอื่ นไหวไปเรื่อยๆ ตามจังหวะ
(๒) ใหจ้ ังหวะ ๒ คร้งั ติดกนั แสดงว่าให้เด็กหยุดการเคล่อื นไหว โดยเด็กจะตอ้ งหยดุ นิ่งจริงๆ หากกาลงั
อยูใ่ นท่าใด ก็ต้องหยดุ น่ิงในท่าน้นั จะเคลอื่ นไหวหรือเปล่ียนท่าไม่ได้
(๓) ให้จังหวะรัว แสดงว่า ใหเ้ ดก็ เคลือ่ นไหวอยา่ งเรว็ หรือเคล่อื นท่เี รว็ ข้ึน เชน่ การฝกึ การเป็นผนู้ า
หรอื ผู้ตามจะหมายถึงการเปล่ียนตาแหนง่
๑.๒ ใหเ้ ด็กเคลื่อนไหวอย่างอิสระตามความคดิ หรือจินตนาการของตนเอง โดยใชส้ ่วนตา่ งๆของร่างกายใหม้ าก
ท่สี ดุ และขณะเดียวกนั ตอ้ งคานงึ ถงึ องค์ประกอบพน้ื ฐานในการเคลือ่ นไหว ซึ่งได้แก่ การใชร้ า่ งกายตนเอง การ
ใช้พ้นื ท่ีบรเิ วณ การเคลอ่ื นไหวอยา่ งมีอิสระ มีระดับและทศิ ทาง
ลักษณะการเคล่ือนไหว
1. ช้า ได้แก่ การคืบ คลาน
2. เร็ว ได้แก่ การวิ่ง
3. นุ่มนวล ได้แก่ การไหว้ การบนิ
4. ขงึ ขัง ได้แก่ การกระทบื เทา้ ดังๆ ตีกลองดงั ๆ
5. ร่าเรงิ มคี วามสขุ ไดแ้ ก่ การตบมอื การหัวเราะ
6. เศร้าโศกเสียใจ ได้แก่ สหี นา้ ทา่ ทาง

ทิศทางการเคล่ือนไหว

1. เคล่อื นไหวไปข้างหน้า และข้างหลัง
2. เคลอ่ื นไหวไปข้างซา้ ย และขา้ งขวา
3. เคลื่อนตวั ขน้ึ ลง
4. เคลื่อนไหวรอบทิศ

6

๒.กจิ กรรมการเคล่อื นไหวที่สัมพันธก์ บั เนอ้ื หา เป็นกจิ กรรมท่จี ัดให้เด็กไดเ้ คล่ือนไหวร่างกายโดยเน้น
การทบทวนเร่ืองที่ได้รับรู้จากกิจกรรมอื่น และนามาสมั พนั ธก์ ับสาระการเรยี นรหู้ รือเรื่องอ่นื ๆท่ีเด็กสนใจ ได้แก่

๒.๑ การเคลื่อนไหวเลียนแบบ เป็นการเคล่ือนไหวเลยี นแบบส่งิ ต่างๆ รอบตวั เช่นการเลยี นแบบ
ทา่ ทางสัตว์ การเลยี นแบบท่าทางคน การเลียนแบบเครื่องยนต์กลไกและเคร่ืองเล่น และการเลยี นแบบ
ปรากฎการณธ์ รรมชาติ

๒.๒ การเคล่ือนไหวตามบทเพลง เป็นการเคล่อื นไหวหรอื ทาทา่ ทางประกอบเพลง เชน่ เพลงไก่ เพลง
ข้ามถนน เพลงสวัสดี

๒.๓ การทาท่าทางกายบริหารประกอบเพลงหรือคาคล้องจอง เป็นการทาทา่ ทางการบริหารกาย
บรหิ ารตามจังหวะและทานองเพลงหรือคาคลอ้ งจอง เช่น เพลงกามือแบมอื เพลงออกกาลังกายรับแสงตะวัน
คาคล้องจองฝนตกพราพรา

๒.๔ การเคลอื่ นไหวเชงิ สร้างสรรค์ เปน็ การเคล่อื นไหวทใ่ี ห้เด็กคิดสรา้ งสรรค์ทา่ ทางข้ึนเองหรืออาจ
ชนี้ าด้วยการป้อนคาถามเคลอื่ นไหวโดยใชอ้ ปุ กรณป์ ระกอบ เช่น ห่วงหวาย แถบผา้ ริบบิ้น ถงุ ทราย

๒.๕ การเคลื่อนไหวหรอื การแสดงทา่ ทางตามคาบรรยายหรือเร่ืองราว เป็นการเคลอื่ นไหวหรือ
แสดงทา่ ทางตามจินตนาการจากเรือ่ งราว หรือคาบรรยายที่ผู้สอนเลา่

๒.๖ การเคลื่อนไหวหรือการแสดงท่าทางตามคาสัง่ เปน็ การเคลือ่ นไหวหรือทาท่าทางตามคาสั่งของ
ครู เช่น การจดั กลุม่ ตามจานวน การทาท่าทางตามคาส่ัง

๒.๗ การเคลื่อนไหวหรอื การแสดงทา่ ทางตามขอ้ ตกลง เปน็ การเคล่อื นไหวหรอื ทาท่าทางตาม
ขอ้ ตกลงที่ไดต้ กลงไวก้ ่อนเรม่ิ กจิ กรรม

๒.๘ การเคลื่อนไหวหรอื การแสดงทา่ ทางเปน็ ผู้นา ผู้ตาม เปน็ การเคล่ือนไหวหรอื ทาท่าทาง
จากความคิดสร้างสรรคข์ องเดก็ เอง แลว้ ใหเ้ พ่ือนปฏบิ ตั ิตามกิจกรรม

จากรูปแบบการเคลื่อนไหวข้างต้น ลักษณะการเคล่ือนไหวของเด็กอาจมีลักษณะต่างๆ เช่น ช้า เร็ว
นุ่มนวล ทาท่าทางขึงขัง ร่าเริง มีความสุข หรือเศร้าโศกเสียใจ และมีทิศทางการเคล่ือนไหวท่ีแตกต่างกัน เช่น
การเคล่ือนไหวไปข้างหน้าและข้างหลัง ไปข้างซ้ายและข้างขวา เคลื่อนตัวข้ึนและลง หรือเคลื่อนไหวรอบ
ทศิ ทางโดยใหม้ รี ะดบั ของการเคลื่อนไหวสงู กลาง และต่า ในบริเวณพ้ืนท่ที ี่เดก็ ต้องการเคลือ่ นไหว

สอื่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ

๑. เครอ่ื งเคาะจงั หวะ เชน่ ฉงิ่ เหล็กสามเหล่ียม กรับ รามะนา กลอง

๒. อุปกรณ์ประกอบการเคลื่อนไหว เชน่ หนังสือพิมพ์ ริบบนิ้ แถบผ้า ห่วงหวาย ห่วงพลาสติก

ถุงทราย

7

ข้อเสนอแนะ

๑. ควรเริม่ กิจกรรมจากการเคลอื่ นไหวทีเ่ ป็นอสิ ระ และมีวธิ ีการท่ไี ม่ยุ่งยากมากนัก เชน่ ใหเ้ ด็กได้
เคลอ่ื นไหวกระจายอย่ภู ายในห้อง และใหเ้ คลื่อนไหวไปตามธรรมชาตขิ องเด็ก

๒. ควรใหเ้ ดก็ ไดแ้ สดงออกดว้ ยตนเองอย่างอสิ ระ และเปน็ ไปตามความนึกคิดของเดก็ เอง ผสู้ อนไม่
ควรช้แี นะ

๓. ควรเปดิ โอกาสให้เดก็ คิดหาวิธเี คลือ่ นไหว ท้งั ทตี่ ้องเคลื่อนทแ่ี ละไมต่ ้องเคลื่อนที่ เป็นรายบคุ คลเป็น
คู่ เปน็ กลมุ่ ตามลาดับ และกลมุ่ ไมค่ วรเกนิ ๕ - ๖ คน

๔. ควรใชว้ สั ดทุ ี่อยูใ่ กล้ตัวเดก็ เชน่ ของเล่น กระดาษหนงั สือพิมพ์ เศษผ้า เชอื ก ท่อนไม้ประกอบการ
เคลื่อนไหวและการใหจ้ งั หวะ

๕. ควรกาหนดจงั หวะสัญญาณนดั หมายในการเคลื่อนไหวตา่ งๆ เชน่ การเปลี่ยนท่าหรือหยดุ ใหเ้ ด็ก
ทราบเมอื่ ทากจิ กรรมทุกครง้ั

๖. ควรสรา้ งบรรยากาศอยา่ งอิสระ ใหเ้ ด็กรู้สกึ อบอนุ่ เพลิดเพลิน และร้สู กึ สบาย สนกุ สนาน

๗. ควรจัดให้มีรปู แบบของการเคลอ่ื นไหวท่ีหลากหลาย เพื่อช่วยให้เดก็ สนใจมากขึ้น

๘. กรณเี ดก็ ไมย่ อมเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผสู้ อนไมค่ วรใช้วธิ ีบงั คับ ควรให้เวลาและโน้มน้าวใหเ้ ดก็ สนใจเข้า
รว่ มกิจกรรมดว้ ยความสมคั รใจ

๙. ควรจัดใหม้ ีเกมการเล่นที่ไมเ่ น้นการแข่งขัน เพ่ือกระตนุ้ เร้าความสนใจของเด็กมากข้นึ

๑๐. การจัดกจิ กรรมควรจัดตามกาหนดตารางกจิ กรรมประจาวนั และควรจดั ใหเ้ ปน็ ท่นี ่าสนใจเกดิ
ความสนุกสนาน

๑๑.ให้เลน่ เป็นเรอื่ งราว โดยการเล่าให้เด็กฟัง เด็กเกิดจินตนาการและเคลอ่ื นไหวไปตามเรือ่ งนน้ั ๆ

๑๒. หลังจากเด็กได้ทากจิ กรรมแลว้ ตอ้ งใหเ้ ด็กได้พักผ่อน โดยอาจเปิดเพลงจงั หวะชา้ ๆ เบาๆที่สร้าง
ความรูส้ กึ ให้เด็กอยากพักผ่อน

8

บรรณานุกรม

กาญจนา เพช็ รตะกว่ั .(2558).การจัดประสบการณ์การเรยี นรกู้ จิ กรรมการเคล่ือนไหวและจังหวะเพื่อพฒั นาการ
ด้านรา่ งกายของเด็กปฐมวยั .[ออนไลน]์ .เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
http://www.journal.grad.ssru.ac.th/downloads/journal/7-1/13.pdf. (วันทคี่ ้นข้อมลู : 10 ตลุ าคม
2564).

สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษาสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานกระทรวงศึกษาธกิ าร.
(2560).คูม่ ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยพุทธศักราช2560 สาหรับเด็กอายุ 3-6 ป.ี [ออนไลน์].เขา้ ถึงได้จาก
http://academic.obec.go.th/images/document/1572317514_d_1.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล : 10 ตุลาคม
2564).
จุฑามาศ วงษ์สวุ รรณ.(2548).การเคลื่อนไหนประกอบจงั หวะทม่ี ีผลต่อประสิทธิภาพในการเคลอ่ื นไหวของเด็ก
ทม่ี ีความบกพร่องทางสติปัญญา.เข้าถึงได้จาก
จาก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Spo_Coa/Jutamas_W.pdf. (วนั ท่ีคน้ ข้อมูล : 10 ตลุ าคม
2564).

9

ภาคผนวก

10

กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะ


Click to View FlipBook Version