The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบแผนยุทธศาสตร์สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2567 - 2569)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Benjawan KANKUNTOD, 2024-01-03 21:04:26

แผนยุทธศาสตร์สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2567 - 2569)

เพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบแผนยุทธศาสตร์สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2567 - 2569)

45 ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัด รอบการเก็บ ข้อมูล ผู้กำกับ ติดตาม ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ 4 1 ผลการตรวจประเมินคุณภาพด้วยระบบ KUQS ของ ส่วนงานตามเป้าหมายที่กำหนด ปีการศึกษา ผู้อำนวยการ กองบริหารทั่วไป กองบริหารทั่วไป 2 คะแนนความพึงพอใจของบุคลากรโดยรวมต่อ สวัสดิการ/นโยบาย/การพัฒนา ปีงบประมาณ ผู้อำนวยการ กองบริหารทั่วไป กองบริหารทั่วไป 3 ผลสำรวจความผูกพันบุคลากรของส่วนงานตาม Engagement factor ปีงบประมาณ ผู้อำนวยการ กองบริหารทั่วไป กองบริหารทั่วไป 4 ร้อยละของบุคลากรของส่วนงานที่ได้รับการพัฒนา ให้มีสมรรถนะหรือทักษะที่สูงขึ้น ปีงบประมาณ ผู้อำนวยการ กองบริหารทั่วไป กองบริหารทั่วไป 5 ร้อยละของบุคลากรได้รับการพัฒนาตามค่านิยม ปีงบประมาณ ผู้อำนวยการ กองบริหารทั่วไป กองบริหารทั่วไป 6 ร้อยละบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนา บุคลากร (KUIDP) ปีงบประมาณ ผู้อำนวยการ กองบริหารทั่วไป กองบริหารทั่วไป


46 การคำนวณคะแนน การคำนวณผลคะแนนของการประเมินความสำเร็จของการดำเนินงานตามตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์ ของสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน (พ.ศ. 2567 - 2569) ผลการประเมินความสำเร็จมีทั้งหมด 5 ระดับ คะแนน โดยมีรายละเอียดดังนี้ ตัวอย่างเช่น ตัวชี้วัดที่ 1.1 คะแนนความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ วิทยาเขตกำแพงแสน เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥0 – 2.50 ≥2.51 - 3.50 ≥ 3.51 - 4.40 ≥4.41 - 4.51 ≥ 4.51 ผลการดำเนินการ 1. สามารถดำเนินการตามตัวชี้วัด มีคะแนนความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ วิทยาเขต กำแพงแสน โดยการสำรวจความพึงพอใจ เมื่อเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน นิสิตได้รับการประเมินใน ระดับดี ≥ 3.51 จะอยู่ในช่วงของระดับคะแนน 3 2. การคำนวณคะแนนผลการประเมินตัวชี้วัดตามเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ทั้งหมด 18 ตัวชี้วัด หากผลการ ดำเนินทุกตัวชี้วัด อยู่ในช่วงของระดับคะแนน 3 ทุกตัว ดังนั้น = 3 x 18 = 54 คะแนน ซึ่งหากสรุปคะแนนภาพรวมครบทุกตัวชี้วัด ก็จะต้องมีระดับคะแนนการประเมินในแต่ละระดับ ดังนี้ ผลการประเมิน ระดับคะแนนที่ได้รับ ระดับดีเด่น (A+) >95 ระดับดีมาก (A) 80 - 94 ระดับดี(B+) 60 - 79 ระดับมาตรฐาน (B) 40 - 59 ระดับต้องปรับปรุง (C) <40 สรุป สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาตรฐาน โดยมีคะแนน เท่ากับ 54 คะแนน


47


48 ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของนิสิตชั้นปีที่ 1 ที่ได้มาจากกลุ่มเป้าหมาย หน่วยวัด : ร้อยละ รอบการเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 48.00 50.00 52.00 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารการศึกษา คำอธิบาย : การคัดเลือกนิสิตที่มีคุณภาพเพื่อเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นับเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญที่ จะส่งผลต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ กระบวนการคัดเลือกนิสิตจึงต้องใช้ยุทธวิธี ให้ได้มาซึ่งคนเก่ง และคนดี เพื่อส่งเสริมการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย ซึ่งนับเฉพาะ กลุ่มนิสิตชั้นปีที่ 1 ที่รับเข้ามาในระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา รอบ ที่ 1, 2 และ โครงการรับนิสิตตามโครงการส่งเสริมโอกาสศึกษาต่อ สูตรการคำนวณ : = จำนวนนิสิตชั้นปีที่ 1 ที่รับเข้า (TCAS1, 2 และ MOU) จำนวนนิสิตตามแผนรับเข้า เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 44.00 ≥ 46.00 ≥ 48.00 ≥ 50.00 ≥ 52.00 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานผลการรับเข้าของนิสิตชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน • รายงานผลการรับเข้าของนิสิตชั้นปีที่ 1 ตามโครงการรับนิสิตตามโครงการส่งเสริมโอกาสศึกษาต่อ ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารการศึกษา ยกระดับการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านนวัตกรรมการศึกษาและเครือข่ายความรู้ Leverage life-long learning experience through innovative education and knowledge network. × 100


49 ตัวชี้วัดที่ 2 : คะแนนความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ วิทยาเขตกำแพงแสน หน่วยวัด : คะแนน รอบการเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 4.40 4.51 4.65 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารกิจการนิสิต คำอธิบาย : การประเมินความพึงพอใจของนิสิตตามกลุ่มการบริการในด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่สำนักงาน วิทยาเขตกำแพงแสนให้บริการแก่นิสิต เช่น หอพัก ด้านสุขภาพ ด้านสนามกีฬา รวมถึง สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินชีวิต เป็นต้น โดยเป็นการฟังเสียงจากนิสิตซึ่งเป็นประโยชน์ สำหรับผู้บริหารส่วนงานในการนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการปรับปรุง/พัฒนา ส่วนงานให้มีความ พร้อมตอบสนองความต้องการของนิสิตได้อย่างแท้จริง สูตรการคำนวณ : = คะแนนความพึงพอใจโดยรวมของผู้เรียนต่อสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 4.00 ≥ 4.20 ≥ 4.40 ≥ 4.51 ≥ 4.65 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารกิจการนิสิต


50 ตัวชี้วัดที่ 3 : คะแนนระดับความพร้อมด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย ตามดัชนี EHS หน่วยวัด : คะแนน รอบการเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 1 2 3 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริการกลาง คำอธิบาย : การประเมินการเตรียมความพร้อมด้านสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย (EHS: Environment Health and Safety) เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบว่าสถานที่ทำงานขององค์กร มีความพร้อมในด้านสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย (EHS) ที่ปรับให้สอดคล้องต่อ กฎหมาย กฎระเบียบและความต้องการของผู้เกี่ยวข้องอันได้แก่ บุคลากร ผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย อย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความสุขในการทำงานหรือการใช้ชีวิตในองค์กรและช่วยลด ความเสี่ยงต่อการละเมิดข้อกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย การพิจารณาคะแนนการประเมินจะพิจารณจากจำนวนการดำเนินการเพื่อตรียมความพร้อม โดย การพิจารณคะแนนระดับความพร้อมช่วงคะแนนเป็นดังนี้ 0 - 2 ข้อ 1 คะแนน 2 - 4 ข้อ 2 คะแนน 5 - 6 ข้อ 3 คะแนน 6 - 8 ข้อ 4 คะแนน ตั้งแต่ 9 ข้อขึ้นไป 5 คะแนน สูตรการคำนวณ : = คะแนนระดับความพร้อมด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย ตามดัชนี EHS เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ดำเนินการ ไม่ผ่านเกณฑ์ ดำเนินการ 1 ข้อ ≥ 1 คะแนน ≥ 2 คะแนน ≥ 3 คะแนน ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานผลการประเมินระดับความพร้อมด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย ตามดัชนี EHS ผู้รับผิดชอบ : • กองบริการกลาง


51 ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของจำนวนนิสิตที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ หน่วยวัด : ร้อยละ รอบการเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 4.00 6.00 8.00 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารกิจการนิสิต คำอธิบาย : นิสิตที่เข้าร่วมโครงการ ต้องเป็นนิสิตสัญชาติไทยในระดับปริญญาตรี/โท/เอก โดยรวมนิสิตทั้งภาค ปกติและภาคพิเศษ ที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ เป็นเจ้าของกิจการ/ ประกอบธุรกิจที่ก่อให้เกิดรายได้ ภายใน 1 ปี หลังจากเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม Startup หมายถึง ธุรกิจที่เกิดขึ้นใหม่ เปิดบริษัทขึ้นมาใหม่เพื่อรองรับธุรกิจด้านไอที และด้านอื่น ๆ รวมถึงการทำธุรกิจให้เติบโตขึ้นแบบก้าวกระโดด สามารถสร้างรายได้จำนวนมาก เป็นธุรกิจที่ เกิดขึ้นเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน เช่น พวกแอปพลิเคชั่น ต่าง ๆ ซึ่งหากต้องการมองภาพของ ธุรกิจชนิดนี้ให้ชัดเจนขึ้น ให้มองจาก Google , Facebook แบรนด์เหล่านี้เริ่มต้นจากเป็นธุรกิจ ประเภท Startup สูตรการคำนวณ : = จำนวนนิสิตที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ จำนวนนิสิตทั้งหมด เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 1.00 ≥ 2.00 ≥ 4.00 ≥ 6.00 ≥ 8.00 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานโครงการ/กิจกรรมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ • รายงานจำนวนนิสิตที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารกิจการนิสิต × 100


52 ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนโครงการที่ส่งผลกระทบต่อการบรรลุตัววัด SDGs ของมหาวิทยาลัย หน่วยวัด : โครงการ รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 15 20 25 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการทุกกอง คำอธิบาย : เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) มีทั้งหมด 17 เป้าหมาย (Goals) เป็นชุดเป้าหมายการพัฒนาระดับโลกหลังปี 2015 ที่ได้รับการรับรองจาก 193 ประเทศ สมาชิกขององค์การสหประชาชาติ ครอบคลุมช่วงระยะเวลาที่ต้องบรรลุภายใน 15 ปี ได้เป็นทิศ ทางการพัฒนาที่ทุกประเทศที่ต้องดำเนินการร่วมกันมาตั้งแต่ปีค.ศ. 2016 ไปจนถึงปี ค.ศ. 2030 การดำเนินการโครงการต้องมีการพัฒนาที่ยั่งยืนที่สมดุลกันใน 3 เสาหลักของมิติความยั่งยืน ในด้าน ใดด้านหนึ่ง ได้แก่สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม สูตรการคำนวณ : = จำนวนโครงการที่ส่งผลกระทบต่อการบรรลุตัววัด SDGs ของมหาวิทยาลัย เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 5 ≥ 10 ≥ 15 ≥ 20 ≥ 25 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานจำนวนโครงการที่ส่งผลกระทบต่อการบรรลุตัววัด SDGs ของมหาวิทยาลัย ผู้รับผิดชอบ : • ทุกกอง ส่งเสริมการบูรณาการการวิจัยและบริการวิชาการร่วมกับเครือข่ายวิจัย เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน และความผาสุกของสังคม Promote integrated solutions to complex issues to strengthen communities and societal well-being through collaborative research network.


53 ตัวชี้วัดที่ 2 : คะแนนความพึงพอใจของนักวิจัยที่มีต่อการให้บริการด้านการวิจัย หน่วยวัด : คะแนน รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 4.40 4.51 4.65 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัยและบริการวิชาการ คำอธิบาย : การประเมินความพึงพอใจของนักวิจัย แสดงถึงผลลัพธ์ของการดำเนินการด้านการวิจัยและการ บริการวิชาการ ที่มีการบริหารงานวิจัย, การบริหารงานด้านการบริการวิชาการ, สภาพแวดล้อม อาคาร สถานที่, สิ่งอำนวยความสะดวก การให้บริการของบุคลากร, กระบวนการขั้นตอนการ ให้บริการ, บริการเว็บไซต์ ระบบฐานข้อมูล และอื่น ๆ เพื่อใช้ข้อมูลเป็นแนวทางในการพัฒนาการ บริการต่อไป โดยพิจารณาจากคะแนนของผลการประเมินความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจของ อาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ และบุคลากรที่ใช้บริการ สูตรการคำนวณ : = คะแนนความพึงพอใจของนักวิจัยที่มีต่อการให้บริการด้านการวิจัย เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 4.20 ≥ 4.30 ≥ 4.40 ≥ 4.51 ≥ 4.61 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานการประเมินความพึงพอใจของนักวิจัยที่มีต่อการให้บริการด้านการวิจัยและการบริการ วิชาการ ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารการวิจัยและบริการวิชาการ


54 ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละการตีพิมพ์ของผู้เข้าร่วมรับคำปรึกษา หน่วยวัด : ร้อยละ รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 85.00 95.00 100.00 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัยและบริการวิชาการ คำอธิบาย : อาจารย์ นักวิจัย และนักวิชาการ ที่เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมการให้คำปรึกษาผลงานวิจัย เสนอ ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ร่วมถึงการตีพิมพ์ผลงานในการประชุม วิชาการ เพื่อเป็นกระบวนการในการส่งเสริมการผลิตผลงานตีพิมพ์และพัฒนานักวิจัย พัฒนาขีด ความสามารถให้มีความพร้อมและศักยภาพในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ต่อไป สูตรการคำนวณ : = จำนวนผู้เข้าร่วมรับคำปรึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์ จำนวนผู้เข้าร่วมรับคำปรึกษาทั้งหมด เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 65.00 ≥ 75.00 ≥ 85.00 ≥ 95.00 ≥ 100.00 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานจำนวนผลงานตีพิมพ์ของผู้เข้าร่วมโครงการ • รายงานจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารการวิจัยและบริการวิชาการ × 100


55 ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนกระบวนการปรับปรุงตามผลการสำรวจความต้องการ/ความคาดหวังในการให้บริการ หน่วยวัด : กระบวนการ/นวัตกรรม รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 7 8 8 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการทุกกอง คำอธิบาย : ผลการสำรวจความต้องการ/ ความคาดหวังในการให้บริการเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้สำนักงานวิทยา เขตกำแพงแสน ทราบถึงความต้องการ/ ความคาดหวังในการให้บริการของสำนักฯ ซึ่งสำนักฯ จะต้องนำผลการสำรวจนี้ไปวิเคราะห์และวางแผนการปรับปรุงเพื่อให้การบริการของสำนักฯ ดีขึ้น อย่างต่อเนื่อง สูตรการคำนวณ : = จำนวนกระบวนการปรับปรุงตามผลการสำรวจความต้องการ/ความคาดหวังในการให้บริการ เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 5 ≥ 6 ≥ 7 ≥ 8 ≥ 9 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานจำนวนนวัตกรรมที่เกิดจากการปรับปรุงกระบวนการในหน่วยงานที่แสดงถึงการมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงกว่าเดิมอย่างชัดเจน • ผลการสำรวจความต้องการ/ ความคาดหวังในการให้บริการ ผู้รับผิดชอบ : • ทุกกอง เพิ่มขีดความสามารถและความสามารถในการฟื้นตัวขององค์กรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม Drive up organizational capability and organizational resilience through technology and innovation.


56 ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนผลงานของการให้บริการที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรม หน่วยวัด : ผลงาน รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 30 35 40 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการทุกกอง คำอธิบาย : การบริการ หมายถึง การกระทำกิจกรรมใด ๆ เพื่อตอบสนองความ ต้องการของบุคคลอื่น ซึ่ง เกี่ยวข้องกับการอำนวยความสะดวก ความสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ ซึ่ง ผู้รับบริการ คือ บุคลากร นิสิต และประชนทั่วไป การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีหมายถึง การนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ จัดการ บูรณาการ ประเมินผล และสร้างข้อมูล เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ นวัตกรรม หมายถึง แนวความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งต่าง ๆ ที่ใหม่ การสร้างกระบวนการ และ บริการรูปแบบใหม่ การทำในสิ่งที่แตกต่างจากคนอื่น ทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และองค์กร สูตรการคำนวณ : = จำนวนผลงานของการให้บริการที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรม เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 20 ≥ 25 ≥ 30 ≥ 35 ≥ 40 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานจำนวนผลงานของการให้บริการที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่แสดงถึงการมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่สูงกว่าเดิม ผู้รับผิดชอบ : • ทุกกอง


57 ตัวชี้วัดที่ 3 : อัตราการใช้พลังงานลดลงจากการประหยัดพลังงาน หน่วยวัด : ร้อยละ รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 2.00 3.00 4.00 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริการกลาง คำอธิบาย : การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน นับเป็นการบริหารจัดการการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยวิธีการลดงบประมาณที่ได้รับอย่างประหยัด และคุ้มค่า ได้แก่ การลดใช้พลังงานไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง และหาแหล่งพลังงานทดแทนมาใช้งาน แทนพลังงานที่สิ้นเปลือง โดยเก็บข้อมูลการใช้พลังงานปีปัจจุบัน การใช้พลังงานในปีที่ผ่านมา เพื่อ นำมาคำนวณอัตราการใช้พลังงานที่ลดลง สูตรการคำนวณ : = อัตราการใช้พลังงานปีปัจจุบัน – อัตราการใช้พลังงานปีที่ผ่านมา อัตราการใช้พลังงานปีปัจจุบัน เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 0.00 ≥ 1.00 ≥ 2.00 ≥ 3.00 ≥ 4.00 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานผลการใช้พลังงานของสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสนปีปัจจุบัน • รายงานผลการใช้พลังงานของสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสนปีที่ผ่านมา ผู้รับผิดชอบ : • กองบริการกลาง × 100


58 ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละรายได้จากการบริหารทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้นจากปีฐาน หน่วยวัด : ร้อยละ รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 5.00 5.00 5.00 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป (ผู้รายงาน) คำอธิบาย : การบริหารทรัพย์สินเป็นการบริหารจัดการเพื่อก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อสำนักฯ ซึ่งเกิดจากรายได้ การบริหารจัดการทรัพยากร รายได้จากการขายผลผลิต/ผลิตภัณฑ์รายได้จากการบริหารสินทรัพย์ ค่าเช่าที่ราชพัสดุ ที่ดิน/อาคารในความปกครอง อันเป็นการใช้ทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยอย่างคุ้มค่า และสร้างความยั่งยืนทางด้านการเงินให้กับสำนักฯ สูตรการคำนวณ : = รายได้จากการบริหารทรัพย์สินปีปัจจุบัน – รายได้จากการบริหารทรัพย์สินปีที่ผ่านมา รายได้จากการบริหารทรัพย์สินปีปัจจุบัน เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 3.00 ≥ 4.00 ≥ 5.00 ≥ 6.00 ≥ 7.00 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานรายได้จากการบริหารทรัพย์สินของสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารทั่วไป (ผู้รายงาน) × 100


59 ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละของบุคลากรที่มีทักษะด้านเทคโนโลยี หน่วยวัด : ร้อยละ รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 30.00 35.00 40.00 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป คำอธิบาย : การแสดงถึงการส่งเสริมและสนับสนุนบุคลากรให้ได้รับการพัฒนาศักยภาพ และการพัฒนา ขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี โดยสนับสนุนงบประมาณในการเข้าอบรมด้านเทคโนโลยี การจัดโครงการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีให้แก่บุคลากรทุกระดับ การส่งเสริมและการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน สูตรการคำนวณ : = จำนวนบุคลากรที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาเทคโนโลยี จำนวนบุคลากรทั้งหมด เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 20.00 ≥ 25.00 ≥ 30.00 ≥ 35.00 ≥ 40.00 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานจำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาด้านเทคโนโลยี ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารทั่วไป × 100


60 ตัวชี้วัดที่ 1 : ผลการตรวจประเมินคุณภาพด้วยระบบ KUQS ของส่วนงานตามเป้าหมายที่กำหนด หน่วยวัด : คะแนน รอบการเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 200 200 220 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป คำอธิบาย : ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) เป็นระบบคุณภาพที่พัฒนาจากแนวคิดของ Business Excellence ที่ผูกโยงกับโครงสร้างการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แบ่งเป็น 3 ระบบ คือ Systems that Drive / Systems that Operation / Support Systems ซึ่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้พัฒนาเพื่อนำมาใช้ในการขับเคลื่อนและพัฒนาคุณภาพองค์กรสู่ ความเป็นเลิศ โดยจะใช้กำกับ ติดตาม ประเมินส่วนงานในระดับคณะ สำนัก สถาบัน และ มหาวิทยาลัย มีการกำหนดตัววัดที่สำคัญต่อการบรรลุเป้าหมาย แบ่งเป็น 6 กลุ่ม โดยเน้นตัววัดที่เป็น World Class มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบตัววัดที่ชัดเจน สูตรการคำนวณ : = ผลการประเมินในระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) ของสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 160 ≥ 180 ≥ 200 ≥ 220 ≥ 240 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานผลการประเมินในระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) ของสำนักงาน วิทยาเขตกำแพงแสน ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารทั่วไป เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศและคุณธรรมจริยธรรมเพื่อเพิ่มความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน Build-up High-Performing culture and good governance to accelerate sustainable competitive advantage.


61 ตัวชี้วัดที่ 2 : คะแนนความพึงพอใจของบุคลากรโดยรวมต่อสวัสดิการ/นโยบาย/การพัฒนา หน่วยวัด : คะแนน รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 4.00 4.10 4.20 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป คำอธิบาย : ผลการสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรโดยรวมต่อสวัสดิการ/นโยบาย/การพัฒนา เป็นการสะท้อน ถึงความเห็นของบุคลากร ต่อการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งเป็นข้อมูลที่สำคัญที่ส่วนงานนำมาใช้ใน การพัฒนาเพื่อเสริมสร้างบรรยากาศ และเหมาะสมในการทำงานของบุคลากร ค่าตอบแทน สวัสดิการ คุณภาพชีวิต และความก้าวหน้าในอาชีพ เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการ ธำรงรักษาบุคลากรไว้กับองค์กร ซึ่งจะส่งผลต่อความรู้สึกและทัศนคติที่มีต่องานที่ปฏิบัติ หากบุคลากรได้รับการตอบสนองที่ดีจากองค์กร จะทำให้เกิดขวัญและกำลังใจในการทำงาน รวมถึงมี ความสุขในการทำงาน ที่จะส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้ และยังส่งผลให้องค์กร ประสบความสำเร็จได้ตามเป้าหมายที่วางไว้เป็นอย่างดีด้วย สูตรการคำนวณ : = ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรโดยรวมต่อสวัสดิการ/นโยบาย/การพัฒนา เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 3.80 ≥ 3.90 ≥ 4.00 ≥ 4.10 ≥ 4.20 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรโดยรวมต่อสวัสดิการ/นโยบาย/การพัฒนา ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารทั่วไป


62 ตัวชี้วัดที่ 3 : ผลสำรวจความผูกพันบุคลากรของส่วนงานตาม Engagement factor หน่วยวัด : คะแนน รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 4.00 4.10 4.20 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป คำอธิบาย : ผลสำรวจความผูกพันบุคลากร แสดงถึงการที่สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ตอบสนองต่อความ ต้องการของบุคลากรอย่างเหมาะสมตามปัจจัยความผูกพันที่สำคัญ อันได้แก่ ด้านความรู้สึก ด้าน บริหารงาน ด้านสังคม เป็นต้น สูตรการคำนวณ : = ผลการประเมินความผูกพันบุคลากรของส่วนงานตาม Engagement factor เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 3.80 ≥ 3.90 ≥ 4.00 ≥ 4.10 ≥ 4.20 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานผลสำรวจความผูกพันบุคลากรของส่วนงาน ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารทั่วไป


63 ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของบุคลากรของส่วนงานที่ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะหรือทักษะที่สูงขึ้น หน่วยวัด : ร้อยละ รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 60.00 75.00 100.00 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป คำอธิบาย : แสดงถึงผลลัพธ์ของการพัฒนาบุคลากร ให้มีสมรรถนะที่สูงขึ้น หรือทักษะที่สูงขึ้น พร้อมในการ ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบและการพัฒนางานของตน รวมถึงพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิด ขึ้นกับองค์กร เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามประสิทธิภาพที่สูงขึ้น ทั้งนี้ การนับจำนวนบุคลากรจะ ไม่นับซ้ำหากบุคลากรเข้าร่วมการพัฒนามากกว่าหนึ่งทักษะ สูตรการคำนวณ : = จำนวนบุคลากรของส่วนงานที่ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะหรือทักษะที่สูงขึ้น จำนวนบุคลากรทั้งหมดของส่วนงาน เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 30.00 ≥ 45.00 ≥ 60.00 ≥ 75.00 ≥ 100.00 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานผลจำนวนบุคลากรของส่วนงานที่ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะหรือทักษะที่สูงขึ้น ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารทั่วไป × 100


64 ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละของบุคลากรได้รับการพัฒนาตามค่านิยม หน่วยวัด : ร้อยละ รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 85.00 90.00 100.00 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป คำอธิบาย : แสดงถึง การแสดงพฤติกรรม ตามค่านิยมองค์กร โดยสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ได้กำหนด ค่านิยมหลักขององค์กร เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาตนเองตามด้านต่าง ๆ ที่ทางองค์กรต้องการ ให้พัฒนา ทั้งนี้ การนับจำนวนบุคลากรจะไม่นับซ้ำหากบุคลากรเข้าร่วมการพัฒนามากกว่าหนึ่ง ค่านิยม ค่านิยมองค์กร คือ I-STAR มีความหมายตามตัวอักษร ดังนี้ Innovation : นวัตกรรม หมายถึง การแสดงพฤติกรรมที่มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือสร้างสรรค์ ผลงาน หรือรูปแบบการทำงานใหม่ด้วยเทคโนโลยี เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการ ปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้น Synergy : การผสานพลัง หมายถึง การสนับสนุน ช่วยเหลือ การทำงานร่วมกันระหว่างบุคลากรทั้ง ภายใน และภายนอกของหน่วยงาน มีการแบ่งปันข้อมูล ทรัพยากร ในการปฏิบัติงานร่วมกัน Transformation Team : ปรับเปลี่ยนสู่อนาคต หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ปรับเปลี่ยน กับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยรับมือด้วยกันเป็นทีมเพื่อดำเนินการไปด้วยกัน Agile : สามารถทำงานที่รวดเร็วว่องไว ในรูปแบบใหม่/เปิดรับสิ่งใหม่ หมายถึง การทำให้วิธีการ ทำงานคล่องตัว ทำให้ง่ายขึ้น ไม่ซ้ำซ้อน ต้องบริหารด้วยความว่องไว Responsibility : มีความรับผิดชอบ หมายถึง การมีความรับผิดชอบในหน้าที่ บุคคลที่เกี่ยวข้องการ ปฏิบัติตามกฎหมาย ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรม มีธรรมาภิบาล การเป็นแบบอย่างที่ดี สูตรการคำนวณ : = จำนวนบุคลากรได้รับการพัฒนาตามค่านิยม จำนวนบุคลากรทั้งหมดของส่วนงาน เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 75.00 ≥ 80.00 ≥ 85.00 ≥ 90.00 ≥ 100.00 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานผลจำนวนบุคลากรบุคลากรได้รับการพัฒนาตามค่านิยม • รายงานผลโครงการที่ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรตามค่านิยมองค์กร ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารทั่วไป × 100


65 ตัวชี้วัดที่ 6 : ร้อยละบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร (KUIDP) หน่วยวัด : ร้อยละ รอบการเก็บข้อมูล : ปีงบประมาณ เป้าหมายตัวชี้วัด : ปี 2567 ปี 2568 ปี 2569 60.00 70.00 80.00 ผู้กำกับดูแล : ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป คำอธิบาย : แสดงถึงผลลัพธ์ของการพัฒนาบุคลากร และส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการ/วิชาชีพ ตาม ตำแหน่ง เพื่อให้บุคลากรมีศักยภาพและเติบโตในสายงาน ทั้งในสายวิชาการ และวิชาชีพ โดยเป็น โครงการที่มีตามแผนการพัฒนาบุคลากร ที่ตอบสนองต่อวิสัยทัศน์และประสิทธิภาพที่องคืกร คาดหวัง ทั้งนี้ การนับจำนวนบุคลากรจะไม่นับซ้ำหากบุคลากรเข้าร่วมการพัฒนามากกว่าหนึ่ง โครงการ สูตรการคำนวณ : = จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร (KUIDP) จำนวนบุคลากรทั้งหมดของส่วนงาน เกณฑ์การประเมินความสำเร็จของแผน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 ≥ 40.00 ≥ 50.00 ≥ 60.00 ≥ 70.00 ≥ 80.00 ข้อมูลประกอบการพิจารณา : • รายงานผลจำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร (KUIDP) • แผนพัฒนาบุคลากร (KUIDP) สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน ผู้รับผิดชอบ : • กองบริหารทั่วไป × 100


66


67 ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง ส่วนงาน 1 นายอุกฤษฏ์ มนูจันทรัถ ผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน 2 นายศักดิเดช อุบลสิงห์ ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป กองบริหารทั่วไป 3 นายสมเกียรติ ไทยปรีชา ผู้อำนวยการกองบริหารการศึกษา กองบริหารการศึกษา 4 นายเตชทัต ศุภสินอธิกา ผู้อำนวยการกองบริหารการวิจัยและบริการ วิชาการ กองบริหารการวิจัยและบริการ วิชาการ 5 ผศ.ดร.ศิริชัย ศรีพรหม รักษาการแทนผู้อำนวยการกองบริการกลาง กองบริการกลาง 6 นายพีระภัทร ตามประดิษฐ์ ผู้อำนวยการกองบริหารกิจการนิสิต กองบริหารกิจการนิสิต 7 นางสาวอโรชา ทองลาว ผู้อำนวยการกองบริหารทรัพย์สิน กองบริหารทรัพย์สิน 8 นายชูโชค ชูเจริญ "ผู้อำนวยการกองบริหารการกีฬา ท่องเที่ยว และศิลปวัฒนธรรม" กองบริหารการกีฬา ท่องเที่ยว และ ศิลปวัฒนธรรม 9 ผศ.ดร.ศิริชัย ศรีพรหม รักษาการแทนผู้อำนวยการสถานพยาบาล มก.กพส. สถานพยาบาล มก.กพส. 10 นางสาวมัสยา ฐาปนพันธ์นิติกุล ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารจัดการ ทรัพยากรการเรียนรู้ สำนักงานบริหารจัดการทรัพยากร การเรียนรู้ 11 นางสาวจันทรา เปี่ยมคล้า หัวหน้างานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ กองบริหารทั่วไป 12 นางปฏิญญา ชวนชม หัวหน้างานอำนวยการ กองบริหารทั่วไป 13 นางนารีรัตน์ ลีลาวรรณเขต หัวหน้างานบริหารทรัพยากรบุคคลและนิติ การ กองบริหารทั่วไป 14 นางสาวอรวีร์ แซ่โง้ว หัวหน้างานคลังและพัสดุ กองบริหารทั่วไป 15 นางสาวกนกวรรณ เล้าอรุณ หัวหน้างานวิเทศ ประชาสัมพันธ์และชุมชน สัมพันธ์ กองบริหารทั่วไป 16 นางสุณี โสดา หัวหน้างานงานบริหารการวิจัย กองบริหารการวิจัยและบริการ วิชาการ 17 นางอัญชรี แสงพฤกษ์ หัวหน้างานบริการวิชาการ กองบริหารการวิจัยและบริการ วิชาการ 18 นายศักดิ์ชาย ทองเนื้องาม หัวหน้างานอาคารและสถานที่ กองบริการกลาง 19 นางสาวนันทนัช อนันทาวุฒิ หัวหน้างานยานพาหนะและภูมิทัศน์ กองบริการกลาง 20 นางสาวกชพร ว่องไววุฒิ หัวหน้างานเทคโนโลยีสารสนเทศ กองบริการกลาง 21 นายเมธี มาลา หัวหน้างานรักษาความปลอดภัย กองบริการกลาง 22 นางบังอร บรรณจิรกุล หัวหน้างานกิจการนิสิต กองบริหารกิจการนิสิต 23 นายธนกฤต มากงลาด หัวหน้างานพัฒนานิสิต กองบริหารกิจการนิสิต 24 นางอวสร ภิรมยาภรณ์ หัวหน้างานบริหารทรัพย์สินและจัดการพื้นที่ กองบริหารทรัพย์สิน 25 นางรวิภา สัจจาพิทักษ์ หัวหน้างานหารายได้และสิทธิประโยชน์ กองบริหารทรัพย์สิน 26 นางสาวจรินทร์ญา ถาวรนิตยกุล หัวหน้างานท่องเที่ยว และศิลปวัฒนธรรม กองบริหารการกีฬา ท่องเที่ยว และ ศิลปวัฒนธรรม โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการประจำปี ระหว่างวันที่ 27-28 ตุลาคม 2566 ณ บ้านอัมพวา รีสอร์ท แอนด์ สปา ตำบลบ้านปรก อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม


68 ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง ส่วนงาน 27 นายภาสันต์ วิชานงค์ รักษาการแทนหัวหน้างานกีฬา กองบริหารการกีฬา ท่องเที่ยว และ ศิลปวัฒนธรรม 28 นางสาวอาภรณ์ ชื่นประไพ หัวหน้างานบริการผู้ป่วยนอก สถานพยาบาล มก.กพส. 29 นางสาวเกษรินทร์ ชินโน หัวหน้างานส่งเสริมสุขภาพ สถานพยาบาล มก.กพส. 30 นางสาวพัชรินทร์ ช้างทอง หัวหน้างานบริการทรัพยากรการเรียนรู้ สำนักงานบริหารจัดการทรัพยากร การเรียนรู้ 31 นางสาวพูนพัชรี ประสพเนตร หัวหน้างานสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต สำนักงานบริหารจัดการทรัพยากร การเรียนรู้ 32 นางสาวดวงกมล วงศ์จันทร์ หัวหน้างานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ สำนักงานบริหารจัดการทรัพยากร การเรียนรู้ 33 นางสาวทิพวัลย์ ดวงพาเพ็ง เจ้าหน้าที่งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ กองบริหารทั่วไป 34 นางสาวสุภาวดี แก้วสด เจ้าหน้าที่งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ กองบริหารทั่วไป 35 นางสุนทรี กลิ่นบุปผา เจ้าหน้าที่งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ กองบริหารทั่วไป 36 นางสาวเยาวภา มณีเนตร เจ้าหน้าที่งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ กองบริหารทั่วไป 37 นางสาวเบญจวรรณ ก้านขุนทด เจ้าหน้าที่งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ กองบริหารทั่วไป 38 นางสาวมัทนียา ปิ่นแก้ว เจ้าหน้าที่งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ กองบริหารทั่วไป 39 นายไกรสร พยาบาล เจ้าหน้าที่งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ กองบริหารทั่วไป


69


70


71 กองบริหารยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2566). แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2567 - 2570). กรุงเทพฯ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570). กรุงเทพฯ. สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม. (2561) ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580. คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, กรุงเทพฯ. สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ, สำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2562). นโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2563 –2570และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2563 –2565. กรุงเทพฯ. สำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน. (2565). แผนยุทธศาสตร์ฉบับทบทวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขต กำแพงแสน ระยะ 5 ปี(พ.ศ. 2563 - 2567). นครปฐม.


72 ที่ปรึกษา : นายอุกฤษฏ์ มนูจันทรัถ ผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขตกำแพงแสน นายศักดิเดช อุบลสิงห์ ผู้อำนวยการกองบริหารทั่วไป จัดพิมพ์ต้นฉบับ/สรุปข้อมูล : นางสาวจันทรา เปี่ยมคล้า หัวหน้างานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ นางสาวทิพวัลย์ ดวงพาเพ็ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ นางสาวสุภาวดี แก้วสด นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ นางสาวเบญจวรรณ ก้านขุนทด นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ปฏิบัติการ นางสาวมัทนียา ปิ่นแก้ว นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ปฏิบัติการ นางสุนทรี กลิ่นบุปผา พนักงานธุรการ นางสาวเยาวภา มณีเนตร นักวิชาการศึกษา ชำนาญการ นายไกรสร พยาบาล เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ปฏิบัติการ ออกแบบเล่ม : นางสาวมัทนียา ปิ่นแก้ว นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ปฏิบัติการ ภาพถ่าย : Facebook : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน Facebook : Kamphaengsaen Photo Club


73


Click to View FlipBook Version