The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือภูมืปัญญาลวดลายผ้าไหมด้วยกี่ทอเอว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by somkhit.th, 2023-03-09 04:58:18

หนังสือภูมืปัญญาลวดลายผ้าไหมด้วยกี่ทอเอว

หนังสือภูมืปัญญาลวดลายผ้าไหมด้วยกี่ทอเอว

ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้สไหมด้วยกิ่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๙๐ พรรษา โครงการช่วยเหลือราษฎรบ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จัดท�ำโดย กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้สไหมด้วยกิ่เอวเฉลิมพระเกียรติฯ ๙๐ พรรษา โครงการช่วยเหลือราษฎรบ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ผู้จัดพิมพ์: กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2175 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-5587924 โทรสาร 02-5587927 www: qsds.go.th. พิมพ์ที่: บริษัท สยามพิมพ์นานา จ�ำกัด 108 ซ.พงค์สุวรรณ ต.ศรีภูมิ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200 โทร. 053-216962 www.siampimnana.com


ค�ำน�ำ พื้นที่โครงการช่วยเหลือราษฎรกลุ่มบ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ต�ำบลแม่ตื่น อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ในสมัย ก่อนราษฎรส่วนใหญ่มีสภาพความเป็นอยู่ที่ยากจน อาชีพหลักส่วนใหญ่ คือ ท�ำนา ท�ำไร่ ทอผ้า จนกระทั่งเมื่อสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน เยี่ยมราษฎรกลุ่มบ้านซิแบร และ มีพระราชเสาวนีย์ให้ช่วย เหลือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้น โดยส่งเสริมให้มีการทอผ้า และรับเส้นไหมจากทางส�ำนักพระราชวังมาแจกจ่ายให้ราษฎร ที่เป็นสมาชิก เพื่อน�ำมาทอผ้าลายชนเผ่าปกาเกอะญอโดยใช้กี่เอว จากนั้นส่งผ้าไหมกลับคืนให้ศูนย์ศิลปาชีพและทรงรับซื้อไว้ ศูนย์หม่อน ไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เชียงใหม่ ภายใต้สังกัดกรมหม่อนไหม เป็นหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบงานด้านหม่อนไหมในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ได้เข้าไปส่งเสริมให้ความรู้และเทคนิคเพิ่มเติม ทั้งในด้านการลอกกาวไหม การย้อมสีเส้นไหม ตลอดจนเข้าไปตรวจรับรองมาตรฐานตรา นกยูงพระราชทาน จากการส่งเสริมการทอผ้าไหมด้วยกี่เอวส่งผลให้สมาชิกทอผ้าไหมมีรายได้เพิ่มขึ้น ท�ำให้สภาพความเป็นอยู่ และ คุณภาพชีวิตของสมาชิกดีขึ้นตามไปด้วย เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๙๐ พรรษา ในปี ๒๕๖๕ กรมหม่อนไหม ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน ที่ได้ทรงริเริ่มและส่งเสริมให้สมาชิกทอผ้าในโครงการฯ ได้ ทอผ้าไหมด้วยกี่เอว จึงได้จัดท�ำหนังสือ ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๙๐ พรรษา โครงการช่วยเหลือ ราษฎรบ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ กรมหม่อนไหม ๒๕๖๕


สารบัญ ประวัติของโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตราษฎรบ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ ๑ จุดเริ่มต้นของการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว ๕ ภูมิปัญญาการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว ๑๑ ภูมิปัญญาลวดลายบนผืนผ้าไหม ๒๑ ผู้ให้ข้อมูล ๔๗


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 1 ประวัติของโครงการช่วยเหลือราษฎรบ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ


2 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ชื่อโครงการ : โครงการช่วยเหลือราษฎรบ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ หน่วยงานรับผิดชอบ: ส่วนประสานโครงการพระราชด�ำริและกิจการพิเศษ ส�ำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๑๖ (เชียงใหม่) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช สถานที่ด�ำเนินงานโครงการ: บ้านซิแบร หมู่ที่ ๗ ต�ำบลแม่ตื่น อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ พระราชด�ำริ: เมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เนื่องในโอกาสสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมราษฎรบ้านซิแบร ต�ำบลแม่ตื่น อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพระราชด�ำริ ดังต่อไปนี้ ครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๑๐ และ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๒ • ขอให้ช่วยเหลือเรื่องข้าวบริโภคทั้ง ๔ หมู่บ้าน • จัดให้มีระบบน�้ำเพื่อการเกษตรตลอดปี • จัดให้มีการตั้งกลุ่มเลี้ยงเป็ดเทศ และพระราชทานเป็ดเทศ จ�ำนวน ๑๐๐ ตัว • ให้ปล่อยพันธุ์ปลาในแหล่งน�้ำธรรมชาติและบ่อน�้ำสาธารณะ เพื่อเป็นแหล่งอาหาร • ให้จัดสร้างโรงฝึกทอผ้าบ้านซิแบร ด�ำเนินการฝึกให้กับราษฎร และจัดกลุ่มศิลปาชีพทอผ้า • ให้ส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งพันธุ์พื้นเมือง • ให้ส่งเสริมการเลี้ยงกบแก่ราษฎร ๔ -๕ ราย • ให้พิจารณาช่วยเหลือด้านการศึกษาแก่ราษฎรในพื้นที่


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 3 • พิจารณาช่วยเหลือด้านการพยาบาลแก่ราษฎรด้วย และให้คัดเลือกตัวแทนราษฎรหมู่บ้านละ ๒ คน เข้ารับการฝึกอบรม ความรู้ด้านการรักษาพยาบาลขั้นต้น และให้สร้างศาลารวมใจ ประจ�ำหมู่บ้าน เป็นที่ท�ำงานของหมออาสา และเป็นที่เผยแพร่ความรู้ด้านต่างๆ ด้วย • การปรับปรุงเส้นทาง ต้องไม่ด�ำเนินการจนเกินความจ�ำเป็นให้รักษาสภาพธรรมชาติหรือสภาพเดิมไว้ • ขอให้ส่วนราชการมาคอยดูแลราษฎร และประจ�ำในพื้นที่ เพื่อให้ความช่วยเหลือ แนะน�ำความรู้ ด้านต่างๆ แก่ราษฎร ครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๔๓ • ให้จัดท�ำโครงการ เลี้ยงกบ เลี้ยงปลา และปล่อยสู่แหล่งธรรมชาติ ครั้งที่ ๓ เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๖ • ให้จัดหาพื้นที่บริเวณบ้านซิแบร ประมาณ ๑๐๐ ไร่ โดยพิจารณาจากพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้กับราษฎร ที่ไม่มีพื้นที่ท�ำกิน ครั้งที่ ๔ เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ • ให้ส�ำนักงานประมงจัดหาพันธุ์ปลา ปล่อยในล�ำน�้ำแม่ตื่น และล�ำน�้ำแม่เทย • ให้อ�ำเภออมก๋อยพิจารณาเพิ่มชื่อแก่ราษฎรที่ตกหล่นในทะเบียนบ้าน และรับแจ้งเกิดเกินก�ำหนด แก่ราษฎรที่มิได้แจ้งเกิดตามก�ำหนดเวลา รวมทั้งพิจารณาให้สัญชาติแก่ราษฎรในพื้นที่ที่มีคุณสมบัติ ตามกฎหมาย • ให้กองทัพภาคที่ ๓ ก่อสร้างกุฏิขนาดเล็ก จ�ำนวน ๔ หลังและศาลาขนาดเล็กจ�ำนวน ๑ หลัง ที่ส�ำนักสงฆ์ซิแบร หมู่ที่ ๗ ต�ำบลแม่ตื่น โดยพระราชทานเงิน จ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อเป็น ทุนในการก่อสร้าง • ให้ส�ำนักงานชลประทานก่อสร้างประปาบ้านห้วยขนุน และบ้านห้วยยาบ หมู่ที่ ๘ ต�ำบลแม่ตื่น เพื่อช่วยเหลือราษฎร ให้มีน�้ำอุปโภคบริโภค ให้อ�ำเภออมก๋อยจัดส่งราษฎรที่เป็นสมาชิกศิลปาชีพ จ�ำนวน ๑๐๐ คน ไปฝึกศิลปาชีพที่พระต�ำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ ในวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘


4 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ครั้งที่ ๕ เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๔๙ • ขอให้ราษฎร ช่วยกันรักษาป่าไว้เพื่อเป็นแหล่งซับน�้ำต่อไป ในปี ๒๕๔๖ ส�ำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๑๖ จึงได้จัดตั้ง สถานีพัฒนาป่าไม้บ้านซิแบรขึ้น ปัจจุบันใช้ชื่อโครงการช่วยเหลือราษฎร บ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เพื่อปฏิบัติการรับผิดชอบด้านการดูแลอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่า รวมตลอดถึงการส่งเสริมพัฒนา คุณภาพชีวิตของราษฎรกลุ่มบ้านซิแบร เพื่อผลสัมฤทธิ์ และบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการฯ แผนที่โครงการช่วยเหลือราษฎรบ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 5 จุดเริ่มต้นของการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว


6 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา จุดเริ่มต้นของการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว ในอดีต ราษฎรมีการบุกรุกแผ้วถางป่าท�ำไร่เลื่อนลอยบนภูเขาสูง ก่อให้เกิดการพังทลายของดิน นอกจากนี้ยังมีปัญหาการเกิดไฟป่า ที่เป็นผลมาจากการท�ำไร่เลื่อนลอย โดยมีการจุดไฟเผาป่าเพื่อการเพาะปลูก รวมทั้งความแห้งแล้งเนื่องจากสภาพป่าเสื่อมโทรม ราษฎร มีความยากจน สภาพที่อยู่อาศัย อาหาร และแหล่งน�้ำอุปโภคบริโภค ไม่ถูกสุขอนามัย ที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ห่างไกลและทุรกันดาร เมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๒ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจและทรงเยี่ยมราษฎร ที่ศูนย์ปฏิบัติการนางนอน ต�ำบลม่อนจอง อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ พระองค์ได้ทรงทราบ ถึงความยากจนและการขาดแคลนข้าวเพื่อการบริโภคของราษฎรกลุ่มบ้านซิแบร ซึ่งประกอบด้วย บ้านซิแบร บ้านปรอโพ บ้านห้วยขนุน และบ้านห้วยหยาบ จึงได้พระราชทานข้าวสารเพื่อน�ำไปแจกจ่ายให้ราษฎรทั้ง ๔ หมู่บ้านดังกล่าว จ�ำนวน ๕๐,๐๐๐ กิโลกรัม ต่อมา ความ ได้ทราบถึงฝ่าละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และได้ทรงมีพระราชกระแสรับสั่ง เมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๔๒ ให้กองทัพภาคที่ ๓ พิจารณาหาทางช่วยเหลือ ด้านการเกษตร การศึกษา และสาธารณสุข และได้ทรงมี พระราชกระแสรับสั่งเมื่อวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ เกี่ยวกับการจัดหาแหล่งน�้ำเพื่อการเกษตรกรรม ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๐ และ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๒ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรกลุ่มบ้านซิแบร ทรงมีพระราชเสาวนีย์กับเจ้าหน้าที่โครงการอนุรักษ์สภาพป่าในพื้นที่อ�ำเภออมก๋อย และมีพระราชเสาวนีย์ผ่านราชเลขานุการในพระองค์ ถึงเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกับการช่วยเหลือข้าวบริโภค ระบบน�้ำเพื่อการเกษตร การเลี้ยงสัตว์ การจัดตั้งกลุ่มศิลปาชีพทอผ้าและ การจัดสร้างโรงฝึกทอผ้า การรักษาพยาบาล การศึกษา การคมนาคม จัดหาพื้นที่ท�ำการเกษตรให้แก่ราษฎร และให้ส่วนราชการมาประจ�ำ พื้นที่คอยช่วยเหลือ แนะน�ำ ด้านต่างๆ แก่ราษฎร


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 7 วันที่ ๑๐ และ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๒ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จฯ ทรงเยี่ยมราษฎรกลุ่มบ้านซิแบร ในส่วนของการทอผ้า โครงการฯ รับเส้นไหมจากทางส�ำนักพระราชวังมาแจกจ่ายให้สมาชิกที่ทอผ้าไหม รายละ ๓ กิโลกรัม เพื่อ น�ำมาทอผ้าทอลายกระเหรี่ยง โดยกี่ที่ใช้จะเป็นกี่เอว จากนั้นส่งผ้าไหมกลับคืนให้ศูนย์ศิลปาชีพโดยทรงรับซื้อคืนทั้งหมด หลังจากที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้ทรงมีพระราชเสาวนีย์ ให้น�ำเส้นไหมดิบ มาให้สมาชิกทอผ้า ทอผ้าไหมด้วยกี่เอว และจะทรงรับซื้อไว้นั้น ทางหน่วยงานราชการหลายภาคส่วนก็เข้ามาช่วยกันทั้งในส่วนของกอง พันพัฒนาที่ ๓ ที่น�ำเส้นไหมมาให้สมาชิกทอผ้าได้ทอผ้า ในปี ๒๕๔๓ สถานีทดลองหม่อนไหมเชียงใหม่ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็นศูนย์ หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เชียงใหม่ ภายใต้กรมหม่อนไหมในปัจจุบัน ได้เข้าไปส�ำรวจข้อมูลของโครงการช่วยเหลือราษฎรกลุ่มบ้าน


8 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เพื่อเข้าไปส่งเสริมและสนับสนุนในเรื่องการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม และการทอผ้าไหม ตลอดจนถ่ายทอด เทคโนโลยีการฟอกย้อมสีเคมี และสีธรรมชาติให้แก่สมาชิกโครงการที่ทอผ้าไหม อีกทั้งยังมีกรมการพัฒนาชุมชนที่ร่วมให้การสนับสนุน ปี ๒๕๕๑ ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เชียงใหม่ ได้รับรองผ้าไหม ตรานกยูงพระราชทานสีทอง (Royal Thai Silk) ให้กับ โครงการช่วยเหลือราษฎรกลุ่มบ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เพื่อท�ำการติดดวงตรานกยูงพระราชทาน ซึ่งเป็นการรับรองผ้า ไหมในด้านที่มาของวัตถุดิบและคุณภาพของผ้า ก่อนส่งเข้าศูนย์ศิลปาชีพต่อไป


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 9 นางโสภา ปลูกเงิน สมาชิกทอผ้าไหมของโครงการฯ ในขณะนั้น ได้เล่าให้ฟังว่า แรกเริ่มที่ได้รับเส้นไหม จ�ำนวน ๓ กิโลกรัม และ น�ำเส้นไหมมาทอด้วยกี่เอวนั้น ยังมีปัญหาในการทอ เนื่องจากแต่เดิมเคยทอแต่ฝ้ายจึงยังไม่คุ้นชินกับเส้นไหม และขาดเทคนิคในการทอ ผ้าไหมด้วยกี่เอว ต่อมาได้เป็นตัวแทนของกลุ่มทอผ้าไหมด้วยกี่เอวของโครงการฯ ร่วมกันกับสมาชิกอีกจ�ำนวนหนึ่ง ไปฝึกเรียนรู้เทคนิค การทอที่พระราชต�ำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ และได้น�ำมาถ่ายทอดให้แก่สมาชิกคนอื่นๆ ในโครงการฯ ซึ่งหลังจากนั้นมา ทางกลุ่มได้ทอผ้า ไหมด้วยกี่เอวส่งให้ศิลปาชีพมาโดยตลอด และได้รับค่าตอบแทนเป็นค่าจ้างทอ สร้างรายได้ให้แก่สมาชิกทอผ้าไหมของโครงการฯ อีกทั้ง สมาชิกทอผ้าไหมมีรายได้ที่เพิ่มขึ้น ท�ำให้สภาพความเป็นอยู่ และคุณภาพชีวิตของราษฎรดีขึ้นตามไปด้วย นำงโสภำ ปลูกเงิน สมำชิกทอผำ้ไหมของโครงกำรฯ ในขณะน้นั ไดเ้ล่ำให้ฟังวำ่แรกเริ่มที่ไดร้ับเส้นไหม จ ำนวน 3กิโลกรัม และนำ เส้นไหมมำทอดว้ยกี่เอวน้นัยงัมีปัญหำในกำรทอเนื่องจำกแต่ เดิมเคยทอแต่ฝ้ำยจึงยงัไม่คุน้ชินกบัเส้นไหม และขำดเทคนิค ในกำรทอผำ้ไหมดว้ยกี่เอว ต่อมำไดเ้ป็นตัวแทนของกลุ่มทอผำ้ไหมด้วยกี่เอวของโครงกำรฯ ร่วมกนักบั สมำชิกอีกจ ำนวนหนึ่ง ไปฝึ กเรี ยนรู้เทคนิคกำรทอที่พระรำชต ำหนักภูพิงครำชนิเวศน์และได้น ำมำถ่ำยทอดให้แก่สมำชิกคนอื่นๆ ในโครงกำรฯ ซ่ึงหลงัจำกน้นัมำ ทำงกลุ่มไดท้อผำ้ไหมดว้ยกี่เอวส่งให้ศิลปำชีพมำโดยตลอด และไดร้ับค่ำตอบแทนเป็นค่ำจำ้งทอ สร้ำงรำยได้ ให้แก่สมำชิกทอผำ้ไหมของโครงกำรฯ อีกท้ งัสมำชิกทอผ้ำไหมมีรำยได้ที่เพิ่ มข้ึน ทำ ให้สภำพควำมเป็นอยู่และคุณภำพชีวิตของ รำษฎรดีข้ึนตำมไปดว้ย เสื้อปากาเกอะญอ ทอด้วยไหม โดย นางโสภา ปลูกเงิน นางโสภา ปลูกเงิน สมาชิกทอผ้าของโครงการฯ ที่ริ เริ่ มทอผ้าไหม และได้ฝึ ก เรี ยนรู้ เทคนิคการทอที่พระ ราชต าหนักภูพิงคราชนิเวศน์ แล ะน าม าถ่ ายท อ ด ให้ แ ก่ สมาชิกคนอื่นๆ


10 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ภูมิปัญญาการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 11 ภูมิปัญญาการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว สืบเนื่องจากการริเริ่มน�ำเส้นไหมมาทอเป็นผืนผ้าโดยใช้กี่เอวของสมาชิกทอผ้าไหมในโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตราษฎรบ้าน ซิแบร ตามแนวพระราชด�ำริฯ ซึ่งเป็นแห่งแรกๆ ที่น�ำเส้นไหมมาทอด้วยกี่เอว โดยราษฎรที่อาศัยอยู่ส่วนใหญ่เป็นปกาเกอะญอ โดยพยายาม ทดลองและปรับใช้วิธีและเทคนิคต่างๆ ให้เหมาะสมต่อการน�ำเส้นไหมมาใช้ทอ จนสามารถถ่ายทอดวิธีการทอผ้าไหมด้วยกี่เอวจากรุ่น สู่รุ่น โดยมีสมาชิกที่ทอผ้าไหมภายในโครงการฯ จ�ำนวน ๓๘๔ ราย กระจายตามหมู่บ้าน ภายใต้การรับผิดชอบของโครงการฯ จ�ำนวน ๔ หมู่บ้าน ประกอบด้วย บ้านซิแบร บ้านปรอโพ บ้านห้วยขนุน และบ้านห้วยยาบ จึงลงไปส�ำรวจเก็บรวบรวมภูมิปัญญาการทอผ้าไหม ด้วยกี่เอวในพื้นที่ ดังกล่าว บ้านซิแบร ตั้งอยู่หมู่ที่ ๗ ต�ำบลแม่ตื่น อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เดิมทีประมาณ ๑๐๐ ปี ก่อนที่จะย้ายมาตั้งที่ บ้านซิแบร ในปัจจุบัน ชาวบ้านอาศัยอยู่ที่บ้าน “ตาลุกุ๊” แต่ต่อมามีการขยายตัวของชุมชนจึงย้ายมา ส่วนบริเวณ “ตาลุกุ๊” ในปัจจุบันกลายเป็นสนาม ส�ำหรับเฮลิคอปเตอร์ลงจอด ซึ่งตอนที่ย้ายมายังมีการแยกกันอยู่เป็นหย่อมๆ ต่อมาเมื่อมีการรวมตัวกัน จึงใช้ชื่อหมู่บ้านว่า “ซิแบร” ตาม นายซิแบร ซึ่งเป็นคนแรกที่ย้ายมา และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรกของบ้านซิแบร และในปี ๒๕๔๒ เมื่อสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้ทรงเสด็จเยี่ยมราษฎรที่ศูนย์ปฏิบัติการนางนอน ต�ำบลม่อนจอง อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ผู้ใหญ่บ้านในตอนนั้นได้น�ำชาวบ้านเข้ารับเสด็จ ทรงรับทราบถึงความทุกข์ยาก และยากจน ของราษฎรบ้านซิแบร ใน เวลาต่อมาพระองค์จึงทรงเสด็จเยี่ยมราษฎรกลุ่มบ้านซิแบรอีกหลายครั้ง และทรงมีพระราชด�ำริให้ช่วยเหลือชาวบ้านให้พ้นจากความทุกข์ยาก


12 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา บ้านซิแบร บ้านปรอโพ ตั้งอยู่หมู่ที่ ๗ ต�ำบลแม่ตื่น อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เดิมทีชาวบ้านปรอโพอาศัยอยู่ที่บ้านซิแบร โดยผู้ที่บุกเบิก เข้ามาอยู่คนแรก ชื่อ นายกุยกว่า ประมาณ ๔๐ – ๕๐ ปีที่แล้ว ซึ่งสาเหตุที่ย้ายเนื่องจากนายกุยกว่า มีที่ท�ำนาอยู่ห่างไกลจากหมู่บ้านซิ แบร จึงได้มาสร้างบ้านใกล้ที่นาและชาวบ้านเริ่มค่อยๆ ตามกันมาเรื่อยๆ ซึ่งในครั้งแรกได้ย้ายลงมาอยู่บ้านเดลอ แต่เกิดเนื่องจากประสบ ปัญหาภัยแล้งจึงย้ายมาอยู่ในจุดที่ตั้งเป็นหมู่บ้านปรอโพในปัจจุบัน


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 13 บ้านปรอโพ บ้านห้วยขนุน ตั้งอยู่หมู่ที่ ๘ ต�ำบลแม่ตื่น อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งมาประมาณ ๑๐๐ ปีที่แล้ว โดยมีชาวบ้านไม่กี่ ครอบครัวอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณเนินเขา และปัจจุบันพื้นที่เหล่านั้นได้กลายเป็นสุสานของหมู่บ้านอยู่ทางทิศตะวันตก ของหมู่บ้าน ไปประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร ในอดีตบ้านห้วยขนุนเป็นป่า และมีต้นขนุนจ�ำนวนมาก จึงตั้งชื่อว่า บ้านห้วยขนุน ปัจจุบันต้นขนุนหายไป เกือบหมด กลายมาเป็นอาคารบ้านเรือนแทนที่


14 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา บ้านห้วยยาบ ตั้งอยู่หมู่ที่ ๘ ต�ำบลแม่ตื่น อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อประมาณ ๑๐๐ กว่าปี ได้ย้ายจากฮาเหละแฮ ประมาณ ๒๕ ครอบครัว ด้วยความแออัดของที่อยู่เดิม โดย นายเทาะพอ ได้น�ำชาวบ้าน ๒๕ ครอบครัว ย้ายมาตั้งถิ่นฐานที่ บ้านห้วย ยาบในปัจจุบัน ‘ บ้านห้วยยาบ ในส่วนของภูมิปัญญาการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว ได้เริ่มมาประมาณ ๒๐ กว่าปีที่ผ่านมา โดยพยายามทดลองและปรับใช้วิธีและ เทคนิคต่างๆ ให้เหมาะสมต่อการน�ำเส้นไหมมาใช้ทอ และถ่ายทอดวิธีการทอผ้าไหมด้วยกี่เอวจากรุ่นสู่รุ่น เริ่มตั้งแต่การได้รับเส้นไหมดิบ จ�ำนวนหนึ่ง จากทางศิลปาชีพ จนกระทั่งทอเป็นผืนผ้าส่งกลับไปให้กับทางศิลปาชีพเพื่อประเมินราคาตามฝีมือและรายละเอียดของผืน ผ้า


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 15 กระบวนการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว ขั้นตอนการลอกกาวไหม และย้อมสีเส้นไหม ส�ำหรับทอผ้ากี่เอว ๑. เริ่มจากน�ำไจเส้นไหมดิบมาท�ำการควบเส้นให้ได้ขนาดที่ต้องการ (๒-๓ เส้น) ซึ่งการควบเส้นไหมที่ชาวบ้านท�ำสามารถท�ำได้ ๒ วิธี ซึ่งจะเลือกใช้วิธีไหนขึ้นอยู่กับความถนัดของแต่ละคน วิธีที่ ๑ น�ำเส้นไหมดิบออกจากไจไหมแล้วน�ำมาพันเป็นก้อนกลม ตามแบบวิธีดั้งเดิมในขั้นตอนการเตรียมเส้น กระบวนการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว ขั้นตอนการลอกกาวไหม และย้อมสีเส้นไหม ส าหรับทอผ้ากี่เอว 1. เริ่มจำกน ำไจเส้นไหมดิบมำท ำกำรควบเส้นให้ได้ขนำดที่ต้องกำร (2-3 เส้น) ซึ่งกำรควบเส้นไหมที่ชำวบ้ำนท ำสำมำรถ ท ำได้ 2 วิธีซ่ึงจะเลือกใชว ้ ธิีไหนข้ึนอยกู่บัควำมถนดัของแต่ละคน วิธีที่1 น ำเส้นไหมดิบออกจำกไจไหมแล้วน ำมำพนัเป็ นกอ ้ นกลม ตำมแบบวิธีด้ งัเดิมในข้ นัตอนกำรเตรียมเส้ น ควบเส้นไหมดิบให้ได้ขนาดที่ต้องการโดยน ามาพันเป็นก้อนกลม


16 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา วิธีที่ ๒ การน�ำเส้นไหมดิบออกจากไจไหม น�ำมาเส้นเข้าอัก ซึ่งเป็นแบบวิธีการที่ได้รับการถ่ายทอดจากการที่ได้ไปเรียนรู้จาก บุคคลภายนอก ๒. น�ำเส้นไหมดิบที่ท�ำการควบเส้นแช่ลงในน�้ำ และน�ำเส้นไหมไปตีเกลียวให้รวมกันเป็นเส้นเดียวด้วยไน ตีเกลียวเส้นไหม ให้ได้ เกลียวที่มีความสม�่ำเสมอ ในขั้นตอนนี้ต้องอาศัยทักษะ และความช�ำนาญในการตีเกลียวเส้นไหม วิธีที่ 2 กำรน ำเส้นไหมดิบออกจำกไจไหม น ำมำเส้นเข้ำอัก ซึ่ งเป็ นแบบวิธีกำรที่ได้รับกำรถ่ำยทอดจำกกำรที่ได้ไป เรียนรู้จำกบุคคลภำยนอก ควบเส้นไหมดิบให้ได้ขนาดที่ต้องการโดยน ามาเข้าอักและน ามาท าไจไหม 2. น ำเส้นไหมดิบที่ทำ กำรควบเส้นแช่ลงในน้ำ และน ำเส้นไหมไปตีเกลียวให้รวมกนัเป็นเส้นเดียวดว้ยไน ตีเกลียวเส้นไหม ให้ได้เกลียวที่มีควำมสม ่ำเสมอในข้ นัตอนน้ีต้องอำศัยทักษะ และควำมช ำนำญในกำรตีเกลียวเส้นไหม ตีเกลียวเส้นไหม วิธีที่ 2 กำรน ำเส้นไหมดิบออกจำกไจไหม น ำมำเส้นเข้ำอัก ซึ่ งเป็ นแบบวิธีกำรที่ได้รับกำรถ่ำยทอดจำกกำรที่ได้ไป เรียนรู้จำกบุคคลภำยนอก ควบเส้นไหมดิบให้ได้ขนาดที่ต้องการโดยน ามาเข้าอักและน ามาท าไจไหม 2. น ำเส้นไหมดิบที่ทำ กำรควบเส้นแช่ลงในน้ำ และน ำเส้นไหมไปตีเกลียวให้รวมกนัเป็นเส้นเดียวดว้ยไน ตีเกลียวเส้นไหม ให้ได้เกลียวที่มีควำมสม ่ำเสมอในข้ นัตอนน้ีต้องอำศัยทักษะ และควำมช ำนำญในกำรตีเกลียวเส้นไหม ตีเกลียวเส้นไหม


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 17 ๓. น�ำเส้นไหมดิบที่ท�ำการตีเกลียวเสร็จแล้ว เก็บเข้าอุปกรณ์ส�ำหรับท�ำไจไหม หรือเข้าเหล่ง เพื่อน�ำไจไหมไปลอกกาว และย้อม สีต่อไป ๔. ท�ำการลอกกาวไหม น�ำเส้นไหมดิบแช่น�้ำ ต้มน�้ำเปล่ารอจนน�้ำเดือด แล้วจึงน�ำสบู่ลายที่สับให้ละเอียดแล้วใส่ลงไป ต้มจนสบู่ละลายหมด น�ำไจเส้นไหมลงไปในน�้ำสบู่ที่ต้มไว้ พลิกกลับไจเส้นไหมตลอดการลอกกาวจนเห็นว่ากาวไหมหลุดออกจากเส้นไหม หมดจึงน�ำไจเส้นไหมขึ้นจากน�้ำสบู่ที่ต้มไว้ ท�ำความสะอาดล้างเส้นไหมด้วยน�้ำเปล่าจนเส้นไหมสะอาด 3. น ำเส้นไหมดิบที่ท ำกำรตีเกลียวเสร็จแล้ว เก็บเขำ้อุปกรณ์ส ำหรับทำ ไจไหม หรือเขำ้เหล่ง เพื่อน ำไจไหมไปลอกกำว และย้อมสีต่อไป 4. ท ำกำรลอกกำวไหม นำ เส้นไหมดิบแช่น้ำ ต้มน้ำ เปล่ำรอจนน้ ำเดือด แล้วจึงนำ สบู่ลำยที่สับให้ละเอียดแล้วใส่ลงไป ต้มจนสบู่ละลำยหมด น ำไจเส้นไหมลงไปในน้ำ สบู่ที่ตม้ไว้พลิกกลับไจเส้นไหมตลอดกำรลอกกำวจนเห็นว่ำกำวไหมหลุดออก จำกเส้นไหมหมดจึงน ำไจเส้นไหมข้ึนจำกน้ ำ สบู่ที่ต้มไว้ท ำควำมสะอำดล้ำงเส้นไหมดว้ยน้ ำ เปล่ำจนเส้นไหมสะอำด ขั้นตอนการลอกกาวไหม ๕. น�ำเส้นไหมที่ท�ำการลอกกาวเสร็จแล้ว ไปท�ำการย้อมสีเส้นไหมตามสีที่ต้องการ สีที่ใช้ย้อมส่วนใหญ่จะย้อมสีธรรมชาติ เนื่องจาก ในพื้นที่เป็นป่าไม้ มีพันธุ์ไม้หลากหลายและหาง่าย ให้สีสันที่สวยงาม อาทิ เช่น ใบสักอ่อน ใบสักแก่ เปลือกเพกา ฝาง ไม้ก่อ เป็นต้น ซึ่ง


18 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา การย้อมสีด้วยวัสดุจากธรรมชาตินั้นจะใส่เกลือและสารส้มต�ำให้ละเอียดลงไป เพื่อช่วยให้สีติดเส้นไหมได้ดีขึ้นลงไปในน�้ำสีด้วย เริ่มจาก การเตรียมวัตถุดิบน�ำวัตถุดิบไปสับหรือต�ำ แช่น�้ำเพื่อสกัดเอาน�้ำสีออก น�ำน�้ำที่มีวัตถุดิบแช่น�้ำอยู่ ต้มโดยใช้เวลาสกัดสีประมาณ ๔๐–๕๐ นาที กรองเอาน�้ำสีเพื่อน�ำไปต้ม และน�ำเส้นไหมที่ลอกกาวออกแล้วใส่ลงไป พลิกกลับเส้นไหม จนสีที่เข้าไปจับเส้นไหมอิ่มตัว ซึ่งใช้เวลา ประมาณ ๔๐–๕๐ นาที น�ำเส้นไหมขึ้นจากน�้ำย้อม ท�ำความสะอาดล้างเส้นไหม ด้วยน�้ำเปล่าจนเส้นไหมสะอาด ๖. น�ำเส้นไหมที่ย้อมสีเสร็จแล้ว ล้างท�ำความสะอาดด้วยน�้ำเปล่า จนสีไม่ตกหรือสีตกน้อยที่สุด แล้วน�ำไปกระตุกผึ่งตาก ในที่ร่ม จนเส้นไหมแห้ง (การย้อมสีมักจะย้อมมากกว่า ๑ สี ซึ่งวัสดุที่ใช้ในธรรมชาติจะแตกต่างกันไปตามสีที่ต้องการ เช่น สีม่วงอมแดงจากใบ สักอ่อน สีเขียวจากมูลวัวหรือควาย สีเหลืองจากขมิ้น เป็นต้น) ขั้นตอนการย้อมสีเส้นไหมจากวัตถุดิบธรรมชาติ ขั้นตอนการย้อมสีเส้นไหมจากวัตถุดิบธรรมชาติ ขั้นตอนการย้อมสีเส้นไหมจากวัตถุดิบธรรมชาติ การทอผ้าไหมด้วยกี่เอว 1. น ำเส้นไหมที่ย้อมสีเสร็จและผึ่งให้แห้งแล้ว มำพนัเป็ นกอ ้ นกลม เส้นไหมที่ย้อมสีเสร็จพันเป็นก้อนกลม 2. น ำเส้นไหมมำข้ึนเส้ นยืนตำมอุปกรณ ์ ข้ึนเส้ นยืน ซึ่งจะประยุกตใ์ ชง ้่ำยๆ จำกวสั ดุอุปกรณ์ที่มี ปกติจะใช้หลักไม้ 6 หลัก ควำมห่ำงของหลกัแรกและหลกัสุดทำ ้ ยจะเป็ นตวักำ หนดควำมยำวของผำ ้ ที่ทอ(ผ้ำจะยำวประมำณเกือบสองเท่ำของระยะห่ำง ระหวำ่งหลกัตวัแรกและหลกัสุดทำ ้ ย) ส่วนควำมกวำ ้ งของหนำ ้ ผำ ้ จะกำ หนดตำมรอบที่วนตำมหลกัควำมกว้ำงและควำมยำวของผ้ำ จะไม่กำ หนดตำยตวัซ่ึงจะกำ หนดตำมผำ ้ ที่นำ ไปใช ้ เช่น ผำ ้ หนำ ้ แคบจะนำ ไปทำ ยำ่ม หนำ ้ กวำ ้ งจะนำ ไปทำ เส้ ือและซิ่ น เป็ นตน ้


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 19 การทอผ้าไหมด้วยกี่เอว ๑. น�ำเส้นไหมที่ย้อมสีเสร็จและผึ่งให้แห้งแล้ว มาพันเป็นก้อนกลม ๒. น�ำเส้นไหมมาขึ้นเส้นยืนตามอุปกรณ์ขึ้นเส้นยืน ซึ่งจะประยุกต์ใช้ง่ายๆ จากวัสดุอุปกรณ์ที่มี ปกติจะใช้หลักไม้ ๖ หลัก ความ ห่างของหลักแรกและหลักสุดท้ายจะเป็นตัวก�ำหนดความยาวของผ้าที่ทอ (ผ้าจะยาวประมาณเกือบสองเท่าของระยะห่างระหว่างหลักตัว แรกและหลักสุดท้าย) ส่วนความกว้างของหน้าผ้าจะก�ำหนดตามรอบที่วนตามหลัก ความกว้างและความยาวของผ้าจะไม่ก�ำหนดตายตัว ซึ่งจะก�ำหนดตามผ้าที่น�ำไปใช้ เช่น ผ้าหน้าแคบจะน�ำไปท�ำย่าม หน้ากว้างจะน�ำไปท�ำเสื้อ และซิ่น เป็นต้น การทอผ้าไหมด้วยกี่เอว 1. น ำเส้นไหมที่ย้อมสีเสร็จและผึ่งให้แห้งแล้ว มำพนัเป็ นกอ ้ นกลม เส้นไหมที่ย้อมสีเสร็จพันเป็นก้อนกลม 2. น ำเส้นไหมมำข้ึนเส้ นยืนตำมอุปกรณ ์ ข้ึนเส้ นยืน ซึ่งจะประยุกตใ์ ชง ้่ำยๆ จำกวสั ดุอุปกรณ์ที่มี ปกติจะใช้หลักไม้ 6 หลัก ควำมห่ำงของหลกัแรกและหลกัสุดทำ ้ ยจะเป็ นตวักำ หนดควำมยำวของผำ ้ ที่ทอ(ผ้ำจะยำวประมำณเกือบสองเท่ำของระยะห่ำง ระหวำ่งหลกัตวัแรกและหลกัสุดทำ ้ ย) ส่วนควำมกวำ ้ งของหนำ ้ ผำ ้ จะกำ หนดตำมรอบที่วนตำมหลกัควำมกว้ำงและควำมยำวของผ้ำ จะไม่กำ หนดตำยตวัซ่ึงจะกำ หนดตำมผำ ้ ที่นำ ไปใช ้ เช่น ผำ ้ หนำ ้ แคบจะนำ ไปทำ ยำ่ม หนำ ้ กวำ ้ งจะนำ ไปทำ เส้ ือและซิ่ น เป็ นตน ้


20 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ๓. เมื่อขึ้นเส้นยืนเสร็จ จึงถอดหลักและเส้นออกมาท�ำการทอผ้าที่จะน�ำไปใช้ ในส่วนของการวางลายผ้าจะเริ่มวางลาย หลังทอ ตัวผ้าได้ประมาณ ๓-๕ ซม. ซึ่งจะมีการวางลายและเก็บตะกอเขาดอก ลายบางลายในอดีตจะไม่มีการเก็บตะกอเขาดอก น าเส้นไหมมาขึ้นเส้นยืน 3. เมื่อข้ึนเส้นยืนเสร็จ จึงถอดหลกัและเส้นออกมำทำ กำรทอผำ้ที่จะนำ ไปใช้ในส่วนของกำรวำงลำยผำ้จะเริ่มวำงลำย หลังทอตัวผ้ำได้ประมำณ 3-5 ซม. ซ่ึงจะมีกำรวำงลำยและเก็บตะกอเขำดอก ลำยบำงลำยในอดีตจะไม่มีกำรเก็บตะกอเขำดอก ทอผ้าด้วยกี่เอว น าเส้นไหมมาขึ้นเส้นยืน 3. เม ื่อข้ึ นเส้ นย ื นเสร ็ จ จ ึ งถอดหลกัและเส้ นออกมำทำ กำรทอผำ ้ ที่จะนำ ไปใช ้ในส่วนของกำรวำงลำยผำ ้ จะเริ่มวำงลำย หลังทอตัวผ้ำได้ประมำณ 3-5 ซม. ซ่ึ งจะมีกำรวำงลำยและเก ็ บตะกอเขำดอก ลำยบำงลำยในอดีตจะไม่มีกำรเก ็ บตะกอเขำดอก ทอผ้าด้วยกี่เอว


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 21 ๔. เมื่อทอผ้าได้ตามความยาวที่ต้องการแล้วจะเหลือชายผ้าไว้ทั้งสองฝั่งหัว-ท้าย ข้างละประมาณ ๑๕-๒๐ เซนติเมตร เพื่อท�ำการ ฟั่นเกลียวชายผ้า กันเส้นพุ่งหลุดลุ่ย ๕. ซักท�ำความสะอาดผ้าด้วยน�้ำเปล่า หรือแชมพูสระผม แล้วน�ำไปผึ่งในร่มที่มีอากาศถ่ายเทสะดวกให้แห้ง น�ำผ้าไปรีดก่อนน�ำ ไปใช้งานหรือน�ำส่งต่อไป 4. เมื่อทอผำ้ไดต้ำมควำมยำวที่ตอ้งกำรแล้วจะเหลือชำยผำ้ไวท้ ้งัสองฝั่ งหัว-ท้ำยข้ำงละประมำณ 15-20 เซนติเมตร เพื่อ ทำ กำรฟั่ นเกลียวชำยผำ้กนัเส้นพุง่หลุดลุ่ย 5. ซักทำ ควำมสะอำดผำ้ดว้ยน้ำ เปล่ำ หรือแชมพูสระผม แล้วนำ ไปผ่ึงในร่มที่มีอำกำศถ่ำยเทสะดวกให้แห้ง นำ ผำ้ไปรีด ก่อนนำ ไปใชง้ำนหรือนำ ส่งต่อไป


22 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ภูมิปัญญาลวดลายบนผืนผ้าไหม


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 23 ภูมิปัญญาลวดลายบนผืนผ้าไหม จากการลงพื้นที่ส�ำรวจภูมิปัญญาการทอผ้าไหมและลวดลายผ้า ในพื้นที่ ๔ หมู่บ้าน ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตราษฎร บ้านซิแบร อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ และได้ข้อมูลจากการสอบถามสมาชิกที่ทอผ้าไหม ได้ให้ข้อมูลว่า ลวดลายผ้าที่ใช้มีอยู่มาก ซึ่ง ลวดลายส่วนใหญ่จะมีทั้งหลายโบราณดั้งเดิมที่สืบต่อกันมา และลวดลายที่ประยุกต์ขึ้นมาใหม่ ลวดลายผ้าเกิดจากสิ่งที่พบเห็นใกล้ตัว เช่น ลายคุ๊โฉ่โพละมีที่มาจากดาว และกิ๊ฟติดผมโบราณ ลายสุ๊คาแหมะมีที่มาจากตะกร้าใส่ฝืนโบราณของปกาเกอะญอ เป็นต้น จากลวดลาย ที่ได้ส�ำรวจได้คัดลายโบราณออกมาเพื่อจัดท�ำผ้าต้นแบบจากลวดลายที่เก็บข้อมูลขึ้น เพื่อเก็บรักษาภูมิปัญญาลวดลายบนผืนผ้าไว้ พร้อม ได้ถอดลายผ้าออกมา จ�ำนวน ๒๐ ผืน ภ ู ม ิปั ญญาลวดลายบนผ ื นผ ้ าไหม จำกกำรลงพ้ ืนที่ส ำรวจภูมิปัญญำกำรทอผำ้ไหมและลวดลำยผำ้ ในพ้ ืนที่ 4 หมู่บำ้น ภำยใตโ้ครงกำรพฒันำคุณภำพชีวิต รำษฎรบำ้นซิแบรอนัเนื่องมำจำกพระรำชดำ ริฯ และไดข้อ้มูลจำกกำรสอบถำมสมำชิกที่ทอผำ้ไหม ไดใ้ห้ขอ้มูลวำ่ลวดลำยผำ้ที่ใช้ มีอยูม่ำก ซึ่งลวดลำยส่วนใหญ่จะมีท้ งัหลำยโบรำณด้งัเดิมที่สืบต่อกนัมำและลวดลำยที่ประยุกตข์้ึนมำใหม่ลวดลำยผำ้เกิดจำกสิ่งที่ พบเห็นใกล้ตัว เช่น ลำยคุ๊โฉ่โพละมีที่มำจำกดำว และกิ๊ฟติดผมโบรำณ ลำยสุ๊คำแหมะมีที่มำจำกตะกร้ำใส่ฝืนโบรำณของ ปกำเกอะญอเป็ นต้น จำกลวดลำยที่ได้ส ำรวจได้คัดลำยโบรำณออกมำเพื่อจัดท ำผ้ำต้นแบบจำกลวดลำยที่เก็บขอ้มูลข้ึน เพื่อเก็บ รักษำภูมิปัญญำลวดลำยบนผืนผ้ำไว้ พร้อมได้ถอดลำยผ้ำออกมำ จ ำนวน 20 ผืน


24 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา บ้านซิแบร บ้านซิแบร ลำยหวอ่ก๊ะผะโด้ (ที่นงั่บนหลงัชำ้งใหญ่) ลำยบ่อตะเก่ (อำวธุโบรำณ) มีควำมเชื่อวำ่ หำ้มเจำ้สำวใส่ลำยน้ีในงำนแตง่งำน ลำยนิกิ๊(เส้นโค้ง) ลำยนิอู่ เป็ นชื่อลำยในกลุ่มเทคนิคกำรจก เก็บเขำดอกทำ ให้มีลำยสี ลำยหวอ่ก๊ะ(ที่นง่ ับนหลงัชำ้ง) ลำยกรุ๊สะ (กอ้นหินที่เป็นของมีคำ่ ใน สมัยโบรำณ)


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 25 บ้านปรอโพ บ้านซิแบร ลำยหวอ่ก๊ะผะโด้ (ที่นงั่บนหลงัชำ้งใหญ่) ลำยบ่อตะเก่ (อำวธุโบรำณ) มีควำมเชื่อวำ่ หำ้มเจำ้สำวใส่ลำยน้ีในงำนแตง่งำน ลำยนิกิ๊(เส้นโค้ง) ลำยนิอู่ เป็ นชื่อลำยในกลุ่มเทคนิคกำรจก เก็บเขำดอกทำ ให้มีลำยสี ลำยหวอ่ก๊ะ(ที่นงั่บนหลงัชำ้ง) ลำยกรุ๊สะ (กอ้นหินที่เป็นของมีคำ่ ใน สมัยโบรำณ) บ้านปรอโพ ลวดลายโบราณที่พบเจอในผ้าซิ่นในหมู่บ้านปรอโพ


26 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ลวดลายโบราณที่พบเจอในเสื้อในหมู่บ้านปรอโพ


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 27 บ้านห้วยขนุน บ้านห้วยขนุน ลวดลายโบราณที่พบเจอในผ้าซิ่นในหมู่บ้านห้วยขนุน ลวดลายโบราณที่พบเจอในเสื้อในหมู่บ้านห้วยขนุน


28 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา บ้านห้วยยาบ บ้านห้วยยาบ ลวดลายโบราณที่พบเจอในผ้าซิ่นในหมู่บ้านห้วยยาบ ลวดลายโบราณที่พบเจอในเสื้อในหมู่บ้านห้วยยาบ


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 29 การถอดลายผ้าโบราณ การถอดลายผ้าโบราณ ลายกะปอเดอ(แมงมุม) ผู้ ทอ นำงมะลอย แววจันทรำ สีย้อม ประดู่


30 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ลายเกว้ะจ่อบละ(ขอสับช้าง) ผู้ ทอ นำงสำวชะวำ เมธำยอด สีย้อม ยอดฝรั่ ง


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 31 ลายคุ๊ โฉ่โพละ(ดาว หรือ กิ๊ฟติดผมโบราณ) ผู้ ทอ นำงสำวดวงใจ พรพิพัฒน์ศรัณย์ สีย้อม ใบสัก


32 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ลายชอเคาะ(ขาไก่) ผู้ ทอ นำงเนำะดำ พำมุ สีย้อม ใบสักอ่อน


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 33 ลายชิตาพอ 1 ผู้ ทอ นำงชะพอ ประดับหยก สีย้อม ประดู่และสีเคมี


34 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ลายชิตาพอ 2 ผู้ ทอ นำงวันทนีย์ ประดับหยก สีย้อม ประดู่


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 35 ลายถะหริ(กรรไกร) ผู้ ทอ นำงรจนำ ด ำรงไพศำล สีย้อม ใบถวั่ลนัเตำและใบสำบเสือ


36 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ลายนิ๊เลอเปรอ ผู้ ทอ นำงแอ๊ะดีร ำไพระหง สีย้อม ประดู่


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 37 ลายนิ๊กิเพลาะ(ก้างปลา) ผู้ ทอ นำงมนต์นภำ ชำตรียินดี สีย้อม ขมิ้ น


38 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ลายบ่อเตอแก่ ผู้ ทอ นำงหลิวำ พงศำสัตย์ สีย้อม ประดู่


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 39 ลายลุ๊ เคคริ(เมล็ดฟักทอง) ผู้ ทอ นำงสำวแชดี แววจันทรำ สีย้อม ลิ้ นชำ้ง


40 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ลายสุ๊คาแหมะ1 (ตะกร้าใส่ฟื น) ผู้ ทอ นำงแป้งที ร ำไพระหง สีย้อม ประดู่


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 41 ลายสุ๊คาแหมะ2 (ตะกร้าใส่ฟื น) ผู้ ทอ นำงดิสอ เมธำยอด สีย้อม ข้ีววั


42 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ลายแนนุ๊ยโฉ่1 ผู้ ทอ นำงมึฉี แววจันทรำ สีย้อม ใบสัก


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 43 ลายแนนุ๊ยโฉ่2 ผู้ ทอ นำงมึคำ ชำตรียินดี สีย้อม ใบเตย ใบช้ำงมอก ใบขิง


44 ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา ลายเดอมื้อ1 ผู้ ทอ นำงมึเถอะ นำรีภำพเจริญ สีย้อม ใบสักอ่อน


ภูมิปัญญาลวดลายและการทอผ้าไหมด้วยกี่เอว เฉลิมพระเกียรติฯ ๗๐ พรรษา 45 ลายเดอมื้อ2 ผู้ ทอ นำงสำวสุเช สถิรกุลพงศ์ สีย้อม ขมิ้ นและปูน


Click to View FlipBook Version