The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by usa.ptrnc, 2021-09-20 11:07:30

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

ขอ้ บงั คบั เกยี่ วกบั การทางาน

สานกั งานสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานจงั หวัดพิษณุโลก

ข้อบังคบั
เก่ียวกบั
การทางาน

www.phitsanulok.labour.go.th

วิสัยทัศน์
แรงงานมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี

ได้รับความเปน็ ธรรม
อย่างทว่ั ถงึ และยงั่ ยนื

คานา

PREFACE

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทางานเป็นเอกสารสาคัญที่กฎหมาย
คุ้มครองแรงงานได้กาหนดให้นายจ้างซึ่งมีลูกจ้างตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป
จัดทาให้ถูกต้องตามกฎหมาย เพ่ือกาหนดสิทธิหน้าที่ระหว่างนายจ้าง
และลูกจ้างที่พึงปฏิบัติต่อกัน ให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ในการทางานและเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่าง
นายจ้างและลูกจ้าง

สานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดพิษณุโลก
ม ีเ ป ้า ห ม า ย ใ น ก า ร ด า เ น ิน ก า ร ใ ห ้แ ร ง ง า น ไ ด ้รับ ก า ร คุ ้ม ค ร อ ง ส ิท ธิ
ตามกฎหมายมีสวัสดิการที่เหมาะสม และผู้ประกอบการมีความ
รับผิดชอบต่อสังคม จึงได้จัดทาหนังสือ E-book ข้อบังคับเกี่ยวกับ
การทางานขึ้น เพื่อเป็นตัวอย่างและแนวทางให้แก่นายจ้างในการ
จัดทาข้อบังคับเกี่ยวกับการทางานในสถานประกอบกิจการ โดยหวัง
เป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ E-book ข้อบังคับเกี่ยวกับการทางานฉบับน้ี
จะเป็นประโยชน์ต่อสถานประกอบกิจการได้ใช้เป็นแนวทางในการ
จัดทาข้อบังคับเก่ียวกับการทางานได้อย่างถูกต้อง

อุษา ภัทรนาโชค
นักวิชาการแรงงาน
(พนักงานราชการเฉพาะกิจ)
ณ วันท่ี 16 กันยายน 2564

สารบญั

CONTENT

P.04 วนั ทางาน เวลาทางานปกตแิ ละเวลาพัก

ตวั อยา่ งขอ้ บงั คบั P.08 วนั หยดุ และหลกั เกณฑ์การหยุด
เกยี่ วกบั การทางาน P.11 หลักเกณฑก์ ารทางานลว่ งเวลา

และการทางานในวันหยดุ

P.13 วันและสถานทีจ่ า่ ยคา่ จา้ ง คา่ ล่วงเวลา
คา่ ทางานในวันหยุด และคา่ ลว่ งเวลาในวันหยดุ

P.14 วนั ลาและหลกั เกณฑ์การลา

P.16 วินยั และโทษทางวินัย

P.18 การร้องทุกข์
P.20 การเลิกจา้ ง ค่าชดเชย

และคา่ ชดเชยพเิ ศษ

1

การ
ทางาน

พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
มาตรา 108 กำหนดใหน้ ำยจำ้ งทมี่ ีลกู จ้ำงรวมกันต้งั แตส่ บิ คนขึน้ ไป จัดให้มีข้อบังคับ

เกยี่ วกบั กำรทำงำนเป็นภำษำไทย โดยเจตนำรมณ์ของกฎหมำยในกำรให้จัดทำข้อบังคับ
เก่ียวกับกำรทำงำนทำขึ้นก็เพ่ือกำหนดสิทธิหน้ำที่ระหว่ำงนำยจ้ำงและลูกจ้ำงท่ีพึง
ปฏิบัติต่อกัน ให้เกิดควำมเป็นระเบียบเรียบร้อยในกำรทำงำนและเป็นกำรป้องกันไม่ให้
เกิดขดั แยง้ ซึ่งกันละกนั

2

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทางาน คือ ข้อบังคับท่ีนำยจ้ำงจัดทำ

ขึ้นเพื่อกำหนดสิทธิหน้ำที่ระหว่ำงนำยจ้ำงและลูกจ้ำงท่ีพึงปฏิบัติต่อกัน เพื่อควำมเป็น
ระเบียบเรียบร้อยในกำรทำงำนและเป็นกำรป้องกันไม่ให้เกิดขัดแย้งซึ่งกันละกัน โดย
พระรำชบัญญัติคุ้มครองแรงงำน พ.ศ. 2541 มำตรำ 108 ให้นำยจ้ำงซ่ึงมีลูกจ้ำงรวมกัน
ตั้งแต่สบิ คนข้ึนไป จดั ให้มขี อ้ บงั คบั เก่ียวกับกำรทำงำนเป็นภำษำไทย และข้อบังคับนั้นอย่ำง
น้อยต้องมรี ำยละเอียดเกยี่ วกับรำยกำร ดงั ต่อไปน้ี

1) วนั ทำงำน เวลำทำงำนปกติ และเวลำพกั
2) วนั หยดุ และหลกั เกณฑ์กำรหยุด
3) หลักเกณฑก์ ำรทำงำนลว่ งเวลำ และกำรทำงำนในวันหยดุ
4) วันและสถำนท่ีจ่ำยค่ำจ้ำง ค่ำล่วงเวลำ ค่ำทำงำนในวันหยุด และค่ำล่วงเวลำใน
วันหยุด
5) วันลำและหลักเกณฑก์ ำรลำ
6) วินยั และโทษทำงวินัย
7) กำรรอ้ งทุกข์
8) กำรเลิกจำ้ ง คำ่ ชดเชย และคำ่ ชดเชยพิเศษ

โดยให้นำยจ้ำงประกำศใช้ข้อบังคับเก่ียวกับกำรทำงำนภำยในสิบห้ำวันนับแต่วันที่
นำยจ้ำงมีลูกจ้ำงรวมกันต้ังแต่สิบคนขึ้นไป และให้นำยจ้ำงจัดเก็บสำเนำข้อบังคับน้ันไว้ ณ
สถำนประกอบกิจกำร หรือสำนักงำนของนำยจ้ำงตลอดเวลำ โดยเผยแพร่และปิดประกำศ
ข้อบังคับเกี่ยวกับกำรทำงำนโดยเปิดเผย ณ สถำนที่ทำงำนของลูกจ้ำง เพื่อให้ลูกจ้ำงได้
ทรำบและดูไดโ้ ดยสะดวก

3

ตัวอย่าง
ข้อบังคบั เก่ยี วกับการทางาน

ชอื่ สถำนประกอบกจิ กำร...................................................................................................
สถานที่ต้ัง สำนกั งำนแหง่ ใหญ่ เลขท่ี.................หมูท่ ่ี...................ซอย..............................
ถนน.........................ตำบล/แขวง................................อำเภอ/เขต....................................
จงั หวัด......................................โทรศัพท์...........................................................................
สำนักงำนสำขำ/โรงงำน/หน่วยงำน ตัง้ อยเู่ ลขท.่ี .............หมทู่ ี่.............ซอย.......................
ถนน.........................ตำบล/แขวง................................อำเภอ/เขต....................................
จังหวัด......................................โทรศพั ท์...........................................................................
ประกอบกิจกำร.................................................................................................................

4

วนั ทางาน เวลาทางานปกติ
และเวลาพัก

วนั ทางานและเวลาทางานปกติ

งำนท่ัวไปกฎหมำยกำหนดให้วันทำงำนไม่เกินสัปดำห์ละ 6 วัน และกำหนดเวลำทำงำน
ปกติไม่เกิน 8 ชม./วัน หรือตำมที่นำยจ้ำงลูกจ้ำงตกลงกัน และไม่เกิน 48 ชม./สัปดำห์ งำนท่ี
อำจเปน็ อนั ตรำยต่อสขุ ภำพและควำมปลอดภัยของลูกจ้ำง ได้แก่ งำนท่ตี ้องทำใต้ดิน ใต้น้ำ ในถ้ำ
ในอโุ มงค์ หรอื ในทอี่ ับอำกำศ งำนเกีย่ วกับกมั มันตภำพรังสี งำนเชือ่ มโลหะ
งำนขนสง่ วตั ถุอนั ตรำย งำนผลิตสำรเคมอี นั ตรำย งำนที่ต้องทำด้วยเครือ่ งมอื หรอื เครือ่ งจักร
ซ่ึงผู้ทำได้รับควำมส่ันสะเทือนอันอำจเป็นอันตรำย และงำนที่ต้องทำเก่ียวกับควำมร้อนจัดหรือ
ควำมเย็นจัดอันอำจเป็นอันตรำย ซ่ึงโดยสภำพของงำนมีควำมเส่ียงอันตรำยสูงหรือมีภำวะ
แวดล้อมในกำรทำงำนเกิน มำตรฐำนควำมปลอดภัยท่ีกำหนดไว้ซ่ึงไม่สำมำรถปรับปรุงแก้ไขท่ี
แหล่งกำเนิดได้ และต้องจัดให้มีกำรป้องกันที่ตัวบุคคล ให้มีเวลำทำงำนปกติไม่เกิน 7 ชม./วัน
และไมเ่ กิน 42 ชม./สปั ดำห์

5

เวลาพัก

ระหว่างการทางานปกติ ไม่น้อยกว่ำ 1 ชม./วัน

หลังจำกลูกจ้ำงทำงำนมำแล้วไม่เกิน 5 ชม. ติดต่อกันหรือ
อำจตกลงกันพักเป็นช่วงๆ ก็ได้แต่รวมแล้วต้องไม่น้อยกว่ำ
1 ชม./วัน งำนในร้ำนขำยอำหำรหรือร้ำนขำยเครื่องด่ืมซึ่ง
เปิดจำหน่ำยหรือให้บริกำรในแต่ละวันไม่ติดต่อกันอำจพัก
เกิน 2 ชม./วันก็ได้ นำยจ้ำงอำจจะไม่จัดเวลำพักได้กรณี
เป็นงำนที่มีลักษณะหรือสภำพของงำนต้องทำติดต่อกันไป
โดยไดร้ ับควำมยินยอมจำกลกู จ้ำงหรอื เป็นงำนฉุกเฉนิ

ก่อนการทางานล่วงเวลา กรณีให้ลูกจ้ำงทำงำน
ล่วงเวลำต่อจำกเวลำทำงำนปกติไม่น้อยกว่ำ 2 ชม. ต้องจัด
ใหล้ ูกจำ้ งพักกอ่ นเรมิ่ ทำงำนล่วงเวลำไม่น้อยกว่ำ 20 นำที
ตำมมำตรำ 27 แห่งพระรำชบญั ญัตคิ มุ้ ครองแรงงำน

6

1. วนั ทางาน เวลาทางานปกติ และเวลาพกั

1.1 วันทางาน
สำนักงำนแห่งใหญ่ ทำงำนสปั ดำหล์ ะ..................................วัน
วัน.................................................ถึงวัน...........................................................
สำนกั งำนสำขำ / โรงงำน / หน่วยงำนทำงำนสปั ดำห์ละ.............................วนั
วัน.................................................ถงึ วนั ...........................................................

1.2 เวลาทางานปกติ
สำนกั งำนแห่งใหญ่ ทำงำนวนั ละ.........................................ช่วั โมง
เวลำ........................................นำฬกิ ำ ถึงเวลำ......................................นำฬกิ ำ
สำนักงำนสำขำ / โรงงำน / หนว่ ยงำน ทำงำนวันละ..............................ชว่ั โมง
เวลำ........................................นำฬกิ ำ ถงึ เวลำ......................................นำฬกิ ำ

งำนกะ ทำงำนวนั ละ.......................................................ช่ัวโมง
กะท่ี 1 เวลำ................................นำฬกิ ำ ถึงเวลำ..................................นำฬิกำ
กะที่ 2 เวลำ................................นำฬกิ ำ ถึงเวลำ..................................นำฬกิ ำ
กะที่ 3 เวลำ................................นำฬกิ ำ ถึงเวลำ..................................นำฬิกำ
งานทอ่ี าจเปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพและความปลอดภยั ของลูกจ้าง ไดแ้ ก่
ลกู จำ้ งที่ทำงำน.................................................ทำงำนวันละ..................ชั่วโมง
เวลำ.....................................นำฬกิ ำ ถึงเวลำ.........................................นำฬิกำ
งานขนสง่ ทางบก ทำงำนวนั ละ...ช่ัวโมง เวลำ.......นำฬิกำ ถงึ เวลำ......นำฬกิ ำ

7

1.3 เวลาพัก
ก. ระหวา่ งการทางานปกติ
สำนักงำนแห่งใหญ่ พักระหวำ่ งเวลำ..............นำฬิกำ ถึงเวลำ...............นำฬกิ ำ
สำนักงำนสำขำ/โรงงำน/หนว่ ยงำน พักระหวำ่ งเวลำ.........นำฬิกำ

ถึงเวลำ........นำฬกิ ำ
สำหรับลกู จำ้ งเดก็ พกั ระหว่ำงเวลำ..............นำฬกิ ำ ถึงเวลำ................นำฬกิ ำ
และระหวำ่ งเวลำ.....................นำฬกิ ำ ถงึ เวลำ.....................นำฬิกำ
งำนขนส่งทำงบก พักระหว่ำงเวลำ................นำฬิกำ ถงึ เวลำ................นำฬิกำ
ข. ก่อนการทางานลว่ งเวลา
ในกรณีท่ีมีกำรทำงำนล่วงเวลำต่อจำกเวลำทำงำนปกติไม่น้อยกว่ำ 2 ช่ัวโมง

ใหล้ ูกจำ้ งพัก......................นำที ก่อนเริม่ ทำงำนลว่ งเวลำ (ไม่นอ้ ยกว่า 20 นาที)

8

วนั หยดุ และหลกั เกณฑก์ ารหยุด

“กฎหมายคุม้ ครองแรงงานได้กาหนดใหม้ ีวันหยดุ สาหรับลกู จ้าง โดยแบง่ เปน็
วันหยุดสดุ สัปดาห์ วันหยดุ ตามประเพณี และวนั หยุดพกั ผอ่ นประจาปี....”

“กรณที นี่ ายจ้างไม่กาหนดวันหยดุ นายจ้างมีความผดิ และมโี ทษทาง
อาญา ตามมาตรา 146 และตอ้ งจ่ายค่าทางานในวนั หยุดและค่า

ล่วงเวลาในวนั หยุดตามที่กฎหมายกาหนด ตามมาตรา 64”

วนั หยดุ วนั หยดุ วนั หยดุ
ประจาสปั ดาห์ ตามประเพณี พักผอ่ นประจาปี

นายจ้างต้องจัดให้หยดุ อย่างน้อย นายจ้างต้องประกาศกาหนดวนั หยุด กรณีลูกจา้ งทางานมาแลว้ ครบ
สปั ดาห์ละ 1 วัน โดยวันหยดุ อยา่ งนอ้ ยปีละ 13 วัน โดยรวมวัน
ประจาสปั ดาห์ ต้องมีระยะห่างกัน 1 ปี ลกู จ้างมสี ิทธหิ ยดุ พกั ผอ่ น
ไมเ่ กนิ 6 วัน สาหรบั ลกู จา้ ง แรงงานแหง่ ชาตแิ ลว้ โดยไดร้ บั ค่าจ้าง ไดป้ ีละไมน่ ้อยกว่า 6 วันทางาน
ถ้าวันหยดุ ตามประเพณีตรงกบั โดยไดร้ ับค่าจ้าง ซ่ึงนายจ้างเป็น
รายวันไม่ไดร้ ับค่าจา้ ง ผ้กู าหนดวนั หยดุ ดงั กลา่ วหรอื
งานโรงแรม งานขนสง่ งานใน วนั หยุดประจาสัปดาห์ ลูกจา้ งจะได้หยดุ ตามท่ีนายจา้ งลูกจา้ งตกลงกัน
ชดเชยในวนั ทางานถัดไป
ปา่ งานในทท่ี ุรกนั ดาร นายจ้าง หรอื อาจตกลงลว่ งหนา้ ให้
ลกู จ้างอาจจะตกลงสะสมวันหยดุ กรณนี ายจ้างไม่อาจหยุดตาม สะสมวันหยดุ พักผอ่ นประจาปีท่ี
กไ็ ด้ แตต่ ้องอยใู่ นระยะเวลา 4 ประเพณีได้ เนื่องจากลกั ษณะหรือสภาพ ยังไมไ่ ดห้ ยุดรวมกนั กับวันหยดุ
สัปดาหน์ น้ั ตามมาตรา 28 งานตามทกี่ ฎหมายกาหนด นายจา้ ง ในปตี อ่ ๆไปได้ ตามมาตรา 30
ลกู จ้างอาจตกลงไดว้ ่า จะใหล้ ูกจา้ งหยดุ
วันอนื่ ชดเชยหรอื จะจ่ายค่าทางานใน
วนั หยุดใหแ้ ทนก็ได้

9

ตวั อย่างวันหยุดและหลักเกณฑก์ ารหยดุ

วนั หยุดประจาสัปดาห์

สำนักงำนแหง่ ใหญ่ หยุดสัปดำหล์ ะ……………………………..…วัน

สำนกั งำนสำขำ / โรงงำน / หน่วยงำน หยดุ สปั ดำหล์ ะ……….....………………วัน

นำยจ้ำงจ่ำยค่ำจ้ำงในวันหยุดประจำสัปดำห์แก่ลูกจ้ำงเท่ำกับค่ำจ้ำงในวันทำงำน
(สาหรับลูกจ้างรายวนั รายช่วั โมง หรือตามผลงาน ถา้ ไม่จ่ายคา่ จา้ งให้นายจ้างระบุ)

วันหยดุ ตามประเพณี

ลกู จำ้ งจะได้หยุดโดยได้รับคำ่ จำ้ งไมน่ อ้ ยกวำ่ ปลี ะ 13 วนั ดังนี้

1. วนั แรงงำนแหง่ ชำติ 2

3. 4.

5. 6.

7. 8.

9. 10.

11. 12.

13.

(หรือนายจา้ งจะประกาศใหท้ ราบล่วงหน้าแตล่ ะปี)

ถ้ำวนั หยดุ ตำมประเพณวี ันใดตรงกบั วันหยดุ ประจำสัปดำห์ ใหห้ ยุดชดเชยวันหยุด
ตำมประเพณนี ้ันในวนั ทำงำนถัดไป

10

วันหยุดพกั ผ่อนประจาปี

ลูกจ้ำงซึ่งทำงำนติดต่อกันมำครบหน่ึงปี มีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีโดยได้รับ
ค่ำจ้ำงปีละ.............. วันทำงำน (อย่างน้อย 6 วันทางาน) ทั้งน้ี นำยจ้ำงจะกำหนด
ล่วงหน้ำให้หรือตำมที่ตกลงกัน เว้นแต่ได้ตกลงกันสะสมและเล่ือนวันหยุดที่ยังไม่ได้หยุด
ในปนี ัน้ รวมเข้ำกับปีต่อ ๆ ไป

ลูกจ้ำงซึ่งทำงำนยังไม่ครบหน่ึงปีนำยจ้ำงอำจกำหนดวันหยุดพักผ่อนประจำปี
ใหแ้ ก่ลูกจ้ำงโดยคำนวณให้ตำมส่วน

กรณลี ูกจำ้ งไมไ่ ดใ้ ชส้ ิทธหิ ยุดในวนั หยุดพักผ่อนประจำปีนำยจ้ำงจะจ่ำยเงินเป็นค่ำ
ทำงำนในวนั หยดุ เสมือนเปน็ กำรทำงำนในวนั หยุด

ในกรณีนำยจ้ำงเลิกจ้ำงโดยไม่ใช่กรณีที่ลูกจ้ำงไม่มีสิทธิได้รับค่ำชดเชย ลูกจ้ำงมี
สิทธิได้รับค่ำจ้ำงในวันหยุดพักผ่อนประจำปีในปีท่ีเลิกจ้ำงตำมส่วนของวันหยุดพักผ่อน
ประจำปีทล่ี ูกจำ้ งพงึ มสี ิทธไิ ดร้ ับตำมวรรคแรก

ในกรณีลูกจ้ำงบอกเลิกสัญญำจ้ำง หรือกรณีนำยจ้ำงบอกเลิกสัญญำจ้ำงแม้จะมี
กรณีนำยจ้ำงไม่ตอ้ งจ่ำยค่ำชดเชยตำมกฎหมำย ลูกจ้ำงมีสิทธิที่จะได้รับค่ำจ้ำงในวันหยุด
พกั ผ่อนประจำปีทไ่ี ดส้ ะสมไว้

11

หลกั เกณฑ์การทางานลว่ งเวลา
และการทางานในวนั หยดุ

ในกรณีท่ีงานมีลกั ษณะหรือสภาพของงานตอ้ งทาตดิ ตอ่ กันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่
งาน หรือเป็นงานฉุกเฉิน นายจ้างจะให้ลูกจ้างทางานล่วงเวลาในวันทางาน หรือทางานใน
วนั หยดุ รวมถึงล่วงเวลาในวันหยดุ ไดเ้ ท่าทจ่ี าเป็น โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้าง
กอ่ น

สาหรับงานในกิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้านขายอาหาร ร้านขาย
เครอื่ งดื่ม สโมสร สมาคม สถานพยาบาล นายจา้ งจะให้ลกู จ้างทางานในวันหยดุ ก็ได้

ในกรณีที่มิใช่งานตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทางาน
ล่วงเวลาในวนั ทางานหรอื ทางานในวนั หยุด รวมถงึ ลว่ งเวลาในวันหยุดได้เป็นครั้งคราว โดย
จะตอ้ งได้รับความยินยอมจากลกู จ้างก่อนเป็นแตล่ ะคราวไป

การทางานล่วงเวลาในวันทางาน ทางานในวันหยุด และล่วงเวลาในวันหยุด สาหรับ
งานตามวรรคสองและวรรคสาม ตอ้ งไมเ่ กินสัปดาหล์ ะ 36 ชั่วโมง

งานขนส่งทางบก นายจ้างจะให้ลูกจ้างทาหน้าที่ขับข่ียานพาหนะ ทางานล่วงเวลา
เม่ือได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากลูกจ้างแล้ว โดยจะทางานล่วงเวลาไม่เกินวันละ 2
ชั่วโมง เว้นแต่มคี วามจาเป็นอันเกดิ จากเหตุสุดวสิ ัย อบุ ตั เิ หตุ หรอื ปญั หาการจราจร

12

คา่ ลว่ งเวลา

1. ถา้ ใหล้ กู จ้างทางานเกนิ เวลาทางานปกตใิ นวนั ทางาน ลูกจ้างจะต้องได้รับค่าล่วงเวลาในอัตรา
ดงั น้ี

ก. ไม่น้อยกว่าหน่งึ เท่าคร่ึงของอัตราคา่ จ้างตอ่ ชัว่ โมงในวันทางานตามจานวนช่ัวโมงท่ีทา
หรือ

ข. ไมน่ ้อยกวา่ หนึ่งเทา่ ครง่ึ ของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวนั ทางานตามจานวนผลงานที่ทา
ได้ สาหรบั ลกู จ้างซึ่งไดร้ ับค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเปน็ หน่วย
2. ถ้าให้ลูกจ้างทางานในวันหยุดเกินเวลาทางานของวันทางาน ลูกจ้างจะได้รับค่าล่วงเวลาใน
วนั หยดุ ในอตั รา ดงั น้ี

ก. ไม่น้อยกว่าสามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางานตามจานวนชั่วโมงท่ีทา
หรือ

ข. ไม่น้อยกว่าสามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทางานตามจานวนผลงานท่ีทาได้
สาหรบั ลกู จ้างซึ่งได้รับคา่ จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย

คา่ ทางานในวนั หยุด

1. ลูกจ้างท่ีมีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด วันหยุดประจาสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี และ
วนั หยุดพกั ผ่อนประจาปี ถ้ามาทางานในวนั หยดุ ดงั กล่าว จะได้รับค่าทางานในวันหยุดเพิ่มข้ึนอีกไม่น้อย
กว่าหนึ่งเท่าของอัตราค่าจ้างต่อช่ัวโมงในวันทางานตามจานวนชั่วโมงที่ทาหรือไม่น้อยกว่าหน่ึงเท่าของ
อัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทางานตามจานวนผลงานที่ทาได้ สาหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงาน
โดยคานวณเป็นหน่วย

2. ลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดประจาสัปดาห์ ถ้ามาทางานในวันหยุดดังกล่าวจะ
ได้รับค่าจ้างทางานในวันหยุดไม่น้อยกว่าสองเท่าของอัตราค่าจ้างต่อช่ัวโมงในวันทางานตามจานวน
ช่ัวโมงท่ีทาหรือไม่น้อยกว่าสองเท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยตามจานวนผลงานที่ทาได้ สาหรับลูกจ้าง
ซ่งึ ไดร้ บั คา่ จ้างตามผลงานโดยคานวณเปน็ หน่วย

13

วนั และสถานทจ่ี า่ ยคา่ จา้ ง คา่ ลว่ งเวลา
ค่าทางานในวนั หยดุ และค่าลว่ งเวลาในวนั หยุด

1. ใหน้ ำยจำ้ งจ่ำยคำ่ จ้ำง ค่ำลว่ งเวลำ ค่ำทำงำนในวันหยุด ค่ำล่วงเวลำในวันหยุด
และเงินผลประโยชน์อ่ืนเน่ืองในกำรจ้ำงเป็นเงินตรำไทย เว้นแต่ได้รับควำมยินยอมจำก
ลูกจำ้ งให้จำ่ ยเปน็ ตัว๋ เงนิ หรอื เงินตรำต่ำงประเทศ โดยกำหนดจ่ำยเดอื นหน่ึงไม่น้อยกว่ำ 1
คร้ัง เวน้ แตจ่ ะได้ตกลงเป็นอยำ่ งอื่นทเ่ี ป็นประโยชน์แก่ลูกจ้ำง โดยจ่ำย ณ สถำนท่ีทำงำน
ของลูกจ้ำง ถ้ำจะจ่ำย ณ สถำนท่ีอื่นและวิธีอ่ืน เช่น จ่ำยผ่ำนธนำคำรต้องได้รับควำม
ยินยอมจำกลูกจ้ำง ซ่ึงควำมยินยอมน้ันนำยจ้ำงจะจัดทำเป็นหนังสือให้ลูกจ้ำงลงลำยมือ
ชื่อไวเ้ ป็นหลักฐำนหรือมีขอ้ ตกลงกนั ไวช้ ัดเจนเปน็ กำรเฉพำะ

2. ในกรณีเลิกจ้ำง นำยจ้ำงจะต้องจ่ำยค่ำจ้ำง ค่ำล่วงเวลำ ค่ำทำงำนใน
วนั หยดุ และคำ่ ลว่ งเวลำในวันหยุด ตำมที่ลูกจ้ำงมีสิทธิได้รับให้แก่ลูกจ้ำงภำยใน
3 วนั นับแต่วนั ท่เี ลกิ จ้ำง

การลาป่วย 14

ลูกจ้ำงมีสิทธิลำป่วยได้เท่ำท่ีป่วยจริง โดย
ได้รับคำ่ จำ้ งปหี นงึ่ ไมเ่ กิน 30 วนั ทำงำน

กำรลำป่วยต้ังแต่ 3 วันทำงำนข้ึนไป
นำยจ้ำงจะให้ลูกจ้ำงแสดงใบรับรองของแพทย์แผน
ปัจจุบันชั้นหนึ่ง หรือของสถำนพยำบำลของทำง
รำชกำรก็ได้ เช่น สถำนีอนำมัย ในกรณีที่ลูกจ้ำงไม่
อำจแสดงใบรับรองแพทย์หรือของสถำนพยำบำล
ดังกล่ำวได้ ให้ลูกจ้ำงชี้แจงให้นำยจ้ำงทรำบ ถ้ำ
นำยจ้ำงจัดแพทย์ไว้ให้แล้ว ให้แพทย์นั้นเป็นผู้ออก
ใบรับรอง เว้นแต่ลูกจ้ำงไม่สำมำรถให้แพทย์น้ัน
ตรวจได้

วันที่ลูกจ้ำงไม่สำมำรถทำงำนได้เน่ืองจำก
ประสบอันตรำยหรือเจ็บป่วยท่ีเกิดข้ึนเน่ืองจำกกำร
ทำงำน หรือลำคลอดบุตร ไม่ถือเป็นวันลำป่วย

การลาเพอ่ื ทาหมนั

ลกู จำ้ งมีสิทธิลำเพื่อทำหมันได้และมีสิทธิลำ
เนื่องจำกกำรทำหมันตำมระยะเวลำท่ีแพทย์แผน
ปัจจุบันชั้นหน่ึงกำหนดและออกใบรับรอง โดย

ไกดร้ ับาคร่ำจลำ้ งาตำเมพระยอ่ื ะเกวลจิำทธี่ลำรุ ะอันจาเป็น

ลกู จำ้ งมสี ทิ ธิลำปีละ 3 วันทำงำน โดยไดร้ บั ค่ำจำ้ ง 3 วันทำงำน

การลาเพื่อรับราชการทหาร

ลูกจ้ำงมีสิทธิลำเพ่ือรับรำชกำรทหำรในกำรเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพ่ือฝึกวิชำทหำร หรือเพ่ือทดลองควำม
พรั่งพร้อมตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรรับรำชกำรทหำรโดยไดร้ ับค่ำจ้ำงไม่เกินปลี ะ 60 วัน

15

การลาเพอื่ ฝึกอบรมหรือพัฒนาความรู้

ให้ลูกจ้ำงมีสิทธิลำเพ่ือกำรฝึกอบรมหรือ
พฒั นำควำมรคู้ วำมสำมำรถ ในกรณีดังตอ่ ไปน้ี

ก. เพื่อประโยชน์ต่อกำรแรงงำนและ
สวสั ดิกำรสังคม หรือกำรเพิ่มทักษะควำมชำนำญเพื่อ
เพิ่มประสทิ ธิภำพในกำรทำงำนของลูกจำ้ ง

ข. กำรสอบวดั ผลทำงกำรศึกษำท่ีทำงรำชกำร
จัดหรืออนุญำตให้จัดข้ึนแต่ไม่รวมไปถึงกำรลำศึกษำ
ตอ่ ใหล้ กู จำ้ งย่ืนใบลำลว่ งหนำ้ ไมน่ ้อยกวำ่ 7 วนั

เม่ือนำยจ้ำงอนุญำตแล้วจึงจะหยุดงำนเพ่ือ
กำรดังกล่ำวได้ (โดยระบุว่าได้รับค่าจ้างหรือไม่ได้รับ
ค่าจา้ งเพอ่ื ความชัดเจน)

ลกู จำ้ งซง่ึ เปน็ เด็กอำยุต่ำกว่ำสิบแปดปี มีสิทธิ
ลำเพ่ือเข้ำประชุม สัมมนำ รับกำรอบรม รับกำรฝึก
หรือลำเพื่อกำรอ่ืน ซึ่งจัดโดยสถำนศึกษำ หรือ
หน่วยงำนของรัฐ หรือเอกชน ท่ีได้รับควำมเห็นชอบ
จำกอธิบดีกรมสวสั ดิกำรและคุ้มครองแรงงำน โดยให้
ลูกจำ้ งซึ่งเป็นเดก็ แจ้งใหน้ ำยจำ้ งทรำบล่วงหน้ำถงึ เหตุ
ท่ีลำพร้อมทั้งแสดงหลักฐำนท่ีเก่ียวข้องถ้ำมี และให้

การลาเพอ่ื คลอดบตุ ร นำยจ้ำงจำ่ ยค่ำจ้ำงใหแ้ ก่ลูกจ้ำงซึง่ เป็นเด็กไม่เกินปีละ
30 วนั
ลูกจ้ำงหญิงมีครรภ์มีสิทธิลำเพื่อคลอดบุตรครรภ์หนึ่งไม่เกิน 98 วัน โดยรวมวันหยุดท่ีมีระหว่ำง
วนั ลำด้วย และได้รบั ค่ำจำ้ งไม่เกนิ 45 วนั
อนึง่ ลูกจำ้ งหญงิ มคี รรภ์ควรแจ้งให้นำยจำ้ งทรำบถึงกำรต้งั ครรภ์
วันลำเพ่อื คลอดบตุ รให้หมำยควำมรวมถงึ วันลำเพื่อตรวจครรภ์กอ่ นคลอดบุตรดว้ ย
วนั ลำเพ่ือคลอดบุตร ให้นบั รวมวันหยดุ ท่มี ีในระหว่ำงวนั ลำดว้ ย
ลูกจ้ำงหญิงมีครรภ์มีสิทธิขอให้นำยจ้ำงเปลี่ยนงำนในหน้ำที่เดิมเป็นกำรช่ัวครำวก่อนหรือหลัง
คลอดได้โดยให้แสดงใบรับรองแพทย์แผนปัจจุบันช้ันหนึ่งท่ีรับรองว่ำไม่อำจทำหน้ำที่เดิมต่อไปได้ และ
นำยจ้ำงจะพจิ ำรณำเปลี่ยนงำนทเ่ี หมำะสมให้แก่ลูกจ้ำงนั้น

16

1 ลูกจ้ำงต้องปฏิบัติตำมระเบียบ 8 ลูกจ้ำงต้องช่วยกันระมัดระวังและ
ข้อบงั คบั เกีย่ วกบั กำรทำงำน ป้องกันทรัพย์สินใดๆ ในบริเวณท่ีทำงำนหรือ
โรงงำน โดยมิให้สูญหำยหรือเสียหำยจำก
2 ลูกจ้ำงต้องเช่ือฟังและปฏิบัติตำม บคุ คลใดๆ หรือจำกภัยพิบัติอื่นๆ เท่ำที่สำมำรถ
คำสัง่ โดยชอบของผบู้ ังคบั บญั ชำ จะทำได้

3 ลูกจ้ำงต้องมำปฏิบัติงำนให้ตรงตำม 9 ลูกจ้ำงต้องช่วยกันรักษำควำม
เวลำ และลงบันทกึ เวลำทำงำนตำมท่กี ำหนด สะอำด ควำมเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยในบริเวณท่ี
ทำงำนหรอื โรงงำน
4 ลูกจ้ำงต้องปฏิบัติหน้ำท่ีด้วยควำม
ซื่อสัตย์ ไม่กล่ันแกล้งหรือจงใจก่อให้เกิดควำม 10 ลูกจ้ำงต้องไม่กระทำกำรทะเลำะ
เสยี หำยแกน่ ำยจำ้ งหรอื ลูกจำ้ งด้วยกนั เอง วิวำท หรือทำร้ำยร่ำงกำยบุคคลใดในบริเวณท่ี
ทำงำนหรอื โรงงำน
5 ลูกจ้ำงต้องปฏิบัติหน้ำท่ีด้วยควำม
ขยันและเต็มควำมสำมำรถ 11 ลูกจ้ำงต้องไม่นำยำเสพติดผิด
กฎหมำย หรืออำวุธที่มีอันตรำยร้ำยแรง หรือ
6 ลูกจ้ำงต้องปฏิบัติตำมกฎแห่งควำม วตั ถุระเบิดเข้ำมำบริเวณทีท่ ำงำนหรอื โรงงำน
ปลอดภยั ในกำรทำงำน

7 ลูกจ้ำงตอ้ งดแู ลบำรุงรักษำเครอื่ งจักร
เคร่ืองมือ และอุปกรณ์กำรทำงำนให้อยู่ ใน
สภำพดีเป็นระเบียบเรียบร้อยตำมควำมจำเป็น
หรือตำมควรแก่หนำ้ ทข่ี องตน

17

วินัยและโทษทางวนิ ยั

หากลูกจ้างผู้ใดฝ่าฝืน จะถูกพิจำรณำลงโทษโดยกำรตักเตือน

ด้วยวำจำ ตักเตือนเป็นหนงั สอื ใหพ้ ักงำน หรอื เลกิ จ้ำง ตำมสมควรแหง่ ควำมผดิ ท่ีได้กระทำ
ในกรณีท่ีลูกจ้ำงถูกกล่ำวหำว่ำกระทำควำมผิดวินัย นำยจ้ำงอำจมีคำส่ังพักงำนเป็น

หนังสือระบุควำมผิดและกำหนดระยะเวลำพักงำนในระหว่ำงกำรสอบสวนได้ไม่เกินเจ็ดวัน
โดยแจ้งลูกจ้ำงทรำบก่อนกำรพักงำน ซ่ึงในระหว่ำงกำรพักงำนนำยจ้ำงจะจ่ำยเงินให้แก่
ลูกจ้ำงไม่น้อยกว่ำร้อยละห้ำสิบของค่ำจ้ำงในวันทำงำนท่ีลูกจ้ำงได้รับก่อนถูกสั่งพักงำน และ
เม่ือกำรสอบสวนเสร็จส้ินแล้ว ปรำกฏว่ำลูกจ้ำงไม่มีควำมผิดนำยจ้ำงจะจ่ำยค่ำจ้ำงให้แก่
ลูกจ้ำงเท่ำกับค่ำจ้ำงในวันทำงำนนับแต่วันที่ลูกจ้ำงถูกส่ังพักงำนเป็นต้นไปโดยคำนวณเงินท่ี
นำยจ้ำงจำ่ ยไปแลว้ เป็นส่วนหนงึ่ ของคำ่ จำ้ งพร้อมด้วยดอกเบยี้ รอ้ ยละสิบห้ำตอ่ ปี

18

ขอบเขตและความหมาย

การร้องทุกข์ หมายถึง กรณีท่ี

ลูกจ้างมีความไม่พอใจหรือมีความทุกข์อันเกิดขึ้น ความคมุ้ ครองผูร้ อ้ งทุกข์และ
เนื่องจากการทางานไม่ว่าจะเป็นเร่ืองสภาพการ
ทางาน สภาพการจ้าง การบังคับบัญชา การสั่ง ผเู้ กยี่ วขอ้ ง
หรือมอบหมายงาน การจ่ายค่าตอบแทนในการ
ทางานหรือประโยชน์อ่ืน หรือการปฏิบัติใดที่ไม่ เน่ืองจากการร้องทุกข์ท่ีกระทาไปโดยสุจริต
เหมาะสมระหว่างนายจ้างหรือผู้บังคับบัญชาต่อ ใจ ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์อันย่ิงใหญ่แก่ทั้ง
ลูกจ้างหรือระหว่างลูกจ้างด้วยกันและลูกจ้างได้ นายจ้างและลกู จา้ งเปน็ ส่วนรวม ดังนั้น ลูกจ้างผู้ยื่น
เสนอความไม่พอใจหรือความทุกข์น้ันต่อนายจ้าง คาร้องทุกข์ ลูกจ้างผู้ให้ถ้อยคา ให้ข้อมูล ให้
เ พ่ื อ ใ ห้ น า ย จ้ า ง ไ ด้ ด า เ นิ น ก า ร แ ก้ ไ ข ห รื อ ยุ ติ ข้อเท็จจริง หรือให้พยานหลักฐานใดเกี่ยวกับการ
เหตุการณ์น้ัน ท้ังน้ี เพ่ือให้เกิดความสัมพันธ์อันดี ร้องทุกข์ และลูกจ้างที่เป็นผู้พิจารณาคาร้องทุกข์
ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง และเพื่อให้ลูกจ้าง เม่ือได้กระทาไปโดยสุจริตใจ แม้จะเป็นเหตุให้เกิด
ทางานด้วยความสขุ ข้อยุ่งยากประการใดแก่นายจ้าง ก็ย่อมได้รับการ
ประกนั จากนายจ้างวา่ จะไม่เป็นเหตหุ รอื ถือเป็นเหตุ
วธิ ีการและขัน้ ตอน ทจ่ี ะเลกิ จา้ ง ลงโทษ หรือดาเนินการใดที่เกิดผลร้าย
ต่อลูกจา้ งดังกลา่ ว
ลูกจ้ำงที่มีควำมไม่พอใจหรือมีควำมทุกข์
เน่ืองจำกกำรทำงำนดังกล่ำวข้ำงต้น ควรย่ืนคำร้อง
ทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชำโดยตรงหรือผู้บังคับบัญชำช้ัน
แรกของตนโดยเร็ว เว้นแต่เรื่องที่จะร้องทุกข์น้ัน
เกี่ยวกับกำรปฏิบัติของผู้บังคับบัญชำดังกล่ำวหรือ
ผู้บังคับบัญชำดังกล่ำวเป็นต้นเหตุก็ให้ย่ืนคำร้องทุกข์
ต่อผ้บู ังคับบญั ชำระดับสงู ข้ึนไปอกี ชั้นหนง่ึ

กำรย่ืนคำร้องทุกข์ให้กรอกข้อควำมลงในแบบ
พิมพ์ที่นำยจ้ำงได้กำหนดข้ึน (เพ่ือให้เป็นแบบเดียวกัน
และไดข้ อ้ มูลทีส่ ำคญั ครบถว้ น

การสอบสวนและพิจารณา 19

เม่ือผู้บังคับบัญชาได้รับคาร้องทุกข์จาก กระบวนการยุตขิ อ้ ร้องทกุ ข์
ลูกจ้างแล้ว ให้รีบดาเนินการสอบสวนเพ่ือให้
ท ร า บ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ใ น เ รื่ อ ง ท่ี ร้ อ ง ทุ ก ข์ น้ั น โ ด ย เม่ือผู้บงั คับบญั ชาแตล่ ะช้นั ไดพ้ ิจารณาคาร้อง
ละเอียดเท่าทีจ่ ะทาได้ โดยดาเนินการด้วยตนเอง ทกุ ข์ ดาเนินการแก้ไขหรือยุติเหตุการณ์ท่ีเกิดการร้อง
หรือด้วยความช่วยเหลือจากนายจ้าง ทั้งน้ี ทกุ ข์ และได้แจ้งให้ลูกจ้างผู้ยืน่ คาร้องทกุ ข์ทราบ หาก
ลูกจ้างผู้ยื่นคาร้องทุกข์ชอบที่จะให้ข้อเท็จจริง ลู ก จ้ า ง ผู้ ย่ื น ค า ร้ อ ง ทุ ก ข์ พ อ ใ จ ก็ ใ ห้ แ จ้ ง ใ ห้
โดยละเอียดแก่ผบู้ งั คับบัญชาดว้ ย ผู้บังคับบัญชาทราบโดยเร็วแต่ถ้าลูกจ้างผู้ย่ืนคาร้อง
ทุกข์ไม่พอใจ ก็ให้ยื่นอุทธรณ์ โดยกรอกข้อความท่ี
เ มื่ อ ส อ บ ส ว น ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง แ ล้ ว ใ ห้ อุทธรณ์ลงในแบบพิมพ์ที่นายจ้างได้กาหนดข้ึนและ
ผู้บงั คับบัญชาพิจารณาเร่ืองราวร้องทุกข์น้ัน หาก ย่ืนต่อผู้บังคับบัญชาสูงสุดภายใน 7 วัน นับต้ังแต่
เป็นเร่ืองท่ีอยู่ในขอบเขตของอานาจหน้าท่ีของ วันท่ีทราบผลการร้องทุกข์จากผู้บังคับบัญชาระดับ
ผู้บังคับบัญชานั้นและผู้บังคับบัญชาสามารถ ตน้
แก้ไขได้ ก็ให้ผู้บังคับบัญชาดาเนินการแก้ไขให้
เสร็จสิ้นโดยเร็ว แล้วแจ้งให้ลูกจ้างผู้ย่ืนคาร้อง ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า ร ะ ดั บ สู ง สุ ด จ ะ พิ จ า ร ณ า
ทุกข์ทราบ พร้อมท้ังรายงานให้นายจ้าง ทราบ อุทธรณ์และดาเนินการแก้ไขหรือยุติเหตุการณ์ตาม
ดว้ ย คาร้องทุกข์ และแจ้งผลการพิจารณาดาเนินการให้
ลกู จ้างผู้ยื่นคารอ้ งทุกขท์ ราบภายใน 15 วัน
หากเรอ่ื งราวท่รี อ้ งทุกข์น้ัน เป็นเรื่องท่ีอยู่
นอกเหนืออานาจหน้าท่ีของผู้บังคับบัญชานั้นให้ หากลกู จา้ งผูย้ นื่ คาร้องทุกข์ยงั ไม่พอใจผลการ
ผู้บังคับบัญชาดังกล่าวเสนอเรื่องราวท่ีร้องทุกข์ พิจารณาอุทธรณ์ของผู้บังคับบัญชาสูงสุด ย่อมมีสิทธิ
พร้อมทั้งข้อเสนอในการแก้ไขหรือความเห็นต่อ ดาเนินการในทางอื่นอันชอบด้วยกฎหมายต่อไปได้
ผบู้ งั คับบญั ชาระดบั สูงข้ึนไปตามลาดบั (หรืออาจเสนอต่อนายจา้ ง เพ่ือร่วมกนั ต้งั ผชู้ ้ีขาดข้ึน
เพื่อวินิจฉัยช้ีขาดปัญหาอนั เกิดจากคาร้องทุกขน์ ้นั
ใ ห้ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า ร ะ ดั บ สู ง ขึ้ น ไ ป ต่อไปได)้
ดาเนินการสอบสวนและพิจารณาคาร้องทุกข์
เช่นเดียวกับผู้บังคับบัญชาระดับต้นท่ีได้รับคา
รอ้ งทกุ ข์โดยเร็วอย่างช้าไม่เกิน 7 วัน

20

การเลิกจ้าง คา่ ชดเชย และค่าชดเชยพิเศษ

การเลิกจ้างกรณปี กติ

กำรเลิกจำ้ ง หมำยควำมว่ำ
(1) กำรที่นำยจ้ำงไม่ให้ลูกจ้ำงทำงำนต่อไปและไม่จ่ำยค่ำจ้ำงให้ ไม่ว่ำจะเป็น
เพรำะเหตุส้นิ สดุ สญั ญำจ้ำงหรือเหตุอืน่ ใด
(2) กำรที่ลูกจ้ำงไม่ได้ทำงำนและไม่ได้รับค่ำจ้ำงเพรำะเหตุท่ีนำยจ้ำงไม่สำมำรถ
ดำเนนิ กิจกำรตอ่ ไป

การจ่ายคา่ ชดเชยใหแ้ ก่ลูกจา้ งทถี่ ูกเลกิ จ้าง

ก. ลูกจ้างซ่ึงทางานติดต่อกันครบหน่ึงร้อย ข. ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบหนึ่ง
ยี่สิบวัน แต่ไม่ครบหน่ึงปีให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง ปี แต่ไม่ครบสามปีให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง
อัตราสุดท้ายสามสิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของ อตั ราสุดท้ายเก้าสิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้าง
การทางานสามสิบวันสุดท้าย สาหรับลูกจ้างซ่ึงได้รับ ของการทางานเก้าสิบวันสุดท้าย สาหรับ
ค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเปน็ หนว่ ย ลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณ
เปน็ หนว่ ย

ค. ลูกจ้างซ่ึงทางานติดต่อกันครบสามปี ง. ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบหกปี แต่
แต่ไม่ครบหกปีให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตรา ไม่ครบสิบปีให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
สุดท้ายหนึ่งร้อยแปดสิบวัน หรือไม่น้อยกว่า สองร้อยส่ีสิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการ
ค่ า จ้ า ง ข อ ง ก า ร ท า ง า น ห น่ึ ง ร้ อ ย แ ป ด สิ บ วั น ทางานสองร้อยสี่สิบวันสุดท้าย สาหรับลูกจ้างซ่ึง
สุดทา้ ย สาหรบั ลูกจ้างซึ่งไดร้ ับคา่ จ้างตามผลงาน ไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเปน็ หนว่ ย

จ. ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบสิบปี แต่ไม่ ฉ.ลูกจ้างซ่ึงทางานติดต่อกันครบยี่สิบ
ครบย่ีสิบปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสาม ปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตรา
รอ้ ยวัน หรอื ไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าจา้ งของการทางานสามร้อย สุดท้ายส่ีร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของ
วันสุดท้าย สาหรับลูกจ้างซ่ึงได้รับค่าจ้างตามผลงาน การทางานสี่ร้อยวนั สุดท้าย สาหรับลูกจ้างซึ่ง
โดยคานวณเปน็ หนว่ ย ได้รบั ค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเปน็ หน่วย

21

ขอ้ ยกเวน้ ในการไม่จา่ ยคา่ ชดเชย

นำยจำ้ งไมต่ อ้ งจ่ำยคำ่ ชดเชยใหแ้ ก่ลกู จ้ำงซ่ึงเลิกจ้ำงในกรณีหน่งึ กรณใี ด ดงั น้ี
(1) ทจุ รติ ต่อหนำ้ ท่ีหรือกระทำควำมผิดอำญำโดยเจตนำแก่นำยจำ้ ง
(2) จงใจทำใหน้ ำยจำ้ งได้รบั ควำมเสยี หำย
(3) ประมำทเลินเล่อเป็นเหตใุ ห้นำยจ้ำงไดร้ บั ควำมเสยี หำยอย่ำงร้ำยแรง
(4) ฝ่ำฝืนข้อบงั คบั เกย่ี วกบั กำรทำงำน ระเบียบหรือคำส่ังของนำยจ้ำงอันชอบด้วย
กฎหมำยและเป็นธรรม และนำยจ้ำงได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีท่ีร้ำยแรง
นำยจำ้ งไมจ่ ำเปน็ ต้องตักเตอื น
หนังสือเตือนให้มีผลบังคบั ใช้ไดไ้ ม่เกินหน่ึงปีนับแตว่ ันทล่ี ูกจำ้ งได้กระทำผิด
(5) ละทิง้ หนำ้ ทเ่ี ป็นเวลำสำมวนั ทำงำนติดต่อกันไม่ว่ำจะมีวันหยุดคั่นหรือไม่ก็ตำม
โดยไม่มเี หตอุ นั ควร
(6) ได้รับโทษจำคุกตำมคำพพิ ำกษำถงึ ท่ีสดุ ให้จำคุก
ในกรณี (6) ถ้ำเป็นควำมผิดท่ีได้กระทำโดยประมำทหรือควำมผิดลหุโทษต้องเป็น
กรณีทีเ่ ป็นเหตใุ หน้ ำยจำ้ งได้รบั ควำมเสียหำย
การบอกเลกิ สัญญาจ้าง
ก. กำรจ้ำงท่ีมีกำหนดระยะเวลำ สัญญำจ้ำงสิ้นสุดลงเมื่อครบกำหนดระยะเวลำ
จ้ำง โดยนำยจ้ำงและลกู จำ้ งไมต่ อ้ งบอกกลำ่ วล่วงหนำ้
ข. กำรจ้ำงท่ีไม่มีกำหนดระยะเวลำ นำยจ้ำงหรือลูกจ้ำงอำจบอกเลิกสัญญำจ้ำง
โดยบอกกล่ำวล่วงหน้ำเป็นหนังสือให้อีกฝ่ำยหนึ่งทรำบอย่ำงน้อยหนึ่งงวดกำรจ่ำยค่ำจ้ำง
ลกู จำ้ งทดลองงำนถือเปน็ ลกู จ้ำงตำมสญั ญำจ้ำงท่ไี ม่มีกำหนดระยะเวลำ

22

การเลกิ จ้างเพราะเหตุอืน่ ทน่ี ายจ้างปรบั ปรงุ หน่วยงาน กระบวนการผลติ
การจาหน่าย หรือการบริการ อนั เนอ่ื งจากการนาเครอ่ื งจักรมาใช้หรอื เปล่ยี นแปลง
เครอ่ื งจกั รหรอื เทคโนโลยี ซึ่งเป็นเหตใุ ห้ตอ้ งลดจานวนลกู จา้ ง นายจ้างจะปฏบิ ัติ ดังนี้

(1) แจง้ วนั ท่ีจะเลิกจา้ ง เหตุผลของการเลิกจา้ งและรายช่ือลูกจา้ งที่จะถูกเลิกจา้ งให้
พนกั งานตรวจแรงงานและลกู จา้ งทราบล่วงหนา้ ไม่นอ้ ยกวา่ หกสิบวนั ก่อนวนั ท่ีจะเลิกจา้ ง
ในกรณีนายจ้างไม่สามารถแจ้งได้หรือแจ้งการเลิกจ้างน้อยกว่าหกสิบวันต้องจ่ายค่าชดเชย
พิเศษแทนการบอกกลา่ วล่วงหนา้ เท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้ายหกสิบวัน หรือเท่ากับค่าจ้างของ

การทางานหกสบิ วันสดุ ทา้ ย สาหรับลกู จา้ งซง่ึ ไดร้ บั คา่ จ้างตาม
ผลงานโดยคานวณเปน็ หน่วย

(2) จ่ำยค่ำชดเชยพิเศษเพิ่มจำกค่ำชดเชยปกติตำมข้อ 8.1 ในกรณีที่ลูกจ้ำง
ทำงำนติดต่อกันเกินหกปีข้ึนไป โดยจ่ำยไม่น้อยกว่ำค่ำจ้ำงอัตรำสุดท้ำยสิบห้ำวันต่อ
กำรทำงำนครบหน่ึงปี หรือไม่น้อยกว่ำค่ำจ้ำงของกำรทำงำนสิบห้ำวันสุดท้ำยต่อกำร
ทำงำนครบหนึง่ ปสี ำหรบั ลูกจำ้ งซง่ึ ไดร้ ับค่ำจำ้ งตำมผลงำนโดยคำนวณเป็นหน่วย ท้ังน้ี
ค่ำชดเชยพิเศษดังกล่ำวจะไม่เกินค่ำจ้ำงอัตรำสุดท้ำยสำมร้อยหกสิบวันหรือไม่เกิน
ค่ำจ้ำงของกำรทำงำนสำมร้อยหกสิบวันสุดท้ำยสำหรับลูกจ้ำงซึ่งได้รับค่ำจ้ำงตำม
ผลงำนโดยคำนวณเปน็ หน่วย

กรณีระยะเวลาการทางานไม่ครบหน่งึ ปี ถา้ เศษของระยะเวลาทางาน
มากกว่าหนง่ึ รอ้ ยแปดสบิ วัน ให้นบั เปน็ การทางานครบหนง่ึ ปี

การยา้ ยสถานประกอบกิจการแหง่ หนง่ึ แห่งใดไปต้ัง 23

ณ สถานทีใ่ หม่หรือย้ายไปยงั สถานทอี่ ืน่ ของนายจ้าง

กรณีนายจ้างประสงค์จะย้ายสถานประกอบกิจการแห่ง
หนึ่งแห่งใดไปตั้ง ณ สถานท่ีใหม่หรือย้ายไปยังสถานที่อื่นของ
นายจ้าง นายจ้างจะปฏบิ ัติ ดงั นี้

ปิดประกาศแจง้ ใหล้ กู จา้ งทราบล่วงหนา้ โดยปิด
ประกาศไว้ในท่ีเปิดเผย ณ สถานประกอบกิจการนั้น
ตั้งอยทู่ ่ีลกู จา้ งสามารถเหน็ ได้อย่างชัดเจน ติดต่อกนั เป็น
เวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันย้ายสถานประกอบ
กิจการ และประกาศนั้นอย่างน้อยจะมีข้อความชัดเจน
เพียงพอท่ีจะเข้าใจได้ว่าลูกจ้างคนใดจะต้องถูกย้ายไป
สถานทใี่ ดและเมอ่ื ใด

ในกรณีท่ีนายจ้างไม่ปิดประกาศให้ลูกจ้างทราบ
ล่วงหน้าตาม (1) นายจ้างจะจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทน
การบอกกล่าวล่วงหน้าแก่ลูกจ้างที่ไม่ประสงค์จะไป
ทางาน ณ สถานประกอบกิจการแห่งใหม่เท่ากับค่าจ้าง
อัตราสุดท้ายสามสิบวัน หรือเท่ากับค่าจ้างของการ
ทางานสามสิบวันสุดท้ายสาหรับลูกจ้างซ่ึงได้รับค่าจ้าง
ตามผลงานโดยคานวณเปน็ หน่วย

หากลูกจ้างคนใดเห็นว่าการย้ายสถานประกอบกิจการดังกล่าวมี
ผลกระทบสาคัญต่อการดารงชีวิตตามปกติของลูกจ้างหรือครอบครัวของลูกจ้าง
คนน้ัน และไม่ประสงค์จะไปทางาน ณ สถานประกอบกิจการแห่งใหม่ ต้องแจ้ง
ให้นายจ้างทราบเป็นหนงั สือภายในสามสบิ วนั นับแตว่ ันที่ปิดประกาศ หรือนับแต่
วนั ท่ยี ้ายสถานประกอบกิจการในกรณที ่นี ายจ้างมิไดป้ ดิ ประกาศตาม (1) และให้
ถอื ว่าสัญญาจ้างส้ินสดุ ลงในวนั ท่นี ายจา้ งย้ายสถานประกอบกิจการ โดยลูกจ้างมี
สิทธไิ ดร้ บั คา่ ชดเชยพิเศษไมน่ อ้ ยกว่าอัตราค่าชดเชยกรณเี ลกิ จ้างตามขอ้ 3.1

24

04 นำยจ้ำงจะจ่ำยค่ำชดเชยพิเศษแทนกำรบอกกล่ำวล่วงหน้ำตำม (2) หรือ

ค่ำชดเชยพิเศษตำม (3) ให้แก่ลูกจ้ำงภำยในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีสัญญำจ้ำง
สิน้ สดุ

05 ในกรณีที่นายจ้างไม่เห็นด้วยกับเหตุผลของลูกจ้างตาม (3) นายจ้างจะย่ืนคาร้องต่อ
คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และท่ี
แกไ้ ขเพ่ิมเติม ภายในสามสบิ วันนับแต่วนั ท่ไี ด้รบั แจ้งเปน็ หนงั สอื

สานกั งานสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงานจงั หวดั พิษณโุ ลก


Click to View FlipBook Version