The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suhainee Awang, 2021-03-03 09:26:12

E-book bully 2

E-book bully 2

การบลู ลี่ คอื พฤตกิ รรมรนุ แรง กล่ันแกลง้ รงั แกผอู้ น่ื ทงั้ ทางวาจาและรา่ งกาย หากเกิดในชีวิตจริงมักเป็นการล้อเลียนรูปร่างหน้าตา

สถานะทางสังคม รวมถึงการทาร้ายร่างกาย ส่วนโลกออนไลน์ส่วนใหญ่เกิดจากการประจานกันทางโซเชียลมีเดีย ซึ่งหลายคร้ังการบูลล่ี
สร้างผลกระทบทางดา้ นความรสู้ กึ มากมายจนอาจเกิดเป็นแผลทางใจฝังลึกจนยากเยียวยา หรืออาจลุกลามไปจนเกิดการปะทะและสร้าง
บาดแผลทางกายได้ เชน่ ดังนี้
• การลอ้ เลียนรูปรา่ งหน้า ตา สีผวิ หรอื ปมด้อย
• การแสดงทา่ ทีให้ตัวเองดเู หนอื กวา่ ดว้ ยการแบ่งชนช้นั ทางสังคม
• การรุมทาร้ายร่างกายของกลุ่มนกั เรยี นในโรงเรยี น
• การประจานหรือทาให้เกิดความอบั อายบนสังคมออนไลน์

ปจั จบุ ันกรมสขุ ภาพจติ ได้แบง่ ประเภทของการบูลล่อี อกเปน็ ภาพท่ี 1 http://1ab.in/UH4
4 ประเภทหลกั ๆ ดงั นี้ ภาพที 2 http://1ab.in/UH4

1. การบลู ลดี่ ้านรา่ งกาย (Physical Bullying) เป็นลักษณะของการทาร้ายร่างกาย
ของอกี ฝา่ ย เช่น การชกตอ่ ย การตบตี การผลัก เปน็ ตน้

2. การบูลลี่ด้านสังคมหรือด้านอารมณ์ (Social or Emotional Bullying) เป็น
ลักษณะของการสร้างกระแสสังคมรอบข้างโดยใช้วิธีการยืมมือของคนรอบข้างให้
ร่วมกันทาร้ายเหยื่อ กดดันและทาให้คนท่ีตกเป็นเหย่ือของการบูลลี่แยกออกจาก
กลุ่มด้วยความรู้สึกเจ็บปวดหรือเสียใจจากการกระทาดังกล่าว เช่น การขัดขว้าง
ไม่ให้คนท่ตี กเป็นเหยื่อมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมต่างๆ

3. การบูลลี่ด้านวาจา (Verbal Bullying) เป็นลักษณะของการพูดจาเหยียด ภาพที่ 3 http://1ab.in/UH4
หยาม การดา่ ทอ ดถู ูก นินทา เสียดสี ล้อเลียน ใส่ร้าย การประจานด้วย ภาพท่ี 4 http://1ab.in/UH4
คาพูดให้คนอื่นได้ยิน โดยมีจุดประสงค์ให้เกิดความเจ็บปวด ถึงแม้ไม่ได้
สร้างบาดแผลทางกายให้เห็น แต่ส่งผลกระทบต่อความรู้สึกซ่ึงถือเป็น
บาดแผลทางใจอยไู่ มน่ ้อย และนอกจากจะสร้างความอับอาย ความวิตก
กังวลแล้ว ยังอาจจะสร้างความเครียด รวมถึงอาการเก็บกด ซึ่งอาจ
สง่ ผลถงึ ข้ันเปน็ โรคซมึ เศร้า หรือหวาดกลัวสงั คมไปเลย

4. การบูลล่ีบนโลกออนไลน์ (Cyber Bullying) เป็นอีกประเภทหนึ่งของ
การบูลลี่ท่ีเกิดข้ึนใหม่ในปัจจุบันและกาลังเป็นประเด็นปัญหาสาคัญใน
สังคม โดยใช้เครื่องมือส่ืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ได้แก่ โทรศัพท์มือถือ
คอมพิวเตอร์หรือแท็บเล็ตท่ีเช่ือมต่อกับเครือข่ายสังคมออนไลน์บน
อินเทอรเ์ นต็ ไม่วา่ จะเป็นเฟซบกุ๊ อินสตาแกรม ทวิตเตอร์

นกั วจิ ยั ไดพ้ ยายามหาสาเหตุของการเกดิ พฤตกิ รรมการกล่นั แกลง้ ขม่ เหงรังแกผ้อู น่ื โดยสามารถระบปุ จั จัยเสีย่ งท่ีเกย่ี วข้องได้ดังนี้
1. ปัจจัยดา้ นชีวภาพ ปจั จบุ ันความกา้ วหน้าทางการแพทย์ทาใหเ้ ราเข้าใจพฤตกิ รรมกา้ วร้าวทางด้านชวี ภาพมากขึ้น เช่น พนั ธกุ รรม ฮอรโ์ มน
และสมอง เป็นต้น

2. ปัจจยั ด้านจติ วิทยา เป็นอกี ปัจจัยเสยี่ งท่อี ทิ ธพิ ลตอ่ พฤติกรรมการกลั่นแกล้ง ข่มเหงรงั แกในหมเู่ ด็กและเยาวชน อนั ไดแ้ ก่ การทมี่ ีความพงึ
พอใจในตนเองต่า เชน่ หากรสู้ กึ วา่ ตนเองไมเ่ กง่ หน้าตาไม่ดหี รอื ไมไ่ ด้รา่ รวยมากมาย ก็อาจจะมองหาวธิ กี ารท่ที าให้รสู้ ึกว่าตนเองดีกว่าคนอน่ื ๆ
โดยการกดคนอ่ืนใหต้ า่ กวา่ ตนเอง เป็นต้น

3. ปัจจยั ด้านส่ิงแวดล้อม เป็นปจั จัยทม่ี ีความหลากหลาย ซ่ึงมอี ทิ ธพิ ลต่อพฤตกิ รรมของเดก็ และเยาวชนเปน็ อย่างมาก เชน่ การเป็นคนท่เี คยถูก
กล่ันแกลง้ มาก่อน อย่างการเติบโตขน้ึ มาในครอบครวั ทีม่ กี ารเล้ยี งดทู ีใ่ ช้ความรนุ แรงหรือการอยู่ในกลมุ่ เพ่ือนที่มคี วามก้าวร้าวและชอบใช้ความ
รนุ แรง และพวกเขาก็จะร้สู ึกวา่ ตอ้ งระบายความโกรธท่ีตัวเองได้รบั นี้ให้กับผอู้ น่ื อีกทง้ั สอื่ ต่างๆ ทม่ี คี วามรุนแรงอยา่ งภาพยนตรห์ รือละครบาง
เร่ืองก็เปน็ อีกสาเหตุหนึง่ เหมอื นกัน

4. ปจั จัยด้านสงั คม การอยใู่ นสังคมทม่ี คี วามหลากหลายไม่ว่าจะเปน็ เช้อื ชาติ ศาสนา วฒั นธรรม ตลอดจนคา่ นยิ มต่างๆ หรอื แม้แตค่ วามพิการ
ความแตกตา่ งเหลา่ นจ้ี ะถูกนามาล้อเลียน จนนาไปส่กู ารปปกับเหยอ่ื แบบทไ่ี ม่เท่าเทียมกับคนอ่ืน เพียงเพราะความแตกต่าง

สถานการณ์การกล่ันแกล้ง (Bully) กันในโรงเรียนของประเทศไทยนั้น ได้สรุปลักษณะของนักเรียนท่ีมักจะถูกกลั่น
แกล้งอยู่เป็นประจา โดยมกั จะเป็นคนท่ีออ่ นแอและแตกตา่ งจากเพอื่ น ซึง่ มลี ักษณะได้ดังน้ี

1. กลุ่มนกั เรยี นพเิ ศษทม่ี คี วามบกพร่องทางสมอง เชน่ สมาธสิ ัน้ ดาวนซ์ นิ โดรม เปน็ ต้น
2. กลุ่มนักเรียนท่มี คี วามหลากหลายทางเพศ
3. นักเรียนทช่ี อบอยูค่ นเดียว มีเพอ่ื นนอ้ ย เข้าสังคมไมเ่ ก่ง
4. นักเรียนทม่ี ปี ญั หาทางบา้ น และชอบเกบ็ ตัว
5. นักเรียนทไ่ี มส่ คู้ น เช่น นกั เรียนท่ีมีขนาดตวั เล็กกว่าคนอื่นๆ หรอื คนทม่ี คี วามอดทนและมเี มตตาสูง
6. นักเรียนท่ีมลี ักษณะภายนอกโดดเดน่ หรือแตกตา่ งจากผอู้ ่ืน เชน่ มีรปู ร่างอว้ นหรือมีผิวดา เปน็ ต้น

ปัจจุบันสื่อเข้ามามีบทบาทกับเด็กและเยาวชนได้มากขึ้น ซ่ึงการใช้ส่ือในโลกออนไลน์นั้น มีอิทธิพลอย่างมากต่อพฤติกรรมการกลั่นแกล้งกั น
ของเดก็ และเยาวชน รวมไปถึงผใู้ หญ่บางคนอีกด้วย

ในประเทศไทยพบว่า กลุ่มเยาวชนมากกว่าร้อยละ 50 มีพฤติกรรมการกลั่นแกล้ง ข่มเหงรังแกและคุกคามกันบนโลกไซเบอร์ผ่านทางสื่อ
อิเล็กทรอนกิ สก์ นั มากขึ้น เรยี กว่า Cyber Bullying ซ่งึ เปน็ ปัญหาทเี่ รากาลังเผชิญกนั อยูท่ ง้ั ในปัจจุบัน อีกท้ังผู้ทีถ่ ูกขม่ เหงรังแก หรือตกเป็นเหยื่อ
ของการถกู กล่ันแกล้ง อาจได้รับผลกระทบมากมายอย่างปัญหาด้านสุขภาพ เช่น การมีภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวล ซ่ึงทาให้เกิดความรู้สึก
โดดเด่ียว มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการนอนหลับ การรับประทานอาหาร และการสูญเสียความสนใจในกิจกรรมท่ีตัวเองเคยสนุก ภาวะ
ซึมเศรา้ นอี้ าจส่งผลตอ่ เนื่องไปในอนาคตอกี ด้วย และในกรณที ่ีเลวรา้ ยท่สี ดุ อาจนาไปสู่การฆ่าตัวตายได้ หากเป็นกรณีของนักเรียน หรือนักศึกษา
อาจมผี ลทาใหผ้ ลการเรยี นลดลงและมีแนวโนม้ ที่อาจจะออกจากโรงเรยี นกลางคนั มากขนึ้ อีกดว้ ย

สาหรับผู้ที่มักจะข่มเหงรังแก หรือกล่ันแกล้งผู้อ่ืนก็น่าเป็นห่วงไม่แพ้กัน เพราะด้วยการทาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจนติดเป็นนิสัย ทาให้มี
โอกาสเติบโตมาเป็นผู้ใหญ่ที่มีทัศนคติท่ีไม่ดี ชอบใช้ความรุนแรงกับคนใกล้ตัวและอาจจะพลาดพล้ังก่ออาชญากรรมได้โดยไม่ทันระวังตัวจน
กลายเปน็ อาชญากรในที่สดุ

การแกไ้ ขปญั หาการบลู ลใ่ี นสังคมนั้น ต้องเริม่ จากสถาบนั ครอบครวั และสถาบนั การศกึ ษา ซงึ่ เป็นสถาบนั หลักที่ต้องมีหนา้ ท่ี
คอยปลูกฝังให้เด็กหรือเยาวชนนน้ั รู้จกั การเห็นอกเห็นใจผ้อู นื่ การเอาใจเขามาใสใ่ จเราและตระหนกั ได้ถงึ ผลของการกระทาตา่ ง ๆ
จนเป็นนิสัยติดตัวตั้งแตเ่ ลก็ ๆ เมือ่ เด็กหรือเยาวชนเขา้ ใจและตระหนกั ได้ถงึ ผลดแี ละผลเสยี จากการกระทาของตนเอง พวกเขากจ็ ะ
ไมไ่ ปบลู ลค่ี นอนื่

การใหค้ าปรกึ ษาเพือ่ ช่วยเหลือคนทม่ี ีความทุกข์หรือไม่สบายใจในเร่อื งต่าง ๆ และยงั ปอ้ งกนั การนาความทกุ ข์หรือปมดอ้ ย

ของตวั เองไปลงทคี่ นอ่นื ดว้ ยการบูลล่ี ซึง่ เป็นการแกป้ ญั หาท่ผี ิด โดยการให้คาปรกึ ษาจะเป็นรายบคุ คลหรอื การให้คาปรึกษาเป็น
กลมุ่ ไมว่ า่ จะเป็นกลมุ่ ท่ีกล่ันแกล้งคนอ่นื กลมุ่ คนท่ีถูกคนอ่นื รงั แก หรือผูอ้ ย่ใู นเหตกุ ารณ์ ตลอดจนการให้คาปรึกษาเกยี่ วกับ
ครอบครวั ในกรณที จี่ าเป็นตอ้ งมีพ่อแม่ หรอื ผ้ปู กครองเข้ามาเกยี่ วข้องกับการบูลล่ี

การจดั ตงั้ ทมี ช่วยเหลอื เพ่อื คอยชว่ ยเหลอื และแก้ไขปญั หาการบลู ลใ่ี นสถานศึกษาโดยเฉพาะ และกล่มุ บคุ คลทีค่ วรจะเข้ามา

มีสว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั ปญั หาน้ี ได้แก่ ครแู นะแนว ครูประจาชนั้ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา พ่อแมผ่ ปู้ กครอง นกั ให้คาปรึกษา จิตแพทย์ นัก
กฎหมาย และชมุ ชน เปน็ ต้น ซง่ึ การป้องการและแกไ้ ขปัญหารปู แบบนีไ้ ด้รบั ความนยิ มและมปี ระสทิ ธภิ าพเปน็ อย่างมากใน
ต่างประเทศ เพราะไดร้ ับความร่วมมือจากบคุ คลและหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง

หลายครัง้ ท่ีการบลู ลเ่ี กิดขึน้ เพยี งเพราะความสนกุ ชั่ววูบ ความโกรธช่ัวคราว หรอื เป็นเพียงการตดั สนิ ใจชัว่ ขณะ แตผ่ ลทต่ี ามมาอาจ
มากมายและสง่ ผลยาวนานสาหรบั ผู้ถูกกระทา ดงั นน้ั การรูจ้ กั รบั มอื กับการบูลลอี่ าจช่วยหลีกเล่ียงบาดแผลทงั้ ทางกาย ใจ และสงั คม
ดงั นี้
• ใชค้ วามน่ิงสยบการบลู ล่ี การนิ่งเฉยตอ่ การบลู ลชี่ ว่ ยใหเ้ รอ่ื งราวการบูลลหี่ ายไปอย่างรวดเร็ว เนอื่ งจากผูก้ ระทามักมเี จตนาให้

เหยอ่ื ตอบโต้ เพอ่ื สรา้ งกระแสความรุนแรง หรือเพิ่มความสะใจ แต่เมือ่ ผูถ้ กู กระทาเลอื กท่ีจะนงิ่ เฉย ผูล้ งมอื บูลลอ่ี าจรสู้ ึกเบอ่ื และ
ถอยทพั ไปเองในที่สุด
• ตอบโต้อย่างสภุ าพ ดว้ ยคาพูดและการแสดงออกว่าไมไ่ ดร้ ูส้ กึ สนุก หรอื ไม่ชอบการกระทารวมถึงวาจาต่างๆ ท่ถี ูกกล่าวถงึ ด้วย

คาพูดและทา่ ทสี ภุ าพ ไม่ตะโกน ขึ้นเสยี ง หรอื ใช้คาหยาบคาย รวมถงึ ชีแ้ จงอย่างชดั เจนหากเร่อื งทถี่ กู กล่าวหาไมเ่ ป็นจรงิ
• พูดคุยกบั เพ่ือนร่วมชะตากรรมเพือ่ ช่วยกนั แกไ้ ข บางครัง้ การถูกบูลลไ่ี มไ่ ด้เกิดขึ้นกับบคุ คลเพยี งคนเดยี ว การหาผู้รว่ มถูกกระทา

จะเปน็ การเพิ่มหลักฐานและพยานวา่ ผู้บูลล่ีสร้างเรื่องขึ้นทาร้ายเหยอ่ื มากกว่าจะเป็นเรื่องจรงิ นอกจากน้ีเพือ่ นรว่ มชะตากรรม
อาจเปน็ ท่ปี รึกษาคลายทกุ ขไ์ ด้เปน็ อย่างดี

• เปล่ียนสง่ิ แวดลอ้ ม หากการบูลลน่ี ้นั ทาร้ายร่างกายหรอื จิตใจจนยากยอมรับ การเปลีย่ นทที่ างาน กลุ่มเพอ่ื น กอ็ าจชว่ ยฟ้ืนฟูภาวะ
บอบชา้ จากการถูกบูลลไ่ี ด้เรว็ ขนึ้

• ปรกึ ษานักจิตวทิ ยาหรอื จิตแพทย์ หลายครง้ั ที่การบูลลลี่ ้าเสน้ เหยอ่ื จนกดั กินจติ ใจ สรา้ งบาดแผล จนผถู้ ูกกระทาไม่สามารถอยใู่ น
สังคมตอ่ ไป บางกรณอี าจกลายเป็นความเครียด ปลีกตัวจากสังคม ไปจนถงึ ขน้ั เก็บกด เปน็ โรคซึมเศรา้ และจบลงดว้ ยการฆา่ ตัวตาย
ดังนน้ั ทางออกทด่ี คี ือการพบผู้เชย่ี วชาญไม่ว่าจะเปน็ นกั จิตวิทยา หรอื จิตแพทย์ เพือ่ ปรึกษา ทาการรกั ษาอย่างถูกวธิ แี ละมี
ประสทิ ธภิ าพ

1. พบรอยฟกชา้ ดาเขยี ว หรือรอยแผลท่ีไมท่ ราบสาเหตุ ภาพที่ 5 http://1ab.in/UIb
2. กลัวการไปโรงเรยี น ไม่อยากไปโรงเรยี นอย่างชัดเจน ภาพท่ี 6 http://1ab.in/UIb

3. ผลการเรียนตกลงทง้ั ๆ ท่ีเคยทาไดด้ ีมาก่อน ภาพที่ 8 http://1ab.in/UIb

ภาพท่ี 7 http://1ab.in/UIb

4. ไม่พูดไมจ่ า หรือไมอ่ ยากตอบเมื่อถามถงึ เรือ่ งที่โรงเรยี น

5. เริม่ เก็บตัว ไม่สงู สงิ กับใคร เริ่มไม่พูดถงึ เพื่อนคนไหนท่โี รงเรยี น

ภาพท่ี 9 http://1ab.in/UIb

บางทีการบูลล่ี คิดง่าย ๆ คือการ แซวทีเล่นทีจริง บางครั้งผู้ฟังอาจรู้สึกกระทบกระเทือนจิตใจแต่อาจไม่บอกเราก็ได้ แต่เราควร
สงั เกตุพฤตกิ รรมของผู้ท่ีเรากาลังแซวเล่นอยูว่ า่ บคุ ลกิ เขาเปลยี่ นไปหรอื ไมห่ ลังเราไดแ้ ซวลงไป ถ้ามีพฤติกรรมเปลี่ยนชัดเจนควรขอโทษ
และปลอบโยน แต่ถา้ เปลย่ี นเลก็ น้อยกค็ วรทจ่ี ะเปลยี่ นเรื่องคยุ ไปเลยหรอื อาจคุยปรับความเขา้ ใจกันก็จะชว่ ยใหไ้ ม่แตกหักกันได้

ภาพที่ 10 http://1ab.in/UH7

1.นางสาวอาฟีฟะห์ อาบู 6120210063
2.นายรซุ มซี ี เจะเหาะ 6120210080
3.นางสาวซอฟยี ะห์ เลาะยะผา 6120210230
4.นางสาวโซฟยี ะ สาแม 6120210232
5.นางสาวสุฮยั ณี อาหวัง 6120210357

1. Copyright Faith and Bacon. (2561). การบูลลี่คืออะไร,ทาไมการบลู ลถ่ี งึ เป็นปญั หา,สาเหตขุ อง
การบลู ลี่,ประเภทของการบูลล,ี่ การแกป้ ญั หาการบูลลี่ในสงั คม. คน้ จาก
https://faithandbacon.com/bullying-solutions
2. Sanook. (2061). รบั บมอื การบูลลี่ในสงั คมอยา่ งอยา่ งไร. คน้ จาก https://www.sanook.com
3. Bringing Health and vitality to Millions. (2563). สัญญาณท่ีบ่งบอกวา่ เดก็ กาลงั ถกู บลู ล.่ี
ค้นจาก https://www.naturebiotec.com/bully
4. IHL Cares. (2561). เราจะร้ไู ด้อยา่ งไรว่า เรากาลังบลู ล่ีคนอ่นื อยู?่ . ค้นจาก
https://www.ihlcares.com/blogs/news/bullying


Click to View FlipBook Version