The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการศึกษาชาติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by neverdie.nana, 2021-09-20 03:32:54

แผนการศึกษาชาติ

แผนการศึกษาชาติ

แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2560 - 2579

1

2

3

4

ประสิทธภิ าพการใช้จ่ายงบประมาณ 5

- การจดั สรรงบประมาณเพ่อื การศึกษาของประเทศไทย พบว่า ค่อนข้างสูง
- การใช้จ่ายงบประมาณด้านการศึกษาของภาครัฐ สว่ นใหญเ่ ปน็ รายจา่ ยสาหรบั การศึกษา

ภาคบังคบั
- กลมุ่ ครัวเรอื นทยี่ ากจนรบั ภาระคา่ ใช้จา่ ยเพื่อการศกึ ษามากกว่ากลุ่มครัวเรอื นที่รา่ รวย
- รฐั ยังคงบทบาทในการเปน็ ผู้จดั การศึกษาเปน็ หลักในทุกระดบั และประเภทการศึกษา

ผลการประเมิน TIMSS 2011 ระดับช้นั ป.4
และ TIMSS 2015 ระดับช้ัน ม.2

คะแนนเฉล่ีย 421 409 415

ผลการผทลดกสารอทบดโคสรองบกาPรISPAIS2A0125015 ไทย
อันดับท่ี 55

ทม่ี า : สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , ๒๕๕๙ 6

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2560 - 2579

เป้าหมาย
ปี 2560 - 2564

เป้าหมาย
ปี 2565 - 2569

เปา้ หมาย
ปี 2570 - 2574

เป้าหมาย
ปี 2575 - 2579

7

ความสอดคล้องของยทุ ธศาสตร์

ความเช่ือมโยงระหวา่ งยุทธศาสตรช์ าติระยะ ๒๐ ปี แผนพฒั นาฯ ฉบับที่ ๑๒ กบั แผนการศึกษาแหง่ ชาติ

ุยทธศาสตร์ชา ิต ความมนั่ คง ใคนวกกาาามรรสสแารขมา้ ่งางขรนัถ กศาเรักสพยรฒัภมิ าสนพราา้คแงนละ เทคา่วกเาทามรยี เสมสรกม้านัองทภโอาากคงาสแสังลคะม การสร้างการเตบิ โตบน กแากลราะบรพภรปฒั ิหารคาับนรรสาจัฐรมดั ะดกบุลาบร
๒๐ ปี คุณภาพชวี ิต

ท่เี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม

แผนการศึกษาแ ่หงชา ิต การจดั การศกึ ษา การผลิตและพัฒนา การพัฒนาศักยภาพ การสร้างโอกาส การจัดการศกึ ษา การพฒั นา
พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ เพือ่ ความมัน่ คง ก้าลงั คน การวิจยั คนทกุ ชว่ งวยั และ ความเสมอภาค เพ่ือสร้างเสรมิ ประสิทธิภาพ
ของสังคมและ และนวัตกรรม การสร้างสังคม คณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน็ ของระบบ
ประเทศชาติ แห่งการเรยี นรู้ และความ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม บริหารจดั การ
เพอ่ื สร้างขดี เท่าเทยี ม
ความสามารถในการ ทางการศกึ ษา
แขง่ ขนั ของประเทศ

การศกึ ษา ๔.๐ : ผ้เู รียนสร้างนวตั กรรมได้

แผน ัพฒนาฯ ฉ ับบที่ ๑๒ ความ การต่าง การสร้าง การเสรมิ วิทยาศาสตร์ การสร้าง การ การเตบิ โตท่ี การเพมิ่ การพัฒนา
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ม่นั คง ประเทศ ความ สร้างและ เทคโนโลยี ความ พฒั นา เป็นมติ รกบั ประสทิ ธิภาพ โครงสรา้ ง
เขม้ แข็งทาง พฒั นา เปน็ ธรรม ภูมภิ าค สิงแวดล้อม พ้ืนฐาน
ประเทศ เศรษฐกจิ และ ศักยภาพ วจิ ัย ลดความ เมือง เพ่ือการ และ และระบบ
เพื่อนบา้ น แขง่ ขันได้ ทนุ มนุษย์ และ เหลอื่ มล้า และพืน้ ที่ พัฒนาอย่าง ธรรมาภบิ าล โลจสิ ตกิ ส์
อยา่ งย่งั ยืน นวตั กรรม ในสงั คม พเิ ศษ
และ ยงั่ ยนื ภาครัฐ
ภมู ิภาค

8

กระบวนการจัดทา้ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579

ธนั วาคม 2559 – มกราคม 2560

ปรับแก้ (รา่ ง) แผนการศึกษาแหง่ ชาตฯิ ตามความเหน็
ท่ปี ระชมุ คณะกรรมการนโยบายและพฒั นาการศึกษา
และผบู้ ริหารระดับสูง ศธ.

กุมภาพนั ธ์ 2560

น้าเสนอ (รา่ ง) แผนการศกึ ษา
แห่งชาตฯิ ต่อทีป่ ระชมุ
คณะรฐั มนตรี

9

กรอบแนวคดิ แผนการศึกษาแห่งชาติ

วิสยั ทัศน์ “คนไทยทุกคนไดร้ บั การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมีคณุ ภาพ ดา้ รงชวี ติ อย่างเปน็ สุข
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21”

6 ยุทธศาสตร์ เปา้ หมาย ผลลัพธส์ ดุ ทา้ ย

1 2 3การพฒั นา การเขา้ ถึงการศกึ ษา Outcome10
(Access)
การจัดการศึกษา การผลติ และพฒั นา ศกั ยภาพ
เพ่ือความมัน่ คง ก้าลงั คน การวจิ ยั คนทุกช่วงวัย ความเทา่ เทียม
และนวัตกรรมเพอื่ และการสร้าง (Equity)
ของสงั คม สรา้ งขีดความสามารถ
และประเทศชาติ ในการแขง่ ขนั ของ สังคม คุณภาพ
แห่งการเรียนรู้ (Quality)
4 ประเทศ
6 ประสิทธภิ าพ
การสรา้ งโอกาส 5 (Efficiency)
ความเสมอภาค การจดั การพัฒนา
และความเท่า การศึกษาเพือ่ ประสิทธภิ าพของ ตอบโจทย์บริบท
ที่เปล่ียนแปลง
เทยี มทาง สรา้ งเสรมิ ระบบบริหาร (Relevancy)
การศึกษา คุณภาพชวี ิต จดั การศึกษา
ท่เี ปน็ มติ รกับ
สิ่งแวดลอ้ ม

Output

หลกั การ/แนวคิดแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579

11

หลกั การ/แนวคิดแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579

12

13

เดก็ แรกเกิด–5 ปี นกั เรียนมคี ะแนน ความแตกต่างของ สถานศกึ ษามี งานวิจยั ไดร้ ับ จา้ นวนโครงการ
มพี ัฒนาการ O-Net แตล่ ะวิชา คะแนน O-Net คุณภาพตามเกณฑ์ การตีพมิ พใ์ นระดบั วจิ ัยเพอ่ื สร้าง
สมวยั ร้อยละ 50 ข้นึ ไป คณติ ศาสตร์และ ประกนั คุณภาพ องค์ความรู้ท่ีใช้
ภาษาองั กฤษ นานาชาติ พัฒนาประเทศ
เพมิ่ ขน้ึ เพ่ิมขน้ึ
ลดลง เพ่มิ ขน้ึ

95%

สถานศกึ ษา การอ่านของ การแสดงออก ความพึงพอใจ ผลคะแนน ระดับ นักเรยี นใน
ทมี่ ีการจดั คนไทย ดา้ นคุณธรรม ของสถาน PISA เฉล่ีย ความสามารถ เขตพัฒนาพเิ ศษ
การเรยี นการสอน/ เพ่มิ ขนึ้ จรยิ ธรรมของ ประกอบการ ของนกั เรียน เฉพาะกิจจังหวัด
กิจกรรมเพ่อื นักเรยี น เพ่มิ ขน้ึ ต่อผู้จบ อายุ 15 ปี การใช้ ชายแดนภาคใต้
เสริมสรา้ ง การศึกษา ภาษาอังกฤษ มคี ะแนน O-Net
ความเป็นพลเมอื ง เพิ่มขน้ึ เพมิ่ ขึ้น ของบัณฑิตตาม แต่ละวชิ ารอ้ ยละ
มาตรฐานCEFR
14
สงู ข้ึน

จ้านวนโรงเรยี นขนาด ปรบั ปรุงโครงสรา้ ง สัดสว่ นงบประมาณ ระบบการประกนั คณุ ภาพ
เล็กท่ไี มผ่ ่านการ การบริหารงานของ ศธ. Agenda สูงขึ้น ทเี่ หมาะสม สอดคล้องกบั
ประเมนิ คณุ ภาพ บรบิ ทของสถานศกึ ษา
ภายนอกลดลง สถานศกึ ษาท่ีปลอด เม่ือเทยี บกับ Function
ยาเสพตดิ เพมิ่ ขน้ึ (60 : 40) มีกลไกส่งเสริมให้
สดั สว่ นผ้เู รียนเอกชน ทุกภาคส่วนสนบั สนนุ
สูงขน้ึ เม่อื เทยี บกับรัฐ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระบบบริหารงานบุคคล ทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา
ความเปน็ อิสระและความ ครูและบคุ ลากรทาง
(50 : 50) รับผดิ ชอบของสถานศกึ ษา การศึกษามปี ระสทิ ธิภาพ ภาคประชาสังคม
มีสว่ นร่วมจดั การศึกษา
ปรับระบบการจดั สรร ครแู ละบุคลากร มีฐานขอ้ มลู
เงินไปส่ดู ้านอปุ สงค์ ทางการศึกษา ดา้ นการศกึ ษาฐานขอ้ มูล ประชารัฐเพม่ิ ข้ึน
ไดร้ บั การพัฒนา รายบคุ คลด้านการศกึ ษา
ระบบเครอื ข่ายดจิ ิทลั อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 15
มีประสิทธิภาพ อัตราเดก็
ออกกลางคันลดลง

ร้อยละของผู้เรียน อนั ดบั จา้ นวน ร้อยละของ มฐี านข้อมูล จ้านวน
ทเี่ รียนในระบบ ความสามารถ สถาบนั อดุ มศกึ โรงเรยี น ความตอ้ งการ หลกั สูตร
ทวิภาคี/สหกิจศกึ ษา ในการแขง่ ขนั ษาทีอ่ ยใู่ น 200 ที่จดั การศึกษา ท่จี ดั ทวิวฒุ ิ
ในสถานประกอบการ ดา้ นการศกึ ษา STEM ศึกษา กา้ ลงั คน เพ่มิ ขึน้
ทมี่ มี าตรฐาน ดขี ้ึน (IMD) อันดบั แรก เพิม่ ขน้ึ ตามกลุ่ม
ของโลก อุตสาหกรรม
เพม่ิ ข้นึ

อัตราการมงี านทา้ อตั ราการมงี าน อันดบั ความ สดั ส่วนผเู้ รียน สัดส่วน รอ้ ยละของ
ภายใน 1 ปี ท้า ภายใน 1 ปี พงึ พอใจของ วทิ ยาศาสตร์ : อาชีวศกึ ษา : ประชากร
ของผู้จบ สถานประกอบการ สังคมศาสตร์ สามญั ศึกษา วัยแรงงานท่ีจบ
อาชีวศกึ ษา ของผูจ้ บ ต่อผจู้ บการศกึ ษา การศึกษาระดับ
อดุ มศกึ ษา 16 ม.ปลายหรือ
(ไม่นับศกึ ษาตอ่ ) เพม่ิ ข้ึน เพมิ่ ข้นึ เทยี บเทา่ เพิ่มขน้ึ
เพมิ่ ข้นึ

6 ยทุ ธศาสตร์ ของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ

1ยทุ ธศาสตร์ท่ี การจัดการศกึ ษาเพอื่ ความม่นั คงของสงั คมและประเทศชาติ
การผลิตและพัฒนากา้ ลังคน การวจิ ยั และนวตั กรรม
2ยุทธศาสตร์ท่ี เพ่อื สรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้
3ยุทธศาสตร์ท่ี
การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ท่ี 4
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพ่อื สรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม
ยุทธศาสตร์ท่ี 6
การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา

17

1ยุทธศาสตรท์ ี่ การจดั การศกึ ษาเพ่ือความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ

เปา้ หมายท่ี 1 : คนทุกชว่ งวัยมคี วามรักสถาบนั หลักของชาติ และยึดมนั่ การปกครองระบอบ

ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ

ตัวชว้ี ัด • ร้อยละของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่สะท้อน

ท่ีสา้ คญั เชน่ ความรักและการธ้ารงรักษาสถาบันหลักของชาติ และการยึดม่ันในการ

ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ เพมิ่ ข้ึน
• ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรมเพ่ือเสริมสร้าง

ความเป็นพลเมือง (Civic Education) เพมิ่ ข้นึ
• รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทม่ี กี ารจดั การเรียนการสอน/กจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ การ

อยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมเพ่ิมข้นึ

18

เปา้ หมายที่ 2 : คนทุกชว่ งวยั ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้และพืน้ ที่พเิ ศษ

ไดร้ ับการศกึ ษาและเรยี นรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ

ตัวช้ีวดั • รอ้ ยละของนักเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และเพ้ืนที่พิเศษท่ีมีคะแนน
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-Net) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50
ทีส่ า้ คญั เช่น ขน้ึ ไปเพิ่มขน้ึ

• ร้อยละของผู้เรียน เยาวชนและประชาชนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และ

พื้นที่พิเศษที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพหรือทักษะด้านอาชีพ สามารถมีงานท้า หรือน้าไปประกอบ
อาชพี ในทอ้ งถน่ิ เพม่ิ ขึ้น
• ร้อยละของสถานศกึ ษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้และพืน้ ทีพ่ เิ ศษทจ่ี ดั การ
เรยี นการสอนโดยบรู ณาการหลักสูตรให้สอดคล้องกับสังคม วัฒนธรรม และภาษาถ่ินเพิ่มขึ้น

เปา้ หมายที่ 3 : คนทุกชว่ งวยั ได้รบั การศึกษา การดแู ลและปอ้ งกันจากภัยคุกคามในชวี ิตรปู แบบใหม่

ตวั ชี้วดั • ร้อยละของสถานศึกษาท่ีจดั กระบวนการเรียนรแู้ ละปลกู ฝังแนวทางการจดั การความขดั แย้งโดย

ทส่ี ้าคญั เช่น แนวทางสันตวิ ธิ ีเพ่มิ ขึน้
• ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมกี ารจดั การเรียนการสอนหรอื จัดกจิ กรรม เพอื่ เสรมิ สรา้ งความรู้ ความ
19
เข้าใจทถ่ี กู ตอ้ งเก่ยี วกับภยั คุกคามในรปู แบบใหม่เพิ่มขน้ึ
• มรี ะบบ กลไก และมาตรการที่เขม้ แข็งในการปอ้ งกันและแกไ้ ขภัยคุกคามในรปู แบบใหม่
• ร้อยละของสถานศกึ ษาทปี่ ลอดยาเสพตดิ เพิ่มขึน้
• สดั ส่วนผ้เู รยี นในสถานศึกษาทม่ี ีคดที ะเลาะววิ าทลดลง

แนวทางการพัฒนา

1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ

2. ยกระดบั คุณภาพและส่งเสรมิ โอกาสในการเข้าถงึ การศึกษาในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้
3. ยกระดับคณุ ภาพและสง่ เสริมโอกาสในการเขา้ ถึงการศึกษาในพื้นทพ่ี ิเศษ (พื้นท่สี ูง พ้นื ทตี่ ามแนวตะเข็บชายแดน และ

พนื้ ท่ีเกาะแก่ง ชายฝ่งั ทะเล ทั้งกลมุ่ ชนตา่ งเชอ้ื ชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าว)
4. พัฒนาการจดั การศึกษาเพอ่ื จัดการระบบการดูแลและปอ้ งกนั ภัยคกุ คามในรปู แบบใหม่

แผนงาน/โครงการสา้ คญั เร่งดว่ น (ปงี บประมาณ 2560 – 2561) อาทิ

• โครงการสรา้ งจติ ส้านึกความรักในสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์
• โครงการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพ้ืนที่พิเศษ

แผนงาน/โครงการตามเปา้ หมาย ตวั ชี้วดั อาทิ

• โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาทักษะการอา่ นและเขียนภาษาไทยในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้และพ้ืนทีพ่ ิเศษ

• โครงการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาเพ่ือสรา้ งอาชีพและเพ่ิมคณุ ภาพชีวติ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั

ชายแดนภาคใต้และพื้นท่ีพิเศษ

• โครงการสรา้ งเสรมิ ความรู้และทักษะความเปน็ พลเมอื ง (Civic Education)

• โครงการสง่ เสรมิ กจิ กรรมการตอ่ ตา้ นทุจรติ คอรร์ ปั ชนั่ 20

2ยทุ ธศาสตรท์ ่ี การผลิตและพัฒนาก้าลังคน การวิจยั และนวัตกรรม
เพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

เป้าหมายท่ี 1 : กา้ ลังคนมที ักษะท่ีสา้ คัญจา้ เปน็ และมสี มรรถนะตรงตามความต้องการของ

ตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ

ตวั ช้วี ัด • มีฐานข้อมลู ความตอ้ งการกา้ ลงั คน (Demand) จ้าแนกตามกลุม่ อุตสาหกรรมอย่างครบถว้ น
• สัดส่วนผ้เู รียนอาชีวศกึ ษาสงู ข้นึ เม่อื เทยี บกับผูเ้ รียนสามญั ศึกษา
ทส่ี า้ คัญ เชน่ • สดั สว่ นผเู้ รยี นวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยสี งู ขน้ึ เม่อื เทยี บกบั ผู้เรยี นสังคมศาสตร์
• ร้อยละของกา้ ลงั แรงงานในสาขาอาชีพต่าง ๆ ทไี่ ด้รบั การยกระดับคณุ วฒุ วิ ิชาชพี เพิ่มข้นึ

เปา้ หมายท่ี 2 : สถาบันการศกึ ษาและหน่วยงานทจี่ ัดการศึกษาผลิตบณั ฑิตทมี่ ีความเชีย่ วชาญและเปน็ เลิศเฉพาะดา้ น

ตวั ชีว้ ัด • สัดส่วนการผลิตก้าลังคนระดับกลางและระดับสูงจ้าแนกตามระดับ/ประเภทการศึกษาในสาขาวิชา

ท่ีส้าคญั เช่น ที่สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดงานและการพฒั นาประเทศเพ่มิ ข้ึน

• ร้อยละของสถาบันการศึกษาท่ีจัดการศึกษารูปแบบทวิภาคี/สหกิจศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนในโรงงาน

ตามมาตรฐานทีก่ า้ หนดเพมิ่ ข้นึ

• จา้ นวนหลกั สูตรของสถานศึกษาทีจ่ ดั การศกึ ษาทวิวุฒิ (Dual Degree) เพมิ่ ขึน้

• จา้ นวนสถาบันอาชวี ศึกษาและอุดมศกึ ษาที่จดั หลกั สตู รสา้ หรับผู้มคี วามสามารถพเิ ศษเพ่ิมข้ึน

• ร้อยละของภาคีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างรัฐ เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพและ
21
หน่วยงานทจี่ ดั การศกึ ษาเพม่ิ ข้นึ

เปา้ หมายท่ี 3 : การวิจัยและพัฒนาเพื่อสรา้ งองค์ความรู้ และนวตั กรรมทส่ี ร้างผลผลิตและ

มลู ค่าเพิ่มทางเศรษฐกจิ

ตัวชว้ี ดั • สดั สว่ นเงินลงทุนวจิ ยั และพฒั นาของภาคเอกชนเมอื่ เทยี บกบั ภาครัฐเพ่มิ ขึ้น
• สดั ส่วนคา่ ใช้จ่ายการลงทนุ เพ่อื การวจิ ัยและพฒั นาเมื่อเทยี บกบั GDP ของประเทศเพ่ิมขึ้น
ท่ีสา้ คัญ เช่น • จา้ นวนโครงการ/งานวจิ ัยเพื่อสร้างองค์ความร/ู้ นวตั กรรมที่น้าไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนาประเทศเพม่ิ ขึ้น
• จ้านวนบคุ ลากรดา้ นการวิจัยและพฒั นาตอ่ ประชากร 10,000 คน เพ่ิมข้นึ
• จา้ นวนนวตั กรรม/สงิ่ ประดิษฐ์ ที่ไดจ้ ดสทิ ธบิ ัตรและทรพั ย์สินทางปัญญาเพิ่มขึ้น
• ร้อยละของผลงานวจิ ยั ทไ่ี ดร้ ับการตีพิมพใ์ นระดับนานาชาตเิ พมิ่ ข้ึน

แนวทางการพฒั นา

1. ผลิตและพัฒนาก้าลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศ

2. ส่งเสริมการผลิตและพฒั นากา้ ลังคนที่มีความเช่ยี วชาญและเป็นเลศิ เฉพาะดา้ น
3. สง่ เสริมการวจิ ัยและพฒั นา เพอ่ื สร้างองคค์ วามรู้ และนวัตกรรมทีส่ ร้างผลผลติ และมูลคา่ เพิ่มทางเศรษฐกิจ

22

แผนงาน/โครงการสา้ คญั เร่งดว่ น (ปีงบประมาณ 2560 – 2561) อาทิ

• โครงการประชารฐั เพื่อการผลิตและพฒั นากา้ ลังคนตามความต้องการของตลาดงานและประเทศ
• โครงการขับเคล่ือนกรอบคณุ วุฒิแห่งชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ัติ

แผนงาน/โครงการตามเปา้ หมาย ตวั ชวี้ ดั อาทิ

• โครงการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เก่ียวข้อง เพื่อเปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติท่ีมีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์
ในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ ที่จ้าเป็นและตรงตามความต้องการของประเทศ เข้ามาช่วยจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา สถาบัน
อาชีวศกึ ษาและอุดมศึกษาได้

• โครงการวิจยั และพฒั นารูปแบบความรว่ มมือระหว่างภาครฐั และภาคเอกชนในการผลติ และพัฒนาก้าลงั คนอย่างย่ังยืน
• โครงการเสรมิ สร้างและพฒั นาความรู้ความเข้าใจสา้ หรบั บัณฑติ จบใหม่ด้านนวัตกรรมและเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล
• โครงการออกแบบระบบงานและเส้นทางความก้าวหน้าของบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัย รวมท้ังผู้ท่ีมี

ความสามารถพเิ ศษ

23

3ยุทธศาสตร์ที่ การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวัย และการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้

เปา้ หมายท่ี 1 : ผู้เรียนมีทักษะและคณุ ลกั ษณะพ้นื ฐานของพลเมืองไทยและทกั ษะและ

คณุ ลกั ษณะที่จา้ เปน็ ในศตวรรษท่ี 21

ตัวชี้วดั • รอ้ ยละของผูเ้ รียนทมี่ ีคุณลักษณะและทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 เพิ่มข้ึน
• ร้อยละของผเู้ รียนทกุ ระดบั การศกึ ษา มพี ฤติกรรมทแี่ สดงออกถงึ ความมวี นิ ยั และมจี ติ สาธารณะเพ่ิมขนึ้
ที่สา้ คญั เชน่

เปา้ หมายที่ 2 : คนทกุ ช่วงวัยมที ักษะความร้คู วามสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษา

และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตไดต้ ามศกั ยภาพ

ตวั ชว้ี ัด • ร้อยละของเด็กแรกเกดิ – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัยเพมิ่ ขึน้
• คร/ู ผูด้ ูแลเด็กมคี วามรู้และทกั ษะในการดูแลเด็กท่ีถกู ตอ้ ง จัดการเรยี นร้ทู ่ีสอดคลอ้ งกบั หลักการ
ท่ีสา้ คญั เช่น
พฒั นาเด็กปฐมวัยอยา่ งรอบดา้ นตามวัยเพ่ิมข้ึน
• รอ้ ยละการอา่ นของคนไทย (อายุตัง้ แต่ 6 ปี ขนึ้ ไป) เพิม่ ขึ้น
• ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) มีจ้านวนปีการศกึ ษาเฉลยี่ เพมิ่ ขึ้น
• จ้านวนผ้สู ูงวัยทไ่ี ดร้ ับบรกิ ารการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะอาชพี และทักษะชวี ติ เพิ่มขึน้

24

เป้าหมายท่ี 3 : สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจดั กิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตาม

หลักสูตรอย่างมีคณุ ภาพและมาตรฐาน

ตวั ชวี้ ัด • ร้อยละของศนู ย์เด็กเลก็ /สถานศกึ ษาระดบั กอ่ นประถมศึกษาทจ่ี ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ไดค้ ุณภาพและมาตรฐานเพมิ่ ขึ้น
• จ้านวนสถานศกึ ษา/สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย จัดกิจกรรมท่สี อดคลอ้ งกับหลักสตู รปฐมวัย และสมรรถนะของ
ที่ส้าคญั เช่น
เดก็ ท่เี ชื่อมโยงกับมาตรฐานคณุ ภาพเด็กปฐมวัยของอาเซียนเพิม่ ข้ึน
• จา้ นวนสถานศึกษาในระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานจัดการศกึ ษาตามหลักสตู รทมี่ ุ่งพฒั นาผเู้ รยี นให้มคี ุณลกั ษณะ

และทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 เพม่ิ ขน้ึ
• จ้านวนสถาบันการศึกษาในระดบั อาชวี ศึกษาและอุดมศึกษาทจี่ ัดการศึกษาตามหลกั สตู รท่ีมงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ี

สมรรถนะท่ีสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 เพม่ิ ขน้ึ
• จา้ นวนสถานศกึ ษา/สถาบนั การศึกษาทจ่ี ดั การเรียนการสอนภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน (+3) เพิ่มข้ึน

เปา้ หมายที่ 4 : แหลง่ เรียนรู้ ส่ือต้าราเรยี น นวัตกรรม และส่อื การเรียนร้มู คี ณุ ภาพและมาตรฐาน

และประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ไดโ้ ดยไม่จา้ กดั เวลาและสถานท่ี

ตัวช้ีวดั • จ้านวนแหล่งเรียนรู้ท่ีได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพ

ท่สี ้าคญั เช่น เพ่มิ ขนึ้

• จ้านวนแหล่งเรียนรู้ ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ท่ีได้รับการสนับสนุนจากภาคเอกชน สถานประกอบการ สถาบัน

ศาสนา มูลนธิ ิ สถาบนั /องค์กรตา่ ง ๆ ในสังคมเพมิ่ ข้นึ

• จ้านวนรายการ/ประเภทสื่อที่ผ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ เผยแพร่ผ่านระบบ

เทคโนโลยดี จิ ิทัล จ้าแนกตามระดับ/ประเภทการศึกษาเพ่ิมขึ้น

• มีระบบคลังข้อมูลเก่ียวกับส่ือ และนวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถให้บริการคนทุกช่วงวัย

และใช้ประโยชนร์ ว่ มกันระหว่างหนว่ ยงานได้ 25

เปา้ หมายท่ี 5 : ระบบและกลไกการวัด การตดิ ตามและประเมนิ ผลมีประสิทธิภาพ

ตวั ช้ีวดั • มรี ะบบและกลไกการทดสอบ การวดั และประเมินความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผูเ้ รยี นทุกระดับการศกึ ษา

ทสี่ า้ คัญ เช่น และทุกกลุ่มเปา้ หมายท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ
• มีระบบติดตามประชากรวัยเรียนที่ขาดโอกาสหรือไมไ่ ด้รับการศกึ ษา และผู้เรียนที่มแี นวโน้มจะออกกลางคัน

เปา้ หมายที่ 6 : ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดบั สากล

ตัวชี้วดั • มีฐานข้อมูลความต้องการใช้ครู แผนการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาในระยะ 10 ปี (พ.ศ.

ทสี่ ้าคญั เชน่ 2560 – 2569) จา้ แนกตามสาขาวชิ า ขนาดสถานศกึ ษา และจังหวดั
• สัดสว่ นของการบรรจุครูทมี่ าจากการผลิตครใู นระบบปดิ เพิม่ ขน้ึ
• มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีเอื้อให้ผสู้ า้ เรจ็ การศึกษาจากสาขาวิชาอ่นื และพัฒนาเพิ่มเติมเพ่ือเขา้ สวู่ ิชาชพี ครู

26

เปา้ หมายท่ี 7 : ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน

ตวั ชีว้ ัด • รอ้ ยละของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาทุกระดบั และประเภทการศกึ ษาไดร้ บั การพฒั นา

ทสี่ า้ คัญ เช่น ตามมาตรฐานวชิ าชพี และสามารถปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพมิ่ ข้ึน
• รอ้ ยละของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษาท่ีได้รบั การพัฒนาใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการ

และยุทธศาสตร์ของหนว่ ยงานเพิม่ ขึน้

แนวทางการพัฒนา

1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัย มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตาม

ศักยภาพในแต่ละช่วงวยั

2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อต้าราเรียน และส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และประชาชนสามารถ

เข้าถงึ แหลง่ เรียนรไู้ ดโ้ ดยไมจ่ า้ กัดเวลาและสถานท่ี

3. สร้างเสริมและปรับเปล่ียนคา่ นิยมของคนไทยใหม้ วี ินัย จติ สาธารณะ และพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์

4. พฒั นาระบบและกลไกการติดตาม การวัด และประเมนิ ผลผ้เู รียนให้มีประสิทธิภาพ

5. พฒั นาคลงั ขอ้ มูล สื่อ และนวตั กรรมการเรยี นรู้ ท่มี คี ุณภาพและมาตรฐาน

6. พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

7. พฒั นาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 27

แผนงาน/โครงการสา้ คัญเรง่ ดว่ น (ปงี บประมาณ 2560 – 2561) อาทิ

• โครงการผลติ ครูเพอื่ พฒั นาทอ้ งถิ่น
• แผนงานส่งเสริมการจัดการศกึ ษาปฐมวัย

แผนงาน/โครงการตามเปา้ หมาย ตัวช้ีวดั อาทิ

• โครงการสนับสนนุ ให้องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดแู ลและพัฒนาเดก็ เล็ก
• โครงการสง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดการศึกษาและการใหค้ วามรูส้ า้ หรับคนทกุ ช่วงวยั
• โครงการส่งเสริมสนับสนุนการผลิตส่ือ ต้ารา ส่ิงพิมพ์ สื่อวีดิทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน ผ่านการรับรอง

มาตรฐาน
• โครงการสง่ เสรมิ และสนับสนุนการพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ตามมาตรฐานแหลง่ เรยี นรู้แต่ละประเภท
• โครงการอบรมพฒั นาทกั ษะการด้ารงชีวิตส้าหรบั ผสู้ งู วัย
• โครงการส่งเสรมิ การสร้างคา่ นิยม คุณธรรม จริยธรรมส้าหรับพลเมืองในศตวรรษท่ี 21

28

4ยุทธศาสตรท์ ี่ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษา

เป้าหมายท่ี 1 : ผู้เรยี นทกุ คนได้รบั โอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพ

ตวั ช้วี ัด • สดั สว่ นนักเรยี นปฐมวัย (3 - 5 ปี) ตอ่ ประชากรกลมุ่ อายุ 3 – 5 ปี เพ่ิมขน้ึ
• ประชากรอายุ 6 – 11 ปี ไดเ้ ขา้ เรียนระดับประถมศกึ ษาทกุ คน
ทีส่ ้าคญั เช่น • ประชากรอายุ 12 – 14 ปี ได้เข้าเรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หรอื เทียบเทา่ ทกุ คน
• สดั สว่ นนักเรยี นมัธยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่า (15 – 17 ปี) ต่อประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี เพิม่ ขน้ึ
• ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) มีจา้ นวนปกี ารศึกษาเฉลี่ยเพ่ิมขนึ้
• ร้อยละของเดก็ ในวยั เรียนทม่ี ีความตอ้ งการจ้าเปน็ พิเศษ ไดร้ บั การศึกษาเตม็ ตามศกั ยภาพเพิม่ ขนึ้

(จา้ แนกตามกลุม่ ประเภทของความจ้าเปน็ พเิ ศษ)
• ร้อยละของผู้เรียนพกิ ารได้รบั การพฒั นาสมรรถภาพหรอื บริการทางการศึกษาทเี่ หมาะสม

เปา้ หมายท่ี 2 : การเพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษา ผ่านเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอ่ื การศึกษา ส้าหรับคนทุกช่วงวัย

ตัวชีว้ ัด • มีระบบเครอื ขา่ ยเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่อื การศึกษาท่ีทนั สมัย สนองตอบความต้องการของผู้เรียนและผู้ใช้บริการ

ที่ส้าคญั เช่น อย่างท่ัวถึงและมปี ระสิทธภิ าพ
• มีสถาบันเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา และกองทุนพฒั นาเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา
• มีการจดั ต้งั สถานีโทรทศั นแ์ ละการผลติ รายการเพ่อื การศกึ ษา
• ร้อยละของสถานศึกษาได้รับบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงครอบคลุมทุกพ้ืนที่ข้ันต่้า 30 Mbps ใน 5 ปีแรก

และ 100 Mbps ภายใน 20 ปี เพ่ิมข้นึ

29

เปา้ หมายท่ี 3 : ระบบข้อมลู รายบคุ คลและสารสนเทศทางการศึกษาทค่ี รอบคลมุ ถูกต้อง

เปน็ ปัจจบุ ัน เพือ่ การวางแผน การบริหารจัดการศึกษา การตดิ ตามประเมิน และรายงานผล

ตัวชว้ี ดั • มรี ะบบฐานข้อมลู รายบุคคลทีอ่ ้างองิ จากเลขทีบ่ ตั รประจ้าตัวประชาชน 13 หลัก ที่สามารถเช่ือมโยง

ทีส่ ้าคัญ เชน่ และแลกเปลี่ยนฐานข้อมูล รวมทง้ั ใช้ประโยชนร์ ่วมกนั ระหว่างกระทรวงศึกษาธกิ ารและหน่วยงานอื่น
ด้านสาธารณสขุ สังคม ภูมิสารสนเทศ แรงงาน และการศึกษา
• มีระบบสารสนเทศด้านการศึกษาและด้านอื่นท่ีเกี่ยวข้อง ที่เป็นระบบเดียวกันทั้งประเทศ ครอบคลุม
ถกู ต้อง และเป็นปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผน การบริหารจัดการศึกษา
การตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผล
• มีกฎหมาย กฎและระเบียบท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาท่ีได้รับ
การปรบั ปรุงและมผี ลบงั คบั ใช้

30

แนวทางการพฒั นา

1. เพ่มิ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพ
2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพือ่ การศึกษาสา้ หรบั คนทุกช่วงวยั
3. พัฒนาฐานขอ้ มูลดา้ นการศึกษาที่มมี าตรฐาน เช่ือมโยงและเขา้ ถงึ ได้

แผนงาน/โครงการสา้ คัญเร่งด่วน (ปีงบประมาณ 2560 – 2561) อาทิ

• โครงการคัดกรองและพฒั นาศักยภาพของผู้เรียนท่ีมีความต้องการจา้ เปน็ พเิ ศษ
• โครงการจัดท้าฐานข้อมลู รายบคุ คลทกุ ชว่ งวยั ท้งั ด้านสาธารณสุข สงั คม ภูมสิ ารสนเทศ แรงงาน และการศกึ ษา

แผนงาน/โครงการตามเปา้ หมาย ตัวช้วี ดั อาทิ

• โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสารทางการศึกษาท่ีสามารถเช่ือมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน

ทางการศึกษา

• โครงการพฒั นาคลงั ข้อมูล ส่ือ และนวตั กรรมการเรยี นรู้

• โครงการจัดต้ังสถาบนั เทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษา และกองทุนพฒั นาเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา

• โครงการจัดให้มสี ญั ญาณอนิ เทอร์เน็ตอยา่ งท่วั ถึงและมีประสิทธิภาพ

• โครงการจดั ท้าคมู่ ือการบนั ทกึ และใชข้ อ้ มูลสารสนเทศผ่านระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล 31

5ยทุ ธศาสตร์ที่ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ท่เี ป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม

เปา้ หมายที่ 1 : คนทกุ ช่วงวัย มีจิตสา้ นกึ รักษ์สิง่ แวดลอ้ ม มีคุณธรรม จริยธรรม และนา้ แนวคิด

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ัติ

ตวั ชีว้ ัด • รอ้ ยละของผ้เู รยี นทุกระดับการศกึ ษามพี ฤตกิ รรมทแี่ สดงออกถงึ ความตระหนกั ในความสา้ คญั ของการ
ดา้ รงชวี ิต
ทีส่ ้าคัญ เช่น ท่ีเป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม การมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และการประยุกตใ์ ช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใน
การด้าเนนิ ชวี ติ เพมิ่ ขึ้น

• ร้อยละของครู/บุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการอบรม/พัฒนาในเรื่องการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร
กบั สิ่งแวดลอ้ มเพม่ิ ขนึ้

เป้าหมายที่ 2 : หลกั สูตร แหล่งเรียนรู้ และสอื่ การเรียนรู้ท่ีสง่ เสริมคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน็ มติ รกบั

สงิ่ แวดล้อม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนา้ แนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัติ

ตวั ชว้ี ัด • จา้ นวนสถานศกึ ษา/สถาบันการศกึ ษาท่จี ัดการเรยี นการสอนและกิจกรรมทเี่ กี่ยวข้องกบั การสรา้ งเสริมคณุ ภาพ

ทสี่ า้ คญั เช่น ชวี ิตที่เปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ มเพิ่มขน้ึ

• จ้านวนสถานศึกษา/สถาบันการศึกษาทีจ่ ดั การเรยี นการสอนและกิจกรรมเพอ่ื ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และ

การนา้ แนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัติเพม่ิ ขนึ้

• จ้านวนสอื่ การเรีนนรู้ในส่ือสารมวลชนท่ีเผยแพร่หรือให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร

กบั สง่ิ แวดลอ้ มเพม่ิ ขึน้ 32

เปา้ หมายที่ 3 : การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาองคค์ วามรู้และนวตั กรรมดา้ นการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ท่ี

เป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม

ตวั ชวี้ ดั • จ้านวนงานวจิ ยั ที่เก่ียวข้องกับการสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ที่เป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ มเพิ่มขน้ึ
• จ้านวนสถานศกึ ษาทมี่ ีความร่วมมือกับต่างประเทศด้านการวิจัยและพัฒนาท่ีเก่ียวข้องกับการสร้าง
ทสี่ า้ คัญ เชน่
เสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มเพ่ิมขนึ้

แนวทางการพัฒนา

1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตส้านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และน้าแนวคิดตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบัตใิ นการดา้ เนนิ ชีวิต

2. สง่ เสริมและพฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ และสอื่ การเรยี นรตู้ ่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้องกับการสร้างเสรมิ คณุ ภาพ
ชีวติ ทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม

3. พฒั นาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวตั กรรมดา้ นการสร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม

33

แผนงาน/โครงการสา้ คญั เรง่ ดว่ น (ปงี บประมาณ 2560 – 2561) อาทิ

• โครงการน้อมน้าศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาและเพ่ิมศกั ยภาพคนทุกช่วงวยั
• โครงการรกั ษ์โลก รักษ์พลงั งาน

แผนงาน/โครงการตามเปา้ หมาย ตวั ชว้ี ดั อาทิ

• แผนงาน/โครงการสง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดการศึกษาและการให้ความรู้ ทักษะ และทัศนคติให้กับคนทุกช่วงวัยในเร่ืองการสร้างเสริม
คณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม

• แผนงาน/โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และการน้าแนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏิบตั ิ
• โครงการพฒั นาหลกั สตู รและการเรยี นการสอนเก่ียวกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ผลกระทบภัยธรรมชาติ และภัยพิบัติจาก

การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
• โครงการสง่ เสริมคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม
• โครงการหอ้ งเรยี นอนรุ กั ษ์พลังงาน

34

6ยุทธศาสตรท์ ่ี การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา

เปา้ หมายท่ี 1 : โครงสรา้ ง บทบาทและระบบการบรหิ ารจัดการการศึกษามีความคลอ่ งตัว ชัดเจน

และสามารถตรวจสอบได้

ตวั ชว้ี ดั • มกี ารปรบั ปรุงโครงสร้างและระบบบรหิ ารราชการส่วนกลาง สว่ นภมู ภิ าค และสถานศึกษาใหม้ ี
เอกภาพ สอดคล้องกับบริบทของพน้ื ทีแ่ ละการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล
ที่ส้าคัญ เชน่
• มกี ารปรับปรุง แก้ไขและบังคับใชก้ ฎหมาย กฎ ระเบียบทเ่ี ก่ียวข้องกบั การปรับบทบาทและภารกจิ
ของรัฐ ความเปน็ อิสระและความรบั ผิดรับชอบของสถานศึกษา และการระดมทนุ และรว่ ม
สนับสนุนการจัดการศึกษา

เปา้ หมายท่ี 2 : ระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษามีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล ส่งผลตอ่

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

ตวั ชีว้ ัด • ร้อยละของสถานศึกษาท่มี คี ณุ ภาพตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษาเพมิ่ ขนึ้
• จ้านวนสถานศึกษาท่บี ริหารงานตามหลกั ธรรมาภบิ าลเพิม่ ขน้ึ
ท่ีส้าคญั เชน่ • อตั ราคา่ ใชจ้ ่ายดา้ นบคุ ลากรตอ่ นกั เรยี นลดลง

35

เป้าหมายที่ 3 : ทกุ ภาคส่วนของสงั คมมีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษาท่ตี อบสนองความต้องการ

ของประชาชนและพน้ื ท่ี

ตัวชว้ี ดั • จ้านวนเครือข่ายการศึกษาท่ีมีศักยภาพและความพร้อมในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา

ทสี่ ้าคญั เชน่ เพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนในพ้ืนทีเ่ พ่ิมขึ้น
• จ้านวนองค์กร สมาคม มูลนธิ ิหรอื หน่วยงานอื่นท่ีเข้ามาจัดการศกึ ษาหรือร่วมมอื กับสถานศึกษา ท้ัง

ของรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เพ่ิมขน้ึ

เป้าหมายท่ี 4 : กฎหมายและรปู แบบการบริหารจดั การทรัพยากรทางการศกึ ษารองรับลกั ษณะ

ที่แตกต่างกนั ของผ้เู รยี น สถานศึกษา และความต้องการก้าลังแรงงานของประเทศ

ตัวชวี้ ัด • มกี ฎ ระเบยี บ กฎหมาย และระบบการจดั สรรเงินเพือ่ การศกึ ษา ที่เอื้อและสนองตอบคณุ ลักษณะที่
แตกตา่ งกนั ของผเู้ รยี น ความตอ้ งการกา้ ลงั แรงงาน และสภาพปัญหาท่แี ทจ้ ริงของประเทศ
ทส่ี า้ คัญ เชน่
• มรี ูปแบบ/แนวทาง กลไกการจดั สรรงบประมาณผา่ นดา้ นอุปสงค์และอุปทานในสดั สว่ นที่เหมาะสม
ตามคุณลกั ษณะที่แตกตา่ งกนั ของผู้เรียน ความตอ้ งการกา้ ลังแรงงานและสภาพปญั หาทแี่ ทจ้ ริง
ของประเทศ

36

เป้าหมายที่ 5 : ระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

มคี วามเปน็ ธรรม สรา้ งขวญั ก้าลงั ใจ และส่งเสรมิ ใหป้ ฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ

ตัวชวี้ ดั • มรี ะบบการสรรหาและแตง่ ตั้งผู้บรหิ ารสถานศึกษาตามหลกั เกณฑ์ความรู้ความสามารถ

ที่ส้าคัญ เช่น ประสบการณก์ ารจัดการเรยี นการสอน และการบรหิ ารการศกึ ษา และความสา้ เรจ็ ในวิชาชพี
• รอ้ ยละของสถานศึกษาที่มีครเู พียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนเพ่ิมขึ้น
• รอ้ ยละของครู/ผู้ทรงคณุ วฒุ จิ ากภาคเอกชน/ผู้ประกอบการทปี่ ฏิบตั ิงานสนบั สนนุ การเรียนการสอน

เพิ่มขึน้

แนวทางการพฒั นา

1. ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา
2. เพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การสถานศึกษา
3. สง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วนในการจดั การศึกษา
4. ปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับระบบการเงนิ เพ่ือการศึกษาท่สี ่งผลตอ่ คณุ ภาพและประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษา
5. พัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

37

แผนงาน/โครงการสา้ คญั เรง่ ด่วน (ปีงบประมาณ 2560 – 2561) อาทิ

• โครงการยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือและพฒั นาเป็นพิเศษอยา่ งเรง่ ดว่ น
(ICU)

• โครงการเพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็

แผนงาน/โครงการตามเปา้ หมาย ตวั ช้ีวดั อาทิ

• โครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและการประเมินประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ทุกระดบั /ประเภทการศึกษา

• โครงการปรบั ปรุงและพฒั นาโครงสร้างและระบบการบริหารราชการสว่ นกลาง สว่ นภมู ิภาค และสถานศึกษา
• โครงการส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายการศึกษาในการจัดการศึกษาในพ้ืนที่ อาทิ สมัชชาการศึกษาหรือสภาการศึกษาจังหวัด

หรือสถาบัน และองคก์ รตา่ ง ๆ ในสงั คม
• โครงการพัฒนาระบบบญั ชสี ถานศกึ ษา และระบบการเงินผ่านเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
• โครงการพฒั นาระบบการเงนิ เพอ่ื การศึกษาสา้ หรับการศกึ ษาเอกชน

38

39

40

บทบาทของ

ภาคเอกชน/สอ่ื มวลชน

บทบาทของชุมชน/ประชาชน

41

1 2 3 4 5 (พ.ศ. 2575-79)
ระยะเรง่ ด่วน (พ.ศ. 2560-64) (พ.ศ. 2565-69) (พ.ศ. 2570-74)
(พ.ศ. 2560-61)

การดา้ เนินการของ ศธ เปน็ การดาเนนิ การตาม เปน็ การดาเนินการตาม เปน็ การดาเนนิ การตาม เปน็ การดาเนนิ การ
ยทุ ธศาสตรข์ องแผนฯ เป้าหมายและตัวช้วี ดั เป้าหมายและ ตามเป้าหมายและ
ในระยะเรง่ ดว่ น ในเปา้ หมายและตวั ชวี้ ดั ที่ได้ ที่ได้กาหนดผลลัพธไ์ ว้ ตัวชว้ี ัดที่ได้
ประกอบด้วย กาหนดผลลพั ธ์ไว้ ตวั ช้ีวดั ทไ่ี ด้
• การจัดทาฐานข้อมลู กาหนดผลลพั ธ์ไว้ ในช่วง 5 ปที ่ีสอง ในช่วง 5 ปที ี่สาม กาหนดผลลพั ธไ์ ว้
ผเู้ รยี นรายบคุ คลที่ ในชว่ ง 5 ปแี รก ซึ่งหน่วยงานทจี่ ัดการศึกษา ในชว่ ง 5 ปีทส่ี ี่
สามารถเชื่อมโยง ซง่ึ หนว่ ยงานท่จี ัดการศกึ ษา โดยหนว่ ยงานทจี่ ดั การศกึ ษา โดยหน่วยงานทจ่ี ัดการศึกษา
แลกเปลีย่ น จะต้องนายทุ ธศาสตร์ จะตอ้ งประมวล ตอ้ งทบทวนยทุ ธศาสตร์ ตอ้ งทบทวนยทุ ธศาสตร์
และใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั แนวทางการพัฒนา ผลการดาเนนิ การ เป้าหมายและตวั ช้ีวดั เป้าหมายและตวั ชวี้ ัด
ระหว่าง ศธ และหน่วยงานอ่นื เปา้ หมายและตวั ช้ีวดั พัฒนาการศกึ ษา จากผลของการจดั การศกึ ษา
• การขยายการบริการ ไปจัดทาแผนพัฒนา ตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติ จากผลของการจัดการศกึ ษา ในชว่ ง 15 ปแี รก และ
อินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สงู การศึกษาระยะ 5 ปี ในระยะเร่งดว่ นและ ในชว่ ง 10 ปีแรก และ ประเมินสภาวการณ์
และการใช้ประโยชนจ์ าก และจัดทารายละเอียด ระยะ 5 ปแี รก และนามาใช้ ประเมนิ สภาวการณ์ ของประเทศและของโลก
DLIT, DLTV การดาเนนิ การ ในการพจิ ารณาปรับปรงุ ของประเทศและของโลก เพือ่ การปรับปรุงให้เหมาะสม
• การจดั อตั รากาลังครู แตล่ ะปี ในลักษณะ การดาเนนิ การ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ
ใหค้ รบตามเกณฑ์ แผนปฏิบตั ิการประจาปี เพื่อการปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสม ของสังคม ตลาดงาน
• การพฒั นาทกั ษะ เพือ่ ให้บรรลุผล สอดคลอ้ งกับความต้องการ และการพัฒนาประเทศ
การคดิ วเิ คราะหแ์ กป้ ญั หา
ตามที่ กาหนดไว้ ของสงั คม ตลาดงาน
และการพัฒนาประเทศ

• การปรบั ระบบการสอบ 5 ช่วงระยะเวลาของแผนฯ

O-Net ใหเ้ ปน็ ท่ยี อมรับ

42

การขับเคลือ่ นแผนการศกึ ษาแห่งชาตสิ ่กู ารปฏิบัติ

1 สรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจใหท้ กุ ภาคสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งไดต้ ระหนกั ถงึ ความส้าคัญ
และพรอ้ มเข้าร่วมผลกั ดันแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติไปสูก่ ารปฏิบัติ

2 สร้างความเชือ่ มโยงระหว่างแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579
ยทุ ธศาสตรช์ าติ นโยบายรฐั บาล แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 5 ปี
แผนปฏิบตั ริ าชการระยะ 4 ปี และแผนปฏิบตั ิการประจ้าปีของหน่วยงาน องค์กร

3 ปรับปรงุ กฎ ระเบยี บ และกฎหมายต่าง ๆ ใหเ้ ออ้ื ต่อการขับเคล่อื น
การพฒั นาการศกึ ษาในระดบั ตา่ ง ๆ

4 สร้างช่องทางให้ประชาสังคมมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและมสี ว่ นรว่ ม
ในการจดั การศึกษาอยา่ งกว้างขวาง ทงั้ ระดบั นโยบายและพืน้ ที่
43

ช้นั เรียน

สถานศกึ ษา/
สถาบนั การศึกษา

44

ปัจจัยและเง่ือนไขความสา้ เรจ็ (Key Success Factors)

การสรา้ งการรับรู้ ความเขา้ ใจและการยอมรับจากผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียและประชาสงั คม

1 ในการสนบั สนุนส่งเสรมิ การพัฒนาการศึกษาในลักษณะตา่ งๆ อย่างกว้างขวาง
2 การสรา้ งความเขา้ ใจในเปา้ หมายและยุทธศาสตร์การด้าเนนิ งานของแผนฯ ของผ้ปู ฏิบัติ
การปรับเปล่ยี นกระบวนทศั น์ของการจดั การศกึ ษา จากการเป็นผู้จดั การศึกษาโดยรัฐมาเป็น

3 การจดั การศกึ ษาโดยทกุ ภาคสว่ นของสังคม
4 การจดั ให้แผนการศกึ ษาแหง่ ชาตเิ ป็นเสมือนแผนงบประมาณด้านการจดั การศึกษาของรัฐ
5 การปรับระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐให้เกิดประสทิ ธิภาพ โดยปรบั โครงสรา้ งการ
บริหารงานให้มคี วามชัดเจน
6 การสรา้ งระบบขอ้ มูลและสารสนเทศท่ีบูรณาการและเชื่อมโยงกบั ระบบการประกนั คุณภาพ
ภายในและการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
7 การปฏริ ูประบบทรัพยากรและการเงนิ เพื่อการศกึ ษา เพอื่ ใหร้ ัฐสามารถใช้เคร่ืองมอื ทาง
การเงนิ ในการก้ากับการด้าเนนิ งานของสถานศกึ ษา 45

46


Click to View FlipBook Version