แนวคดิ
ธรุ กจิ ซ้ือขายสนิ ค้าเปน็ ธุรกิจประเภทซอ้ื มาขายไป กลา่ วคือ กิจการจะซือ้ สินคา้
สาเร็จรูปจากผมู้ าอน่ื มาจาหน่ายมไิ ด้ทาการผลติ เองโดยอาจจะขายปลีกหรือขายส่ง
ใหก้ บั บริษทั หา้ งรา้ น และบคุ คลธรรมดา
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของสินคา้
2. ประเภทของสนิ ค้า
3. ขัน้ ตอนในการจดั ซือ้ สินค้า
4. เง่อื นไขเกย่ี วกับการให้เครดติ และสว่ นลดเงนิ สด
5. การคานวณวันครบกาหนดชาระหนี้
6. เง่อื นไขเกย่ี วกับค่าขนสง่ สนิ คา้
7. การสง่ คนื สินคา้
8. การซื้อขายสนิ ค้าออนไลน์
9. ศัพทบ์ ญั ชี
ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวัง
1. บอกความหมายของสินคา้ ได้
2. บอกประเภทของสินค้าได้
3. บอกขนั้ ตอนในการจัดซอื้ สินคา้ ได้
4. บอกเงอื่ นไขเก่ยี วกบั การให้เครดิตและสว่ นลดเงนิ สดและบันทกึ รายการได้
5. คานวณวันครบกาหนดชาระหน้ีและบนั ทกึ รายการได้
6. บอกเงื่อนไขเก่ยี วกบั คา่ ขนส่งสนิ คา้ และบันทึกรายการได้
7. บอกสาเหตุการส่งคนื สนิ ค้าและบนั ทกึ รายการได้
8. บอกวธิ กี ารซ้อื ขายสนิ คา้ ออนไลน์ได้
9. บอกศพั ท์บญั ชีได้
10. มกี จิ นิสัย มรี ะเบยี บ ละเอียดรอบคอบ ซอ่ื สัตย์ มีวนิ ยั ตรงตอ่ เวลา
และมีเจตคตทิ ด่ี ตี ่อวิชาชพี บัญชี
ความหมายของสนิ คา้
สนิ คา้ (Goods) หรือผลิตภัณฑ์ (Product) หมายถึงกลุ่มของสิ่งที่มีตัวตน จับต้อง
ได้หรือสัมผัสได้เคลื่อนย้ายได้ สามารถนาเอาไปเป็นกรรมสิทธิ์ได้ ในอดีตจะใช้การ
แลกเปล่ียนกัน (Barter) แต่ปัจจุบันใช้เงินตราแลกเปลี่ยนกัน สินค้าหรือผลิตภัณฑ์
สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ โดยมีวัตถุประสงค์ในการหากาไร
หรืออาจกล่าวได้ว่าสินค้าคือส่ิงของที่กิจการจาหน่ายน่ันเอง เช่น เคร่ืองสาอาง เส้ือผ้า
รองเท้า รถยนต์ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ เป็นตน้
ประเภทของสินคา้
สนิ ค้าแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. สนิ คา้ ทีม่ ลี ักษณะไมถ่ าวร คอื ใชง้ านได้ไมน่ านหรือใชแ้ ล้วหมดไป ได้แก่ สนิ ค้า
อุปโภคบริโภค เช่น นา้ มันพชื
ผงซักฟอก สบู่ ยาสีฟัน เครื่องสาอาง เปน็ ต้น หรอื วสั ดุสานกั งาน เชน่ ดนิ สอ ปากกา
นา้ ยาลบคาผิด ลวดเย็บกระดาษ
กระดาษาถ่ายเอกสาร เป็นต้น
2. สินคา้ ทม่ี ีลกั ษณะถาวร คอื ใช้แล้วไมห่ มดไป แต่จะเสอ่ื มสภาพลงเรื่อยๆ และเมอื่ ถงึ
เวลาระยะเวลาหนงึ่ ปกติ เกินกวา่ 1 ปี ก็จะหมดอายกุ ารใชง้ าน ได้แก่ รถยนต์
รถจักรยานยนต์ เครอ่ื งปรับอากาศ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายรปู เครอ่ื งพิมพ์
เครอ่ื งถ่ายเอกสาร เฟอรน์ ิเจอร์ เปน็ ตน้
ขน้ั ตอนในการจัดซ้ือสินค้า
ในการดาเนินธุรกิจจาหน่ายสินค้า จาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีสินค้าไว้ในครอบครอง
อย่างเพียงพอไม่น้อยหรือมากเกินไปหากมีสินค้าน้อยเกินไปอาจทาให้สินค้าขาดมือ
ไม่มีหรือไม่พอจาหน่าย อาจมีผลกระทบต่อกิจการ เช่น อาจเสียส่วนแบ่งในตลาด
หรือขาดความน่าเช่ือถือ ในทางตรงกันข้าม หากมีสินค้าไว้มากเกินไป นอกจากเงินทุน
จะจมในสินค้าแล้ว สินค้าอาจล้าสมัย และอาจทาให้มีค่าใช้จ่ายสูงเกินความจาเป็น
ซ่ึงจะส่งผลต่อราคาสินค้าต่อหน่วยให้มีราคาสูงตามดั้งนั้นผู้บริหารจะต้องมีความรู้
และประสบการณ์ทางด้านบริหารจัดการที่จะทาให้มีสินค้าในปริมาณที่เหมาะสมเพียงพอ
ตอ่ การจาหน่าย การจัดซื้อและการบริหารจัดการเกี่ยวกับสินค้าคงคลังจึงเป็นงานท่ีสาคัญ
อยา่ งหนง่ึ ในการประกอบธรุ กิจ
ขัน้ ตอนในการซอ้ื คา้ (Procedure in purchasing) มีดงั น้ี
• หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบหรือดูแลลกู คา้ เช่น คลงั สนิ คา้ จดั ทาใบขอซื้อสง่ ให้
ขน้ั ท่ี 1 ฝ่ายจัดซื้อ
• ฝ่ายจดั ซ้ือพิจารณา และขออนุมตั ิผู้บริหาร ถ้าได้รับอนมุ ัติ จะจัดทาใบสั่งซื้อสินค้า ส่ง
ขนั้ ที่ 2 ให้ผ้ขู าย ถ้าไม่ไดร้ ับอนมุ ัติ สง่ เร่ืองคนื หน่วยงานทข่ี อซอ้ื ในข้ันตอนท่ี 1
ขนั้ ตอนในการซอ้ื คา้ (Procedure in purchasing) มดี ังน้ี
ข้นั ท่ี 3 • เมอ่ื ผขู้ ายได้รับใบสัง่ ซ้ือสินคา้ หากซ้อื เปน็ เงนิ สดจะจดั เตรยี มสนิ คา้ และสง่ ใหผ้ ้สู งั่ ซือ้ พร้อม
ใบกากบั ภาษี/ใบเสร็จรับเงนิ หากซอื้ เป็นเงนิ เช่ือ จะสง่ เร่ืองใหฝ้ ่ายเครดติ พจิ ารณา หาก
ได้รบั อนุมตั ิกจ็ ะจดั เตรียมสนิ ค้าและส่งใหผ้ สู้ ่งั ซอ้ื พรอ้ มใบกากับภาษี/ใบกากบั สินคา้ /ใบสง่
ของหากไม่ได้รับอนมุ ตั ิจะแจง้ ใหผ้ ้ซู ้ือทราบ
• เมือ่ ผูส้ ง่ั ซื้อได้รบั สนิ คา้ จาต้องมกี ารตรวจสอบ ปรมิ าณ คุณภาพ และ
คุณลกั ษณะของสนิ ค้าว่าถูกต้องตรงกับทตี่ ้องการหรอื ไม่ และจัดทาใบรับ
ขั้นท่ี 4 สินค้าเพือ่ บันทึกรายละเอยี ดของสินค้า
ใ น ปั จ จุ บั น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ เ ข้ า ม า มี บ ท บ า ท ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น ม า ก ขึ้ น
การติดต่อส่ือสารจึงทาได้ง่ายและมีหลายวิธี ดังนั้นการส่ังซ้ือสินค้าจึงเป็นไปอย่างสะดวก
รวดเร็ว สาหรับกิจการขนาดเล็กหรือกิจการเจ้าของคนเดียว การส่ังซื้อสินค้าจะไม่ยุ่งยาก
เพราะส่วนใหญ่เจ้าของกิจการจะเป็นผู้ดาเนินการเอง ไม่มีข้ันตอนยุ่งยาก เพราะสามารถ
ตัดสินใจไดด้ ว้ ยตนเอง ชอ่ งทางในการสัง่ ซอ้ื สินคา้ มหี ลายช่องทาง เช่น
1. ส่ังซ้อื โดยตรงกับผู้ประกอบการหรือผูข้ าย
2. สั่งซ้ือทางโทรศพั ท์
3. ส่งั ซอ้ื ทางโทรสาร
4. สง่ั ซื้อทางจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์
5. สัง่ ซอื้ ทาง Facebook/line
6. ส่ังซอื้ ทางเว็บไซต์
เงอ่ื นไขเก่ียวกบั การใหเ้ ครดิตและสว่ นลดเงนิ สด
เง่ือนไขเกี่ยวกับการให้เครดิตและส่วนลดเงินสด (Credit terms and cash
discounts) คือข้อตกลงระหว่างผู้ซ้ือสินค้าและผู้ขายสินค้าเก่ียวกับเง่ือนไขการชาระ
เงินหรือระยะเวลาในการให้เครดิตรวมท้ังส่วนลดเงินสดเพ่ือให้ผู้ซ้ือสินค้าและผู้ขาย
สินค้าไดร้ ับความพงึ พอใจและประโยชน์สงู สุด
1. เงอื่ นไขการชาระเงนิ คือ เง่อื นไขทีก่ าหนดระยะเวลาในการชาระหน้ี พรอ้ มทั้งมี
ส่วนลดและไม่มสี ่วนลด เชน่
ลาดบั เงอ่ื นไข ความหมาย หมายเหตุ
1 N/30 ให้ผู้ซอื้ สินคา้ ชาระหน้ีใหผ้ ู้ขายสินค้าภายใน 30 วนั นับจากวนั ที่ปรากฏใน
ใบกากับสินค้า/ใบกากับภาษี
2 N/60 ใหผ้ ซู้ อื้ สินคา้ ชาระหนใี้ หผ้ ้ขู ายสนิ ค้าภายใน 60 วนั นบั จากวนั ท่ปี รากฏใน
ใบกากบั สินค้า/ใบกากับภาษี
3 2/10, N/30 ใหผ้ ู้ซื้อสินค้าชาระหนใ้ี หผ้ ขู้ ายสินคา้ ภายใน 30 วนั นับจากวันท่ปี รากฏใน
ใบกากับสนิ ค้า/ใบกากบั ภาษแี ตห่ ากชาระหน้ีภายใน 10 วันนับจากวนั เดยี วกัน
จะใหส้ ว่ นลด 2%
4 N/EOM ให้ผซู้ ้ือสินคา้ ชาระหนใี้ หผ้ ขู้ ายสนิ คา้ ภายในสนิ้ เดือนของเดือนท่ีซอื้ สินค้า
5 2/10 EOM ใหผ้ ซู้ ื้อสนิ ค้าชาระหนใี้ หผ้ ขู้ ายสนิ ค้าภายในสนิ้ เดอื นของเดือนถัดไป แต่หากชาระ
หนภ้ี ายในวนั ที่ 10 ของเดือนถดั ไป จะให้สว่ นลด 2%
2. เงื่อนไขเกยี่ วกบั ส่วนลด (Discount) คอื เง่ือนไขทีจ่ ูงใจให้ผู้ซอื้ สินคา้ ซื้อสินคา้ ในปริมาณมาก
และชาระหนี้โดยเรว็ หรือภายในระยะเวลาทีจ่ ะได้รบั ส่วนลด ประกอบดว้ ย
2.1 ส่วนลดการคา้ (Trade discount) คอื ส่วนลดทีจ่ ูงใจใหผ้ ซู้ ือ้ สินค้าซ้อื สินค้าในปรมิ าณมาก ๆ
โดยผ้ขู ายสนิ ค้าจะกาหนดเกณฑ์การให้ส่วนลดไวล้ ว่ งหน้าเป็นจานวนเงินหรอื อตั รารอ้ ยละจากราคา
สนิ ค้าท่ตี ้ังไว้หรือเกดิ จากการต่อรองกนั ระหวา่ งผู้ซ้อื สนิ ค้าและผูข้ ายสนิ ค้า เชน่
- ซื้อไมเ่ กนิ 50 ชนิ้ คดิ ช้นิ ละ 18 บาท
- ซ้อื 51-100 ชิน้ คิดชิน้ ละ 16.50 บาท
- ซ้ือ 101-200 ช้นิ คดิ ชน้ิ ละ 14.00 บาท
ส่วนลดการค้าเป็นรายการทไ่ี ม่ต้องบันทกึ บัญชีทั้งในสมดุ บญั ชขี องผซู้ ื้อสนิ คา้ และผขู้ ายสนิ คา้ ทง้ั
2 ฝา่ ยจะบนั ทกึ ด้วยจานวนสทุ ธิ
ด้านผซู้ ื้อส้นคา้ XX ด้านผขู้ ายสินคา้ XX
XX
เดบิต ซ้ือสนิ ค้า เดบติ เงนิ สด/ลูกหนี้การค้า XX
เครดิต เงนิ สด/เจ้าหน้ีการค้า เครดติ ขายสินค้า
ตวั อยา่ งท่ี 1 รา้ นคา้ แหง่ หน่งึ กาหนดราคาสนิ คา้ ไว้ 8,000 บาท ให้สว่ นลด 10%
ใหท้ า 1. คานวณสว่ นลดการคา้ และราคาทีซ่ ้ือขายจรงิ
2. บนั ทึกรายการในสมดุ รายวันทวั่ ไป
1. คานวณส่วนลดการคา้ และราคาทีซ่ ้อื ขายจรงิ
ราคาสินค้า 8,000 บาท
หัก ส่วนลดการค้า (8,000 x 10 %) 800 บาท
ราคาทซี่ อื้ ขายจรงิ 7,200 บาท
2. บันทึกรายการในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป
ดา้ นผซู้ อื้ สนิ คา้ ด้านผ้ขู ายสนิ คา้
เดบติ ซือ้ สินคา้ 7,200 เดบิต เงินสด/ลูกหนี้การคา้ 7,200
เครดิต เงนิ สด/เจา้ หนก้ี ารค้า 7,200 เครดิต ขายสินค้า 7,200
ตวั อยา่ งที่ 2 รา้ นคา้ แหง่ หนึ่งกาหนดราคาสินคา้ ไว้ 8,000 บาท ให้สว่ นลด 10%
และลดใหอ้ กี 2% เนื่องจากผู้ซ้อื สินค้าจ่ายเป็นเงนิ สด
ให้ทา 1. คานวณส่วนลดการคา้ และราคาท่ซี ้ือขายจริง
2. บันทึกรายการในสมดุ รายวันทว่ั ไป
1. คานวณส่วนลดการคา้ และราคาที่ซือ้ ขายจริง
ราคาสินคา้ 8,000 บาท
หัก ส่วนลดการคา้ (8,000 x 10 %) 800 บาท
คงเหลือ 7,200 บาท
หัก สว่ นลดการค้า (7,200 x 2 %) 144 บาท
ราคาทีซ่ อ้ื ขายจริง 7,056 บาท
2. บนั ทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
ด้านผซู้ ือ้ สนิ ค้า ดา้ นผูข้ ายสินคา้
เดบิต ซอื้ สนิ คา้ 7,056 เดบติ เงนิ สด 7,056
เครดติ เงนิ สด 7,056 เครดติ ขายสินคา้ 7,056
2.2 ส่วนลดเงนิ สด (Cash discount) คือส่วนลดที่จูงใจให้ผซู้ ื้อสนิ คา้ ชาระหนีใ้ หผ้ ูข้ าย
สนิ คา้ โดยเร็วหรอื ก่อนวันครบกาหนด ตามท่ีตกลงกัน ส่วนลดเงินสดเป็นรายการท่ีต้อง
บันทึกบัญชีท้งั ในสมุดบัญชีของผู้ซื้อสินค้าและผู้ขายสินค้า ทางด้านผู้ซ้ือสินค้า เรียกว่า
ส่วนลดรับ (Purchase discount) ทางด้านผู้ขายสินค้า เรียกว่า ส่วนลดจ่าย (Sales
discount)
วธิ ีบันทึกบัญชเี กยี่ วกบั สว่ นลดเงินสด มี 2 วธิ ี คือ
1. วิธีบันทึกจานวนเต็ม (Gross Method) วิธีน้ีจะบันทึกรายการซ้ือสินค้าโดยใช้จานวน
เงินเต็มตามใบกากับสินค้าหากกิจการชาระหนี้ค่าสินค้าภายในกาหนดเวลาที่จะได้รับ
ส่วนลด จะบันทึกส่วนลดไว้ในบัญชีส่วนลดรับ หากชาระหนี้เกินกว่ากาหนดเวลาท่ีจะ
ได้รับส่วนลด ก็จะบันทึกรายการชาระหน้ีตามปกติ ถึงแม้ว่าผู้ซ้ือสินค้าจะมีความ
ประสงคจ์ ะรับส่วนลด แต่หากมคี วามจาเป็นไม่สามารถชาระหน้ีภายในกาหนดเวลาท่ีจะ
ไดร้ ับส่วนลดได้ ก็ถือเปน็ เรอื่ งปกติของการทาการคา้ ดังน้นั วธิ นี ีจ้ งึ เปน็ วิธที ่ีนยิ มใชท้ ั่วไป
ว.ด.ป ด้านผูซ้ ้ือสินค้า ดา้ นผ้ขู ายสินค้า
เดบติ ซอ้ื สินค้า XX เดบิต ลูกหน้ีการคา้ XX
วนั ทซ่ี ้อื /
ขายสนิ ค้า เครดติ เจ้าหน้ีการค้า XX เครดิต ขายสินคา้ XX
เดบติ เจา้ หนี้การคา้ XX เดบิต เงนิ สด XX
วันทชี่ าระหน้ี/
รบั ชาระหนภี้ ายใน เครดติ เงนิ สด XX ส่วนลดจา่ ย XX
กาหนดเวลาไดร้ ับ สว่ นลดรับ XX เครดิต ลูกหนีก้ ารค้า XX
สว่ นลดเงนิ สด
เดบติ เจา้ หนี้การคา้ XX เดบิต เงินสด XX
วนั ทชี่ าระหนี้/ เครดิต เงินสด XX เครดติ ลูกหนี้การคา้ XX
รบั ชาระหน้เี กิน
กาหนดเวลาได้รบั
ส่วนลดเงินสด
2. วิธีบันทึกจานวนสุทธิ(Net Method) วิธีน้ีจะบันทึกรายการซ้ือสินค้าโดยใช้จานวนเงิน
ตามใบกากับสินค้า หักด้วยส่วนลดเงินสดท่ีจะได้รับเมื่อชาระหน้ีภายในกาหนดเวลา
วิธีน้ีต่างกับวิธีแรกคือ ผู้ซื้อสินค้ามีนโยบายที่จะชาระค่าสินค้าภายในกาหนดเวลาท่ีจะ
ได้รับส่วนลด และไม่บันทึกบัญชีส่วนลดรับ ดังนั้นหากผู้ซ้ือสินค้าชาระค่าสินค้าภายใน
กาหนดเวลาท่ีจะได้รับส่วนลด ก็ไม่ต้องบันทึกบัญชีใดเพ่ิมเติม แต่ถ้าผู้ซ้ือไม่สามารถชาระ
หน้ีภายในกาหนด จะต้องจา่ ยชาระค่าสินค้าในราคาเต็ม ส่วนลดเงินสดท่ไี ม่ได้รับจะบันทึก
ไว้ใน “บัญชีส่วนลดรับที่ถูกริบ”ทางด้านผู้ขายสินค้า โดยทั่วไปก็จะบันทึกรายการ
ตามวิธีบันทึกจานวนเต็ม เพราะผู้ขายสินค้าไม่สามารถคาดเดาได้ว่าผู้ซื้อสินค้ารายใด
มีนโยบายในการชาระหน้อี ย่างไร
ในกรณซี ้ือขายสนิ คา้ เป็นเงินเช่ือ ผซู้ อ้ื สินคา้ และผู้ขายสินคา้ จะต้องตกลงกันในเรื่อง
ของระยะเวลา การให้เครดติ โดยมีเงือ่ นไขการชาระเงินดังทไ่ี ด้กลา่ วมาแล้วหรืออาจเป็น
เงือ่ นไขอน่ื เชน่ 1 เดอื น 2 เดอื น หรือส้นิ เดอื น เป็นต้น
การคานวณหรือการนับวันครบกาหนดชาระหน้ีเป็นส่ิงสาคัญท่ีทั้งสองฝ่ายจะต้อง
ปฏิบัติให้ ตรงกัน เพื่อให้ท้ังสองฝ่ายได้รับประโยชน์สูงสุด โดยมีวิธีการคานวณวันครบ
กาหนด 2 กรณี ดังน้ี
1. กรณนี บั ตัง้ แต่วันทีม่ ีการตกลงซอื้ ขายสนิ คา้ จนครบจานวนวันทม่ี ีการตกลงกนั
2. กรณนี บั วนั ถดั จากวนั ทีม่ ีการตกลงซอื้ ขายสินคา้ จนครบจานวนวันทีม่ กี ารตกลงกนั
ตวั อย่างท่ี 3 เม่อื วนั ที่ 12 มกราคม 25x1 รา้ นคา้ แห่งหนง่ึ ขายสนิ ค้าให้ลกู คา้ รายหนึง่
ราคา 6,000 บาท เงอื่ นไข 2/10, n/30
ใหท้ า 1. คานวณวนั ครบกาหนด
2. คานวณวนั สดุ ทา้ ยที่จะได้รับส่วนลดเงินสด
กรณีนับตัง้ แตว่ นั ที่มีการตกลงซ้ือขายสินค้า จนครบจานวนวัน
ทีม่ ีการตกลงกัน
1. คานวณวนั ครบกาหนด เดอื น ม.ค. (12 ถงึ 31) = 20 วัน
เดือน ก.พ. = 10 วนั วันครบกาหนด 10 ก.พ. 30 วนั
2. คานวณวันสดุ ท้ายทจ่ี ะได้รับสว่ นลดเงนิ สด เดอื น ม.ค. (นับตัง้ แต่ วันที่12 ไป 10 วนั ) = 21 วนั
สดุ ท้ายทจ่ี ะไดร้ บั สว่ นลดเงนิ สด (21 ก.พ.)
มกราคม 25X1 กุมภาพนั ธ์ 25X1
อ จ อ พ พฤ ศ ส อ จ อ พ พฤ ศ ส
1234 1
5 6 7 8 9 10 11 2345678
12 13 14 15 16 17 18 9 10 11 12 13 14 15
19 20 21 22 23 24 25 16 17 18 19 20 21 22
26 27 28 29 30 31 23 24 25 26 27 28
กรณนี ับวันถัดจากวันทมี่ ีการตกลงซอื้ ขายสนิ คา้ จนครบจานวนวนั ทมี่ ีการตกลงกนั 1. คานวณวนั
ครบกาหนด เดือน ม.ค. (13 ถงึ 31) = 19 วัน เดือน ก.พ. = 11 วนั วนั ครบกาหนด 11 ก.พ. 30 วนั
2. คานวณวันสุดท้ายทจ่ี ะไดร้ ับส่วนลดเงินสด เดอื น ม.ค. (นบั ต้ังแต่ วนั ที่ 13 ไป 10 วนั ) = 22 วนั
สุดท้ายท่ีจะไดร้ ับส่วนลดเงนิ สด (22 ก.พ.)
มกราคม 25X1 กมุ ภาพันธ์ 25X1
อ จ อ พ พฤ ศ ส อ จ อ พ พฤ ศ ส
1234 1
5 6 7 8 9 10 11 2345678
12 13 14 15 16 17 18 9 10 11 12 13 14 15
19 20 21 22 23 24 25 16 17 18 19 20 21 22
26 27 28 29 30 31 23 24 25 26 27 28
ในทน่ี ี้จะใช้วิธนี ับวนั ถัดจากวนั ทมี่ กี ารตกลงซอ้ื ขายสนิ ค้า จนครบจานวนวนั ทมี่ กี ารตกลงกัน
ตวั อย่างที่ 4 เม่อื วนั ที่ 2 สงิ หาคม 25X1 รา้ นค้าแหง่ หน่งึ ขายสนิ ค้าให้ลูกค้ารายหนึง่ ราคา
10,000 บาท ให้สว่ นลด 5% เง่ือนไขการชาระเงนิ N/30 ต่อมาเมอื่ วนั ที่ 31
สงิ หาคม 25X1 ผ้ซู ้ือสนิ คา้ นาเงนิ มาชาระให้
ให้ทา บนั ทึกรายการในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป
ว.ด.ป. ดา้ นผู้ซอ้ื สนิ คา้ ดา้ นผู้ขายสนิ คา้
25X1 ส.ค. 2 เดบิต ซื้อสนิ ค้า 9,500 เดบติ ลกู หน้กี ารค้า 9,500
เครดติ เจา้ หนกี้ ารค้า 9,500 เครดติ ขายสนิ ค้า 9,500
31 เดบิต เจ้าหนกี้ ารคา้ 9,500 เดบิต เงนิ สด 9,500
เครดิต เงินสด 9,500 เครดิต ลกู หน้ีการคา้ 9,500
ตัวอย่างที่ 5 เมื่อวนั ท่ี 6 มีนาคม 25X1 ร้านคา้ แหง่ หน่งึ ขายสนิ คา้ ให้ลกู คา้ รายหนง่ึ ราคา
6,000 บาท ให้สว่ นลด 5% เงื่อนไขการชาระเงนิ 2/10, N/30
ตอ่ มาเมือ่ วันท่ี 16 มนี าคม 25X1 ผซู้ อ้ื สนิ คา้ นาเงินมาชาระให้
ให้ทา บันทกึ รายการในสมุดรายวนั ทั่วไป
ว.ด.ป. ดา้ นผูซ้ ้ือสนิ คา้ ดา้ นผู้ขายสินค้า
25X1 มี.ค. 6 เดบติ ซือ้ สนิ ค้า 5,700 เดบติ ลูกหนกี้ ารคา้ 5,700
เครดิต เจ้าหนี้การคา้ 5,700 เครดิต ขายสินค้า 5,700
16 เดบติ เจา้ หนี้การค้า 5,700 เดบิต เงนิ สด 5,586
เครดติ เงนิ สด 5,586 ส่วนลดจ่าย 114
สว่ นลดรับ 114
เครดติ ลูกหนก้ี ารค้า 5,700
เงอื่ นไขเกี่ยวกับคา่ ขนสง่ สินค้า
1. เงอ่ื นไขเก่ียวกบั ค่าขนส่งสนิ คา้ สาหรบั การซอ้ื ขายสนิ ค้าในประเทศ มี 2 เง่ือนไข คือ
1.1 FOB shipping point (Free on board shipping point) คือเง่ือนไขท่ีกาหนดให้ ส่งมอบสินค้า
ต้นทาง เง่ือนไขนี้ผู้ซ้ือสินค้าจะเป็นผู้รับผิดชอบค่าขนส่งสินค้าจากต้นทาง (หมายถึงท่าเรือ/
สถานขี นสง่ /สถานีรถไฟ/สนามบนิ ) ถงึ ร้านคา้ ของผ้ซู ือ้ หรือสถานท่ที ่ผี ู้ซ้ือสินค้ากาหนด ค่าใช้จ่ายส่วนน้ี
ถือเป็น คา่ ขนส่ง (Delivery Expense) หรือ คา่ ขนส่งเขา้ (Freight-In/Transportation-In)
2. เง่อื นไขเก่ียวกบั ค่าขนส่งสินคา้ สาหรบั การซ้ือขายสนิ ค้าระหวา่ งประเทศ มี 3 เงื่อนไขคือ
2.1 FOB (Free on board) คอื เงอ่ื นไขทีก่ าหนดใหส้ ง่ มอบสินค้าต้นทาง เงอ่ื นไขน้ีผู้ซื้อ สินค้าจะเป็น
ผรู้ ับผดิ ชอบคา่ ระวางหรอื ค่าขนสง่ สินคา้ จากตน้ ทาง
2.2 C&F (Cost and Freight) คอื เงอ่ื นไขทก่ี าหนดให้ส่งมอบสินค้าปลายทาง เงื่อนไขนี้ ผู้ขายสินค้า
จะเป็นผรู้ บั ผิดชอบคา่ ระวางหรือค่าขนสง่ สินค้าจากต้นทาง
2.3 CIF (Cost Insurance and Freight) คือเง่ือนไขที่กาหนดให้ส่งมอบสินค้าปลายทาง เง่ือนไขน้ี
ผู้ขายสินค้าจะเป็นผู้รับผิดชอบค่าระวางหรือค่าขนส่งสินค้าจากต้นทาง เงื่อนไขลักษณะน้ีจะ
ประกอบดว้ ยคา่ สินค้า คา่ เบยี้ ประกนั ภัย และค่าระวางหรือคา่ ขนสง่ สินคา้ ไวด้ ้วยกนั
การบนั ทกึ รายการเกย่ี วกบั ค่าขนส่ง มดี งั นี้
เง่ือนไข FOB shipping point : กรณีผ้ซู ้อื สินค้าจา่ ยคา่ ขนส่ง
ผ้ซู ้ือสินค้า ผขู้ ายสนิ คา้
เดบิต ค่าขนสง่ เข้า XX ไม่ต้องบนั ทึกรายการ
เครดติ เงนิ สด XX
เงือ่ นไข FOB shipping point : กรณผี ขู้ ายสนิ ค้าจ่ายคา่ ขนส่งแทน-ซ้ือขายสินคา้ เปน็ เงินสด/
เงินเชอื่
ผ้ซู ื้อสินคา้ ผูข้ ายสนิ คา้
เดบิต คา่ ขนสง่ เข้า XX เดบิต ลกู หนกี้ ารค้า-ผ้ซู ือ้ สนิ คา้ XX
เครดติ เจา้ หนกี้ ารค้า-ผูข้ ายสินคา้ XX เครดิต เงนิ สด XX
การบันทกึ รายการเกยี่ วกบั ค่าขนสง่ มดี งั นี้
เงื่อนไข FOB destination : กรณผี ขู้ ายสินค้าจา่ ยค่าขนสง่
ผูซ้ ื้อสนิ คา้ ผขู้ ายสนิ ค้า
ไมต่ อ้ งบนั ทึกรายการ เดบิต คา่ ขนส่งออก XX
เครดิต เงินสด XX
เงื่อนไข FOB destination : กรณผี ้ซู ้ือสนิ คา้ จ่ายค่าขนส่งแทน(ซ้อื ขายสินคา้ เปน็ เงนิ สด)
ผู้ซ้ือสินคา้ ผูข้ ายสินคา้
เดบิต ลกู หน้กี ารค้า-ผขู้ ายสินคา้ XX เดบติ ค่าขนส่งออก XX
เครดิต เงนิ สด XX เครดติ เจ้าหน้ีการคา้ -ผูซ้ อ้ื สนิ คา้ XX
เงื่อนไข FOB destination : กรณผี ้ซู ื้อสนิ คา้ จา่ ยคา่ ขนสง่ แทน(ซอ้ื ขายสนิ คา้ เปน็ เงินเชื่อ)
ผู้ซอ้ื สนิ คา้ ผ้ขู ายสินคา้
เดบิต เจ้าหน้กี ารคา้ -ผ้ขู ายสนิ ค้า XX เดบิต คา่ ขนส่งออก XX
เครดติ เงินสด XX เครดิต ลกู หนกี้ ารคา้ -ผซู้ ้อื สินคา้ XX
ตวั อยา่ งที่ 6 ต่อไปนี้เปน็ รายการซ้ือขายสนิ ค้าของร้านโนบติ ะ ระหวา่ งเดือน เมษายน 25X1
25X1
เม.ย. 1 ซ้ือสินค้าจากรา้ นโอชินราคา 9,000 บาทเปน็ เงนิ เชอ่ื ได้สว่ นลดการค้า 10 %
เง่ือนไข N/30 FOB shipping point
5 ขายสินคา้ ให้รา้ นราเมนราคา 14,000 บาทเปน็ เงินเชอ่ื ให้ส่วนลดการคา้ 5 %
เงื่อนไข 2/10,N/30 FOB destination
10 จา่ ยคา่ ขนส่งสนิ ค้าทข่ี ายเมอื่ วันที่ 5 เมษายน 25X1 จานวน 600 บาท
15 รับชาระหน้จี ากรา้ นราเมนทั้งหมด
20 รบั แจ้งจากร้านโอชนิ วา่ ได้จา่ ยคา่ ขนสง่ สนิ ค้าจานวน 720 บาท
29 ชาระหน้ีใหร้ า้ นโอชนิ ทง้ั หมด
ให้ทา บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป
พ.ศ. 25X1 สมดุ รายวนั ทวั่ ไป เลขที่ เดบติ หน้า 1
เดือน วนั ที่ บัญชี บาท สต. เครดิต
เม.ย. 1 รายการ บาท สต.
8,100 - 8,100 -
5 ซอื้ สนิ คา้ 9,000-(9,000 X 10%)
เจา้ หน้กี ารคา้ -ร้านโอชิน 13,300 - 13,300 -
10 ซ้ือสนิ คา้ เป็นเงินเชอื่
ลูกหนี้การค้า-รา้ นราเมน 600 - 600 -
ขายสินค้า14,000-(14,000X5%)
ขายสินค้าเปน็ เงินเชอื่
ค่าขนสง่ ออก
เงนิ สด
จ่ายคา่ ขนสง่ สินค้า
พ.ศ. 25X1 สมุดรายวนั ทวั่ ไป เลขที่ เดบติ หน้า 2
เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท สต. เครดิต
เม.ย. 15 รายการ บาท สต.
13,034 -
20 เงนิ สด (13,300 –266) 266 - 13,300 -
สว่ นลดจา่ ย (13,300x 2%)
29 ลูกหนกี้ ารค้า-ร้านราเมน 720 - 720 -
รบั ชาระหนจ้ี ากรา้ นราเมนทง้ั หมด
คา่ ขนส่งเข้า 8,820 - 8,820 -
เจ้าหน้ีการค้า-รา้ นโอชิน
รา้ นโอชินจ่ายค่าขนส่งแทน
เจา้ หนก้ี ารค้า-ร้านโอชนิ (8,100+720)
เงนิ สด
จา่ ยชาระหนใ้ี ห้รา้ นโอชินทัง้ หมด
การส่งคนื สินคา้
การสง่ คืนสนิ คา้ ถอื เป็นเรอ่ื งปกตขิ องการซือ้ ขายสินค้า สาเหตขุ องการส่งคืนสินค้ามีหลายสาเหตุ
เช่น รุ่น/แบบ/สี/ขนาดของสินค้าไม่ตรงตามท่ีผู้ซ้ือสินค้าต้องการ สินค้าล้าสมัย สินค้าชารุดเสียหาย
วิธีปฏิบัติ ในบางกรณีผู้ขายสินค้าจะส่งสินค้าใหม่มาเปลี่ยนให้แต่บางกรณีผู้ขายสินค้าไม่ สามารถ
ส่งสินคา้ มาเปลย่ี นให้ เนอ่ื งจากไม่มีสินค้า หรืออาจเป็นเหตุผลอ่ืน หรืออาจไม่รับคืนสินค้าแต่ลดราคา
สินค้าให้ การบันทึกบัญชีทางด้านผู้ซื้อสินค้าจะบันทึกไว้ในบัญชีส่งคืนสินค้าและจานวนที่ได้ลด
(Purchases returns and allowances) เรียกสั้นๆ ว่าส่งคืนสินค้า ส่วนการบันทึกบัญชี
ทางด้านผู้ขายสินค้าจะบันทึกไว้ในบัญชีรับคืนสินค้าและจานวนท่ีลดให้ (Sales returns and
allowances) เรยี กส้ันๆ วา่ รับคนื สินคา้
ทางด้ านผู้ซื้อสินค้าจะบันทึกร ายการเมื่อได้รับใบลดหน้ีหรือใบหักหน้ี ( Credit
memorandum form) จากผู้ขายสนิ คา้ หรือบนั ทึกรายการทันทีกกรณีท่ีผู้ซ้ือสินค้าเป็นผู้จัดทาใบ
ขอลดหนี้ (Debit memorandum form) แลว้ สง่ ให้ผขู้ ายสนิ ค้าเพ่ือขอลดหน้ี ทางด้านผู้ขายสินค้า
จะบันทกึ รายการเมือ่ ทาใบลดหน้หี รือใบหกั หน้ีใหผ้ ซู้ ือ้ สนิ คา้
ทางด้านผู้ซอ้ื ทางด้านผ้ขู าย
กรณีซอ้ื ขายสนิ คา้ เงนิ สด เดบติ รับคืนสินคา้ XX
เครดิต เงินสด XX
เดบิต เงินสด XX
เครดิต ส่งคืนสินคา้ XX เดบติ รับคนื สินค้า XX
เครดติ ลกู หน้ีการคา้ -ผ้ซู อื้ สนิ คา้ XX
กรณีซอื้ ขายสนิ ค้าเงินเชอ่ื
เดบติ เจ้าหนกี้ ารคา้ -ผ้ขู ายสนิ คา้ XX
เครดติ ส่งคืนสินค้า XX
ตัวอยา่ งท่ี 7 ตอ่ ไปนเี้ ป็นรายการซือ้ ขายสินคา้ ของรา้ นอัศวินมา้ ขาว ระหวา่ งเดอื น มิถนุ ายน 25X1
25X1
มิ.ย. 2 ซื้อสนิ คา้ จากหา้ งห้นุ สว่ นจากัด นกนอ้ ย ราคา 16,000 บาทเป็นเงนิ เชือ่ ไดส้ ่วนลดการคา้
3% เงอื่ นไข N/45 FOB destination
6 สง่ สินค้าคนื หา้ งหุ้นสว่ น จากัด นกนอ้ ย ราคาสนิ คา้ 2,000 บาท เน่อื งจากรุน่ ไม่ตรงตามทีส่ ่งั ซือ้
7 ขายสนิ ค้าใหบ้ ริษทั ลักก้ี จากัด ราคา 21,000 บาท เป็นเงินเช่อื ใหส้ ว่ นลดการค้า 10%
เง่ือนไข 2/10,N/60 FOB destination
10 จ่ายค่าขนสง่ สินค้าทซ่ี ้ือเมอ่ื วันท่ี 2 มถิ นุ ายน 25X1 จานวน 800 บาท
12 รบั คนื สนิ คา้ จากบริษทั ลกั กี้ จากัด ราคาสินค้า 3,000 บาท
17 รบั ชาระหนจ้ี ากบรษิ ทั ลกั ก้ี จากัด ทั้งหมด
22 จ่ายคา่ ขนสง่ สินค้าทขี่ ายเม่ือวนั ที่ 7 มิถนุ ายน 25X1 จานวน 350 บาท
24 ซอ้ื สนิ ค้าเป็นเงินสดจากรา้ นตะวนั ฉาย ราคา 5,000 บาท ไดส้ ว่ นลดการคา้ 3%
26 ส่งสินคา้ คืนรา้ นตะวันฉาย ราคา 1,000 บาทเนอื่ งจากสินค้ามีรอยบบุ ทางรา้ นไม่รับคืน
แตล่ ดราคาสนิ ค้าให้ 300 บาท โดยจา่ ยเงินสดให้ทนั ที
28 ขายสินคา้ เปน็ เงนิ สดใหน้ ายสาราญ ราคา 1,200 บาท
30 นายสาราญนาสินคา้ มาคืน ราคา 200 บาท เนือ่ งจากชารุด รา้ นจ่ายเงนิ สดให้ทันที
ให้ทา บนั ทกึ รายการในสมุดรายวันท่ัวไป
สมดุ รายวันท่ัวไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 25X1 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต.
เดอื น วันที่ บญั ชี บาท สต. 15,520 -
15,520 -
มิ.ย. 2 ซือ้ สินค้า 16,000-(16,000 X 3%) 1,940 -
1,940 -
เจ้าหน้ีการค้า-หจก.นกนอ้ ย 18,900 -
18,900 -
ซื้อสนิ คา้ เป็นเงินเชือ่
6 เจา้ หน้กี ารค้า-หจก.นกน้อย
สง่ คนื สนิ คา้ 2,000-(2,000X3%)
สง่ คนื สนิ ค้า
7 ลูกหนีก้ ารค้า บจก.ลักก้ี
ขายสนิ ค้า 21,000-(21,000X10%
ขายสนิ ค้าเปน็ เงนิ เช่ือ
สมดุ รายวนั ทวั่ ไป หนา้ 2
เครดติ
พ.ศ. 25X1 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท สต.
เดอื น วันท่ี บัญชี บาท สต.
800 -
มิ.ย. 10 เจ้าหน้ีการคา้ -หจก.นกน้อย 800 -
15,520 -
เงนิ สด 2,700 -
16,200 -
จา่ ยคา่ ขนสง่ สนิ ค้าแทน 15,876 -
324 -
12 รบั คืนสนิ ค้า 3,000-(3000X10)
ลกู หน้กี ารคา้ บจก.ลักกี้
รบั คืนสินค้า
17 เงนิ สด (16,200 – 324)
สว่ นลดจ่าย (16,200x 2%)
*ลกู หนีก้ ารคา้ -บจก.ลักก้ี
รบั ชาระหน้ีจากรา้ นบจก.ลักกที้ ัง้ หมด
สมดุ รายวนั ทัว่ ไป หนา้ 3
เครดิต
พ.ศ. 25X1 รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต.
เดือน วันที่ บญั ชี บาท สต.
350 -
มิ.ย. 22 คา่ ขนสง่ ออก 350 -
4,850 -
เงนิ สด 4,850 -
300 -
จ่ายคา่ ขนสง่ สนิ ค้า 300 -
24 ซือ้ สินค้า 5,000-(5,000X3%)
เงินสด
ซอ้ื สนิ ค้าเป็นเงินสด
26 เงินสด
สง่ คนื สินค้า
สง่ คืนสนิ คา้ ได้รบั เงนิ สดทันที
สมดุ รายวันทวั่ ไป หน้า 4
เครดติ
พ.ศ. 25X1 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต.
เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต.
1,200 -
ม.ิ ย. 28 เงินสด 1,200 -
200 -
ขายสนิ ค้า 200 -
ขายสนิ คา้ เป็นเงนิ สด
30 รบั คืนสนิ ค้า
เงินสด
รับคืนสนิ คา้ จ่ายเงนิ สดให้ทันที
*18,900-2,700 = 16,200
การซอ้ื ขายสนิ คา้ ออนไลน์
ดังทไ่ี ด้กลา่ วมาแล้วว่า ในปจั จุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันมากขึ้น
การเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศทาได้ง่ายขึ้น มี Application ให้เลือกใช้มากมาย และมีการพัฒนา
ตลอดเวลา ผู้คนจานวนมาก ไม่ว่าจะอยู่ในวัยทางาน วัยเรียน วัยเกษียณ หรือบุคคลท่ัวไป จึงนิยม
ตดิ ต่อส่ือสารผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะทางเคร่ืองคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผู้ซ้ือและผู้ขายสินค้าจานวนมากจึงนิยมซ้ือขายสินค้าผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือ ออนไลน์
ซ่ึงมีข้ันตอนไมย่ งุ่ ยาก ไดส้ ินคา้ ราคาถูกกวา่ ซอ้ื ทรี่ า้ นค้าทั่วไป ดงั ตัวอย่าง