หลกั สูตรการทอผ้าห่มจากด้าย
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอหนองพอก
สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดร้อยเอด็
สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สานกั งานปลัดกระทรวง
กระทรวงศกึ ษาธิการ
คานา
เพ่ือตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ม่งุ เน้นการพฒั นาเพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพและ
ขดี ความสามารถของประชาชนกลมุ่ เป้าหมาย ให้สามารถประกอบอาชพี สรา้ งรายไดท้ ่ีมนั่ คง เป็นบุคคลที่
มีวนิ ยั มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม เน้นการจัดการศึกษาที่ยึด
พ้ืนที่เป็นฐาน วิเคราะห์ข้อมูลวิถีการดาเนินชีวิต ความต้องการ นามาสู่การกาหนดหลักสูตรอาชีพ เพื่อ
จดั การเรียนการสอน
กศน.อาเภอหนองพอก จึงไดจ้ ดั การเรียนรู้ ทเ่ี นน้ การปฏิบัติจรงิ มแี ลกเปล่ียนเรียนรู้จาก
ผมู้ ีประสบการณ์ในอาชพี โดย ผสู้ อนเปน็ วิทยากรท่มี ีความรู้ ความสามารถ และเปน็ ผู้ประกอบการในอาชพี
ให้ความสาคญั ต่อการประเมนิ ผลการจบหลกั สตู รท่เี น้นทกั ษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ชิ้นงาน ที่
ได้มาตรฐานออกสูต่ ลาดได้ การพฒั นาหลักสูตรอาชพี และใหผ้ ูเ้ รยี นทเี่ รยี นจบจากหลักสูตรอาชีพ มีความ
มน่ั ใจวา่ จะสามารถประกอบอาชีพสร้างรายได้ ตามความตอ้ งการของชุมชน บริบทของพ้ืนที่ จึงขออนุมัติ
ใช้หลักสูตรอาชพี วิชาการทอผา้ ในการดาเนินงานได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก บุคลากร วิทยากร
ภมู ิปญั ญา และผ้ทู เี่ ก่ียวขอ้ ง ทาให้การจัดทาหลกั สตู รในครงั้ น้ีเสร็จสิ้นไปดว้ ยดี ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี
กศน.อาเภอหนองพอก
สารบญั หนา้
เรอ่ื ง ๑
๒
ความเปน็ มา ๒
หลกั การของหลกั สูตร ๓
จุดมุ่งหมาย ๓
สาระสาคญั ๔
วตั ถปุ ระสงค์ ๗
โครงสร้างหลกั สตู ร ๗
แหลง่ เรยี นรู้/สื่อ/วสั ด/ุ อปุ กรณป์ ระกอบการเรยี นรู้ ๘
การวัดและประเมินผล ๑๒
แผนการจดั กจิ กรรม
ภาคผนวก
ใบความรู้
๑
หลักสูตรการทอผ้าหม่ จากดา้ ย
กลุม่ อาชพี หตั ถกรรม ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์
ความเป็นมา
การจัดการศกึ ษาอาชีพในปจั จบุ ันมีความสาคญั มาก เพราะจะเป็นการพฒั นาประชากรของ
ประเทศใหม้ ีความรูค้ วามสามารถ และทกั ษะในการประกอบอาชพี เป็นการแกป้ ัญหาการวา่ งงานและ
ส่งเสรมิ ความเข้มแข็งให้แกเ่ ศรษฐกจิ ชมุ ชน ซ่งึ กระทรวงศกึ ษาธิการได้กาหนดยุทธศาสตร์ ท่ีจะพฒั นา
ศกั ยภาพของพ้ืนทใี่ น 5 กลุ่มอาชีพ ให้สามารถแขง่ ขนั “รเู้ ขา รู้เรา เท่าทัน ยกระดบั การจัดการศึกษาเพอื่
เพม่ิ ศักยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชนได้มอี าชีพทสี่ ามารถสร้างรายได้ท่ีม่นั คงโดยเน้นการบูรณา
การใหส้ อดคลอ้ งกบั ศักยภาพด้านตา่ งๆ มุง่ พฒั นาคนไทยให้ไดร้ ักการศึกษาเพื่อพฒั นาอาชีพและการมงี าน
ทาอยา่ งมีคณุ ภาพทว่ั ถงึ และเท่าเทียมกนั ประชาชนมีรายได้มั่นคง และมงี านทา อยา่ งยง่ั ยนื มี
ความสามารถเชิงการแขง่ ขนั ซึ่งเป็นการจดั การศึกษาตลอดชีวติ ในรปู แบบใหมท่ สี่ ร้างความมน่ั คงให้แก่
ประชาชนและประเทศชาติ ในสภาพปจั จบุ ันมนษุ ย์เราได้รบั ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงในดา้ นตา่ งๆ
เช่น ด้านเศรษฐกจิ การเมือง สงั คม และส่ิงแวดล้อมเป็นอย่างมากเป็นอยา่ งมาก เม่อื จานวนประชากร
เพิม่ ขน้ึ แต่ทรัพยากรธรรมชาตถิ ูกใชไ้ ปอยา่ งรวดเรว็ และไมเ่ พียงพอต่อความต้องการ จงึ จาเป็นอย่างยง่ิ ที่
มนษุ ยจ์ ะต้องสร้างข้ึนหรือทดแทนโดยวธิ กี ารต่างๆเพอื่ การอยรู่ อด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั อาเภอหนองพอก จึงไดน้ านโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และความจา เป็น ดงั กลา่ วสู่การปฏิบัติ เพ่อื
การพัฒนาหลักสูตรอาชีพใหก้ ับกล่มุ เป้าหมาย และประชาชนมีรายได้ และมอี าชพี เสรมิ จากการทอผ้า เปน็
ส่ิงใช้สอย มีสีสนั สวยงาม คงทน มีความนา่ สนใจ เหมาะสา หรับนาไปใชส้ อยและเปน็ ของฝาก ผทู้ ส่ี นใจ
ควรศึกษาหาความรแู้ ละฝกึ ปฏิบตั จิ นเกิดความชานาญ สามารถนา ไปประกอบอาชพี ใหก้ บั ตนเองได้
สภาพสงั คมในปจั จบุ ันมนษุ ยเ์ ราไดร้ บั ผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงในด้านต่างๆ เชน่ ดา้ น
เศรษฐกจิ การเมือง สงั คมและส่ิงแวดลอ้ มเป็นอย่างมาก ประชากรเพม่ิ ขึน้ เรอ่ื ยๆ แตท่ รัพยากรมีนอ้ ยลง
จึงมีความจาเปน็ ตอ้ งใช้ทรพั ยากรที่มอี ยู่อยา่ งจากดั ใหม้ ีความคุ้มค่ายงิ่ ขนึ้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เร่ืองของการ
ประกอบอาชพี ด้านความคดิ สร้างสรรค์ มคี วามจาเป็นที่จะต้องใช้ประโยชนจ์ ากการประกอบอาชีพให้มี
ความคุ้มค่ายงิ่ ขนึ้
๒
อาชีพการทอผา้ จงึ เป็นอีกอาชีพหน่งึ ทจี่ ะเป็นทางเลอื กในการสร้างรายไดแ้ ละการมีงานทา
อยา่ งยั่งยืนของประชาชน
หลกั การของหลักสูตร
1. เป็นหลักสูตรทีเ่ นน้ การจดั การศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมงี านทา ทเี่ นน้ การบรู ณาการเน้ือหาสาระ
ภาคทฤษฎีควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบตั จิ ริง ผู้เรียนสามารถนาความรู้และทกั ษะไปประกอบอาชีพได้จริงอยา่ ง
มีคุณภาพและมีคุณธรรมจรยิ ธรรม
2. เปน็ หลักสตู รทเี่ นน้ การดาเนนิ งานรว่ มกบั เครือข่าย สถานประกอบการ เพ่ือประโยชนใ์ นการ
ประกอบอาชพี และการศึกษาดงู าน
3. เปน็ หลักสตู รทผี่ เู้ รียนสามารถนาผลการเรยี นรู้ไปเทยี บโอนเขา้ สหู่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2551 ในรายวิชาเลือกของสาระการประกอบอาชีพ
4. เป็นหลักสตู รท่เี นน้ การใช้ศักยภาพ 5 ดา้ นในการประกอบอาชีพ ไดแ้ ก่ ศกั ยภาพด้าน
ทรัพยากร ภูมิอากาศ ภูมปิ ระเทศและทาเลทต่ี ง้ั ศลิ ปวฒั นธรรมประเพณีและวิถชี วี ติ และดา้ นทรพั ยากร
มนษุ ย์ในแตล่ ะพ้นื ท่ี
จุดหมาย
1.เป็นหลกั สูตรการประกอบอาชีพทที่ าให้เกิดความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์
2.เปน็ หลกั สูตรการประกอบอาชพี ทสี่ ่งเสริมการมงี านทา ของประชาชน
3.เปน็ หลกั สตู รทย่ี ดื หยนุ่ ท้ังเนอื้ หา ระยะเวลาเรียน และการจัดกระบวนการเรยี นรู้
4.เป็นหลกั สูตรการอาชีพทสี่ ามารถเทยี บโอนเขา้ สหู่ ลักสตู รสถานศกึ ษาของ ศนู ย์การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช
2551 ในสาระการประกอบอาชีพรายวชิ าเลือกท่สี ถานศกึ ษาจดั ทาขึน้ โดย กศน.ตาบลหนองพอก
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอหนองพอก ได้จดั ทาหลักสตู รตอ่ ยอดอาชีพเดิม
วิชาการการทอผ้าหลักสตู ร ๔0 ช่ัวโมง เพื่อจัดการศกึ ษาพฒั นาอาชพี ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายและประชากรใหม้ ี
รายได้และมงี านทาอยา่ งยง่ั ยนื ใหม้ ีความมน่ั คงยง่ั ยืนและมรี ายได้สูงขึ้น หลกั การของหลกั สตู ร หลกั สูตร
การจดั การอาชีพ เพอ่ื การมีงานทา ตอ่ ยอดอาชีพเดมิ ด้านความคิดสรา้ งสรรค์ วิชาการการทอผา้ หลกั สูตร
๔0 ช่ัวโมง ประกอบดว้ ย
๓
สาระสาคัญ
1. เปน็ การจัดหลกั สูตร กลมุ่ หลักสตู รตอ่ ยอดอาชพี เดมิ ทมี่ คี วามยืดหยุ่นในด้านหลักสตู ร การจัด
กระบวนการเรยี นรกู้ ารวัดและประเมนิ ผล
2. การจดั การศกึ ษา วิชา การการทอผ้าเปน็ หลกั สูตรวชิ าทมี่ งุ่ เน้นให้ผเู้ รยี นทไ่ี มม่ อี าชพี หรอื ผู้มี
อาชีพอยู่แลว้ แต่ต้องการพฒั นาอาชีพของตนให้มีความมั่นคง ไดเ้ รียนร้ไู ด้อยา่ งทวั่ ถึง และเท่าเทียมกัน
ตามความสนใจ ความสามารถของแต่ละบคุ คล สามารถสรา้ งรายไดท้ ีม่ นั่ คง เป็นผู้ท่มี ีความรู้ มีคณุ ธรรม มี
จิตสานกึ ความรับผิดชอบต่อตนเอง ผอู้ ่นื และสงั คม
3. ให้สถานศึกษามีความร่วมมอื ในการดาเนินงานร่วมกบั เครือข่าย
4. ใหม้ กี ารเทยี บโอนความรู้ และประสบการณเ์ ขา้ สหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา
ขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
5. การจดั การเรียนรเู้ ป็นการจัดการเรียนรู้ทงั้ ภาคทฤษฏีและภาคปฏิบตั ิ เพื่อพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ี
ความพรอ้ มในการประกอบอาชพี มีรายไดท้ ม่ี น่ั คง และยงั่ ยนื อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
วตั ถปุ ระสงค์
1.เพือ่ ให้ผเู้ รียน มอี าชีพ สรา้ งรายได้อย่างมั่นคง
2.เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี น มีความรู้ความเข้าใจ และฝกึ ทักษะการประกอบอาชีพ
3.เพือ่ ให้ผเู้ รียน มคี วามร้คู วามเข้าใจ และฝึกทกั ษะการบรหิ ารจดั การในอาชพี ไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ
4.เพือ่ ให้ผเู้ รยี นมีโครงการประกอบอาชีพ เพือ่ ใช้เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติต่อไปได้
5.เพื่อใหผ้ เู้ รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตสานกึ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ผอู้ ่ืน และสงั คม
กลุ่มเปา้ หมาย
1. ประชาชนทไ่ี ม่มอี าชพี แตม่ ีความตัง้ ใจทจ่ี ะประกอบอาชพี ใหม้ รี ายได้ ช่วยเหลอื ตนเองและ
ครอบครวั ได้
2. ประชาชนทม่ี ีการประกอบอาชพี ท่ีตนเองทาอย่แู ล้ว และมีความตอ้ งการเพม่ิ พนู ความรู้
เพมิ่ พูนทักษะเพือ่ พัฒนาอาชีพของตนเอง ให้มรี ายได้เพ่มิ มากขึน้ ระยะเวลา หลักสูตรการจดั การศึกษา
อาชพี เพ่ือการมีงานทา ต่อยอดอาชีพเดิม
ระยะเวลา
๔
จานวน 40 ช่วั โมง
ภาคทฤษฎี 5 ชั่วโมง
ภาคปฏบิ ัติ 35 ช่วั โมง
โครงสรา้ งหลักสูตร
เรื่องที่ 1 ชอ่ งทางการประกอบอาชพี การการทอผา้ จานวน ๒ ช่ัวโมง
1. ความสาคัญในการเลือกประกอบอาชพี จานวน 1/๒ ช่ัวโมง
2. ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชพี ธรุ กจิ จานวน 1/๒ ชว่ั โมง
3. แหล่งเรยี นรู้ในการประกอบอาชพี การการทอผา้ จานวน 1/๒ ชัว่ โมง
4. ทิศทางการพฒั นาการประกอบอาชพี จานวน 1/๒ ชว่ั โมง
เรอื่ งท่ี 2 ทักษะการประกอบอาชพี การทอผ้า จานวน 3๑ ชั่วโมง
1. ข้อมูลพื้นฐานของการทอผ้า จานวน ๑ ชัว่ โมง
๒. ความรพู้ ้นื ฐานและเทคนิคตา่ งๆของการทอผา้ จานวน ๓๐ ช่วั โมง
- แนะนาอปุ กรณต์ า่ งๆที่ใชใ้ นการทอผ้า
ขั้นตอนในการเตรยี มเส้นด้ายสาหรับการทอ
- การเลือกเส้นดา้ ย
- วตั ถุดิบและสว่ นประกอบ
การกวกั เสน้ ดา้ ย/การแกว่งเสน้ ดา้ ย
- จุดประสงคข์ องการกวกั เสน้ ดา้ ย/การแกวง่ เสน้ ด้าย
- วัสดแุ ละอปุ กรณ์
- วิธีการกวกั เส้นดา้ ย/การแกวง่ เส้นด้าย
- ขอ้ ควรระวังในการกวกั เส้นดา้ ย/การแกวง่ เส้นดา้ ย การเตรียมเสน้ ด้ายพุง่ /เส้นดา้ ยยนื
- ข้นั ตอนการเตรียมเส้นด้ายพงุ่ /ยืน
- การออกแบบลวดลาย
- การรอ้ ยหลอดเล็กเปน็ พวง
๕
การคน้ เส้นด้าย
- จดุ ประสงคข์ องการคน้
- วัสดุและอปุ กรณ์
- วธิ กี ารคน้
- ขอ้ ควรระวังในการค้นเส้นดา้ ย
การออกแบบลายการทอ
- วัสดุอุปกรณ์
- วธิ ีการออกแบบลายผา้ /ขั้นตอน/การเลือกสเี ส้นด้าย
- ขอ้ ควรระวงั ในการมัดลายและการย้อมสเี สน้ ดา้ ย
- การตรวจสอบความถกู ต้องของลวดลาย
การกรอเส้นด้ายยนื /ฝ้ายพ่งุ
- จุดประสงค์ของการกรอด้าย
- วสั ดุและอปุ กรณ์
- วิธ/ี ข้นั ตอนการกรอดา้ ย
การทอผ้าฝ้ายและการทอลงลายผา้ แบบต่างๆ
- ขนั้ ตอนการทอผ้าฝ้าย
- การเตรียมก่ี
- การนาหลอดพงุ่ ใสก่ ระสวย - การเหยียบตะกรอ
การพ่งุ กระสวย
การจดั ลวดลายและแต่งรมิ ขอบผ้า
การกระแทกฟมื
การขึงหน้าผ้าให้ตงึ
การตอ่ เสน้ ฝา้ ยยืนและเส้นฝ้ายพุ่งเม่อื เส้นฝา้ ยขาด
การปรบั และปลอ่ ยเสน้ ฝา้ ยยืน
การหวเี สน้ ยืนขณะทอ
การเกบ็ กเ่ี มือ่ หยุดพักการทอ
๖
เรื่องท่ี 3 การบริหารจดั การในการทอผา้ จานวน ๕ ช่ัวโมง
๓.๑ การบรหิ ารจดั การอาชพี การทอผา้
3.1.1การดแู ลรกั ษาคุณภาพของผ้า
3.1.2การลดต้นทนุ ในการผลติ ของผ้า
3.1.3การเพิ่มมูลค่าสนิ คา้
-การปรบั เปล่ียนรูป
-การออกแบบ
-การประยกุ ต์ใช้
3.2 การจัดการตลาด
3.2.1 การทาฐานข้อมลู ลกู คา้ ท่ีใช้บรกิ าร/คแู่ ข่งทางการตลาด
3.2.2 ประชาสมั พนั ธ์
3.2.3 ส่งเสรมิ การขายและการบรกิ าร
3.2.4 การขอมาตรฐานผลิตภณั ฑ์
3.3 การจดั การความเสี่ยง
3.3.1 การวิเคราะห์ศกั ยภาพในการประกอบอาชพี การทอผา้
3.3.2 แกป้ ญั หาความเส่ียงในการประกอบอาชีพการทอผ้า
เรื่องที่ 4 โครงการประกอบอาชพี การทอผา้ จานวน 2 ชว่ั โมง
1. ความรเู้ บอื้ งต้นเก่ยี วกบั โครงการการประกอบอาชพี การวางแผน แผนธรุ กจิ และการเขยี น
โครงการ
2. การเขียนโครงการ และประเมินความสอดคล้องของโครงการ
การจดั กระบวนการเรียนรู้
1. การบรรยาย
2. การสาธติ ทดลอง
3. การฝกึ ปฏิบัตจิ รงิ
4. ศกึ ษาจากเอกสารสง่ิ พิมพ์ /ใบความร/ู้ CVD DVD
5. ศกึ ษาจากผรู้ ู้ และวทิ ยากร
๗
ส่ือการเรยี นรู้
1. เอกสาร / ใบความรู้ / VCD DVD
2. แหลง่ เรียนรูใ้ นชมุ ชน / วิทยากร
การวัดและประเมนิ ผล
1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎรี ะหวา่ งเรยี นและจบหลกั สูตร
2. การประเมินผลระหวา่ งเรยี นจากการปฏบิ ตั งิ านทมี่ คี ณุ ภาพเพียงพอ สามารถสร้างรายได้ให้กบั
ตนเอง ความสาเร็จของการปฏบิ ัติและจบหลกั สตู ร
การจบหลักสตู ร
1. มีเวลาเรยี นและฝึกปฏบิ ตั ิตามหลักสูตรไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. มีผลการประเมนิ ผ่านตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80
3. มผี ลงานผา่ นการประเมินทดสอบท่ีมีคณุ ภาพตามหลกั เกณฑ์การทอผ้า
กับกล่มุ ลกู ค้าจริงอย่างนอ้ ย 20 คน และได้รบั ความพงึ พอใจจากกลุม่ ลกู ค้าไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80
เอกสารหลักฐานการศกึ ษา
1. หลักฐานการประเมนิ ผล
2. วุฒบิ ัตรออกโดยสถานศกึ ษา
3. ทะเบียนคมุ วฒุ บิ ัตร
การเทียบโอน
ผ้เู รียนทจ่ี บหลักสูตรนสี้ ามารถนาความรไู้ ปเทยี บโอนผลการเรยี นร้กู ับหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ
ระดบั การศึกษา พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการประกอบอาชพี รายวชิ าเลอื กท่สี ถานศึกษาไดจ้ ดั ทาขน้ึ ในระดับ
ใดระดับหนง่ึ
แผนการจัดการเรยี น
กลมุ่ อาชพี หัตถกรรม ดา้ นความคิดสรา้ งสรร
เร่อื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนอ้ื หา
๑. ช่องทางการประกอบ ๑. บอกและอธบิ ายความ สาคัญใน ๑. ความสาคัญในการประก
อาชีพการทอผา้ การประกอบ อาชพี การทอผา้ ได้ ผ้าได้
2. บอกองค์ประกอบของ การทอ 2.ความรู้เบอื้ งตน้ ในการปร
ผา้ ได้ เรื่อง
3.บอกความต้องการตัดสนิ ใจ - การลงทนุ
- วัสดุ อปุ กรณ์ และเครอ่ื งม
เลอื กเข้ารบั การฝึกอาชพี และ
- การตลาด
ตดั สินใจประกอบอาชพี การทอ - กระบวนการผลติ
ผ้าได้ – การขนสง่
4.บอกสถานที่ทเ่ี ปน็ แหลง่ เรยี นรู้
- แหล่งวตั ถดุ บิ
และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ การการ - การผลิตชิ้นงานรปู แบบต
ทอผา้ ได้ - ผลกระทบตอ่ ชมุ ชนและส
กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้องกบั อ
3. แหลง่ เรียนรู้และภมู ปิ ัญ
4. การตดั สินใจเลอื กรูปแบ
ประกอบอาชีพกการการทอ
ต้องการการของผเู้ รียน เช่น
เจ้าของกิจการ การดาเนินก
ผา้ ได้ทุกขนั้ ตอน
8
นรู้การทอผา้ จากด้าย
รค์ หลกั สตู รการทอผ้า จานวน ๔๐ ชัว่ โมง
การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ช่วั โมง
ทฤษฎี ปฏิบัติ
กอบอาชีพการทอ 1. วิทยากรและผ้เู รียนศึกษาข้อมลู จากเอกสาร
1๑
สอ่ื ICT สถานประกอบการ แหล่งวัตถดุ บิ
ระกอบอาชพี ใน สื่อของจรงิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น สอ่ื บคุ คลใน
ชมุ ชน และนาข้อมลู มาวิเคราะหเ์ พ่อื นา
ขอ้ มูลมาพจิ ารณาตดั สนิ ใจเลือกรปู แบบ
มอื วธิ ีการของประกอบอาชีพการทอผา้ ได้ ทม่ี ี
ความสอดคลอ้ งเปน็ ไปตามความ ต้องการ
ผเู้ รียน
2. ศึกษาข้อมูลจากสถานประกอบการ แหลง่
เรียนรู้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นเกี่ยวกับ การ
ต่าง ๆ ลงทุน วสั ดุ อปุ กรณเ์ ครือ่ งมือ การตลาด
สง่ิ แวดล้อม – กระบวนการผลติ การขนส่ง แหลง่ วตั ถดุ ิบ
อาชีพ การผลติ ชน้ิ งานรปู ลักษณะตา่ ง ๆ
ญญาการทอผา้ ได้ ผลกระทบตอ่ ชุมชน และส่ิงแวดล้อม
3. นาข้อมูลจากการศกึ ษาข้อมลู จากแหลง่
เรียนรแู้ ละส่อื ตา่ ง ๆ มาวเิ คราะหเ์ พือ่ นามา
บบ วธิ ีการ เป็นขอ้ มลู ในการตดั สินใจเลอื กฝกึ ทกั ษะ
อผา้ ได้ ตามความ อาชีพและเลอื กประกอบอาชพี
น การเป็น 4. ตัดสนิ ใจทจ่ี ะเข้าสูก่ ารฝึกทกั ษะอาชพี และ
การจัดทาการทอ เข้าสกู่ ารปฏบิ ัตจิ รงิ ในการทอผ้าได้
เรอ่ื ง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เน้อื หา
๒. ทกั ษะอาชพี การทอผา้ 1.เพอื่ จดั เตรยี มสถาน ทใ่ี นการทอ
ได้ ผา้ 1.ขั้นเตรยี มการประกอบอา
2.เพือ่ จัดเตรยี มวสั ดุ อปุ กรณแ์ ละ 1.1 เตรียมสถานที่
เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการทอผา้ ได้ 1.2 เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณ์ เค
3.เพ่อื คดั เลอื กเสน้ ด้ายท่จี ะนามา 2. ขั้นการผลิตช้ินงาน
ผลิตเปน็ ชน้ิ งานไดเ้ หมาะสม และ 2.1 คดั เลือกเสน้ ดา้ ยการท
ถูกต้อง 2.2 ออกแบบ ลวดลาย สสี
4. เพอื่ ออกแบบรปู ร่างช้ินงาน 2.3 ตกแตง่ เพอ่ื นามาประก
5. ประกอบตกแต่งให้เป็นช้ินงานที่ 2.4 ประกอบตกแตง่ ใหเ้ ป็น
สวยงามตามท่กี าหนดให้ได้
9
าชีพ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ช่วั โมง
ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
คร่ืองมือ 1. ทบทวนความร้เู บือ้ งต้นในการประกอบ
อาชพี การทอผ้า ตามองคป์ ระกอบท่ี ๑ ๓๐
ทอผ้า เก่ยี วข้อง
สันชน้ิ งาน 2. ศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้ และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่
กอบเป็น ช้ินงาน ในดา้ นการทอผ้า
นชิ้นงาน 3. จัดทาแผนการเรียนรู้ การฝกึ ทักษะ และ
การผลติ ชิน้ งานการทอผ้า
4. ดาเนนิ การจดั การเรียนรูแ้ ละฝกึ ทักษะ
อาชีพตามหลกั สูตร และตามแผนการเรยี นรู้
5. วิทยากรและผู้เรยี นรว่ มกันจดั กระบวน
การเรยี นรู้
6. จดบนั ทึกผลการเรยี นรู้ (แฟม้ สะสมงาน)
7. ดาเนินการจดั และประเมินผลตามที่
หลักสูตรกาหนด
เรือ่ ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอื้ หา
๓. การบริหารจัด การ 1. อธบิ ายการบรหิ ารจดั การในการ ๑.การบรหิ ารจัดการในการ
อาชพี การทอผ้า
ออกแบบจากการทอผา้ ได้ 1.1 การจัดการควบคุมค
2. อธบิ ายการจัดการตลาดในการ ชิน้ งานท่ผี ลิตออกมา
ประกอบอาชพี การจาหนา่ ย 1.2 การใช้นวัตกรรม แ
ผลิตภณั ฑ์ จากการทอผ้าได้ การออกแบบชนิ้ งาน
3. อธิบายการบริหารจัด 1.3 การลดตน้ ทุนการออ
การความเสย่ี งในการประกอบ 2. การจดั การตลาดในการ
อาชีพได้ การจาหน่ายผลติ ภณั ฑ์จากก
5. เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นอธบิ าย 2.1 การทาฐานข้อมลู ข
องค์ประกอบของโครงการอาชพี 2.2 การทาฐานข้อมูลข
1. เพื่อใหผ้ ู้เรียนอธิบายลกั ษณะ ท้องถิน่ แหลง่ ประกอบการ
การเขยี นโครงการอาชพี ทด่ี ี 2.3 การทาฐานขอ้ มลู ข
2. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถเขียน 2.4 การประชาสัมพันธ
โครงการอาชพี ไดเ้ หมาะสมและ 2.5 การส่งเสรมิ การขาย
ถกู ต้อง ๒.๖ การกระจายสินค้าไ
3. เพ่ือใหผ้ ู้เรียนสามารถตรวจสอบ 2.7 การเข้าสกู่ ารตลาด
ความเหมาะสมและความ 3.การจดั การความเสีย่ งใน
สอดคลอ้ งของโครงการอาชีพได้ อาชพี การทา ผลิตภัณฑ
3.1 การวิเคราะห์ศักยภ
ประกอบอาชพี การทอผ
1) คา่ ใช้จา่ ย
2) ผลกาไร
3) คู่แขง่ ขัน
4) กฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้อง
10
การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ช่วั โมง
ทฤษฎี ปฏิบัติ
รทอผ้า 1. บรหิ ารจัดการ จากการทอผ้า ๑๒
คณุ ภาพของ
1.1 สารวจและศกึ ษาแหลง่ วตั ถดุ บิ วัสดุ
และเทคโนโลยใี น
อปุ กรณแ์ ละทุนจากแหล่งต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
อกแบบ/แปรรปู
รประกอบอาชีพ กบั การประกอบอาชพี การทอผ้า
กการทอผ้า
ของแหล่งวัตถุดบิ 1.2 การกาหนด และการควบคุมคณุ ภาพของ
ของภูมิปญั ญา
ร ชิน้ งาน
ของลกู ค้า
ธ์ 1.3 ศึกษาการลดต้นทนุ การผลิตชิ้นงาน
ย
ไปสผู่ บู้ รโิ ภค 1.4 การศกึ ษาวิเคราะหป์ จั จยั ความเส่ียงที่
ดระดับ OTOP
นการประกอบ คาดวา่ จะเกิดขน้ึ และมีแนวทางในการ
ฑ์จากการทอผา้
ภาพในการ จดั การความเสย่ี งในการประกอบอาชีพ
ผา้
2. การบรหิ ารจัดการ การตลาด
2.1 ศกึ ษาข้อมูลการตลาด และวิเคราะห์ ๒
ความต้องการของตลาด ในชุมชน
ภายในประเทศ และต่างประเทศ
2.2 กาหนดทิศทาง เป้าหมาย กลยทุ ธ์ และ
แผนการจัดการตลาดทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กับการ
ผลิตช้ินงาน
2.3 ดาเนนิ การตามกระบวนการจัดการ
การตลาด เช่น การคิดตน้ ทุนการผลติ การ
กาหนดราคาขาย การสง่ เสริมการขาย การ
กระจายสนิ ค้า
ง
เรอ่ื ง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอื้ หา
เรอ่ื งที่ 4 โครงการ 3.2 การแก้ปญั หาความเส่ยี
ประกอบอาชีพการทอผ้า 1. การเขียนโครงการอ
2. การประเมนิ ความเห
ความสอดคลอ้ งของโคร
1. ความรู้เบอ้ื งต
โครงการการประกอบอาชพี
แผนธรุ กิจ และการเขยี นโค
2. การเขยี นโครงก
ความสอดคล้องของโครงกา
ลงชื่อ ......................................................... ผเู้ สนอแผน
( นางประภาศรี จลุ มณี )
ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล
การจดั กระบวนการเรยี นรู้ 11
ยง ชัว่ โมง
อาชีพ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
หมาะสมและ
รงการอาชพี ๒
ตน้ เกย่ี วกับ
พ การวางแผน
ครงการ
การ และประเมิน
าร
ลงชอื่ ......................................................... ผอู้ นมุ ัติแผน
( นางปทั มา เวียงอินทร)์
ตาแหนง่ ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอหนองพอก
12
ภาคผนวก
13
ใบความรู้
การทอผา้
การทอผา้ หรือ "การทอ" ถือเปน็ ศลิ ปะและหัตถกรรมหรอื งานฝมี ืออย่างหนง่ึ ทม่ี มี าต้งั แตส่ มยั โบราณ เป็นกรรมวธิ ีการ
ผลิตผนื ผา้ โดยใช้เส้นดา้ ยพงุ่ และเส้นด้ายยืนมาขดั ประสานกนั จนไดเ้ ป็น ผืนผา้ ทั้งนี้ต้องมเี ครอื่ งมือในการทอ เรียกว่า
หกู หรอื กี่
อปุ กรณ์การผลติ
เฝอื ทาหนา้ ที่ ขนึ้ ดา้ ยยนื เพอ่ื เรยี งเสน้ ดา้ ย ใหไ้ ดข้ นาดหนา้ ผา้ ที่ต้องการ
ฟนั หวี (ฟมื ) ทาหน้าท่ี ร้อยเสน้ ดา้ ยใหเ้ รยี งกนั
กังหนั ทาหน้าท่ี หมุนด้ายยนื ทีส่ ะดวกในการทอ
ไมก้ ้ามปู ทาหนา้ ท่ี บงั คบั ความกวา้ งของการเกบ็ ตะกอ
ไม้ทะนดั และไม้แซ่ ทาหนา้ ที่ รองรบั เส้นดา้ ยย้ายจากการเกบ็ ตะกอ
กรง ทาหนา้ ที่ สาหรบั มัดหมี่
กี่กระตกุ ทาหน้าท่ี ทอผ้า
14
ขั้นตอนการทอผา้
ขน้ั ตอนท่ี ๑ การกรอดา้ ย
การกรอเส้นดา้ ยหรอื การปั่นกรอเส้นดา้ ย เข้าในหลอด (ทอ่ พลาสตกิ ) มที ง้ั ขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ ด้ายหลอดเลก็ จะ
ใชส้ าหรบั ทอผา้ พ้นื ดา้ ยหลอดใหญ่ใหเ้ ป็นด้ายยนื
ดา้ ยหลอดใหญห่ รอื ด้ายยนื นัน้ ช่างจะใชเ้ วลาปั่นกรอทงั้ หมด ๗๖ หลอด ใชด้ า้ ย ๑,๑๒๐ เสน้ จะไดค้ วามกวา้ งของ
หนา้ ผ้าเมอื่ ทออกมาแล้วประมาณ ๓๙ นิว้ ครึ่ง เป็นขนาดมาตรฐาน แต่เดมิ เคร่อื งกรอเส้นด้ายยนื นเ้ี รียกวา่ ไน และ
ระวิง หรอื หลากรอเสน้ ดา้ ย ใชม้ ือหมนุ แตป่ จั จบุ ันชา่ งได้คิดค้นโดยนามอเตอร์ไฟฟา้ ของจกั เยบ็ ผา้ มาใช้ การกรอด้าย
ช่างจะไลด่ ้ายข้ึน – ลง สลับหัว – ทา้ ยไปเรอ่ื ย ๆ เพอื่ ให้ดา้ ยที่พันมีความเสมอกนั
ขน้ั ตอนท่ี ๒การเดินดา้ ยยืน หรือค้นเส้นดา้ ยยนื
-นาหลอดด้ายใหญ่ท้ังหมดไปตงั้ บนแผงทมี่ ีขาต้ังหลอดมคี วามยาวประมาณ ๑๐ เมตร
-นาปลายเส้นดา้ ยทง้ั หมดทีต่ งั้ อยบู่ นขาตงั้ หลอดมามัดรวมกนั แลว้ ดงึ ไปมัดกบั แครเ่ ดนิ เสน้ ดา้ ย เดนิ เส้นดา้ ยโดยใชไ้ ม้
ปลายแหลมตรึงเส้นด้ายเขา้ กับหลกั ค้น ท้ังเท่ยี วขึ้นและเทีย่ วลงจนครบ ทกุ หลกั
เมอื่ เดนิ เสน้ ด้ายครบแตล่ ะเที่ยวจะต้องเกบ็ ไขวเ้ ส้นด้ายดว้ ยการใช้หัวแม่มือเกยี่ วเส้นด้ายแลว้ นาไปคลอ้ งกบั หลักเกบ็
ไขว้
- เดนิ เส้นด้ายและเก็บไขว้เสน้ ดา้ ยสลบั กันไป จนครบตามความตอ้ งการ จากนนั้ นาเส้นดา้ ยออกจากเครอ่ื งเดินดา้ ย
แลว้ ถักเส้นดา้ ยรวมกนั
- เสน้ ด้ายทีอ่ อกจากหลกั เกบ็ ไขว้ สอดเข้าฟันหวีจนครบทกุ เส้น โดยใชไ้ มไ่ ผ่แบน ๆ สาหรบั คล้องเส้นดา้ ยเขา้ กบั ฟนั หวี
ขั้นตอนที่ ๓การรอ้ ยฟันหวี หรือการหวีเส้นดา้ ย
15
การหวเี สน้ ด้าย คอื การจดั เรยี งเส้นดา้ ย และตรวจสอบเสน้ ดา้ ยไม่ให้ตดิ กนั หรือพันกันจนยงุ่ ก่อนทจี่ ะนาเข้าเครือ่ งทอ
นาเสน้ ดา้ ยทเี่ ดนิ ครบทุกเสน้ มาพันเข้ากบั หลักบนม้ากอ๊ บปี้ ตอกสลกั มา้ กอ๊ ปปีใ้ หแ้ น่น
จากน้นั ช่างรอ้ ยฟนั หวี จะทาหน้าท่คี ัดเสน้ ดายออกทลี ะเสน้ เพ่อื ให้ด้ายตรงกบั ชอ่ งฟันหวีแลว้ นาเสน้ ด้ายมาร้อย
ใน “ไม้รอ้ ยฟนั หว”ี ซึ่งมลี ักษณะโค้งงอเหมือนเคยี ว แตอ่ นั เล็กกวา่ จะเป็นเหลก็ หรอื ไมไ้ ผก่ ไ็ ด้) โดยนามาสอดร้อยเขา้
ไปในฟันหวที ่ีละเส้นจะเรมิ่ จากด้านซ้ายไปขวา โดยฟันหวีนจ้ี ะมีทง้ั หมด ๑,๑๒๐ ซ่ี ความยาวเท่ากับ ๔๓ นว้ิ ครง่ึ ความ
กวา้ งของหน้าผ้า ประมาณ ๓๙ น้วิ ครึง่
เมื่อร้อยเสน้ ดา้ ยเข้าฟนั หวีเสรจ็ แล้ว ช่างจะดึงเส้นด้ายมาพันเข้ากับใบพัดม้วนด้ายหรอื มา้ กงั หัน จากนัน้ ชา่ งจะดนั ฟนั
หวีจากม้ากังหนั เข้าไปหาม้าก็อปป้ีพรอ้ มกบั ใช้ไม้แหลมแหลมเสน้ ดา้ ยให้แยกออกจากกัน ปอ้ งกนั เพ่อื ไมใ่ ห้เส้นดา้ ยพัน
กนั โดยจะกรดี เสน้ ดา้ ยจากใบพดั ม้วนจนถงึ ตัวม้าก็อปปี้ เสรจ็ แล้วปลอ่ ยสลักมา้ ก็อปป้ี หมนุ เส้นด้ายพนั เขา้ กบั พัดจน
ครบหมดทกุ เส้น แลว้ นาม้วนด้ายทไ่ี ด้รบั การหวเี สรจ็ แล้วมาวางบน“กี่”(เครื่องทอผ้า)
ข้ันตอนที่ ๔การเกบ็ ตะกอ
การเกบ็ ตะกอเปน็ การเกบ็ ด้ายยืน โดยจะนาดา้ ยทผ่ี า่ นการหวีมาแลว้ และใชด้ า้ ยขวา ๘๐ % ซง่ึ เป็นด้ายท่มี คี วามมัน
น้อย มาร้อยสลบั ด้ายยนื เพอื่ ทาหน้าทสี่ ลบั เส้นด้ายขึ้น- ลง โดยใชเ้ ครอื่ งมอื ท่เี ป็นไมไ้ ผ่ เรียกวา่ ไมก้ ้ามปูมาใชใ้ นการ
เกบ็ ตะกอ
ขนั้ ตอนการเกบ็ ตะกอ
- นามว้ นดา้ ยทไี่ ดร้ ับการหวีมาแลว้ วางบนเครอื่ งทอผ้า (ก)ี่ โดยวางมว้ นดา้ ยให้เข้ากบั สลกั ของเครอื่ งทอ
- นาปลายเส้นด้ายมารวมกันทกุ เสน้ แล้วดึงมาผกู กับไมร้ องเทา้ ดา้ นบนเครอ่ื งทอผ้าใหต้ ึงแน่นเสมอกนั ทกุ เสน้
- ใชด้ ้ายสขี าว ๘๐ เปอรเ์ ซ็นต์ สาหรบั เกบ็ ตะกอแลว้ ผูกตดิ กบั ไม้ทใี่ ช้เท้าเหยยี บใหเ้ ส้นด้ายสามารถขยับข้ึนลงได้
การเกบ็ ตะกอผ้าน้ี ชา่ งจะกลบั มว้ นดา้ ยยืนด้านบนขน้ึ เพือ่ ทาการเกบ็ ตะกอดา้ นลา่ งก่อนเพราะการเกบ็ ตะกอด้านล่าง
จะเกบ็ ยากกว่าด้านบน เมอื่ เสร็จแลว้ จงึ จะเกบ็ ด้นบนทหี่ ลงั
ขัน้ ตอนที่ ๕การมดั ลายมดั หม่ี (การเตรยี มมัดหมี่)
- ลายผา้ ที่สวยงามจะตอ้ งได้รบั การออกแบบอย่างถกู ตอ้ ง หรอื มีการคดิ ค้นประยุกต์ลายใหเ้ หมาะสมกอ่ ทจ่ี ะนามาทอ
เปน็ ผนื ผา้ การออกแบบลายผา้ มอี ุปกรณ์ ๓ อย่าง คือ สมุดกร๊าฟ ๑ เลม่ ดินสอดา ยางลบ สเี ทียน ๑ กลอ่ ง การ
ออกแบบมีข้นั ตอนดังนี้
๑) ออกแบบผา้ มัดหมบ่ี นกระดาษกรา๊ ฟดว้ ยดนิ สอดา ตามแต่จะตอ้ งการแต่ละลาย เชน่
- มัดหมช่ี นิด ๓ ลา - มัดหมีช่ นดิ ๕ ลา
- มัดหม่ชี นดิ ๗ ลา - มดั หม่ชี นดิ ๙ ลา
- มดั หมช่ี นิด ๑๓ ลา - มดั หมชี่ นดิ ๑๕ ลา
- มดั หม่ีชนิด ๒๕ ลา
16
๒) ระบายสีตามลวดลายท่ไี ด้ออกแบบไว้ด้วยสีเทียนเพอื่ ใหม้ องเห็นชัดเจนย่งิ ข้ึน
วิธีการคน้ ลายผ้ามดั หม่ี และมดั หมี่ทาได้โดย
- นาเสน้ ด้ายสาหรับมัดหม่ี มาเขา้ หลกั มัดหมี่โดยสอดสลักเขา้ ไปท่ีหัวและทา้ ยแลว้ ขึงให้ตงึ กบั หลักทงั้ ๒ ขา้ ง เอาเชือก
ฟางมัดด้ายหมตี่ ามท่อี อกแบบไว้ การมัดนเี้ พอื่ ปอ้ งกันสไี มใ่ หซ้ ึมผา่ นบริเวณท่ีถูกมัดสีทต่ี ดิ อยจู่ ะตดิ อยกู่ บั บรเิ วณทีไ่ ม่
ถูกมดั
ขั้นตอนที่ ๖การยอ้ มดา้ ยมัดหมี่
๑) ตม้ น้าในกะละมังใหเ้ ดือดประมาณ ๕ นาที ผสมสีเคมีตามอตั ราสว่ นท่กี าหนดไว้ของแตล่ ะประเภท คนสเี คมีให้
ละลายเขา้ กบั น้าเดือดทต่ี ม้ ไว้
๒) นาเสน้ ดา้ ยหมสี่ ีขาวที่มดั เชือกฟางเสรจ็ แล้วมาแช่ในน้าเปลา่ ธรรมดา เพอื่ เส้นด้ายหม่อี มิ่ ตัว เพอื่ เวลายอ้ มเสน้ หม่ี สี
จะได้ซึมเขา้ ไปในเส้นด้ายทั้งด้านใน และ นอกเสมอกนั ท้ังเสน้
๓) นาดา้ ยมดั หมท่ี ที่ าการมดั ลายท่ีต้องการย้อมแตล่ ะสตี อ้ งการใส่ในกะละมงั ท่ีผสมสีเคมีไว้ แลว้ เพ่อื ทาการย้อม
ระหวา่ งยอ้ มให้ใชไ้ มไ้ ผ่คนดา้ ยหมกี่ ลับไป – มาตลอดเวลา เพ่อื ใหส้ ที ีต่ อ้ งการย้อมซึมเข้าเสน้ หมเี่ สมอกันทกุ เส้นไม่
กระดากระด่างไวเ้ วลาประมาณ ๕ – ๑๕ นาที จึงนาด้ายหมข่ี ึน้ ล้างด้วยน้าเยน็ นาไปซกั ตากใหแ้ หง้
๔) นาดา้ ยหม่ีทีย่ อ้ มสเี สร็จแล้วไปตากแดดผงึ่ ให้แหง้ สนทิ นามาแกะเชือกฟางออกเพ่อื นามัดหมม่ี ามดั ลายเพอ่ื ยอ้ มสี
อน่ื ท่ีต้องการอกี ต่อไป นาอยา่ งนี้จนครบจานวนสีต้องการ การยอ้ มดา้ ยหม่นี ้ีจะยอ้ มจากสอี อ่ นไปหาสแี กเ่ ชน่ สเี หลอื ง
แดง เขียวฯลฯ
ขั้นตอนที่ ๗การปั่นหม่ี
เมือ่ ได้เส้นดา้ ยหมตี่ ามสที ีย่ ้อมแล้ว นาดา้ ยหม่ีมาแกะเชอื กฟางออกจะนาด้ายหมม่ี าใสเ่ ครื่องกรอด้าย โดยนาปลาย
เสน้ ด้ายหมีพ่ นั รอบหลอดด้ายพงุ่ (เปน็ หลอดเลก็ ๆ ) ใสเ่ ปน็ รปู กรวยเรยี งซอ้ นกัน ตามลาดบั โดยจะเรียงจากดา้ นลา่ ง
17
ขึ้นบนไปเรื่อย ๆ การกรอด้ายหมจ่ี ะกรอทล่ี ะหลอด เมอื่ เตมิ หลอดดา้ ยพงุ่ แลว้ จงึ กรอใสห่ ลอดอน่ื ๆ ตอ่ ไป ดา้ ยหม่แี ต่
ละหลอดน้ัน นอกจากจะเรียงลาดบั จากด้านลา่ งขนึ้ ด้านบนแลว้ จะต้องใสเ่ ขา้ กบั เชอื กหอ้ ยเรียงไวต้ ามลาดับกอ่ น –
หลงั จงึ จะทอเปน็ ลายผ้าหม่ไี ด้ถกู ตอ้ ง
ขั้นตอนที่ ๘การทอผา้ เป็นผืนผ้า
นาหลอดดา้ ยมัดหมท่ี ีก่ รอเสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ ใสก่ ระสวยสาหรับทอผ้า ซ่ึงควรเลอื กกระสวยทม่ี ปี ลายแหลมทง้ั หวั และ
ทา้ ย ผวิ เรียบ นากระสวยด้ายพ่งุ ใสร่ างกระสวย ใชม้ อื กระตกุ พาเส้นด้ายวง่ิ ผ่านไปมาให้ขัดกับเสน้ ดา้ ยยืน ดึงฟนั หวี
กระแทกใสเ่ ส้นด้ายพงุ่ กับเส้นดา้ ยยืนแน่นยงิ่ ข้นึ ใช้เหยียบไม้พื้นทผ่ี กู ติดกบั ตะกอด้ายใหส้ ลบั ขึ้นลงโดยใหส้ มั พันธก์ บั
การใชม้ ือกระตุกใหก้ ระสวยพาดา้ ยวง่ิ ผา่ นไปมา ขดั กบั เส้นดา้ ยยืน เม่ือไดผ้ า้ ทอเป็นผืนแลว้ ใชก้ รรไกรตดั ตกแตง่ ผนื ผ้า
ทีมเี สน้ ดา้ ยซงึ่ เปน็ เศษดา้ ยรมิ ขอบผ้าใหส้ วยงามจงึ ได้ผ้าทอมอื ท่ีสวยงาม
คณุ ค่าและบทบาทของวิถีชมุ ชนท่ีมตี ่อมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม
๑.คณุ ค่าของมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรมทีส่ าคัญ
ผา้ ถือเป็นปจั จยั ขั้นพน้ื ฐานทมี่ คี วามสาคัญตอ่ การดารงชวี ติ ของมนษุ ย์ เพราะผ้าเปน็ หนึง่ ในปจั จยั สน่ี อกเหนอื จาก
อาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั และยารกั ษาโรค ในสังคมเกษตรกรรมต้ังแต่บรรพบรุ ษุ สืบมา ทุกครวั เรือน จะมีการทอผ้าเพอ่ื ใช้
สอยภายในครอบครัว และมกี ารถา่ ยทอดและสงั่ สมกรรมวิธกี ารทอให้แก่สมาชิกที่เปน็ เพศหญิง เพราะการทอผ้าเปน็
การศิลปะทีต่ ้องใชท้ ้ังความขยนั ความอดทน ความพยายาม และความประณตี ละเอียดออ่ น แมห่ รอื ยายจะเป็นผทู้ า
หน้าท่ีอบรมและถ่ายทอดวชิ าการกรรมวธิ ี และประสบการณ์ในการทอผ้าให้แกบ่ ุตรสาวหรอื หลานสาว จนสั่งสมเปน็
ภมู ิปญั ญาท่ีไดร้ ับการถ่ายทอดจากบรรพบรุ ษุ ร่นุ หนึ่งไปสอู่ ีกรุ่นหนงึ่ เปน็ เสมอื นมรดกทางวฒั นธรรม นอกจากน้ียงั มี
บทบาทสาคัญทง้ั ในแงเ่ ศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม
ผ้าทอ นอกจากจะนามาใช้เป็นเคร่ืองนุ่มห่มแลว้ ยงั ได้ถกู นามาใช้ในพิธีกรรมที่เก่ยี วข้องกบั ชีวิตตง้ั แตเ่ กดิ จนตาย เชน่
เกย่ี วขอ้ งกบั พธิ ีเกดิ โดยหมอตาแยจะได้ของกานลั ของพอ่ แมข่ องเดก็ ทเ่ี กิดใหมเ่ ป็นผ้าทอในพิธบี วชนาค นาคจะสวมใส่
ผา้ ขาวหรือผา้ โสรง่ ผืนใหญท่ แี่ มท่ อเตรียมไวใ้ หล้ กู ชาย ผูห้ ญงิ ตอ้ งเตรียมผ้าทอไว้ใช้ในพิธแี ตง่ งานของตน เปน็ ตน้
นอกจากนแี้ ลว้ ผา้ ทอยงั เป็นเครอ่ื งบ่งชี้ถงึ ฐานะของผสู้ วมใสห่ รอื แสดงถึงสถานะทางสงั คมของผู้นน้ั ดังนัน้ ทกุ ภาคสว่ น
จึงต้องชว่ ยกันอนรุ กั ษส์ ง่ เสริมและพัฒนาผา้ ทอไทยใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ของนานาอารยะธรรมประเทศตอ่ ไป
๒.บทบาทของชุมชนท่ีมตี อ่ มรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม
ปจั จุบนั โรงเรียนวดั ปา่ แดง ไดจ้ ัดหลกั สูตรการทอผ้าซง่ึ เปน็ หลกั สตู รทอ้ งถิน่ ให้แกน่ กั เรยี นระดบั ประถมศึกษาตอน
ปลาย(ป.๕-๖) และมัธยมศกึ ษาตอนต้น เรียนวชิ าการทอผา้ สอนโดยนางสาวสุพัตรา ปญั ญายงค์ ซึ่งนบั วา่ เป็นการ
สง่ เสริม อนุรกั ษ์การทอผ้าบ้านป่าแดงอกี วิธหี นงึ่ และเมอ่ื ทอเสร็จส่งจาหน่ายศูนย์ทอผ้าบ้านปา่ แดง ทาใหน้ กั เรยี นมี
รายได้ระหวา่ งเรยี น และคณะครู นกั เรียนโรงเรียนวดั ป่าแดงอนรุ กั ษ์การใชเ้ สอ้ื ผา้ ทอในวนั พธุ อีกดว้ ย เป็นการปลกู
จติ สานึกรกั บ้านเกิด ตลอดจนสรา้ งความภูมิใจในอตั ลกั ษณ์ของตน
มาตรการในการสง่ เสริมและรักษามรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม
18
- การอนรุ กั ษ์ ฟื้นฟู (ระบุวิธีดาเนนิ งาน พ้ืนที่ ชุมชน ระยะเวลา และงบประมาณ) คณะครู และนกั เรียนโรงเรียนวดั ป่า
แดง ร่วมอนุรักษผ์ า้ ทอด้วยการแตง่ กายด้วยผา้ ทอในวนั พุธ
- การสบื สานและถา่ ยทอด (ระบวุ ิธดี าเนินงาน พืน้ ที่ ชุมชน ระยะเวลา และงบประมาณ) โรงเรยี นวดั ป่าแดง ไดจ้ ดั ทา
หลกั สตู รการทอผ้าซึ่งเปน็ หลักสูตรท้องถิน่ ให้แกน่ ักเรยี นระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย(ป.5- 6) และมัธยมศกึ ษา
ตอนตน้ เรยี นวิชาการทอผ้า
การสง่ เสรมิ สนับสนุนจากหน่วยงานภาครฐั หรือภาคเอกชน หรือภาคประชาสังคม
จงั หวดั พจิ ติ ร สรา้ งเสริมอตั ลักษณ์การแต่งกายดว้ ยผา้ ทอของจังหวดั พจิ ิตร รวมถงึ เพ่อื สบื สาน อนุรกั ษ์ ผ้าทอท้องถนิ่
ให้คงอยู่ในแผ่นดินสบื ไปและยงั สนบั สนนุ สง่ เสรมิ การสร้างงาน สรา้ งอาชพี และเสรมิ สร้างรายไดใ้ หก้ ับผ้าทอในจังหวัด
จึงกาหนดจดั กจิ กรรมการรณรงคก์ ารแต่งกายด้วยผ้าไทยและผา้ พืน้ เมือง จงั หวัดพจิ ิตร และกาหนดให้มกี ารสวมใสผ่ า้
ทอของจงั หวัด ดังนี้
๑. การสวมใส่ผา้ ทอลายดอกบญุ นาค(สเี ขียว) ทุกวนั พธุ
๒. การแต่งกายด้วยผ้าไทยและผ้าพ้ืนเมอื งจงั หวดั พจิ ิตร ทกุ วันศกุ ร์
๓. การจดั นทิ รรศการประชาสมั พนั ธผ์ ้าพื้นถิ่นจงั หวดั พจิ ติ ร
๔. ประชาสมั พนั ธผ์ า้ พืน้ ถิน่ ผ่านการเดนิ แฟชน่ั ในงานประจาปตี ่าง ๆ
รายช่อื ผสู้ ืบทอดหลกั
๑. กลมุ่ ทอผ้าบา้ นป่าแดง นางสงั วร เหลอื งสนิท เลขที่ ๒๗๔ หมู่ท่ี ๑ ตาบลหนองพยอม อาเภอตะพานหิน จงั หวัด
พิจิตร โทรศพั ท์ ๐๘๙ ๒๗๒๑๖๐๔
๒. ร้านผ้าทอศริ พิ ันธ์ นางวลิ าวัลย์ ดวงผดั เลขท่ี ๒๓๔ หมทู่ ี่ ๖ ตาบลหนองพยอมอาเภอตะพานหิน จงั หวัดพจิ ติ ร
โทรศพั ท์ ๐๕๖ ๘๔๕๐๖๓, 093 5596639
๓. ร้านผา้ ทอทองคูณ นางทองคณู ปัญญายงค์ เลขที่ ๒๕๓ หมูท่ ี่ ๑ ตาบลหนองพยอม อาเภอตะพานหิน
๔. นางสาวสุพัตรา ปญั ญายงค์ โรงเรียนวดั ป่าแดง หมทู่ ี่ ๖ ตาบลหนองพยอม อ.ตะพานหิน จังหวดั พิจติ ร โทรศพั ท์
๐๘๙ ๘๕๖๖๐๘๓
๕. นางสาวรุง้ ลาวัลย์ สุขไมตรี เลขที่ ๓๘๔ หมทู่ ี่ ๑ ตาบลหนองพะยอม อาเภอตะพานหิน จงั หวัดพจิ ติ ร
โทรศพั ท์ ๐๖๒ ๘๒๓ ๖๖๒๖
คณะผ้จู ดั ทา
ท่ีปรึกษา ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอหนองพอก
นางปัทมา เวยี งอนิ ทร์
คณะทางาน/ข้อมูล/ประสานงาน ตาแหนง่ ครู
1. นางสาวธนพร สิทธคิ ณุ
ตาแหนง่ ครู ผชู้ ว่ ย
2. นางสาวฐิตยิ า รัดอัน ตาแหน่ง ครู อาสาสมัครฯ
3. นางพรทิพย์ พลมั่น ตาแหนง่ ครู อาสาสมัครฯ
4. นางวารุณี ไชยกฉุ นิ
ตาแหนง่ ครู อาสาสมัครฯ
5. นางรชั ณภี รณ์ โชติสวุ รรณ์ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล
๖. นางประภาศรี จุลมณี ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล
๗. นายนนท์ธวชั อุ่นจังหาร
รวบรวม/เรยี บเรยี ง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล
นางประภาศรี จุลมณี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล
ออกแบบปก/รูปเล่ม
นางประภาศรี จลุ มณี
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอหนองพอก
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดร้อยเอด็
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สานักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงศกึ ษาธิการ