The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จดหมายข่าว วช. ปีที่ 17 ฉบับที่ 129 ประจำเดือน ธันวาคม 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NRCT, 2022-02-21 23:37:11

จดหมายข่าว วช. ฉบับที่ 129

จดหมายข่าว วช. ปีที่ 17 ฉบับที่ 129 ประจำเดือน ธันวาคม 2564

Keywords: newsletter

ปท ี่ 17 ฉบับที่ 129 สํานักงานการวิจัยแหง ชาติ (วช.)
ประจาํ เดือน ธันวาคม 2564 National Research Council of Thailand (NRCT)
ISSN : 1905 - 1662
www.nrct.go.th

สํานกั งานการวิจัยแหง‹ ชาติ (วช.) ไดรŒ ับรางวัลรัฐบาลดจิ ิทลั 2 รางวัล

 การแสดง “ดนตรี อว. เทดิ พระเกียรติ ธ สถติ ยในดวงใจ ไทยนริ ันดร”
 นวตั กรรม “รถยนตสามลอ ไฟฟา สําหรับผสู งู อายแุ ละคนพิการทางการเคลอ่ื นไหว”
 การยกระดับการเลย้ี งแพะในภาคอีสาน สรางความเขมแข็งใหเ ครอื ขายเกษตรกรและเศรษฐกจิ ฐานราก
 การพัฒนาโรงเพาะเหด็ ดวยเทคโนโลยสี มารท ฟารม
 นวตั กรรม “เคร่อื งเรงกระบวนการแชและเพาะงอกขา วเปลอื กเปน ขาวกลอ งฮางงอก ภายใน 24 ชัว่ โมง”

บรรณาธิการแถลง สารบัญ

สวสั ดีครบั .....ทานผอู านทุกทา น ปท่ี 17 ฉบับท่ี 129 ประจําเดือน ธันวาคม 2564
 กิจกรรมนอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคลาย
ในเดอื นธนั วาคมของทกุ ป ในวนั ที่ 5 ธนั วาคม เปน วนั นอ มราํ ลกึ ถงึ
พระมหากรุณาธิคุณเปนลนพนอันหาที่สุดมิไดของพระบาทสมเด็จ วันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เน่ืองในวันคลายวันพระบรมราชสมภพ และเปน “วันชาติ” และ 3มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ
“วันพอแหงชาติ” สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดจ ัดกจิ กรรม และวนั พอ แหงชาติ 5 ธันวาคม 2564.....................................
นอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณฯ โดยคณะผูบริหารกระทรวง อว.
และคณะผบู รหิ ารหนว ยงานในสังกดั กระทรวง อว. รว มวางพวงมาลา กิจกรรม วช.
นอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณฯ และรวมกันทํากิจกรรมจิตอาสา
“อว. สามคั คี ทาํ ความดถี วายพอ หลวง” โดยไดร ว มกนั ทาํ ความสะอาด  การแสดง“ดนตรีอว.เทดิ พระเกยี รติธสถติ ยใ นดวงใจไทยนริ นั ดร”
บริเวณพ้ืนที่รอบอนุสาวรยี ชยั สมรภูมิ กรุงเทพมหานคร และในวนั เดียวกัน
หลังจากเสรจ็ พิธแี ละกิจกรรมจติ อาสาที่กระทรวง อว. จัดข้ึนดงั กลาว วช. 4แสดงความจงรักภักดีและนอมรําลึกถึงในหลวงรัชกาลที่ 9
ไดจ ดั กจิ กรรมจติ อาสานอ มราํ ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ฯ “รรู กั สามคั คี
รกั ษสงิ่ แวดลอม พฒั นาคุณภาพชีวิต” โดยมคี ณะผบู ริหารและบคุ ลากร วช. จัดตอ เนื่องกัน 15 วนั สงมอบความสุขใหคนไทย...................
เขารวมทําความสะอาดและทาสีใหมในบริเวณโดยรอบสํานักงาน
การวิจัยแหงชาติ (วช.) พรอมกันนี้ ไดจัดใหมีการแสดง “ดนตรี อว. งานวิจัย : การเกษตร
เทิดพระเกียรติ ธ สถิตยในดวงใจ ไทยนิรันดร” เพ่ือแสดงถึงความ
จงรกั ภักดีและนอ มราํ ลกึ ถึงในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึง่ จดั ตอเนอ่ื งกนั 15 วนั 6 การยกระดับการเลี้ยงแพะในภาคอีสาน สรางความเขมแข็ง
(ระหวา งวนั ที่ 5 - 19 ธนั วาคม 2564) เพอื่ สง มอบความสขุ ใหก บั คนไทย ใหเ ครอื ขา ยเกษตรกรและเศรษฐกจิ ฐานราก...........................

ในวนั ที่ 2 ธนั วาคม 2564 วช. มีเร่ืองนายนิ ดเี ปนอยา งย่งิ โดย วช. 89 นวตั กรรม “เครือ่ งเรงกระบวนการแชแ ละเพาะงอกขาวเปลอื ก
สามารถควา 2 รางวัล ไดแก รางวัลรัฐบาลดิจิทัล ประจําป 2564 เปน ขาวกลองฮางงอก ภายใน 24 ชั่วโมง”..............................
(Digital Government Awards) หนวยงานระดับกรมที่ใหบริการ  การพฒั นาโรงเพาะเหด็ ดว ยเทคโนโลยสี มารท ฟารม ................
เปนหลัก อันดับ 5 และรางวัลการสนับสนุนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
หนวยงานดีเดนดานการเปดเผยขอมูลผานศูนยกลางขอมูลเปดภาครัฐ งานวิจยั : รองรับสงั คมสงู วยั
(Data.go.th) ซง่ึ วช. ไดร บั รางวัลรัฐบาลดิจิทัลติดตอ กนั ปน ีเ้ ปน ปท่ี 2
ที่รับรางวัลดังกลาว จากการที่ วช. ไดตอยอดการใหบริการดิจิทัล 10 นวัตกรรม “รถยนตสามลอไฟฟาสําหรับผูสูงอายุและคนพิการ
เพื่อใหน ักวิจัยและประชาชนไดร บั ความสะดวกและประโยชนจ ากการ ทางการเคลอ่ื นไหว”............................................................
ใหบริการขอมูลดานการวิจัยและนวัตกรรม ซึ่งนักวิจัยและประชาชน
สามารถเขา ถงึ เรยี นรู และใชป ระโยชนขอมูลและองคค วามรูทางดา น กจิ กรรม วช.
วิทยาศาสตร วจิ ัยและนวตั กรรมของประเทศ ณ จุดเดียว ไดอยา งเทา เทยี ม
ทว่ั ถงึ ทกุ ที่ ทุกเวลา เพ่อื ยกระดบั คุณภาพชวี ิต และแกปญ หาเชงิ พ้ืนที่ 11 อว. รว มกบั กอ.รมน. เสรมิ สรา งความเขม แขง็ วสิ าหกจิ ชมุ ชนดว ยวจิ ยั
ไดต รงตามความตอ งการของประชาชนมากทส่ี ดุ นบั เปน ความภาคภมู ใิ จ และนวตั กรรม มอบเครอ่ื งอบแหง อนิ ฟราเรดแบบถงั หมนุ ....
ของ วช. เปน อยางย่งิ
11 การมอบ “นวตั กรรมตลู อ็ คเกอรป ลอดเชอ้ื ควบคมุ ผา นสมารท โฟน”
จดหมาย วช. ฉบับนี้ ยังเต็มไปดวยบทความและขาวสาร .............................................................................................
เกยี่ วกับการวิจยั และนวตั กรรม อาทิ งานวิจยั ดา นการเกษตร งานวจิ ยั
เพ่ือรองรับสังคมสูงวัย เปนตน โดยรายละเอียดตาง ๆ ทานผูอาน 12 วฒั นธรรมเพลงพ้ืนบานลาํ ปางสูสากล ผานวง “ซมิ โฟนอี อรเ คสตรา ”
สามารถติดตามอานไดในจดหมายขาว วช. ฉบับนี้ครับ...แลวพบกันใหม ตอ ยอดสง่ิ ใหมบ นรากฐานสงิ่ เกา ..........................................
ในฉบับเดอื น มกราคม 2565 ขึน้ ปพุทธศกั ราชใหมก นั นะครบั
12 การแสดงศลิ ปะดนตรีเพลงพื้นบา น ผา นวงดนตรซี มิ โฟนอี อรเคสตรา
บรรณาธกิ าร “ไหวส าบรู พาจารย” ............................................................

1143 งานมหกรรมวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หง ชาติ ประจาํ ป 2564
“ศลิ ปะ วิทยาศาสตร และ เศรษฐกจิ สรางสรรค” ...............
 สมั มนาวจิ ยั ยุทธศาสตรไทย - จีน ครง้ั ที่ 10.........................

14 การพัฒนาและสงเสริมศักยภาพของชุมชนดวยเทคโนโลยี
และนวตั กรรมแปรรปู อาหาร เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ทย่ี งั่ ยนื ..
 การลงพ้นื ที่ตรวจเยย่ี ม “โครงการทะเลไทยไรขยะ” นํางานวิจัย

15สูการปฏิบัติ สรางงานสรางรายได ยกระดับผลิตภัณฑ

เพมิ่ ชอ งทางทาํ เงนิ ...............................................................

15 ระบบ Smart Guide ขานรับนโยบายทองเที่ยวเมืองรอง
ทสี่ มทุ รสงคราม.....................................................................

16งานวิจัย : รางวัลเกียรติยศ

 วช. ควา 2 รางวลั รฐั บาลดจิ ทิ ลั ...........................................

เจาของ : สํานกั งานการวิจยั แหงชาติ (วช.) กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม (อว.)
ท่ีอยู : เลขท่ี 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0 2579 1370 - 9
Website : www.nrct.go.th Facebook : สาํ นกั งานการวิจัยแหง ชาติ Twitter : @NRCTofficial Line : @NRCT YouTube : NRCT Official
ทป่ี รกึ ษา : ดร.วิภารตั น ดอี อ ง ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานการวจิ ัยแหงชาติ นายสมปรารถนา สขุ ทวี รองผูอํานวยการสาํ นกั งานการวิจยั แหง ชาติ
ผจู ดั ทํา : กลุมสารนิเทศและประชาสัมพนั ธ สาํ นักงานเลขานกุ ารกรม สาํ นักงานการวิจัยแหง ชาติ (วช.)
โทรศพั ท 0 2579 1370 - 9 ตอ 853 โทรสาร 0 2579 0431 อีเมล pr@nrct.go.th

2 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

กจิ กรรมนอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคณุ เนื่องในวนั คลาย
วนั พระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร

มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
วนั ชาติ และ วันพอแหงชาติ 5 ธนั วาคม 2564

อว. จัดกจิ กรรมนอมราํ ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ุณในหลวงรชั กาล 9

วนั ท่ี 5 ธนั วาคม 2564 กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร วจิ ัย
และนวัตกรรม (อว.) จัดพิธีวางพวงมาลานอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
เนอื่ งในวนั คลา ยวนั พระบรมราชสมภพพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพอแหงชาติ
5 ธนั วาคม โดยมี รองศาสตราจารยพ ิเศษ ดร.ดวงฤทธิ์ เบญ็ จาธกิ ุล ชัยรงุ เรอื ง เลขานกุ ารรฐั มนตรีวา การ และ โฆษกกระทรวง
การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวตั กรรม เปน ประธานในพิธฯี พรอมดวย ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสริ ฤิ กษ ทรงศวิ ไิ ล
ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม และคณะผูบริหารหนวยงายในสังกัดกระทรวง อว. รวมวางพวงมาลา
นอมราํ ลึกในพระมหากรุณาธิคุณฯ ณ หองแถลงขาว กระทรวง อว. ชนั้ 1 อาคารพระจอมเกลา ถนนโยธี กรุงเทพมหานคร

หลังจากนั้น ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ
นวตั กรรม ไปเปน ประธานเปด กจิ กรรมจติ อาสา “อว. สามคั คี ทาํ ความดถี วายพอ หลวง” และมคี ณะผบู รหิ ารหนว ยงายในสงั กดั
กระทรวง อว. เขารวมในกิจกรรมจิตอาสาดังกลาว โดยไดรวมกันทําความสะอาด ณ บริเวณพ้ืนที่รอบอนุสาวรียชัยสมรภูมิ
กรงุ เทพมหานคร ทงั้ นี้ ดร.วภิ ารตั น ดอี อ ง ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ ไดเ ขา รว มในพธิ วี างพวงมาลาฯ และกจิ กรรม
จิตอาสาฯ ดงั กลา วดวย

วช. จัดกจิ กรรมนอมรําลึกในพระมหากรณุ าธิคณุ ในหลวงรชั กาล 9

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) 3
จัดกิจกรรมจิตอาสานอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เน่ืองในวันคลายวันพระบรมราชสมภพ
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร วนั ชาติ และวนั พอ
แหงชาติ 5 ธันวาคม 2564 โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
เปนประธานในพิธีเปดกิจกรรมจิตอาสา “รูรักสามัคคี รักษสิ่งแวดลอม พัฒนาคุณภาพชีวิต” โดยมี
ผบู รหิ ารและบคุ ลากร วช. เขา รว มในพธิ ี เพอ่ื แสดงความจงรกั ภกั ดแี ละนอ มราํ ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ
เปนลนพนอันหาที่สุดมิได ที่พระองคทรงมีตอพสกนิกรชาวไทย ณ บริเวณโดยรอบสํานักงาน
การวจิ ัยแหงชาติ (วช.)
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

การแสดง “ดนตรี อว. เทิดพระเกยี รติ ธ สถิตยในดวงใจ ไทยนิรนั ดร”
แสดงความจงรกั ภักดแี ละนอ มรําลึกถึงในหลวงรัชกาลที่ 9
จัดตอเนื่องกัน 15 วัน สงมอบความสขุ ใหค นไทย

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ เปนจํานวนมาก โดยระหวางวันท่ี 8 - 12 ธันวาคม 2564
นวตั กรรม (อว.) โดยสาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) จดั แสดง จัดแสดงท่ีริเวอร พารค ไอคอนสยาม กรุงเทพมหานคร
“ดนตรี อว. เทิดพระเกียรติ ธ สถิตในดวงใจ ไทยนิรันดร” และระหวางวันท่ี 13 - 19 ธันวาคม 2564 จัดแสดงที่ลาน
ระหวางวันที่ 5 - 19 ธันวาคม 2564 โดยในระหวางวันท่ี หนาเซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพมหานคร ซึ่งการแสดงดนตรี
5 - 7 ธันวาคม 2564 จัด ณ ลานพารคพารากอน กรงุ เทพมหานคร ดงั กลาวจัดแสดงอยางตอเนอ่ื งเปน เวลา 15 วนั
โดยมี ศาสตราจารยพ เิ ศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรี โดยมวี งดนตรมี ารว มแสดง ไดแ ก วงดนตรไี ทย - สากล
วาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม จากนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม, วงดนตรี “SWU Band”
เปนประธานในพธิ ีเปด การแสดงดนตรฯี ในวนั ท่ี 5 ธันวาคม 2564 ซึ่งเปนวงดนตรีสตริงจากนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
โดยจัดพรอมกับสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ 48 แหง เพ่ือ คณะศิษยเกา - ศิษยปจจุบันจากโรงเรียนสาธิตและมหาวิทยาลัย
แสดงความจงรักภักดีและนอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ศรนี ครินทรวโิ รฒปทมุ วนั , วงดนตรี “RU Jazz Orchestra”
เนื่องในวันคลายวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระบรม- จากมหาวิทยาลัยรามคําแหง เปนวงดนตรีประเภทแจสบ๊ิกแบนด
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ท่ีรวมนักศึกษาจากคณะศิลปกรรมศาสตร และนักเรียนจาก
รวมถึงสงมอบความสุขใหคนไทยทั่วประเทศผานบทเพลง ชมรมดนตรีสากลโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหงฝายมัธยม,
พระราชนิพนธ โดยท่ีลานพารคพารากอน มีวงดนตรีแจส วงดนตรี “Saxophone Ensemble” และ วงดนตรี “BSRU
บ๊ิกแบนด จากวิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล Wind Philharmonic” จากมหาวทิ ยาลัยราชภัฏบา นสมเด็จ
มาบรรเลงเพลงพระราชนิพนธ พรอมดวยประชาชนเขารวมงาน เจา พระยา, วงดรุ ยิ างคเ ครอื่ งลมจากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร

4 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

หรือ “KU Wind Symphony” ท่ีมีช่ือเสียงจนสามารถควา สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา (สจด.), วงดนตรี “CU Band”
รางวลั เหรียญทองเกยี รตยิ ศ จากเวที World Music Contest จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และวงดนตรีโรงเรียนสาธิต
ครัง้ ที่ 17 และ18 ทจ่ี ดั ข้ึน ณ ประเทศเนเธอรแลนด, วงแจส จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั , วงดนตรจี ากมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
ออรเคสตราจากมหาวิทยาลัยรังสิต, วงดุริยางคเคร่ืองลมศิลปากร ราชมงคลธัญบรุ ี รวมถงึ การแสดงฟอนเอนิ้ ขวญั ของนกั ศกึ ษา
เปนกลุมนักดนตรีในคณะดุริยางคศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร จากวิทยาลัยดนตรีและศิลปะการแสดง SCA มหาวิทยาลัย
บรรเลงเพลงดนตรคี ลาสสิกและเพลงรวมสมัย สมาชิกของวง สยาม พรอมยกวงดนตรีมารังสรรคบทเพลงพระราชนิพนธ
ลวนมีประสบการณการเลนดนตรีในระดับประเทศและ บทเพลงเทิดพระเกยี รติ และบทเพลงรวมสมัย
ในระดบั นานาชาติ อาทิ 130 Anniversary of Japan - Thailand ซ่ึงในขณะที่ตางจังหวัดบรรยากาศก็คึกคักกระห่ึม
Relations Concert Conducted by Yasuhide lto. เปนตน ไปดวยเสียงเพลงพระราชนพิ นธ อาทิ มหาวิทยาลัยเชียงใหม
และยังไดเคยรวมงานกับศิลปนระดับโลกอยาง Johan de จัดแสดงดนตรี อว. เทิดพระเกียรติลมหนาว ณ บริเวณ
Meji Bert Appermont Yesuhide lto. และอาจารยดําริห ลานนํา้ พศุ าลาธรรม, มหาวิทยาลัยนเรศวร ขับรองประสานเสียง
บรรณวิทยกิจ, วงดนตรี “KMITL Chorus” จากสถาบัน เพลงพระราชนิพนธ ณ ลานพระบรมราชานุสาวรียสมเด็จ
เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), พระนเรศวรมหาราช, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาํ ปาง รว มกบั อว.
วงดนตรี “แกว เจา จอม” จากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา, สวนหนา จังหวัดลาํ ปาง จัดแสดงดนตรี ณ ขว งวฒั นธรรม สาํ นกั
วงดนตรีจากสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา, การบรรเลง ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง, มหาวิทยาลัย
วงปพาทยไมนวม จากนักเรียนโรงเรียนจิตรลดาวิชาชีพ ราชภัฏยะลา รวมกับ อว. สวนหนา จังหวัดยะลา จัดแสดง
ดนตรีพื้นบานบรรเลงเพลงพระราชนิพนธ ณ หอประชุม
เฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร
รวมกับ อว. สวนหนา จังหวัดนราธิวาส จัดแสดงดนตรี
ณ สวนกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร เทศบาลเมืองนราธิวาส
และมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งราย จัดแสดงดนตรี ณ มหาวทิ ยาลยั
ราชภฏั เชยี งราย เปน ตน
การแสดงดนตรีเทิดพระเกียรตใิ นคร้ังน้ี แสดงใหเ ห็น
ถึงความสามารถและความต้ังใจในการทํานุบํารุง สืบสาน
ศิลปวัฒนธรรมประจําชาติของไทย และการรําลึกถึง
พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของในหลวงรชั กาลที่ 9 ใหซ าบซง้ึ อยใู นใจ
ของผูท ไี่ ดรบั ชมและรับฟง ตลอดไป
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
5
National Research Council of Thailand (NRCT)

งานวิจัย : การเกษตร

การยกระดับการเลี้ยงแพะในภาคอีสาน
สรางความเขมแข็งใหเครือขายเกษตรกรและเศรษฐกิจฐานราก

นับตั้งแตเกิดวิกฤติโควิด-19 (COVID-19) อัตราการ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
วางงานในประเทศไทยไดเพ่ิมข้ึนทวีคูณ มีผลกระทบโดยตรง เห็นความสําคัญของการวิจัยพัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานราก
ตอการดํารงชีวิตประจําวัน กิจกรรมในภาคเศรษฐกิจลดลง เพอ่ื แกไ ขปญ หาเฉพาะหนา ทางเศรษฐกจิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ขณะเดยี วกนั
อยางรุนแรง การวางงานเพิ่มขึ้น และรายไดจากการทํางาน ก็เปนการสรางความมั่นคงในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ลดลง แรงงานท่ีไดรับผลกระทบจากการถูกเลิกจางสวนใหญ ในระยะยาว จึงไดสนับสนุนทุนวิจัยโครงการ “การประยุกต
เดินทางกลับภูมิลําเนาในตางจังหวัดเปลี่ยนไปประกอบอาชีพ เทคโนโลยีชีวภาพและการสรางเครือขายเกษตรกรเพ่ือผลิต
เกษตรกรรมมากข้ึน แตการพัฒนาทางการเกษตรยังเจริญเติบโต พอแมพันธุแพะในประเทศไทย” แกมหาวิทยาลัยขอนแกน
ไมทันตอการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว จึงทําใหเศรษฐกิจฐานราก โดยมี รองศาสตราจารย ดร.ไชยณรงค นาวานุเคราะห
ยังไมบรรลุเปาหมาย รวมถึงปญหาความเหล่ือมล้ําทางสังคม คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนหวั หนาโครงการฯ
สงผลใหในชวงหลายสิบปที่ผานมาเศรษฐกิจในชนบท ซึ่งประชาชน จากผลการวิจยั สรปุ ไดวา ในบรรดาปศุสัตวท่ีสามารถ
สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมอยูในสภาพที่ไมเขมแข็ง ขับเคลื่อนและสรางความม่ันคงเศรษฐกิจฐานรากไดในระยะเวลา
มากนกั เพราะขาดการพฒั นาในหลาย ๆ ดา น ทาํ ใหภ าคเกษตรกรรม รวดเร็วคือการเล้ียงแพะ เพราะใชระยะเวลาเล้ียงเพียง 1 ป
ไมสามารถรองรับแรงงานท่ีอพยพคืนถิ่น และตอบโจทย ก็ใหผลตอบแทนได สามารถขายไดท้ังในรูปแบบเนื้อชําแหละหรือ
ในการสรา งความมน่ั คง ยงั่ ยนื ในการประกอบอาชพี ได จาํ เปน ตอ ง ขายทง้ั ตวั แตเ นอื่ งจากผเู ลย้ี งสว นใหญเ ปน เกษตรกรรายยอ ยมขี อ จาํ กดั
ใหก ารสนบั สนนุ อยา งครบวงจร สาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) ทงั้ เงนิ ทนุ และความรู การเลยี้ งแพะจงึ ยงั คงอยใู นรปู แบบดง้ั เดมิ

6 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

คือ เล้ียงแบบปลอยฝูง ปลอยใหผสมพันธุกันเองตามธรมชาติ และปจจัยการผลิต รวมทั้งหมุนเวียนพอพันธุและแมพันธุ
โครงการวิจัยในคร้ังนี้ จึงเนนการนําเทคโนโลยีชีวภาพมาชวย เพ่ือปองกันไมใหเกิดการผสมพันธุแพะในฝูงเดียวกัน และ
เพ่ือยกระดับและมาตรฐานในการเลี้ยงแพะใหเปนฟารม สําหรับกลุมเกษตรกรท่ีสนใจดานการแปรรูปเพ่ือเพ่ิมมูลคา
ปลอดโรคที่ไดมาตรฐานของกรมปศุสัตว การพัฒนาการผลิต เชน เนื้อสเต็กแพะ ลูกชิ้น ไสอั่ว แกงมัสม่ันนองแพะ
พอพันธุ แมพนั ธทุ ีม่ ีคุณภาพดว ยวิธีการผสมเทยี ม การจดั การ แจวฮอนเนื้อแพะ (สุก้ีอีสาน) เกษตรกรในแตละกลุมจะ
ดูแลแพะเพ่ือเพ่ิมอัตราการติดลูก การเพิ่มมูลคาเนื้อแพะ มีอาจารยผูเชี่ยวชาญแตละดานลงไปใหความรูและคําปรึกษา
ดวยการแปรรูปและเพิ่มรายไดใหกับเกษตรกร โดยการอบรม และเพื่อใหการดําเนินโครงการเปนไปตามเปาหมายจึงมีการจัดตั้ง
ใหความรูเกษตรกรผูเล้ียงแพะท้ังภาคทฤษฎีและการลงมือ ธนาคารน้ําเช้ือแพะขึ้นท่ีมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ เพ่ือเปนศูนยกลาง
ปฏบิ ตั จิ รงิ ครอบคลุมในเร่อื งดังตอไปนี้ 1) เทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตน้ําเช้ือแชแข็งและการผสมเทียมแพะ การวิจัยพัฒนา
ดานชีววิทยาการสืบพันธุในแพะแมพันธุ 2) เทคโนโลยี คุณภาพนํ้าเช้ือใหมีความแมนยําในการผสมเทียมมากข้ึน
ชวี ภาพการทํางานของรงั ไข มดลกู รก เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธิภาพ เนนการผลิตน้ําเช้ือแพะแชแข็ง 3 สายพันธุ คือ พันธุบอร
การสืบพันธุแมพันธุแพะ และ 3) เทคโนโลยีชีวภาพดานการ พันธแุ องโกลนเู บยี น และพันธพุ ้ืนเมอื ง ขณะน้ีไดเปดใหบริการ
เพ่ิมคุณภาพนํ้าเชื้อแชแข็งเพ่ือการผสมเทียมและธนาคารอสุจิ เกษตรกรใน 2 รปู แบบ คือ 1) บรกิ ารผสมเทยี ม โดยเปดอบรม
แพะพอ พันธุ หลักสูตรการผสมเทียมเปนแบบนอนดีกรี คือมาเรียนแลว
โดยผลจากการดําเนนิ งานโครงการวจิ ยั ฯ ในชวง 1 ป เก็บหนวยกิตสะสมเอาไว จนกระทั่งหนวยกิตสะสมเพียงพอ
ทผ่ี า นมา จากการใชน า้ํ เชอื้ สดและนาํ้ เชอื้ แชแ ขง็ ผสมเทยี มแพะ ก็ขอรับปริญญาได หรือนําไปประกอบการขอสินเชื่อเพ่ือเลี้ยงแพะ
เสริมดวยอาหารสมุนไพรท่ีสกัดจากวานชักมดลูก ชวยใหแพะ จาก ธ.ก.ส. 2) จําหนายน้ําเช้ือแพะ เพ่ือใหเกษตรกรนําไป
ต้ังทอง คลอดลูกงาย มดลูกเขาอูเร็ว สามารถเพิ่มอัตราการ ผสมเทียมเอง แตเนอ่ื งจากเกษตรกรท่ีมีชํานาญการผสมเทียม
ตดิ ลูกแพะของเกษตรกรทร่ี ว มโครงการไดประมาณ 10 เปอรเ ซน็ ต แพะมีคอนขางนอย จึงไดเปดหลักสูตรอบรมการผสมเทียม
แมจะเปนตัวเลขที่ไมสูงมากแตเกษตรกรก็พึงพอใจเพราะ ใหเกษตรกรดวย ขณะนี้อยูในขั้นเร่ิมตนเพราะเพ่ิงกอตั้ง
สามารถลดตนทุนการผลิตสัตวไดถึง 40 เปอรเซ็นต ทําให คาดวาในระยะเวลา 3 ป
เกษตรกรมีรายไดเพ่ิม สําหรับเกษตรกรท่ีสนใจเขารวมโครงการฯ จะสามารถใหบริการ
จากภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต จํานวนกวา 200 คน เกษตรกรไดเต็มรูปแบบ
จะใหก ารสนับสนนุ เพื่อสรา งเปนผูป ระกอบการรนุ ใหม มชี ่ือวา ตอไป
“โครงการสรางผูประกอบการใหมหรือสตารทอัพ (Startup)
เพอื่ ผลิตแพะเชิงพาณชิ ย” ซึง่ แยกออกเปน 2 กลุม ตามความสนใจ
ของเกษตรกรผเู ลยี้ งแพะ ไดแก กลุม เกษตรกรท่ีสนใจการเล้ียง
พอพนั ธุแ ละแมพ นั ธุ สง เสริมและสนับสนนุ ใหใ ชการผสมเทียม
แทนการผสมพนั ธุโ ดยพอ พนั ธแุ พะ เพ่อื จําหนา ยพอพนั ธุ แมพ ันธุ
ซึ่งเกษตรกรจําเปนตองปรับเปล่ียนใหเปนฟารมท่ีไดมาตรฐาน
โดยยกระดบั เปน ฟารม GFM ฟารม ปลอดโรคบรเู ซลลา เกรด B
และผลักดันใหมีการเชื่อมโยงกันเปนเครือขายเพื่อแลกเปลี่ยนความรู

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 7

National Research Council of Thailand (NRCT)

งานวิจัย : การเกษตร

นวัตกรรม “เครอ่ื งเรง กระบวนการแชแ ละเพาะงอกขาวเปลอื ก
เปนขา วกลองฮางงอก ภายใน 24 ชวั่ โมง”

ขาŒ วฮางงอก เปนš การทาํ ขาŒ วกลอŒ งงอก จากการนาํ ขาŒ วเปลอื ก เครอ่ื งเรง กระบวนการแชแ ละเพาะงอกขา วเปลอื ก ใชว ธิ กี ารแช
ที่มีอายุก‹อนการเก็บเกี่ยว มาแช‹น้ํา ทําการเพาะงอก น่ึง และผ‹านการอบแหŒง และเพาะงอกขาวเปลือกในถังเดียวกันโดยใชระบบน้ําแบบหมุนเวียน
ถือเปšนภูมิป˜ญญาของชาวอีสาน ซ่ึงนิยมบริโภคเพื่อเปšนยา เน่ืองจาก ฉีดสเปรยน า้ํ ใหไ หลผานลงบนเมลด็ ขา ว ประมาณ 20 - 30 นาที
มีคุณค‹าทางอาหาร และมีราคาคŒาปลีกที่สูง เดิมทีวิธีการผลิตของ และหยุดพักประมาณ 60 - 90 นาที โดยกนถังออกแบบให
ชาวบŒาน ตŒองใชŒทรัพยากรจํานวนมาก และใชŒเวลาในการผลิตขŒาว ปริมาณการไหลเวียนและระยะตกลงถังพักที่เหมาะสมจึงทําให
ประมาณ 7 วนั เกิดปริมาณกาซออกซิเจนเพ่ิมขึ้นในขั้นตอนน้ีได การหยุดพักและ
สาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) กระทรวงการอดุ มศกึ ษา การฉีดสเปรยน้ําหมุนเวียนเปนวัฏจักรคาบเวลาเปนการทําให
วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) ไดเ หน็ คณุ คา ของภมู ปิ ญ ญา เกิดอุณหภูมิภายในถังเพาะงอกที่เหมาะสมตอการงอกเมล็ดขาว
ของชาวอีสานและตองการสนับสนุนเพื่อพัฒนาการผลิตขาวฮางงอก ซง่ึ พบวา เกดิ การงอกในระยะเวลาอนั รวดเรว็ จงึ ชว ยยน ระยะเวลา
ใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพดีมากย่ิงขึ้นและมีตนทุนในการผลิตท่ีถูกลง การผลิตใหสั้นลง และไดผลผลิตคุณภาพดีย่ิงข้ึน มีกล่ิมหอม
เพื่อเพ่ิมมูลคาใหกับขาวฮางงอกและสงเสริมการสรางอาชีพและ เน้ือสัมผัสดี ตอบโจทยการผลิตในจํานวนมาก แตลดตนทุน
ภูมิปญญาทองถ่ินใหคงอยูตอไป โดยใชวิทยาศาสตรการวิจัยมาใช ดานการผลติ และอนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอม นอกจากน้ี ยังปรากฏสารกาบา
จงึ ไดส นบั สนุนทนุ วจิ ยั แกน กั วิจยั คณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั ในขา วฮางงอกจากการใชนวตั กรรมมากถึง 2977 mg/100 g เพม่ิ ข้ึน
มหาสารคาม เพ่ือการผลิตนวัตกรรม “เคร่ืองเรงกระบวนการแชและ จากวธิ ีการด้งั เดมิ ถงึ 300 เทา
เพาะงอกขาวเปลือก สาํ หรับการผลิตขา วกลอ งฮางงอกคณุ ภาพดี การพัฒนานวัตกรรมน้ี เปนสวนหนึ่งในการสงเสริมอาชีพ
ชวยอนุรักษพลังงาน เพ่ิมคุณภาพและปริมาณการผลิต” โดยมี และภูมิปญญาทองถ่ินใหคงอยูตอไป โดยนําหลักการทางวิทยาศาสตร
รองศาสตราจารย ดร.สพุ รรณ ยงั่ ยนื จากสาขาวศิ วกรรมเครอื่ งกล และนวัตกรรมมาใช จากเดิมท่ีตองใชระยะเวลาและกระบวนการ
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.) และ ทยี่ งุ ยากซับซอ น นวตั กรรมสามารถสรา งแรงจงู ใจใหแ กเกษตรกร
คณะนกั วจิ ยั ทาํ การศกึ ษาคดิ คน นวตั กรรมเครอ่ื งเรง กระบวนการแช ยุคเกาและยุคใหมในการตัดสินใจแปรรูปผลิตภัณฑมากยิ่งขึ้น อีกท้ัง
และเพาะงอกขาวเปลือก ซึ่งเปนหัวใจสําคัญสําหรับการผลิต สามารถออกแบบใหม คี วามยดื หยนุ สาํ หรบั การนาํ ไปใชใ นลกั ษณะ
ขาวกลองงอก ใหส าํ เรจ็ ไดภายใน 24 ช่วั โมง จากเดมิ ใชเ วลา 3 วนั พื้นท่ีตาง ๆ มีการถายทอดองคความรูสูภาคอุตสาหกรรมและ
ซึ่งถือเปนนวัตกรรมใหมลาสุด ท่ีสามารถลดการใชแรงงานลงได กลุมสนับสนุนของจงั หวัดตาง ๆ ดังเชน ในหลายจงั หวดั ทางภาคเหนือ
2.5 - 3 เทา อีกทง้ั ยงั ประหยดั พลงั งานมาก โดยใชไ ฟฟา เพียง 40 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ีมีการยอมรับและสนับสนุน
และใชนํา้ 1,000 ลติ ร เทาน้นั ตอ จาํ นวนการผลิต 500 กิโลกรมั นวัตกรรมดังกลาวไปใชตอยอดในการผลิตขาวฮางงอกไดอยางมี
ประหยดั นํ้ามากขึ้นถงึ 5 เทา โดยขณะน้ี วช. ไดใหข ยายผลไปใน ประสทิ ธิภาพ
5 เขตพนื้ ทดี่ ําเนินโครงการฯ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
8
National Research Council of Thailand (NRCT)

งานวิจัย : การเกษตร

การพฒั นาโรงเพาะเห็ดดวยเทคโนโลยสี มารทฟารม

วิธีการดูแลและจัดการฟารมเพาะเห็ดนางฟ‡าที่ผ‹านมา และกลมุ เครือขา ยอืน่ ทสี่ นใจ โดยไดทดลองการเพาะเหด็ นางฟา กอ น
ผเŒู พาะเหด็ จะใชวŒ ธิ กี ารแบบดงั้ เดมิ คอื การคาดคะเนและใชคŒ วามชาํ นาญ ผลจากการวิจัยสามารถตอบโจทยการลดใชแรงงานอํานวย
ในการสงั เกตและสมั ผสั ถงึ ความชน้ื ในอากาศและในตวั เหด็ หากตอŒ งการ ความสะดวกในการควบคุมดูแลเห็ดไดดี และทําใหไดผลผลิต
เพมิ่ ความชื้นก็จะใชสŒ ายยางในการฉดี โดยเฉพาะในช‹วงฤดูรอŒ น ทเ่ี หด็ ทม่ี คี ุณภาพมากยิ่งขน้ึ
ขาดสมดุลความช้ืนมากกว‹าฤดูฝน ทําใหŒเกิดความยากลําบากมาก ผลจากการวิจัย เริ่มตนจากการออกแบบโรงเรือนเพาะเห็ด
ส้ินเปลืองแรงงานและเวลา ทําใหŒในบางคร้ังไดŒผลผลิตไม‹เปšนไปตาม ใหม คี วามสอดคลอ งกบั ระบบทจ่ี ะตดิ ตงั้ พฒั นาแอพพลเิ คชนั หรอื
เป‡าหมาย เน่ืองจากไม‹มีเทคโนโลยีและองคความรูŒทางวิชาการมาช‹วย ทีเ่ รยี กวา เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตในสรรพสง่ิ (IoT) เพือ่ ใชค วบคมุ
สนบั สนนุ ในการจดั การฟารม หรือโรงเพาะเห็ด การทํางานใน 2 โหมด คือ โหมดสั่งการโดยผูใชงาน และแบบ
สาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) กระทรวงการอดุ มศกึ ษา อัตโนมัติ เพ่ือควบคุมการเปด - ปดระบบไฟฟา ระบบพนหมอก
วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) จงึ ไดใ หก ารสนบั สนนุ ทนุ วจิ ยั ระบบสปริงเกอรหลังคา ระบบพัดลม และระบบรดนํ้าบนพื้น
แกน กั วจิ ยั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั วทิ ยาลยั รตั ภมู ิ ภายในโรงเรอื นเพาะเหด็ โดยมเี ซนเซอรค อยวดั อณุ หภมู ิความช้ืน
ดําเนินโครงการการจัดการองคความรูและถายทอดเทคโนโลยี กาซคารบอนไดออกไซด และความเขมแสง พรอมทั้งนําเสนอ
เกษตรแมนยําสูระบบฟารมเพาะเห็ดอัจฉริยะ (KM เครือขาย) เปนกราฟขอมูลในการควบคุม ดูการทาํ งาน และวเิ คราะหสภาวะ
โดยมี ผชู ว ยศาสตราจารยวนั ประชา นวนสรอ ย แหงมหาวิทยาลยั ท่ีเหมาะสมในการเพาะเห็ด ซ่ึงระบบจะบงบอกชวงเวลาการเก็บเห็ด
เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชยั วิทยาลัยรัตภมู ิ เปน หัวหนาโครงการวจิ ัย การพนหมอก และการใหนํ้าบนพื้นได ผูใชงานสามารถดูการ
เพ่ือชวยวสิ าหกจิ ชมุ ชนบา นปลายละหาน อาํ เภอรัตภูมิ จงั หวัดสงขลา ทํางานตา ง ๆ ได ผานการแจง เตือนบนแอพพลิเคชัน LINE ในทกุ ๆ
เพาะเห็ดนางฟา ดวยเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตในสรรพส่ิง (IoT) 1 ชวั่ โมง
จัดการฟารมและผลผลิตอยางมีประสิทธภิ าพ อยา งไรก็ตาม ผชู วยศาสตราจารยวันประชา นวนสรอย
จากการถา ยทอดองคค วามรูและติดตั้งเทคโนโลยีเกษตร ไดสรุปวา เทคโนโลยีน้ี ยังคงตองพัฒนาทางดานเทคนิคอยางตอเน่ือง
แบบแมน ยาํ คือ ระบบฟารมเพาะเหด็ อัจฉรยิ ะ หรอื สมารทฟารม เพื่อใหเกิดเปนผลิตภัณฑที่มีคุณภาพสูง โดยขณะน้ีไดตอยอด
ใหก บั กลมุ ผเู พาะเหด็ ชมุ ชนบา นปลายละหาน อาํ เภอรตั ภมู ิ จงั หวดั สงขลา การทดลองเพาะเห็ดหลินจือ การเพ่ิมกลองวงจรปด และอื่น ๆ
เพื่อเพ่ิมมูลคาใหเทคโนโลยี โดยมุงหวังเปนอยางยิ่งวาจะสามารถ
นําไปใชงานไดสะดวกมากยิ่งขึ้น ทั้งในดานการติดต้ังและการใชงาน
มเี สถียรภาพสงู สดุ และเกดิ ปญ หานอยทส่ี ดุ
โดย วช. ไดสงเสริมและสนับสนุนการใชประโยชน
องคความรูจากผลงานวิจัยและนวัตกรรม เพื่อนําไปพัฒนาเชิงพ้ืนที่
และชุมชน โดยความรวมมือของภาคสวนวิจัยที่มีความพรอม
ในการชวยพัฒนากระบวนการผลิต พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต
ใหกับชุมชน อันเปนฐานรากแหงการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวม
ของประเทศ ใหมคี วามเขมแขง็ และยง่ั ยนื ตอ ไป

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 9

National Research Council of Thailand (NRCT)

งานวิจัย : รองรับสังคมสูงวัย

นวัตกรรม “รถยนตส ามลอไฟฟาสําหรับผูสูงอายแุ ละคนพิการทางการเคล่ือนไหว”

สถานการณการแพร‹ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) จนมีรูปลักษณภายนอกที่สวยงาม มีความปลอดภัย และผานการ
ส‹งผลกระทบต‹อประชาชนเปšนวงกวŒาง ครอบคลุมทุกกลุ‹ม ทุกช‹วงวัย ทดสอบตามเงอ่ื นไขและหลกั เกณฑข องกรมขนสง ทางบกทกุ ประการ
รวมทง้ั กลุม‹ เปราะบาง และกลุ‹ม “คนพกิ าร” จากการสาํ รวจความพิการ จนสามารถจดทะเบียนกับกรมขนสงทางบกได แตดวยเทคโนโลยี
และทุพพลภาพของประเทศไทยท่ีผ‹านมา พบว‹า สัดส‹วนคนพิการ ยานยนตไ ฟฟา กาํ ลงั เตบิ โตอยา งยงิ่ ยวด ทาํ ใหผ พู กิ ารสนใจและอยาก
ในประเทศไทย ภาพรวมไม‹มีการเปลี่ยนแปลงมากนัก แต‹ก็ยังพบ เขาถึง จึงมีแนวคิดในการออกแบบพัฒนาและผลิตรถสามลอไฟฟา
ความเหลอื่ มลา้ํ ในกลม‹ุ คนพกิ ารในหลาย ๆ ดาŒ น โดยปจ˜ จยั กาํ หนดสขุ ภาพ สําหรับคนท่ีพิการ เพื่อเปนอีกหนึ่งทางเลือกของคนพิการ อีกท้ัง
ทางสงั คม เช‹น การศกึ ษา การประกอบอาชพี รายไดŒ การดําเนนิ ชีวิตประจาํ วัน เพ่ือเปนการสรางคุณคาหรือสรางความเทาเทียมเทียมกันใหแก
ซึง่ ปจ˜ จัยเหล‹านส้ี ‹งผลในทางลบต‹อสขุ ภาพของคนพกิ าร คนพกิ าร ไดมีโอกาสใชเ ทคโนโลยใี หม ๆ เหมือนคนปกติ
จากปญหาดังกลาว สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) การออกแบบพัฒนาและผลิตรถยนตสามลอไฟฟาสําหรับ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) คนพกิ ารใชเกาอี้รถเข็นทดแทนการดัดแปลงยานพาหนะอื่น ๆ เพือ่
จงึ สนับสนุนทนุ วจิ ยั ให รองศาสตราจารย ดร.ดอน อิศรากร อาจารย ลดการนําเขาสินคา/ผลิตภัณฑที่เปนยานพาหนะสําหรับคนพิการ
ประจาํ สาขาวชิ าวศิ วกรรมการจดั และควบคมุ คณะวศิ วกรรมศาสตร คือมีการออกแบบ ผลิตช้ินสวน/องคประกอบของรถยนตสามลอ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง คิดคน ทั้งหมดภายในประเทศ ทําการทดสอบเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐาน
“รถยนตสามลอไฟฟาสําหรับผูสูงอายุและคนพิการทางการเคล่ือนไหว” ของกรมการขนสงทางบกเพ่ือใหสามารถจดทะเบียนไดอยางถูกตอง
ทเี่ ปน นวตั กรรมจากการนาํ เทคโนโลยมี าสรา งสง่ิ อาํ นวยความสะดวก เชน ความสามารถในการรับนํา้ หนกั , ความเร็ว, การไตท างลาด, วงเลีย้ ว
ใหกับคนพิการในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการใชชีวิตใหทํางานได ทดสอบเชิงเทคนิคในอีกหลาย ๆ ดาน เชน กําลังขับเคลื่อนดวย
เหมอื นคนปกตจิ นเปนผลสาํ เร็จ มอเตอรไฟฟา, อัตราส้ินเปลืองพลังงาน, การทดสอบความเร็วใน
รถตนแบบคันแรกไดถูกพัฒนาขึ้น โดยการออกแบบให เง่ือนไขท่ีแตกตางกัน, ทดสอบการหามลอในเง่ือนไขที่แตกตางกัน,
เคร่ืองยนตวางอยูดานหนา เพ่ือใหพ้ืนที่ดานหลังของตัวรถอยูตํ่า ทดสอบใชงานตามภูมิภาคตาง ๆ, ประสิทธิภาพของระบบจายและ
อีกทั้งยังออกแบบใหพื้นท่ีสําหรับรถเข็น สามารถปรับขึ้นลงไดดวย ชารจ แบตเตอรี่ รวมถงึ การออกแบบและพฒั นาวธิ กี ารประจแุ บตเตอรี่
มอเตอรไฟฟา เพ่ือใหคนพิการสามารถดันรถเข็นข้ึนไปบนตัวรถได ท้ังแบบ Normal Charge หรอื แบบ Quick Charge ชิน้ สวนของ
สะดวกทส่ี ุด แตก ระน้ันก็ดี การผลิตรถยนตส ามลอ สาํ หรับคนพกิ าร รถยนตสามลอไฟฟา เปนชิ้นสวนที่หาไดในประเทศเพื่อใหงายตอ
ยังมีเง่ือนไขท่ีจํากัด ทั้งงบประมาณและเวลา ทําใหการออกแบบ ผลิต การซอมบํารุงในอนาคต การออกแบบอุปกรณชารจท่ีตอบสนอง
และทดสอบน้ันไมสามารถทําได เชน โครงสรางที่ไมถูกหลักจลนศาสตร การใชงานกบั ระบบไฟฟา ทใี่ ชง านท่วั ไป และการชารจ แบตเตอรน่ี ัน้
ของยานยนต การวางตําแหนงของเครื่องยนตที่ไมเหมาะสม จะใชอ ุปกรณท ่มี ีมาตรฐาน เชน คอนเนค็ เตอร ระบบชารจที่ควบคุม
รูปลักษณภายนอกไมมีความสวยงาม ไมปลอดภัยเม่ือเกิดอุบัติเหตุ ดว ยระบบอตั โนมตั ิ อุปกรณปองกันกระแสไฟฟาลัดวงจร
ไมถ กู หลกั เกณฑข องขนสง หลายประการทาํ ใหไ มส ามารถจนทะเบยี นได รถยนตสามลอไฟฟาสําหรับคนพิการใชเกาอ้ีรถเข็นนี้
ซ่ึงการผลิตรถยนตสามลอสวนบุคคลสําหรับคนพิการได ผานกระบวนการทดสอบในขณะที่มีน้ําหนักรถและน้ําหนักบรรทุก
ถูกปรับปรุงแกไขและเพิ่มเติมอยูหลายคร้ังเพ่ือใหผลลัพธที่ดีท่ีสุด (คนน่งั พรอ มเกาอี้รถเขน็ คนพกิ าร) 90 กิโลกรมั ไดค วามเรว็ สูงสดุ
77 กิโลเมตรตอชั่วโมง และไดรับการจดทะเบียนอยางถูกตองแลว
องคค วามรแู ละตน แบบทเี่ กดิ ขนึ้ สามารถนาํ ไปตอ ยอดเชงิ พาณชิ ยไ ด
การผลิตจํานวนมาก (Mass Production) เพ่ือรองรับ
ความตองการของคนพิการท่ีมีความตองการใชยานพาหนะในการ
เดินทางและดําเนินชีวิตแบบคนปกติ เชน ใชสําหรับเดินทางไป
ทํางาน ไปทาํ กจิ กรรมหรอื กจิ ธรุ ะตาง ๆ ทาํ ใหคนพกิ ารไมเ ปนภาระ
ของครอบครัว/สังคม ยังเปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและ
การใหโอกาสทางสังคมแกค นพกิ ารอกี ดวย

10 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

อว. รว มกบั กอ.รมน. เสรมิ สรา งความเขม แข็งวสิ าหกจิ ชุมชนดวยวิจยั และนวตั กรรม
มอบเครอื่ งอบแหง อนิ ฟราเรดแบบถังหมุน
ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหล‹าธรรมทัศน รัฐมนตรี ของ รองศาสตราจารย ดร.จกั รมาส เลาหวณชิ รองผจู ดั การ ศนู ยค วามรว มมอื
ว‹าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม กบั ภาคอุตสาหกรรม คณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
มอบนวัตกรรมเคร่ืองอบแหŒงอินฟราเรดแบบถังหมุน ใหŒกับวิสาหกิจชุมชน และผชู ว ยศาสตราจารย ดร.สุพรรณ ยงั่ ยืน มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
กลุ‹มผูŒผลิตขŒาวอินทรียครบวงจร และวิสาหกิจชุมชนขŒาวทิพยชŒาง ท่ี วช. และ กอ.รมน. ไดใหการสนับสนุนทุนวิจัยมาแกไขปญหาเรื่อง
จังหวัดลําปาง เพื่อไวŒใชŒงาน และส‹งเสริมความเขŒมแข็งเศรษฐกิจและ ความช้นื ของขา วและเมล็ดพนั ธเุ กษตร โดยไดม กี ารขยายผลไปในพื้นที่
เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2564 ดแู ลของ กอ.รมน. แลวใน 4 ภูมิภาค
โดยมี นายอนวัช สัตตบุศย ปลัดจังหวัดลําปาง ในฐานะเลขาธิการ สาํ หรบั เครอ่ื งอบแหง อนิ ฟราเรดแบบถงั หมนุ เปน นวตั กรรม
กอ.รมน. จังหวัด กล‹าวตŒอนรับ นายธีรวัฒน บุญสม ผูŒอํานวยการ ท่ีไดรับการข้ึนบัญชีส่ิงประดิษฐไทย และไดรับการสนับสนุนโครงการ
กองส‹งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม สํานักงานการวิจัย สง เสรมิ และสนับสนนุ ตอ ยอดสิ่งประดิษฐไทย ประจาํ ป 2559 ของ วช.
แห‹งชาติ (วช.) ไดŒรับมอบหมายจากผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัย ซึ่งนวัตกรรมดังกลาว ไดถูกนํามาสาธิตการใชเคร่ืองในกิจกรรมอบรม
แห‹งชาติ ใหŒกล‹าวรายงาน ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ‹มผูŒผลิตขŒาวอินทรีย เชิงปฏิบัติการใหกับเกษตรกร เปนอุปกรณท่ีกําเนิดรังสีอินฟราเรด
ครบวงจร หม‹ู 4 ตาํ บลพชิ ยั อําเภอเมอื ง จังหวัดลาํ ปาง แบบใชกาซเชื้อเพลิงเผาในแผนเซรามิกรอน และแผรังสีอินฟราเรด
ซ่ึงนวัตกรรมเคร่ืองอบแหงดังกลาวถือเปนความสําเร็จ ออกมา สวนแกสรอนจากการเผาไหม จะถูกลมพัดเปาไปดา นทา ยของ
ที่นักวิจัยไทยสามารถผลิตไดเอง โดยไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก ถังอบ เปนลมรอนสําหรับอบแหงตอเนื่องจากรังสีผลิต จุดเดนของวิธี
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) นํามามอบใหเกษตรกรในพื้นที่ การอบแหง คอื การไดผ ลการอบแหง ทด่ี ี ทง้ั ในดา นการใชพ ลงั งาน และ
ตําบลพิชัย จังหวัดลําปาง นําไปใชประโยชนแลว และขณะน้ี ดานคุณภาพของวัสดุ และยังสามารถเคลื่อนยายไปทํางานยังสถานที่
มีบริษัทเอกชน รับไปผลิตตอและจําหนายท้ังในและตางประเทศ ตา ง ๆ ไดอ ยา งสะดวก ดา นการใชแ รงงานในการควบคมุ การทาํ งานของ
โดยในครั้งนี้ วช. รวมกับ กองอํานวยการรักษาความม่ันคงภายใน เครอ่ื งจะใชแ รงงานอยูที่ 1 - 2 คน จงึ เปน เคร่ืองอบแหงทใี่ ชพลงั งานได
ราชอาณาจักร (กอ.รมน.) นําองคความรูจากผลงานวิจัยและ คุม คา ประหยดั เช้อื เพลิง และคาจางแรงงาน เหมาะสําหรบั ธรุ กจิ ขนาดยอม
นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพ้ืนที่ชุมชนเขมแข็งดวยวิจัยและ กลุมเกษตรกรสามารถอบแหงไดทั้งวัสดุที่มีลักษณะเปนผงกอนเม็ด
นวัตกรรม ผานการดําเนินงานของศูนยประสานการปฏิบัติท่ี 1 - 5 เมล็ดพืช ถือเปนเครื่องมือทุนแรงที่เหมาะสําหรับกลุมเกษตรกร
โดย วช. ไดนํานวัตกรรมเครื่องอบแหงอินฟราเรดแบบถังหมุน วสิ าหกิจชมุ ชน และผูป ระกอบการรายยอ ย เปน อยางมาก

การมอบ “นวัตกรรมตูลอ็ คเกอรป ลอดเช้ือควบคุมผา นสมารท โฟน” 11
ศาสตราจารยพ เิ ศษ ดร.เอนก เหลา ธรรมทศั น รฐั มนตรวี า การกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร
วิจัยและนวัตกรรม เปนประธานสงมอบ “นวัตกรรมตูล็อคเกอรปลอดเช้ือควบคุมผานสมารทโฟนเพ่ือรับมือ
กบั สถานการณโ ควดิ -19” ซงึ่ เปน ผลงานทไี่ ดร บั รางวลั การวจิ ยั แหง ชาติ ประเภทรางวลั ผลงานประดษิ ฐค ดิ คน
ประจาํ ป 2564 โดยมี ศาสตราจารย ดร. นายแพทยส ริ ฤิ กษ ทรงศวิ ไิ ล ปลดั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร
วจิ ยั และนวตั กรรม รองศาสตราจารย ดร. คณุ หญงิ สมุ ณฑา พรหมบญุ อธกิ ารบดสี ถาบนั เทคโนโลยจี ติ รลดา และ
ดร.วภิ ารตั น ดีออง ผอู าํ นวยการสาํ นักงานการวจิ ยั แหง ชาติ นางสุจติ รา พิทยานรเศรษฐ อธบิ ดีกรมกิจการผสู ูงอายุ
นางสาวสราญภทั ร อนมุ ัติราชกจิ อธิบดกี รมสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพกิ าร และ พลโท พิเศษ ศิรเิ กษม
รองเลขาธกิ ารกองอาํ นวยการรักษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจกั ร ผูช วยศาสตราจารยบ ัวรอง ลวิ่ เฉลิมวงศ
ผูช วยอธกิ ารบดสี ถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา (ผูแ ทนสํานกั งานราชเลขานุการในพระองค 904) เปน ผรู ับมอบฯ
เมอื่ วันท่ี 1 พฤศจิกายน 2564 ณ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวตั กรรม (อว.)

สําหรับการใชงานของนวัตกรรมตูล็อคเกอรปลอดเช้ือควบคุมผานสมารทโฟน สามารถเลือกใช
งานไดถงึ 3 ระบบจากการส่งั งานผา นโทรศพั ทส มารทโฟน อาทิ การอบฆาเชอื้ ดวยกาซโอโซน การอบฆาเช้อื
ดวยรังสี UV และการอบฆาเช้ือดวยความรอน โดยควบคุมการทํางานดวยเทคโนโลยีสมองกลฝงตัวรวมกับ
ระบบการส่ือสารผานอินเตอรเน็ตของสรรพส่ิง จะชวยใหผูใชงานควบคุมการทํางานในแตละระบบ
ไดด ว ยตนเองผา นโทรศพั ทส มารท โฟนของผใู ชง าน ซงึ่ ทาํ ใหผ ใู ชง านมคี วามมน่ั ใจในความปลอดภยั ของอปุ กรณ
ทน่ี าํ ไปฆาเชอ้ื ดวยตนเองได
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

วฒั นธรรมเพลงพื้นบา นลาํ ปางสูสากล ผานวง “ซิมโฟนอี อรเคสตรา”
ตอ ยอดสิง่ ใหมบ นรากฐานส่ิงเกา

ศาสตราจารยพเิ ศษ ดร.เอนก เหลา ธรรมทัศน รฐั มนตรีวา การกระทรวงการอดุ มศกึ ษา
วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม ชมการแสดงดนตรีเลา รองรอยประวตั ศิ าสตรจังหวัดลําปาง
ถายทอดเสียงเพลงพ้ืนบาน ผานการแสดงของวงดนตรีซิมโฟนีออรเคสตรา เม่ือชวงคํ่าวันท่ี
11 พฤศจกิ ายน 2564 ณ มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต จังหวัดลําปาง โดยมี นายสธิ ิชยั จินดาหลวง
ผวู าราชการจงั หวัดลําปาง, ดร.วภิ ารตั น ดอี อง ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ, ดร.ขวญั นภา สขุ คร
ผอู ํานวยการศนู ยการศกึ ษานอกท่ีตง้ั ลาํ ปาง มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ และประชาชนท่ีสนใจเขา รวมชมการแสดงฯ
การแสดงวงไทยซิมโฟนีออรเคสตรานี้ เปนผลงานการวิจัยใน “โครงการวิจัยพื้นที่ ทางวัฒนธรรมดนตรี
เพอ่ื พฒั นาและสรา งสรรคจ นิ ตนาการใหม โดยอาศยั รอ งรอยวถิ ชี วี ติ ของชมุ ชนผา นศลิ ปน ในทอ งถน่ิ ผสู บื ทอดวฒั นธรรม
ดนตรีของชมุ ชน” และ “โครงการขยายผลตอยอดวัฒนธรรมเพลงพ้ืนบานเพื่อเผยแพรใ หเ ปน มรดกชาติ” ที่สาํ นกั งาน
การวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดส นบั สนุน “มลู นิธิอาจารยสุกรี เจริญสุข” ซึง่ ดําเนนิ การโดย รองศาสตราจารย ดร.สกุ รี เจรญิ สขุ
ในการวิจัยเพ่ืออนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม โดยการคนหาเพลงเกาของชุมชนในพื้นท่ีตาง ๆ เพื่อนํามาเรียบเรียงใหม
พรอมเลนผานวงดนตรีซิมโฟนีออรเคสตรา เพื่อรักษาเพลงเกา นํามาเสนอในรูปแบบใหม เปนการกระตุนใหเกิดการเสริมสรางส่ิงใหมบนรากฐานส่ิงเกา
เพื่อรกั ษาเสถยี รภาพและอตั ลกั ษณข องสงั คมไทยใหสืบทอดและคงอยูตอไป

การแสดงศลิ ปะดนตรีเพลงพื้นบา น
ผา นวงดนตรีซิมโฟนอี อรเ คสตรา “ไหวสาบรู พาจารย”

ศาสตราจารยพ เิ ศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวตั กรรม
ชมการแสดงดนตรี “ไหวสาบูรพาจารย” ถายทอดเสยี งเพลงพืน้ บาน ผานการแสดงของวงดนตรซี ิมโฟนีออรเคสตรา เมอ่ื ชว งคา่ํ
วนั ที่ 12 พฤศจกิ ายน 2564 ณ วัดเจดยี ห ลวง จังหวดั เชียงใหม โดยมี ดร.วิภารัตน ดอี อง ผูอาํ นวยการสํานักงานการวจิ ยั แหง ชาติ
หัวหนา สวนราชการ และประชาชนทส่ี นใจเขารว มชมการแสดงฯ

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดสนับสนุนทุนวิจัย
ใหกับโครงการขยายผลตอยอดนวัตกรรมเพลงพ้ืนบานเพื่อเผยแพรใหเปนมรดกของชาติของ “มูลนิธิอาจารยสุกรี เจริญสุข” ซ่ึงดําเนินการโดย
รองศาสตราจารย ดร.สุกรี เจริญสุข ในการวิจัยเพ่ืออนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม โดยการคนหาเพลงเกาของชุมชนในพ้ืนท่ีตาง ๆ เพื่อนํามา
เรียบเรยี งใหม พรอมเลนผา นวงดนตรซี ิมโฟนีออรเ คสตรา เพ่อื รักษาเพลงเกา นํามาเสนอในรปู แบบใหม เปนการกระตุนใหเกิดการเสริมสรา งสิ่งใหม
บนรากฐานสิ่งเกา เพือ่ รกั ษาเสถยี รภาพและอัตลักษณข องสงั คมไทยใหส บื ทอดและคงอยูต อ ไป

การแสดง “ดนตรีไหวสาบูรพาจารย” เปนการเลาเรื่องประวัติศาสตรจังหวัดเชียงใหม และการบูชาอาจารย ผานบรรเลงดนตรีโดยวงไทย
ซมิ โฟนอี อรเ คสตรา โดยเริ่มจากเพลงกหุ ลาบเชียงใหม เพลงลาวดวงดอกไม เพลงลาวจอย เพลงคางคกปากสระ และลาวเจรญิ ศรี อาํ นวยความสะดวก
โดย รองศาสตราจารย ดร.สกุ รี เจริญสขุ ควบคมุ วงโดย พนั เอก ดร.ประทปี สพุ รรณโรจน ระหวา งการบรรเลงเพลง ดร.สชุ าติ วงษท อง ศลิ ปนนานาชาติ
ไดส รางสรรคภ าพจติ รกรรมประกอบบทเพลง ซง่ึ การแสดงดนตรีฯ จัดใหเขาชมในจาํ นวนทน่ี ง่ั ตามขอกาํ หนดการปอ งกันโควิด-19 (COVID-19) และ
การแสดงคร้งั นใี้ ชวิธถี า ยทาํ โดยบันทึกภาพและเสยี งเพือ่ เผยแพรผ านส่อื ออนไลนและส่ือโทรทัศนอกี ดว ย

12 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

งานมหกรรมวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หงชาติ ประจาํ ป 2564
“ศิลปะ วิทยาศาสตร และ เศรษฐกจิ สรา งสรรค”

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม (อว.) จดั งานมหกรรมวทิ ยาศาสตร
และเทคโนโลยีแหง ชาติ ประจําป 2564 ระหวางวนั ที่ 9 - 19 พฤศจกิ ายน 2564 ณ อาคาร 9 - 12 อมิ แพ็ค
เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี โดยเมื่อวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2564 พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา
นายกรฐั มนตรี เปน ประธานในพธิ เี ปด งานฯ ศาสตราจารยพ เิ ศษ ดร.เอนก เหลา ธรรมทศั น รฐั มนตรวี า การกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร
วจิ ัยและนวตั กรรม กลาวรายงาน และ ดร.วภิ ารัตน ดอี อ ง ผูอาํ นวยการสํานักงานการวิจัยแหง ชาติ เขารว มพิธเี ปด งานดังกลา ว

มหกรรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ประจําป และชวนนอง ๆ มาเปดจินตนาการ ในหัวขอ “ฮีโรยุคใหมใสใจ
2564 ไดนําแนวนโยบาย BCG Model มาจัดเปนคร้ังแรกของ สิ่งแวดลอม” ซึ่ง วช. ตองการปลุกความเปนผูพิทักษทรัพยากร
การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตรในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของเยาวชน ประกอบไปดวย กิจกรรม
เฉยี งใต (1st BCG Science Fair in SEA) เพ่อื จดุ ประกายความคิด ตอบคาํ ถาม (Find your hero) กจิ กรรมประกวดออกแบบหนา กาก
สกู ารขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ BCG โดยปลกู ฝงใหเ ยาวชนและคนไทย ผาออนไลน (Hero mask Contest) โดยออกแบบและโพสตลง
เร่ิมลงมือปฏิบัติและสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมท่ีเกี่ยวของกับ Facebook พรอมเปดเปน สาธารณะ ระบุ Caption บอกแนวคดิ
เศรษฐกิจหมุนเวียน รวมท้ังรวมเฉลิมฉลองวาระสําคัญทาง และช่อื - นามสกลุ ตดิ Hastag #ฮโี รย คุ ใหมใ สใจสิง่ แวดลอม #วช
วทิ ยาศาสตรแ ละสงั คมของโลกในป 2021 ลนุ รบั IPAD Gen 9 และ Xiaomi redmi note 10 5G และกจิ กรรม
โดยสาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) ไดร ว มเปด บธู NRCT เพนทกระถาง และปลกู ตน ไม (Hero Workshop) พรอมนิทรรศการ
ENVIRON X 2021 ภายใต Theme “Young Green Heroes” ใหความรูเกี่ยวกับส่ิงแวดลอมใน 4 เรื่อง อาทิ นิทรรศการ
“ปศ าลจ๋ิว PM2.5” เพอ่ื ใหเ ยาวชนและผูทีส่ นใจสามารถนําไปใชไ ดจ รงิ
และเพ่อื พฒั นาประเทศใหยัง่ ยนื ตอไป

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 13

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

สมั มนาวจิ ยั ยทุ ธศาสตรไทย - จนี ครงั้ ท่ี 10

1 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม (อว.) รวมกับ Huagiao University
(HQU) จดั สัมมนาวิจยั ยทุ ธศาสตรไทย - จีน ครงั้ ที่ 10 (The Tenth
Thai - Chinese Strategic Research Seminar) ภายใตหัวขอ
“การพัฒนางานวจิ ัยไทย - จนี สคู วามรว มมอื และพัฒนาโชคชะตารวมกนั ”
Building a Closer Community with a Shared Future between
China and Thailand ระหวางวันท่ี 9 - 10 พฤศจิกายน 2564 ณ หองประชุมจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต ช้ัน 2 อาคาร วช. 1 สํานักงาน
การวิจัยแหงชาติ (วช.) โดยมี ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ
นวตั กรรม และ Dr. Xu Bu ประธานสถาบนั รัฐศาสตรร ะหวางประเทศแหงประเทศจีน เปน ประธานกลา วเปด งาน พรอมดวย ดร.วิภารัตน ดอี อ ง
ผอู ํานวยการสาํ นกั งานการวจิ ยั แหงชาติ และรองศาสตราจารย ดร.โภคิณ พลกลุ นายกสมาคมวฒั นธรรมและเศรษฐกจิ ไทย - จนี กลา วตอ นรับ

การสัมมนายุทธศาสตรไทย - จีน จัดข้ึนเปนประจําทุกปตั้งแตป พ.ศ. 2555 เพ่ือเปนเวทีใหนักวิชาการไทยและจีนไดพบปะและ
แลกเปลี่ยนผลงานวิชาการระหวางกัน โดยสลับกันเปนเจาภาพ แตละปมีการกําหนดหัวขอหลักและรูปแบบ การสัมมนาที่มุงเนนสงเสริมและ
สนบั สนนุ การวจิ ยั ในประเดน็ สาํ คญั หรอื ประเดน็ ทค่ี าดการณใ นอนาคต โดยมเี ปา หมายเพอ่ื สรา งองคค วามรตู า ง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั ประเดน็ ไทย - จนี

รวมท้ังสนับสนุนการวิจัยรวมกัน ใน
ประเด็นท่ีคลายคลึงกันหรือเช่ือมโยงกัน
และนําองคความรูจากการวิจัยเปนขอมูล
จัดทํานโยบายหรือยุทธศาสตรอยางเปน
รูปธรรมตอ ไป

การพัฒนาและสง เสริมศกั ยภาพของชุมชนดว ยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม
แปรรปู อาหาร เพือ่ ยกระดับคณุ ภาพชีวิตที่ยัง่ ยนื

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) นําโดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ พรอมดวยคณะผูทรงคุณวุฒิ ลงพื้นท่ีเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2564 เพื่อติดตามผลสําเร็จของการดําเนินงาน
เพื่อสงเสริมศักยภาพของชุมชนเขมแข็งดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมการแปรรูปอาหาร ณ กลุมวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรบานคลองหมอมแชม
ตาํ บลไทรใหญ อาํ เภอไทรนอ ย จงั หวดั นนทบรุ ี ซงึ่ เปน กลมุ วสิ าหกจิ ชมุ ชนทมี่ คี วามพรอ มและมคี วามเขม แขง็ ในการขบั เคลอื่ นองคค วามรจู ากงาน
วิจัยและนวัตกรรม ไปสูการใชประโยชน ซึ่ง วช. ไดสนับสนุนงบประมาณดําเนินกิจกรรม เรื่อง “การพัฒนาและสงเสริมศักยภาพของชุมชน

ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมแปรรูปอาหาร เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตท่ีย่ังยืนในพื้นท่ีจังหวัดสระบุรี ฉะเชิงเทรา และนนทบุรี”
โดยมี ดร.ปนิดา บรรจงสินศิริ แหง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) เปนสื่อกลางในการนําสง
องคความรูเพ่ือการพัฒนาผลิตภัณฑทองถ่ินในชุมชนใหมีความเขมแข็ง เพ่ือยกระดับการสรางอาชีพเสริม และเพ่ิมรายได
ในครวั เรือน
ผลสําเร็จจากการสนับสนุนกิจกรรมดังกลาว รวมดวยความเขมแข็งของชุมชนและหนวยงานความรวมมือในพื้นที่

ปจ จบุ ันผลิตภณั ฑจากกลมุ วิสาหกจิ ชุมชนเกษตรกรบา นคลองหมอ มแชม ไดถกู พัฒนาขน้ึ ภายใตแบรนดส นิ คา “บา นหมอ มแชม ”
เริ่มเปน ที่รจู กั แพรห ลายมากขึ้นในตลาดออนไลน ซง่ึ เจาะกลุมลูกคาทกุ ๆ วัย รวมถึงกลุมลูกคาแนวรกั สขุ ภาพซ่ึงไดรับการตอบรับ
จากหนว ยงานของภาครฐั และผปู ระกอบการนําผลติ ภณั ฑไ ปจําหนา ยทง้ั ภายในและภายนอกชมุ ชนอยา งตอเนอ่ื ง

14 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

การลงพนื้ ทต่ี รวจเย่ยี ม “โครงการทะเลไทยไรข ยะ” นํางานวจิ ัยสูก ารปฏบิ ัติ
สรา งงานสรา งรายได ยกระดับผลิตภัณฑเพ่มิ ชองทางทําเงนิ

เม่ือวันที่ 15 พฤศจิกายน 2564 ที่อุทยานแหงชาติสิรินาถ มาจัดการกับปญหาทาทายเรงดวนที่สําคัญของประเทศ
จงั หวดั ภูเก็ต ศาสตราจารยพ ิเศษ ดร.เอนก เหลา ธรรมทศั น รัฐมนตรี ใหบ รรลุเปา หมายการพฒั นาอยางยั่งยนื โดย “แผนงาน
วาการกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม พรอ มดว ย วจิ ัยทา ทายไทย ทะเลไทยไรข ยะ” “การเพิม่ มลู คาและ
ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศวิ ไิ ล ปลดั กระทรวงการอุดมศกึ ษา พัฒนาผลิตภัณฑจากผลพลอยไดและของเหลือใช
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม และคณะ เดินทางมาตรวจเยี่ยม จากอุตสาหกรรมการเลี้ยงหอยมุกสูการตอยอด
“โครงการทะเลไทยไรขยะ” ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ภายใต เชิงพาณิชยในอุตสาหกรรมเพ่ือสุขภาพและความงาม”
การสนับสนุนทุนวิจัยจากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) และโครงการ และ “แผนงานวิจยั ครวั ไทยสตู ลาดโลก” พบวา ไดถ ายทอดองคความรู
มหาวิทยาลัยสูตําบล สรางรากแกวใหประเทศ หรือ U2T ของ สูการนําไปใชประโยชนและตอยอดเชิงพาณิชยแลว ซ่ึงกิจกรรมในครั้งนี้
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู กต็ ทด่ี าํ เนนิ กจิ กรรมดา นการทอ งเทยี่ วและเศรษฐกจิ จะชว ยใหเ กดิ การบรู ณาการความรว มมอื ในการขยายผลผปู ระกอบการ
สรา งสรรค จากนน้ั ไดเ ขา เยย่ี มชมสถานประกอบการทปี่ ระสบผลสาํ เรจ็ อุตสาหกรรมการเลี้ยงหอยมุกในพ้ืนท่ี รวมท้ังลดปริมาณของเหลือท้ิง
ในการนําผลงานวิจัยและนวัตกรรมมาพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการผลิต ทางการเกษตร คอื เปลอื กหอยมกุ ซง่ึ จะชว ยสรา งโอกาสในการตอ ยอด
และเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ : แปรรูปเม็ดมะมวงหิมพานต ผลิตภัณฑ งานวิจัยดานผลิตภัณฑแปรรูปจากพืชผักสมุนไพรท่ีใชในอาหารไทย
สารสกัดโปรตีน และผลิตภัณฑสารสกัดคอลลาเจนจากอุตสาหกรรม ชนดิ อน่ื ๆ ได อกี ทงั้ ประชาชนทว่ั ไปยงั เกดิ การรบั รแู ละตระหนกั ถงึ “ปญ หา
การเลย้ี งหอยมกุ และผลติ ภัณฑกะเพราแปรรปู ภายใตแผนงาน “ครวั ไทย ขยะพลาสตกิ ในทะเล” อีกดว ย
สตู ลาดโลก” โดยการสนบั สนนุ ทนุ จาก วช. และสถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร
และเทคโนโลยแี หง ประเทศไทย (วว.) ทบ่ี รษิ ทั เมธีภเู ก็ต จาํ กัด,
อนิ ทรฟารม และ ราน Blue Elephant Phuket

โดย วช. ไดร บั มอบหมายใหบริหารจดั การทุนวิจยั
และนวัตกรรม ประเด็นดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม โดยใชองคความรูจากการวิจัยและนวัตกรรม

ระบบ Smart Guide ขานรับนโยบายทอ งเท่ยี วเมืองรอง ทส่ี มุทรสงคราม

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พรอมดวยทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
พระนคร นําโดย ดร.นิตินันท ศรีสุวรรณ และคณะ ลงพื้นที่ตอยอดผลผลิตงานวิจัย
จากโครงการการพฒั นาเทคโนโลยรี ะบบไกดอ จั ฉรยิ ะในเสน ทางการทอ งเทย่ี วเชงิ อาหาร
เพอื่ สง เสรมิ การทอ งเทยี่ ว และกระตนุ เศรษฐกจิ ของจงั หวดั สมทุ รสงคราม ชเู อกลกั ษณ
ดานอาหารในแตละทองถิ่นของจังหวัด พลิกฟนชุมชน และจังหวัด หลังสถานการณ
โรคระบาดโควิด-19 (COVID-19) โดยใชการวิจัยและนวัตกรรมอยางย่ังยืน เม่ือวันที่
18 พฤศจิกายน 2564 ณ วิสาหกิจชุมชนบานริมคลองโฮมสเตย อําเภอเมือง
สมทุ รสงคราม จังหวดั สมทุ รสงคราม
เทคโนโลยรี ะบบไกดอ จั ฉรยิ ะ ภายใตช อื่ “Samut Food smart guide by Rmutp” ทาํ หนา ทใี่ หข อ มลู เสน ทางการทอ งเทย่ี วในจงั หวดั
สมุทรสงคราม สามารถรบั ฟงคาํ บรรยายดว ยระบบเสียงและภาพ แบบ 3D ประกอบกบั การใช ระบบ AR (Augmented Reality) เทคโนโลยี
ภาพเสมอื นจรงิ ใหนกั ทอ งเท่ยี วสแกนผาน QR Code บนปายทีต่ ิดตั้งตามจดุ เสนทางตา ง ๆ ใหส ามารถเขาถงึ ชดุ ขอ มลู อาหารทม่ี ีชือ่ เสยี ง ผลผลติ
ทางการเกษตรท่ีสําคัญ สนิ คา ผลิตภัณฑช มุ ชนอีกจาํ นวนมากได

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 15

National Research Council of Thailand (NRCT)

รางวัลเกียรติยศ

สํานักงานการวจิ ยั แหงชาติ (วช.)
ไดร ับรางวัลรัฐบาลดจิ ิทัล 2 รางวัล

สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) รับรางวัลรัฐบาลดิจิทัลประจําป‚ 2564
“Digital Government Awards 2021” จดั โดย สาํ นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องคก ารมหาชน) หรอื DGA ตอกยาํ้ การพฒั นาระบบดจิ ทิ ลั เพอื่ ใหบŒ รกิ าร
นักวิจัยและประชาชนมาอย‹างต‹อเนื่อง โดยการควŒา 2 รางวัล ไดŒแก‹ รางวัลรัฐบาลดิจิทัล ประจําป‚ 2564 (Digital Government Awards) หน‹วยงานระดับกรม
ท่ีใหŒบริการเปšนหลัก อันดับ 5 และรางวัลการสนับสนุนการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน‹วยงานดีเด‹นดŒานการเปดเผยขŒอมูลผ‹านศูนยกลางขŒอมูลเปดภาครัฐ
(Data.go.th)

ซึ่งในปน้ี วช. ไดรับรางวัลรัฐบาลดิจิทัลเปนปท่ี 2 ติดตอกัน
จากการที่ วช. ไดต อ ยอดการใหบ รกิ ารดจิ ทิ ลั ดว ยการยกระดบั
คลงั ขอ มลู งานวจิ ยั ไทย (TNRR) สกู ารใหบ รกิ ารฐานขอ มลู กลาง
ดานวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ดานวิทยาศาสตร วิจัย
และนวัตกรรม (ววน.) โดยมีระบบขอมูลสารสนเทศวิจัยและ
นวัตกรรมแหงชาติ (NRIIS) เปนกลไกในการบริหารจัดการ
ขอมูลแผนงานและงบประมาณดาน ววน. ซ่ึงเปนสวนสําคัญ
อยางยิ่งตอการใหบริการขอมูลดวยเทคโนโลยี Big Data
นอกจากนี้ วช. ยังไดพัฒนาระบบประเมินความพรอมของ
ผลงานวิจัยเพื่อการใชประโยชนและพัฒนานวัตกรรม
(Innovation & Research Readiness Assessment System :
IRAS) เพื่อเปนเครื่องมือสําคัญสําหรับประเมินระดับ
โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน ความพรอมทางเทคโนโลยีควบคูกับระดับความพรอมในการ
การวิจัยแหงชาติ เขารับโลรางวัลและประกาศนียบัตรจาก นําไปใชประโยชนและพัฒนานวัตกรรม 9 ระดับ ผลักดันให
พลเอก ประยทุ ธ จนั ทรโ อชา นายกรฐั มนตรี ในงานมอบรางวลั ผลงานนวัตกรรมจากการวิจัยสามารถนําไปถายทอดและ
รัฐบาลดิจทิ ลั ประจาํ ป 2564 “DG Awards 2021” ในวันที่ ตอ ยอดสูเ ชิงพาณชิ ยไ ด
2 ธนั วาคม 2564 ณ สโมสรทหารบก วภิ าวดี กรงุ เทพมหานคร

รางวัลรัฐบาลดจิ ิทัล เปนš ความภาคภมู ิใจของ วช. ทแ่ี สดงใหŒเห็นความมุง‹ ม่ันในการพัฒนานวตั กรรมบริการขอŒ มลู ดŒาน ววน.
เพื่อใหŒประชาชนสามารถเขŒาถึง เรยี นรูŒ และใชŒประโยชนข Œอมูล และองคความรŒดู าŒ นวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ณ จดุ เดยี ว ไดอŒ ย‹างเทา‹ เทยี ม ทั่วถึง ทุกที่ ทุกเวลา

เพ่อื ยกระดับคุณภาพชวี ติ และแกŒปญ˜ หาเชงิ พืน้ ท่ีไดŒตรงตามความตŒองการของประชาชนและประเทศชาตมิ ากท่ีสุด

16 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)


Click to View FlipBook Version