The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จดหมายข่าว วช.​ ปีที่ 16 ฉบับ​ที่​ 118

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NRCT, 2021-03-26 02:12:21

จดหมายข่าว วช.​ ปีที่ 16 ฉบับ​ที่​ 118

จดหมายข่าว วช.​ ปีที่ 16 ฉบับ​ที่​ 118

Keywords: newsletter

ปท่ี 16 ฉบับที่ 118 สาํ นกั งานการวิจยั แหง ชาติ (วช.)
ประจาํ เดือน มกราคม 2564 National Research Council of Thailand (NRCT)
ISSN : 1905 - 1662
www.nrct.go.th

วช. ยกระดบั บรกิ ารภาครัฐ รบั รางวลั รฐั บาลดจิ ิทัลระดับกรม อนั ดับที่ 2

“เคร่ืองพ‹นฆา‹ เชื้อโควดิ -19” รางวัลวจิ ัยและนวตั กรรมเด‹น ตอบรับชวี ติ วิถีใหม‹

 ปฏิบัตกิ ารวนั ฟา ใสไรฝ ุนควนั
 การบริหารจดั การการทอ งเท่ยี วเชงิ เกษตรอยางยง่ั ยนื ในจังหวดั สมทุ รสงคราม
 จรรยาวิชาชีพในการทําวิจยั และแนวทางปฏิบตั ิ ตอนท่ี 2

บรรณาธิการแถลง สารบัญ

สวสั ดคี รับ.....ทา นผูอ า นทกุ ทาน ปีที่ 16 ฉบับที่ 118 ประจําเดือน มกราคม 2564

เมื่อวันท่ี 3 ธันวาคม 2563 นายกรัฐมนตรี 3 วช. ยกระดับบริการภาครัฐ รับรางวัลรัฐบาลดิจิทัลระดับกรม
พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา ไดมอบรางวัลรัฐบาลดิจิทัล อันดับที่ 2.................................................................................
ระดบั กรม ใหแกส ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวง
การอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม (อว.) โดยมี 4 “เคร่อื งพนฆา เช้อื โควิด-19” รางวลั วิจยั และนวัตกรรมเดน ตอบรบั
ดร.วิภารัตน ดีออง รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัย ชวี ติ วถิ ใี หม… …….......................................................................
แหงชาติ รักษาราชการแทนผูอํานวยการสํานักงานการวิจัย
แหงชาติ เขารับรางวัลรัฐบาลดิจิทัล ภายในงานมอบรางวัล งานวจิ ัยตามนโยบายรัฐบาล
รัฐบาลดิจิทัล ประจําป 2563 “Digital Government
Awards 2020” ณ หองมัฆวานรังสรรค ช้ัน 3 สโมสร 5 ปฏบิ ตั กิ ารวนั ฟา ใสไรฝ นุ ควนั ....................................................
ทหารบก วิภาวดี โดยการมอบรางวัลในครั้งน้ี จัดโดย
สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคการมหาชน) (สพร.) งานวจิ ัยเพื่อประชาชน
เปนการมอบรางวัลใหแกหนวยงานภาครัฐท่ีมีผลงานดีเดน
ดานการใหบริการประชาชนผานระบบดิจิทัล รางวัลน้ีได 6 การบริหารจัดการการทองเท่ียวเชิงเกษตรอยางย่ังยืนในจังหวัด
แสดงใหเห็นถึงความทันสมัย ความพรอมใหบริการงาน สมทุ รสงคราม...........................................................................
วิจัยและอํานวยความสะดวกแกประชาชนอยางเต็มท่ีของ
สาํ นกั งานการวิจัยแหง ชาติ (วช.) รอบรงู านวจิ ยั

สําหรับหนังสือจดหมายขาว วช. ฉบับน้ี ภายในเลม 8 จรรยาวชิ าชพี ในการทําวิจัย และแนวทางปฏิบัติ ตอนที่ 2......
มเี รอื่ งราวเกี่ยวกบั งานวจิ ยั ที่นา สนใจมากมาย อาทิ “ปฏบิ ตั ิการ
วันฟาใสไรฝุนควัน” และในคอลัมนงานวิจัยเพ่ือประชาชน กจิ กรรม วช.
เปนเร่ืองเก่ียวกับ “การบริหารจัดการการทองเท่ียวเชิง
เกษตรอยางยั่งยืนในจังหวัดสมุทรสงคราม” และในคอลัมน 10 รมว.อว. ตรวจเยยี่ ม วช. และชมงานวจิ ยั กวา 70 ผลงาน........
รอบรูงานวิจัยไดน าํ เร่ือง “จรรยาวิชาชีพในการทําวิจยั และ 11 การจดั การขยะอยา งเปน ระบบดว ยวจิ ยั และนวตั กรรม.........
แนวทางปฏิบัติ” มานําเสนอ ซ่ึงในฉบับน้ีเปนการนําเสนอ 12 มหกรรมการวิจัยดานยุทโธปกรณ ฯ เพื่อเพิ่มศักยภาพของกองทัพ
ตอนที่ 2 ตอจากตอนที่ 1 ซ่งึ ไดนําเสนอไปแลวในจดหมายขาว
วช. ฉบับที่ 117 เดือนธันวาคม 2563 โดยรายละเอียด และการปอ งกนั ประเทศ........................................................
เรื่องตาง ๆ ทานผูอานสามารถติดตามอานไดในหนังสือ
จดหมายขา ว วช. ฉบบั นคี้ รบั 13 การรื้อฟนการผลิตกระจกเกรียบและจืนแบบโบราณเพื่องาน
บูรณะและอนุรักษ. ...............................................................
บรรณาธกิ าร  การขับเคล่ือนแผนงานโครงการวิจัยตามกรอบงานวิจัยและ

14นวัตกรรม ป 2564...............................................................
15 ความสัมพนั ธก ารทูตไทย – จนี 45 ป. ..................................
16 ตน แบบความสําเรจ็ เทคโนโลยผี ลิตองนุ ไชนม ัสแคท ณ เชียงใหม

..............................................................................................

เจา ของ : สาํ นกั งานการวิจยั แหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม (อว.)
ทอ่ี ยู : เลขท่ี 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0 2579 1370 - 9
เฟซบกุ (Facebook Fanpage) สาํ นักงานการวิจัยแหง ชาติ เวบ็ ไซต www.nrct.go.th
ทปี่ รกึ ษา : ดร.วภิ ารตั น ดอี อ ง รองผอู าํ นวยการสาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ รกั ษาราชการแทนผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
นายสมปรารถนา สุขทวี รองผอู าํ นวยการสํานกั งานการวจิ ัยแหง ชาติ
ผูจัดทํา : กลมุ สารนเิ ทศและประชาสัมพนั ธ สาํ นกั งานเลขานุการกรม สํานักงานการวจิ ัยแหง ชาติ (วช.)
โทรศพั ท 0 2579 1370 - 9 ตอ 853 โทรสาร 0 2579 0431 อีเมล [email protected]

2 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

วช. ยกระดับบรกิ ารภาครฐั

รับรางวัลรัฐบาลดจิ ทิ ลั ระดับกรม อันดบั ท่ี 2

สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ยกระดับการบริการภาครัฐดŒวยระบบดิจิทัล
รับรางวัลรัฐบาลดิจิทัลระดับกรม จัดโดยสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคการ
มหาชน) (สพร.) ภายในงานมอบรางวัลรัฐบาลดิจิทัล ประจําป‚ 2563 “Digital
Government Awards 2020” การนั ตถี งึ ความทนั สมยั พรอŒ มใหŒบรกิ ารงานวิจยั และ
อํานวยความสะดวกแกป‹ ระชาชนอย‹างเตม็ ท่ี

เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2563 นายกรัฐมนตรี พลเอก สพร. ไดด าํ เนนิ การสาํ รวจระดบั ความพรอ มรฐั บาลดจิ ทิ ลั
ประยทุ ธ จนั ทรโอชา ไดมอบรางวลั รฐั บาลดจิ ิทลั ระดบั กรม ใหแก หนว ยงานภาครฐั ของประเทศไทย จาํ นวนทงั้ สน้ิ 1,858 หนว ยงาน
สํานกั งานการวจิ ัยแหง ชาติ โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออ ง รองผูอํานวยการ ประกอบดวย หนวยงานภาครัฐสวนกลาง - สวนภูมิภาค และ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ รักษาราชการแทนผูอํานวยการ องคกรปกครองสว นทองถนิ่ รปู แบบพิเศษ ครอบคลมุ 76 จงั หวัด
สาํ นกั งานการวิจัยแหง ชาติ เขารบั รางวลั รฐั บาลดิจทิ ัล ภายในงาน โดยไดม กี ารประกาศผลและมอบรางวลั แกห นว ยงานภาครฐั ไดแ ก
มอบรางวลั รฐั บาลดจิ ทิ ัล ประจาํ ป 2563 “Digital Government รางวลั รฐั บาลดิจิทลั ระดบั กรม มีหนว ยงานภาครัฐระดบั กรมไดร บั
Awards 2020” ณ หอ งมัฆวานรงั สรรค ชน้ั 3 สโมสรทหารบก โลรางวลั จาํ นวน 10 รางวัล โดย “สํานกั งานการวิจยั แหง ชาต”ิ
(วิภาวดี) ถนนวิภาวดรี ังสติ กรุงเทพมหานคร โดยการมอบรางวลั ไดรบั รางวัลเปน อันดับท่ี 2 ใน 10 หนวยงาน
ในคร้ังน้ี จัดโดยสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคการมหาชน) รางวัลที่ไดรับเปนการการันตีถึงความมุงม่ันของ วช.
(สพร.) เปนการมอบรางวัลใหแกหนวยงานภาครัฐที่มีผลงานดีเดน ในการยกระดบั การใหบ รกิ ารดา นงานวจิ ยั เพอ่ื อาํ นวยความสะดวก
ดา นการใหบรกิ ารประชาชนผานระบบดจิ ิทัล แกนกั วิจยั นกั ศึกษา และประชาชน ผา นระบบดจิ ทิ ัล พรอ มผลกั ดัน
ใหภาคธุรกิจและประชาชนเขาสูการใชเทคโนโลยีหรือทําธุรกรรม
ผานทางดิจิทัลมากข้ึน ซึ่งจะเปนการชวยประหยัดเวลาและ
คา ใชจ า ย นอกจากน้ี วช. ไดม กี ารนาํ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทท่ี นั สมยั เชน
BI, AI, Big Data เขา มาประยกุ ตเ พื่อชวยอํานวยความสะดวกแก
ผูรับบริการซ่ึงจะเปนการชวยขับเคลื่อนการปฏิบัติราชการไปสู
รัฐบาลดจิ ทิ ัลไดรวดเรว็ มากย่ิงขน้ึ

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 3

National Research Council of Thailand (NRCT)

“เคร่อื งพ‹นฆ‹าเช้อื โควิด-19”
รางวัลวิจยั และนวตั กรรมเดน ตอบรับชวี ิตวถิ ีใหม

สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา ท่ีเปนอันตราย สามารถกําจัดไดทั้งเชื้อในอากาศและเช้ือท่ีอยูบน
วทิ ยาศาสตร วจิ ัยและนวตั กรรม (อว.) สง‹ ผลงาน “เครื่องพน‹ ละออง พื้นผิววัสดุ ซ่ึงคณะผูวิจัยไดออกแบบและพัฒนาเครื่องพนละออง
ไฮโดรเจนเปอรออกไซด นวัตกรรมฆ‹าเช้ือในหŒองและอุปกรณทาง ไฮโดรเจนเปอรออกไซด VQ20 และเคร่ือง VQ20+HP35 ที่พน
การแพทย เพื่อความปลอดภัยจาก COVID-19” ซ่ึงเปšนผลงานวิจัย ละอองไฮโดรเจนเปอรอ อกไซดขนาดเล็กกวา 5 ไมโครเมตร และ
ท่ีไดรŒ บั รางวลั การวจิ ยั แหง‹ ชาติ : รางวลั สง่ิ ประดษิ ฐค ดิ คนŒ ประจาํ ป‚ 2564 ลอ งลอยในอากาศไดน าน
และไดรŒ ับคัดเลือกเปšนหน่งึ ใน 11 ผลงานวิจัยและนวตั กรรมเดน‹ ตอบรับ คณะผูวิจัยไดใชเคร่ือง VQ20 สรางละอองไฮโดรเจน
ชีวิตวิถีใหม‹และการปรับตัวอันเน่ืองมาจากภาวะวิกฤติโควิด-19 จาก เปอรออกไซด ความเขมขน 3 - 7% เพื่อฆาเช้ือในรถพยาบาล
กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) พรŒอมท้ัง หอ งผปู ว ย หอ งกกั ตวั ผปู ว ย หอ งพกั บคุ ลากรทางการแพทย รถเมล
จดั แสดงในงานแถลงขา‹ วแผนยทุ ธศาสตร กระทรวง อว. ประจาํ ป‚ 2564 รถแทก็ ซี่ รถไฟฟา หองเรียน หองนอน หอ งผา ตัด หอ งออกกําลังกาย
โอกาสน้ี ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง รองผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัย หองประชุม หองทํางาน และใชเคร่ือง VQ20+HP35 สรางละออง
แห‹งชาติ รักษาราชการแทนผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ ไฮโดรเจนเปอรออกไซด ความเขมขน 3 - 7% เพื่อฆาเช้ือบน
พรŒอมดŒวย ศาสตราจารย ดร.สนอง เอกสิทธ์ิ อาจารยภาควิชาเคมี เครอื่ งมอื แพทย อปุ กรณท างการแพทย เชน หนา กากอนามยั N95
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปšนผูŒแทน วช. เขŒารับรางวัลผลงานวิจัย หนา กากปอ งกันใบหนา (Face Shield) ชดุ PPE และรองเทา
และนวตั กรรมเดน‹ ตอบรบั ชวี ติ วถิ ีใหม‹ (New Normal) และการปรบั ตวั ปจจุบันคณะนักวิจัยไดติดตั้งเครื่อง VQ20 ท่ีฝายวิจัย
อันเน่ืองมาจากภาวะวิกฤติ COVID-19 จาก ศาสตราจารยพิเศษ สํานักงานตํารวจแหงชาติ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กอง
ดร.เอนก เหล‹าธรรมทัศน รัฐมนตรีว‹าการกระทรวงการอุดมศึกษา วศิ วกรรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข โรงเรียนสาธิตจุฬา ฯ
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เม่ือวันท่ี 24 ธันวาคม 2563 ณ ฝายประถม และติดต้ังเคร่ือง VQ20+HP35 ท่ีแผนกโรคติดเชื้อ
โรงแรมเรเนซองส กรุงเทพ ฯ ราชประสงค กรงุ เทพมหานคร COVID-19 อาคารจงกลนี และแผนกเวชศาสตรฉ กุ เฉนิ โรงพยาบาล
จุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย และหากสถานการณ COVID-19
สําหรบั เคร่ืองพน ละอองไฮโดรเจนเปอรอ อกไซด ฯ เปน คลี่คลายจะรวมมือกับบริษัท Startup เพ่ือพัฒนาอุปกรณ
ผลงานของ ศาสตราจารย ดร.สนอง เอกสิทธิ์ อาจารยภาควิชาเคมี ในรูปแบบอ่ืน ๆ โดยเฉพาะอุปกรณ เชน เครื่องสําหรับฆาเช้ือ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และคณะ โดยไฮโดรเจนเปอรออกไซด ในขวดนม จาน ชาม แกว สําหรับบา นทีม่ ีเด็กเลก็ ผูสงู อายุ หรือ
นั้นมีศักยภาพในการกําจัดไวรัส แบคทีเรีย เช้ือรา และสปอร บา นท่มี ผี ปู ว ย
ของเชื้อราไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมท้ิงสารเคมีตกคาง

4 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล

ปฏบิ ัตกิ ารวนั ฟาใสไรฝุน ควนั

ป˜ญหาหมอกควัน เปšนป˜ญหาสําคัญที่ทุกภาคส‹วนตŒอง โดยเม่ือวันที่ 9 ธันวาคม 2563 สํานักงานการวิจัย
ตระหนัก สํานักงานการวิจัยแหง‹ ชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา แหงชาติ (วช.) รวมกบั เครือขา ยพนั ธมติ รมหาวทิ ยาลยั เพอ่ื การ
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในฐานะหน‹วยบริหารจดั การ วจิ ยั (Research University Network: RUN) โดยมหาวทิ ยาลยั
ทุนวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ เพ่ือตอบโจทยทŒาทายของสังคม เชียงใหม และหนว ยงานเครือขา ยในพ้ืนท่ี 9 จงั หวดั ภาคเหนอื
ท่ีเปšนป˜ญหาสําคัญเร‹งด‹วน จึงมอบหมายใหŒมหาวิทยาลัยเชียงใหม‹ ตอนบน จัดงาน “ปฏิบัติการวันฟาใสไรฝุนควัน” “Northern
โดย รองศาสตราจารย ดร.เสริมเกยี รติ จอมจันทรยอง ดําเนนิ งาน Haze Free Day in Action” ภายใตแ ผนงานวิจยั ทา ทายไทย:
“แผนงานวิจัยทŒาทายไทย: ประเทศไทยไรŒหมอกควัน ซ่ึงมีเป‡าหมาย ประเทศไทยไรห มอกควัน ระยะท่ี 3 ณ NSP Exhibition Hall
เพื่อแกŒไขป˜ญหาหมอกควันและบรรเทาผลกระทบที่เกิดข้ึนจากภาวะ อทุ ยานวทิ ยาศาสตรภ าคเหนอื ตาํ บลแมเ หยี ะ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั
หมอกควันภายในประเทศไทย โดยมุ‹งเนŒนการลดป˜ญหาฝุ†นควัน เชียงใหม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง รองผูอํานวยการสํานักงาน
สรŒางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการป‡องกัน การตรวจสอบคุณภาพ การวิจัยแหงชาติ รักษาราชการแทนผูอํานวยการสํานักงาน
การแพรก‹ ระจายของหมอกควนั รวมทงั้ การตดิ ตามคณุ ภาพอากาศ การวิจัยแหงชาติ กลาวเปดงาน และรองศาสตราจารย
ของประเทศไทย เปšนตŒน ดร.เสรมิ เกยี รติ จอมจันทรย อง กลาวรายงาน พรอมดวยผูแ ทน
ผูวาราชการจังหวัด 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ผูแทนหนวยงาน
และทีมนกั วจิ ัยรว มงานดงั กลาว โดยมวี ัตถุประสงคเพ่ือเผยแพร
และขยายผลตอยอดผลงานวิจัยและนวัตกรรมผานเครือขาย
มหาวิทยาลัยในพื้นท่ีภาคเหนือตอนบนท้ัง 9 จังหวัด รวมทั้ง
การสรางความตระหนักและกระตุนใหเกิดการแกไขปญหา
ฝุนควันดังกลาว อันนําไปสูการสรางแนวทางและมาตรการ
ที่เหมาะสมตอไป ดวยความรวมมือจากทุกภาคสวน เพื่อให
ประเทศไทยฟาใสไรฝนุ ควัน

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 5

National Research Council of Thailand (NRCT)

งานวิจัยเพ�อประชาชน

การบริหารจัดการการทอ งเทีย่ วเชิงเกษตรอยา งย่งั ยนื
ในจังหวัดสมทุ รสงคราม

อตุ สาหกรรมการทอ‹ งเทย่ี วเปนš อตุ สาหกรรมบรกิ ารทส่ี ราŒ งรายไดŒใหกŒ บั ประเทศ ในการ
จดั การความรคŒู รงั้ นเี้ นนŒ การทอ‹ งเทย่ี วเชงิ เกษตรเพอื่ รกั ษาทรพั ยากรใหคŒ งอย‹ูไวอŒ ยา‹ งยง่ั ยนื
นานทสี่ ดุ ทง้ั ทเี่ ปนš ธรรมชาติ วฒั นธรรม ภมู ปิ ญ˜ ญาทอŒ งถนิ่ และวถิ ชี วี ติ ของคนในชมุ ชนจงั หวดั
สมทุ รสงคราม เพื่อนําไปสู‹การบรหิ ารจดั การการท‹องเท่ยี วเชิงเกษตรอย‹างยัง่ ยนื

การทองเที่ยวเชิงเกษตรอยางยั่งยืนในการจัดการ และอําเภอบางคนที แตกลับเปนเมืองเล็กพริกขี้หนูเพราะมี
ความรูคร้ังนี้ คือการไดใชเวลาทองเท่ียวในระยะเวลาท่ีนาน ตําแหนงที่ตั้งเปนจุดยุทธศาสตรที่ดีในการเช่ือมโยงระหวาง
เพียงพออยูในสถานที่หน่ึง เพ่ือท่ีจะไดเรียนรูและเกิดความ เมอื งทอ งเทย่ี วทส่ี าํ คญั ไดแ ก กรงุ เทพมหานคร ราชบรุ ี เพชรบรุ ี
เขาใจในลักษณะการทองเที่ยวเชิงเกษตร ทําใหนักทองเที่ยว และประจวบคีรีขันธ สงผลใหเกิดการทองเที่ยวซ่ึงทําให
ไดมีโอกาสปรับเปล่ียนมุมมองของตนและเขาใจในความ นกั ทองเทย่ี วมีโอกาสไดร บั ประสบการณท ่ีหลากหลาย
แตกตางท่ีไดเรียนรูจากธรรมชาติและวิถีชีวิตของชุมชน จังหวัดสมุทรสงครามเปนจังหวัดที่มีความมั่งค่ัง
ซ่ึงรูปแบบการจัดโปรแกรมทองเท่ียว ไมควรจัดกิจกรรม ทางวัฒนธรรมและมีเอกลักษณเฉพาะถิ่น ซ่ึงเกิดจากจุดแข็ง
มากจนเกินไปในแตละวัน เพื่อใหนักทองเท่ียวมีเวลาซึมซับ ในแหลง ทีต่ ง้ั บริเวณปากนา้ํ แมกลองมีคูคลองมากกวา 300 สาย
ประสบการณในขณะทองเที่ยวและมีปฏิสัมพันธกับคนใน สงผลใหเกิดวิถีชีวิตริมนํ้าและการทําเกษตรท่ีหลากหลาย
ทองถ่ิน ซึ่งเปนการทองเท่ียวหลายมิติท่ีเกิดจากสัมผัสทั้ง 5 จากสถานที่ต้ังอยูปากแมนํ้าเชื่อมกับทะเล จึงทําใหไดรับการ
ของนกั ทอ งเท่ียว ขนานนามวา “เมือง 3 นา้ํ ” ไดแก น้ําเค็ม นํ้ากรอย และนํ้าจืด
สําหรับ “ชุมชน” ในการจัดการความรูวิจัยคร้ังน้ี ซงึ่ มีผลตอ การพฒั นาอาชีพของคนในทอ งถ่ิน เชน การทําสวน
หมายถงึ กลมุ คนท่ตี ้ังถิ่นฐานอยรู วมกนั ในพน้ื ทท่ี างภูมศิ าสตร ผลไม การทํานาเกลอื การทําประมง เปนตน ซึ่งไดชือ่ วา เปน
หรอื เขตการปกครองเดยี วกนั มปี ระวตั ศิ าสตรค วามเปน มาและ เมืองแหงสวนผลไมที่มีช่ือเสียงมาตั้งแตโบราณจนมาถึงปจจุบัน
วฒั นธรรมรว มกนั มคี วามเกย่ี วขอ งสมั พนั ธก นั คนในชมุ ชนมา และเปน ทรี่ จู กั กนั ในนาม “สวนในบางกอก สวนนอกบางชา ง”
รวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนรวมกันในการเรียนรูวิธี จงึ มภี มู ปิ ญ ญาทางการเกษตรทโ่ี ดดเดน สามารถนาํ มาเชอื่ มโยง
การบริหารจัดการการทอ งเทย่ี วรว มกัน จังหวดั สมทุ รสงคราม กับกระแสการทองเท่ียวเชิงเกษตรและเพิ่มมูลคาดวยการ
เปนหนึ่งจังหวัดท่ีมีศักยภาพทางการทองเที่ยวและไดจัดให ทองเที่ยวเชิงสุขภาพไดอยางกลมกลืนจะสงผลดีตอคนใน
อยูในกลุมเมืองตองหาม (พลาด) โดยมีภาพลักษณวาเปน ทองถ่ินและเปน การรกั ษาวฒั นธรรมทอ งถิ่นใหค งอยูสืบไป
เมืองสายนํ้าสามเวลา แมวาเปนจังหวัดที่เล็กท่ีสุดท่ีมีเพียง การบริหารจัดการการทองเท่ียวมีความสัมพันธกับ
3 อําเภอ ไดแ ก อาํ เภอเมอื งสมุทรสงคราม อาํ เภออัมพวา ส่ิงแวดลอมเพราะสงผลกระทบตอความยั่งยืน การทองเท่ียว

6 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

เพ่ือใหชุมชนเขมแข็งจึงควรเนนการมีสวนรวมในการ
กําหนดทิศทางการพัฒนาและไดรับประโยชนจากการทองเที่ยว
อยางแทจ ริง ซงึ่ ประกอบดวย 4 ดา นหลกั ที่สําคญั คือ

ที่ดีตองไมทําลายทรัพยากรท่ีมีอยู ซ่ึงอาจกอใหเกิด 1 การใชทรัพยากรธรรมชาติและวฒั นธรรม
ผลเสียในอนาคตได การทองเที่ยวอยางย่ังยืนมีบางสวน ดานการใชทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมชุมชน
ท่ีสอดคลองกับการทองเท่ียวชุมชน เพราะชุมชนเปน ควรมฐี านทรพั ยากรธรรมชาตทิ อี่ ดุ มสมบรู ณ และมวี ถิ ี
เจาของพ้ืนท่ี ผวู ิจัยจงึ เนนใหค นในชุมชนเปนหลกั เขามา การเกษตรทเ่ี นน การใชท รพั ยากรธรรมชาตอิ ยา งยง่ั ยนื
มีสวนรวมในการตัดสินใจและกําหนดทิศทางในชุมชนเอง เปน เอกลกั ษณเ ฉพาะถิ่น
เพ่ือเกิดความภาคภูมิใจชุมชนตนเองและยกระดับ
คณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชนได การพฒั นาการทอ งเทยี่ ว 2 องคก รชมุ ชน
จําเปนอยางมากท่ีควรอยูบนพื้นฐานความยั่งยืนดาน ดานองคกรชุมชน ชุมชนควรมีระบบสังคมที่เขาใจกัน
สิ่งแวดลอม ยังคงไวซ่ึงเอกลักษณและวัฒนธรรม มีปราชญทองถิ่นหรือผูที่มีความรู และทักษะในเรื่อง
ทองถิ่นเปนสําคัญ เพ่ือกอใหเกิดการเรียนรูระหวาง ตาง ๆ ทีเ่ กยี่ วของกบั ชมุ ชนเพ่อื เพ่มิ ความรสู ึกการเปน
คนตางถิ่นตางวัฒนธรรม และควรใหความเคารพใน เจาของและเพ่ิมการเขามามีสวนรวมในกระบวนการ
วัฒนธรรมท่ีแตกตาง ผลตอบแทนที่ไดควรกลับคืน พัฒนาอยา งย่งั ยนื มากขึน้
สูทองถ่ินอยางเปนธรรมและเนนการกระจายรายได
สูสาธารณประโยชนของชุมชนเปนหลัก การทองเที่ยว 3 การจดั การสิง่ แวดลอ ม
โดยชุมชนจึงเปนหน่ึงในเคร่ืองมือสําคัญที่สามารถสราง ดานการจัดการส่ิงแวดลอม ควรเนนการจัดการ
ความเขมแข็งในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมท่ีสามารถเชื่อมโยงการทองเท่ียวกับการ
และวัฒนธรรมในแหลงทองเทย่ี วโดยผา นกระบวนการมี พัฒนาชุมชนโดยรวมควบคูกับการสรางจิตสํานึกเรื่อง
สว นรวมในเชิงปฏบิ ตั ิการของคนในชมุ ชน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม

4 การเรยี นรจู ากกิจกรรมการทองเที่ยว
ดานการเรียนรูจากกิจกรรมการทองเท่ียว เพ่ือสราง
การรับรูและความเขาใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ท่ีแตกตางกันของแตละชุมชนโดยผานกระบวนการ
เรยี นรรู ะหวางชมุ ชนกบั นกั ทอ งเที่ยว

แหลงขอมลู : I4BizBank Innovation for Business Bank สาํ นกั งานการวจิ ัยแหง ชาติ (วช.) https://i4biz.nrct.go.th
“การถายทอดเทคนิคการบริหารจัดการการทองเท่ียวเชิงเกษตรอยางยั่งยืนในจังหวัดสมุทรสงคราม” ของ ดร.สิริกร
เลิศลัคธนาธาร แหงมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ไดรับทุนอุดหนุนการทํากิจกรรมสงเสริมและสนับสนุนการวิจัย
โครงการจัดการความรูและถายทอดเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยและนวัตกรรม จากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
ประจาํ ปง บประมาณ 2560

ผูสนใจรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ สามารถติดตามไดท างเว็บไซต : I4BizBank Innovation for Business Bank สํานกั งาน
การวิจัยแหงชาติ (วช.) https://i4biz.nrct.go.th และอานเพ่ิมเติมไดท่ีลิงค https://i4biz.nrct.go.th/download/
ebook/40004.pdf

* ขอมูลบทความ “การบริหารจัดการการทองเที่ยวเชิงเกษตรอยางย่ังยืนในจังหวัดสมุทรสงคราม” เปน เพยี งบางสว นบางตอน
จากหนงั สอื การถายทอดเทคนิคการบริหารจัดการการทอ งเที่ยวเชิงเกษตรอยางยง่ั ยนื ในจังหวัดสมุทรสงคราม เทา น้นั

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 7

National Research Council of Thailand (NRCT)

รอบรูงานวิจัย

จรรยาวิชาชีพในการทาํ วจิ ยั และแนวทางปฏิบตั ิ ตอนที่ 2

จดหมายขา‹ ว วช. ฉบบั ที่ 117 เดอื นธันวาคม 2563 ไดŒลงเรื่องของ
“จรรยาวิชาชีพในการทําวิจัย และแนวทางปฏิบัติ ตอนที่ 1” ซ่ึงเปšนแนวทาง
ปฏิบัตกิ ‹อนการดําเนนิ งานวจิ ยั ไปแลŒว ส‹วนฉบับนจี้ ะเปšนตอนท่ี 2 เปšนแนวทาง
ปฏบิ ัติระหวา‹ งการดาํ เนนิ งานวิจยั โดยจะกล‹าวถงึ ดงั ต‹อไปน้ี

 ระหวางการดาํ เนินงานวิจยั

นักวิจัยตองแนใจวา เคร่ืองมือและวิธีการท่ีใช
ในการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล มีความถูกตอง
ตามหลักวิชาการและระเบียบวิธีวิจัย เปนท่ียอมรับของ
ศาสตรท ีเ่ กย่ี วเนอื่ งกบั เรอ่ื งทวี่ จิ ยั นั้น ตอ งปฏบิ ตั ติ อ คนและ
สตั วท ใี่ ชใ นการศกึ ษาหรอื ทดลองดว ยความเมตตา เกบ็ รกั ษา
ขอ มูลและเอกสารเก่ียวกับการวิจยั อยางเปน ระบบระเบียบ
และปลอดภัย พรอมรับการตรวจสอบทุกระยะของการ
ดําเนินงานวิจัย ตองดําเนินงานวิจัยตามขอตกลงในสัญญา
อยางเครงครัด และรายงานความกาวหนาตามกรอบเวลา
ท่ีกําหนดไมนําขอมูลที่รวบรวมไดไปใชประโยชนอยางอ่ืน
นอกเหนือจากที่ระบุในขอตกลงหรือสัญญา ตองระงับและ
พรอมยุติการดําเนินงานวิจัยทันทีท่ีพบวางานวิจัยของตน
มีผลกระทบตอสาธารณชน ส่ิงแวดลอม หรือความมั่นคง
ของประเทศอยางรุนแรง และโดยมิไดค าดคดิ มากอน

แนวทางปฏิบตั ิ

• ไมม ีอคตใิ นการเลอื กกลมุ ตัวอยา งหรือผูร บั การวจิ ัย
• ตรวจสอบใหแ นใ จวา กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ มลู มคี วาม

เหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงคและกลุมตัวอยางในการวจิ ยั
• ใชเคร่ืองมือและวิธีการในการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล

อยางถูกตองตามหลักวิชาการและระเบียบวิธีวิจัย ที่เปน
ท่ยี อมรับของศาสตรท ่เี กี่ยวเนอื่ งกบั เร่ืองทว่ี จิ ยั
• ไมใชสินคาหรือบริการ หรือใบสําคัญซึ่งถือเปนหลักฐาน
วาจะมีการจายคาตอบแทนหรือไดรับส่ิงใด ๆ เปนการ
ตอบแทน เพื่อเปนส่ิงจูงใจใหผูรับการวิจัยรวมมือในการ
ตอบหรือใหขอมูลหรือเขารวมกิจกรรมในโครงการวิจัย
ตามทนี่ กั วจิ ยั ตองการ
• ไมม อี คตใิ นการเกบ็ รวบรวมขอ มลู การวเิ คราะห การแปลผล
การวจิ ารณ การสรปุ ผล และการใหข อ เสนอแนะในการวจิ ยั

8 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

• ดูแลปกปองสิทธิประโยชน และรักษาความลับของกลุมตัวอยาง
ในการศึกษาวจิ ัยหรอื ทดลอง ไมเ ปดเผยขอ มลู สวนตวั ของผรู ับการ
วิจัย เวนแตจะไดรับคํายินยอมเปนลายลักษณอักษรจากผูรับการ
วิจยั หรือผแู ทนโดยชอบธรรม

• ปฏบิ ตั ติ อ คนและสตั วท ใี่ ชใ นการศกึ ษาหรอื ทดลองดว ยเมตตาธรรม
ตองปองกันความเส่ียงที่อาจเกิดข้ึนอยางเต็มความสามารถ โดย
ไมคํานึงถึงแตผลประโยชนทางวิชาการ จนเกิดอันตรายหรือ
ความเสียหายแกคนหรือสัตวท ่ใี ชในการศึกษาหรือทดลอง

• จดบันทึกขอมูลรายละเอียดในการวิจัยอยางถี่ถวนและมีมาตรการ
ในการเก็บรักษาขอมูลและเอกสารเก่ียวกับการวิจัยอยางเปนระบบระเบียบและปลอดภัย เพ่ือตนเองและ
ผูรว มวจิ ัยไดใ ชประโยชน และเพอ่ื ความโปรงใส รวมทงั้ ความพรอมรับการตรวจสอบหากมกี ารรอ งขอ
• ดําเนินงานวิจัยตามขอตกลงในสัญญาอยางเครงครัดและ
รายงานความกาวหนาตามกรอบเวลาท่ีกําหนด ท้ังพรอม
รับการตรวจสอบจากบุคคล หรือองคกรที่เกี่ยวของในทุก
ระยะของการดําเนินงานวิจัย เพ่ือความโปรงใสและแสดง
ความบริสุทธใิ์ จในการวจิ ยั
• ติดตามและทบทวนการดําเนินงานวิจัยเปนระยะ ๆ อยาง
สมํ่าเสมอ เพ่ือใหการวิจัยเปนไปในทิศทางที่ถูกตอง และ
สามารถแกไขปญ หาท่ีเกิดขึน้ ไดอ ยา งทนั ทว งที

• หมั่นตรวจสอบกับผูรวมวิจัยตลอดชวงการดําเนินงานวิจัย วาไดมีการประพฤติปฏิบัติตามหลักจรรยาวิชาชีพของ
นักวจิ ยั และพรอ มแกไ ขขอ บกพรอ งโดยไมล ะเลยหรือหลีกเล่ียง

• ไมน าํ ขอ มลู ทรี่ วบรวมไดไ ปใชป ระโยชนอ ยา งอน่ื นอกเหนอื จากทร่ี ะบใุ นขอ ตกลงหรอื สญั ญาทที่ าํ ไวก บั แหลง ทนุ และ
หนวยงานตนสังกดั หรอื ทีไ่ ดแ จง ไวแ กผ รู ับการวจิ ยั และตอ งไมข ัดตอกฎหมายและศีลธรรม

• ระงับการดําเนินงานวิจัย และเสนอขอความ
เห็นชอบจากหนวยงานตนสังกัดและแหลงทุน
เพื่อยุติการดาํ เนนิ งานวิจัยทันทีที่พบวา งานวิจัย
ของตนมีผลกระทบตอสาธารณชน ส่ิงแวดลอม
หรอื ความมนั่ คงของประเทศอยา งรนุ แรงโดยมไิ ด
คาดคิดมากอนและอาจจําเปนตองดําเนินการ
อยางอื่นดวยความรอบคอบและดวยจิตสํานึก
รับผิดชอบ เพื่อลดหรือระงับความรุนแรงท่ีอาจ
เกดิ ข้ึน
(โปรดอา นตอ ฉบบั หนา )

แหลง‹ ขอŒ มลู : หนงั สอื “จรรยาวชิ าชพี วจิ ยั และแนวทางปฏบิ ตั ”ิ จดั ทาํ โดย
สาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร
กรุงเทพมหานคร 10900

* ขอมูลบทความ “จรรยาวิชาชีพในการทําวิจัย และแนวทางปฏิบัติ
ตอนท่ี 2” เปนเพียงบางสวนบางตอน จากหนังสือ จรรยาวิชาชีพวจิ ัย และ
แนวทางปฏิบตั ิ เทา นน้ั

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 9

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

รมว.อว. ตรวจเย่ียม วช. และชมงานวิจัยกวา 70 ผลงาน

ศาสตราจารยพ เิ ศษ ดร.เอนก เหลา‹ ธรรมทศั น รฐั มนตรวี า‹ การกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ตรวจเยี่ยมสํานักงานการวิจัย
แหง‹ ชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวตั กรรม (อว.)
เม่ือวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2563 ณ สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ และเย่ียมชม
นิทรรศการงานตามนโยบายกระทรวง อว. ซึ่งเปšนผลการดําเนินงานการบริหาร
ทุนวิจัยและนวัตกรรม และกิจกรรมตามภารกิจของ วช. พรŒอมทั้งมอบนโยบายการ
ดําเนนิ งานใหŒแก‹ วช. โดยมี ดร.วิภารัตน ดอี อ‹ ง รองผูอŒ ํานวยการสํานกั งานการวจิ ัย
แห‹งชาติ รักษาราชการแทนผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ พรŒอมดŒวย
ผูŒบริหาร เจาŒ หนาŒ ท่ี วช. และคณะนกั วจิ ัยใหŒการตอŒ นรบั

สําหรับนิทรรศการงานตามนโยบายกระทรวง อว. จากการบริหารทุน
วิจัยและนวัตกรรมตามภารกิจของ วช. มีการจัดแสดงกวา 70 ผลงาน ไดแก
ผลงานวิจัยภายใตแพลตฟอรมโจทยทาทายทางสังคมในกลุมโจทยทาทาย
ดานทรัพยากร ส่ิงแวดลอมและการเกษตร ไดแก การเฝาระวังและเตือนภัย
ปญหาหมอกควัน โดยเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศระบบเซ็นเซอร Dustboy
ในประเทศไทย ระยะท่ี 3 กลุมสงั คมสูงวยั ไดแก ระบบหุน ยนตเ คลือ่ นที่ลําเลียงยา
และเวชภณั ฑ การตดิ ตงั้ และทดสอบระบบเตยี งพลกิ ตะแคงอตั โนมตั พิ รอ มโปรแกรม
สมารทเบดสําหรับผูปวยท่ีชวยเหลือตัวเองไมได กลุมสังคมคุณภาพและความ
ม่ันคง ไดแก โครงการประเมินผลกระทบของโควิด-19 ตอสังคมและเศรษฐกิจ
ชุดแผนงานครอบครวั ไทยไรความรนุ แรง เปน ตน

10 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช. การจัดการขยะอยา งเปนระบบ
ดว ยวิจัยและนวัตกรรม

ปจจุบัน “การจัดการขยะ” เปนเรื่องสําคัญที่ทุกภาคสวน ใหมากท่ีสุดแทนการนําไปกําจัดท้ิงเพียงอยางเดียวตามหลักการ
ตองตระหนัก โดยเฉพาะอยางย่ิงปญหาการท้ิงขยะ ที่พบวา เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ซึ่งเปนอีกหนึ่งกลไก
ยังมีการท้ิงขยะอันตรายรวมกับขยะทั่วไป ซ่ึงประเด็นการจัดการ สําคัญในการขับเคล่ือนใหเกิดการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ขยะ
ขยะใหถูกวิธีเปนอีกหน่ึงปญหาสําคัญ ดังนั้น สํานักงานการวิจัย อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละของเสยี อนั ตรายชมุ ชนอยา งเหมาะสมและถกู วธิ ี
แหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ อยา งเปน รปู ธรรม นาํ ไปสูการกาํ หนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติ
นวตั กรรม (อว.) ในฐานะหนว ยบรหิ ารจดั การทนุ วจิ ยั และนวตั กรรม ทสี่ อดรบั กับบริบทของประเทศไทย
ของประเทศ เพื่อตอบโจทยทาทายของสังคมที่เปนปญหาสําคัญ ดว ยเหตุน้ี สาํ นักงานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) รว มกบั ศูนย
เรงดวน จึงมอบหมายใหศูนยความเปนเลิศดานการจัดการสาร ความเปนเลิศดานการจัดการสารและของเสียอันตราย (ศสอ.)
และของเสยี อนั ตราย (ศสอ.) จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั ดาํ เนนิ งาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และหนวยงานที่เก่ียวของท้ังกระทรวง
ใน “แผนงานวิจยั ทา ทายไทย: การจดั การขยะอเิ ล็กทรอนกิ สแ ละ อุตสาหกรรมและกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ของเสยี อนั ตรายชมุ ชน” โดยการบรู ณาการขอ มลู เชงิ คณุ ภาพและ จึงไดจัดงานเปดตัวการขับเคลื่อนการจัดการขยะอยางเปนระบบ
เชิงปริมาณเพ่ือใหเกิดการจัดการที่ดีตั้งแตตนทางจนถึงปลายทาง ดวยวิจัยและนวัตกรรม ภายใต “แผนงานวิจัยทาทายไทย: การ
ซ่ึงตองอาศัยงานวิจัยและนวัตกรรมที่เปนองคประกอบสําคัญ จัดการขยะอิเล็กทรอนิกสและของเสียอันตรายชุมชน ระยะที่ 2
รว มกบั ความรว มแรงรว มใจของทกุ ภาคสว น ดว ยโมเดลแซนดบ อกซ และการศึกษาขอมูลขยะมูลฝอยในประเทศไทย” เมื่อวันท่ี 1
(Sand Box) เพื่อสรางความตระหนกั และกระตุนใหเกดิ การแกไ ข ธันวาคม 2563 ณ หอง Jamjuree Ballroom A ช้นั M โรงแรม
ปญ หาเชงิ พน้ื ท่ี นาํ ไปสกู ารตอ ยอดผลงานวจิ ยั สกู ารนาํ ไปใชจ ดั การ ปทุมวัน ปริ๊นเซส กรุงเทพมหานคร โดย ดร.วิภารัตน ดีออง
ขยะอยางมีประสิทธิภาพและสอดรับกับกฎหมายที่เกี่ยวของ รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ รักษาราชการแทน
รวมท้งั “การศกึ ษาขอมลู ขยะมลู ฝอยในประเทศไทย” ไดตอยอด ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ กลาวเปดงานเปดตัว
ขยายผลดวยการกําหนดแผนงานใหครอบคลุมการจัดการ แผนงานโครงการวิจัยดังกลาว โดยมี รองศาสตราจารย ดร.สุธา
ขยะมูลฝอยชุมชนตั้งแตตนทางจนถึงปลายทาง ทําใหเกิดการ ขาวเธียร ผูอํานวยการศูนยความเปนเลิศดานการจัดการสารและ
รวบรวมขอมูลจนเกิดเปนฐานขอมูลดานการจัดการขยะที่ ของเสยี อนั ตราย และทมี วจิ ยั ภายใตแ ผนงานวจิ ยั ดงั กลา ว พรอ มทง้ั
ครอบคลุมทั้งขยะอิเล็กทรอนิกส ของเสียอันตรายชุมชน และ หนวยงานที่เกี่ยวของรวมเสวนาวิชาการผลการดําเนินงานที่ผานมา
ขยะมูลฝอยอยางครบถวนและมีความนาเชื่อถือ วช. มุงใหเกิด และแนวทางการดาํ เนนิ งานตอไป
ผลสัมฤทธ์ิและเนนใหเกิดปจจัยเรงสําคัญในการวางแผน “การ
จัดการขยะ” ดวยการสงเสริมและรักษาทรัพยากรที่มีอยูอยาง
จํากัดและการใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมท้ังการลด
ภาระผลกระทบที่จะเกิดตอส่ิงแวดลอมจากปญหามลพิษตาง ๆ
ในระยะยาวตามหลักการพัฒนาอยางย่ังยืน (Sustainable
Development Goals: SDGs) ดว ยแนวทางการใชประโยชนจ าก
ของเสยี โดยการหมนุ เวยี นทรพั ยากรทยี่ งั มปี ระโยชนก ลบั มาใชใ หม

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 11

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

มหกรรมการวจิ ัยดา นยุทโธปกรณ ฯ
เพ่ือเพ่มิ ศักยภาพของกองทัพและการปองกนั ประเทศ

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวตั กรรม (อว.)
จัดมหกรรมการวิจัยดานยุทโธปกรณ สูอุตสาหกรรมปองกันประเทศ
(Thailand’s Armament and National Defense Research and
Industry) เมอื่ วนั ท่ี 8 ธนั วาคม 2563 ณ โรงแรมเซน็ ทารา แกรนด แอท
เซ็นทรลั เวลิ ด กรุงเทพมหานคร โดย ศาสตราจารยศ ุภชยั ปทมุ นากลุ
รองปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
เปนประธานในพิธีเปดงาน และ ดร.วภิ ารัตน ดอี อง รองผอู ํานวยการ
รฐั บาลมนี โยบายในการพฒั นาและเสรมิ สราŒ งศกั ยภาพ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ รักษาราชการแทนผูอํานวยการสํานักงาน
ของกองทัพและระบบป‡องกันประเทศใหŒทันสมัย มีความพรŒอม การวจิ ยั แหง ชาติ ผทู รงคณุ วฒุ ิ ผแู ทนกองทพั บก ผแู ทนกรมวทิ ยาศาสตร
ในการรักษาอธิปไตยและผลประโยชนของชาติ ปลอดพŒนจาก และเทคโนโลยีกลาโหม ผูแทนกรมวิทยาศาสตรทหารบก ผูรับทุน
การคุกคามทุกรูปแบบ ส‹งเสริมและพัฒนาวิทยาศาสตรและ ผูร ว มวจิ ยั และภาคสว นที่เกี่ยวของเขา รวมงานประมาณ 200 คน
เทคโนโลยีการป‡องกันประเทศ ตลอดจนการวิจัยและพัฒนาและ งานนทิ รรศการในครง้ั น้ี แสดงถงึ ความสาํ เรจ็ ของการสนบั สนนุ
การถา‹ ยทอดเทคโนโลยเี พอ่ื นาํ ไปสก‹ู ารพฒั นาตนเองในการผลติ การพัฒนานักวิจัยดานยุทโธปกรณในสถาบันอุดมศึกษา และทําให
อาวธุ ยทุ โธปกรณ สามารถบรู ณาการความรว‹ มมอื ระหวา‹ งภาครฐั กองทัพบกไดรับผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและมาตรฐานตรงตอความ
และเอกชนในอตุ สาหกรรมปอ‡ งกนั ประเทศ กองทัพบกจงึ ร‹วมกับ ตอ งการ สรา งประโยชนใ หป ระเทศชาติ ซง่ึ ประกอบไปดว ยงานวจิ ยั ดา น
สํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย ดาํ รงสภาพยทุ โธปกรณ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ รวมถงึ นวตั กรรมการวจิ ยั
และนวัตกรรม ดําเนินโครงการวิจัยทางดŒานยุทโธปกรณเพ่ือ จํานวนทั้งสิ้น 53 โครงการ มหาวิทยาลัยท่ีเขารวมการจัดนิทรรศการ
พัฒนาศักยภาพของกองทัพและการป‡องกันประเทศขึ้นตั้งแต‹ จาํ นวน 17 แหง โดยมีผลงานวจิ ัยเดน (Product Champaign) จํานวน
ป‚ พ.ศ. 2557 – 2563 10 โครงการ

12 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

การร้ือฟนการผลิตกระจกเกรียบและจืนแบบโบราณ
เพ่ืองานบูรณะและอนุรักษ

สาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) กระทรวงการอดุ มศกึ ษา อีกทั้งยังสามารถสรางผลิตภัณฑตนแบบประดับกระจกจืนและ
วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวตั กรรม (อว.) เลง็ เห็นความสําคัญของ กระจกเกรยี บทส่ี ามารถนาํ ไปใชง านในการบรู ณะโบราณสถานและ
วิทยาการดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรโดยเฉพาะการสราง โบราณวตั ถุ และสรา งผลติ ภณั ฑต น แบบทใ่ี ชก ระจกจนื และกระจก
องคค วามรใู หมจ ากประสบการณแ ละภมู ปิ ญ ญาของคนไทยซง่ึ เปน เกรยี บตกแตงเพือ่ ขยายผลเชงิ พาณชิ ยในอนาคต
ฐานรากที่มั่นคงในการเสริมสรางการพัฒนาท่ีย่ังยืนของประเทศ โดยเม่อื วันที่ 9 ธันวาคม 2563 วช. ไดจัดงานแถลงขา ว
โดยในป พ.ศ. 2559 วช. ไดส นบั สนุนการวจิ ัย เร่ือง “การพัฒนา “การร้ือฟนการผลิตกระจกเกรียบและจืนแบบโบราณเพ่ืองาน
แกวคริสตัลปราศจากตะก่ัวและการประดิษฐแกวคริสตัลบาง” บูรณะและอนุรักษ” พรอมกันนี้ไดถวายสัตภัณฑท่ีประดับกระจกจืน
ภายใตแผนงานเทคโนโลยีเพ่ืออุตสาหกรรมดานวัสดุนาโนและ ซง่ึ เปนกระจกท่ีไดจากงานวิจยั ณ วัดชา งฆอ ง อาํ เภอเมือง จังหวัด
นาโนเทคโนโลยี นําโดย รองศาสตราจารย ดร.กมลพรรณ เพ็งพัด เชียงใหม โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง รองผูอํานวยการสํานักงาน
นกั วจิ ยั คณะวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม และคณะ ปจ จบุ นั การวิจัยแหงชาติ รักษาราชการแทนผูอํานวยการสํานักงาน
ไดพัฒนางานที่เนน “การประดิษฐแกวคริสตัลบางเพื่อประยุกต การวิจัยแหงชาติ เปนประธาน ซ่ึงไดรับความรวมมือจากศิลปน
เปนกระจกโบราณ” รวมกับโรงงานการผลิตกระจกโบราณของ “ฝนุ หอสูง” นายชาญยทุ ธ โตบณั ฑิต ออกแบบและสรา งสัตภัณฑ
นายรชต ชาญเช่ียว และคณะ เพื่อพัฒนาสูตรกระจกโบราณใหม ๆ เปนความสําเร็จอยางเปนรูปธรรมของการนําผลงานวิจัยจาก
เปนกระจกจืนและกระจกเกรียบ จนสามารถนํากระจกจืนและ หองปฏิบัติการ ที่สามารถตอยอดท้ังเชิงพาณิชยและสามารถ
กระจกเกรียบไปบูรณะโบราณสถานและโบราณวัตถุไดหลายแหง นําไปทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของประเทศไทย เพื่อรักษามรดก
อันทรงคุณคาใหค งอยเู คียงคคู นไทยสบื ไป

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 13

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

การขบั เคลือ่ นแผนงานโครงการวิจัย
ตามกรอบงานวจิ ัยและนวัตกรรม ป 2564

สาํ นกั งานการวจิ ยั แหง‹ ชาติ(วช.)กระทรวงการอดุ มศกึ ษา ดานการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ศาสตราจารย
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดเวทีประชุมประจําป‚ ดร.สนทิ อกั ษรแกว ประธานคณะกรรมการ ฯ ดา นการพัฒนา
คณะกรรมการอํานวยการสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม สขุ ภาพ สงั คม สิ่งแวดลอม ศาสตราจารย ดร.ปย ะวตั ิ บญุ -หลง
และคณะกรรมการดําเนินงานสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประธานคณะกรรมการ ฯ ดานการพัฒนาเชิงพ้ืนที่ และ
ประเด็นเป‡าหมาย เพ่ือร‹วมพิจารณาผลการบริหารทุนวิจัยและ รองศาสตราจารย ดร.กลาณรงค ศรีรอต ประธานคณะ
นวัตกรรม ป‚ 2563 แผนการดําเนินงานและกรอบการวิจัยในป‚ กรรมการ ฯ ดานการพัฒนาเศรษฐกิจและการเกษตร และ
2564 เพื่อร‹วมพิจารณาและใหŒขŒอคิดเห็นต‹อกรอบการวิจัยและ
นวัตกรรม ป‚ 2564 แผนการดําเนนิ งานในการบริหารทุนวจิ ัยและ ดร.วภิ ารตั น ดีออ ง ประธานคณะกรรมการ ฯ ดา นการพัฒนา
นวัตกรรมในระยะต‹อไป เพ่ือใหŒ ไดŒผลผลิตและผลลัพธตาม เสนทางอาชีพนักวิจัยและนวัตกรรม และการวิจัยเพ่ือฐาน
เป‡าหมายของประเทศ เกิดความคุŒมค‹า มีประสิทธิภาพและ ทางวชิ าการ และประธานคณะกรรมการอาํ นวยการสนบั สนนุ
ประสิทธิผล เม่ือวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2563 ณ หŒองแกรนด การวิจยั และนวตั กรรม รวมเปนประธานในการประชมุ ซึ่งใน
บอลรมู โรงแรมรามาการเดนŒ ส กรงุ เทพมหานคร การประชุมคร้ังนี้ ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการอํานวยการ
สนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม และคณะกรรมการ
ในการประชุมดังกลาว ศาสตราจารยกิตติคุณ ดําเนินงานสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมประเด็น
นายแพทยสุทธิพร จิตตมิตรภาพ ประธานคณะกรรมการ เปาหมาย ท้ัง 5 คณะ ไดเขารว มการประชุมดงั กลา ว
ดาํ เนนิ งานสนบั สนนุ การวจิ ยั และนวตั กรรมประเดน็ เปา หมาย

โดยในปน้ี ท่ีประชุมเห็นควรใหเตรียมการจัดประชุม
ในลกั ษณะนปี้ ล ะ 2 ครง้ั เพอ่ื ใหเ กดิ กลไกทม่ี คี ณุ ภาพ เชอื่ มโยง
งาน และขับเคล่ือนการดําเนินงานสูเปาหมายการพัฒนา
ประเทศ ตอบโจทยยุทธศาสตรชาติ 20 ป นโยบายรัฐบาล
และนโยบายและยทุ ธศาสตรก ารอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั
และนวัตกรรม

14 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

ความสมั พันธก ารทูตไทย – จนี 45 ป

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการ สําคัญหรือประเด็นที่คาดการณในอนาคต โดยมีเปาหมาย
อดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) เปน เจา ภาพ เพอ่ื สรา งองคความรตู า ง ๆ ที่เกีย่ วของกับประเดน็ ไทย - จนี
ฝายไทยจัดการสัมมนาวิจัยยุทธศาสตรไทย - จีน ครั้งท่ี 9 รวมทง้ั สนบั สนนุ การวจิ ยั รว มกนั ในประเดน็ ทคี่ ลา ยคลงึ กนั หรอื
ภายใตหัวขอเร่ือง “ความสัมพันธการทูตไทย - จีน 45 ป : เชื่อมโยงกัน และนําองคความรูจากการวิจัยเปนขอมูลจัดทํา
การแบงปนประสบการณและความรวมมือในอนาคต” (45th นโยบายหรือยทุ ธศาสตรอยางเปน รูปธรรม
Year of Thai – Chinese Diplomatic Relation : Sharing
Experiences and Future Coorperation) รวมกับ สําหรับในป พ.ศ. 2563 น้ี ไดจัดสัมมนาในรูปแบบ
มหาวทิ ยาลยั หวั เฉยี วแหง สาธารณรฐั ประชาชนจนี (Huaqiao ออนไลน เนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส
University : HQU) ระหวางวันท่ี 8 - 9 ธันวาคม 2563 โควิด-19 ทําใหนักวิจัยฝายจีนไมสามารถเดินทางมายัง
ณ ชลพฤกษรสี อรท อําเภอบานนา จังหวัดนครนายก โดยมี ประเทศไทยเพ่ือเขารวมสัมมนาคร้ังนี้ได โดยภายในการสัมมนา
นายสมปอง สงวนบรรพ ท่ีปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวง ครั้งนี้ยังมีปาฐกถาพิเศษโดย ศาสตราจารยจวง กั๋วถู (Zhuang
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม และ Guotu) ประธานสมาคมจีนเพ่ือการศึกษาเอเชียตะวันออก
ศาสตราจารยเจง้ิ หลู (Zeng Lu) รองประธานมหาวิทยาลัย เฉยี งใต และนายสมปอง สงวนบรรพ ทปี่ รกึ ษารฐั มนตรวี า การ
หัวเฉียวแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน กลาวเปดงาน และ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
นายสมปรารถนา สุขทวี รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัย ในหวั ขอ เรอื่ ง “ความสมั พนั ธก ารทตู ไทย - จนี 45 ป : การแบง ปน
แหง ชาติ และรองศาสตราจารย ดร.โภคณิ พลกลุ นายกสมาคม ประสบการณและความรวมมือในอนาคต”
วฒั นธรรมและเศรษฐกิจไทย - จนี กลา วตอนรบั
นอกจากน้ี ยังมีการนําเสนอผลงานทางวิชาการ
การสัมมนายุทธศาสตรไทย - จนี จัดขึน้ เปนประจาํ ในหัวขอ ตา ง ๆ เชน มิติวฒั นธรรมกับความสมั พนั ธในอนาคต
ทกุ ปต ง้ั แตป  พ.ศ. 2555 เพอื่ เปน เวทใี หน กั วชิ าการไทยและจนี การเรียนรูจากจีนในดานการขจัดความยากจน การพัฒนา
ไดพบปะและแลกเปล่ียนผลงานวิชาการระหวา งกัน โดยสลบั กัน อยา งย่ังยนื รปู แบบการพัฒนาของจนี ผลกระทบของสงคราม
เปนเจาภาพ แตละปมีการกําหนดหัวขอหลักและรูปแบบ การคา (US vs China) : ไทย - จนี จะรว มกันพัฒนาอยา งไร
การสมั มนาทมี่ งุ เนน สง เสรมิ และสนบั สนนุ การวจิ ยั ในประเดน็ และพัฒนาการโครงการริเร่ิมแถบและเสนทาง ผานชาวจีน
โพน ทะเล

สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 15

National Research Council of Thailand (NRCT)

กิจกรรม วช.

ตน แบบความสาํ เรจ็ เทคโนโลยี
ผลติ องนุ ไชนม สั แคท ณ เชยี งใหม

1.สาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) กระทรวงการอดุ มศกึ ษา สาํ หรับงานวิจัยสนบั สนุนองคความรูดงั กลา ว ไดแก

วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) นาํ คณะสอื่ มวลชนเยย่ี มชม งานวิจัยการผลิตองุนไซนมัสแคท ตั้งแตเร่ิมเตรียมพื้นที่
งานวิจัย ตนแบบความสําเร็จในการถายทอดเทคโนโลยีผลิตองุน ปลกู การขยายพนั ธุ การปลูกและการดแู ล ตงั้ แตร ะยะแรก
ไชนมัสแคท เม่ือวันที่ 9 ธันวาคม 2563 ณ สวนองุนฮักริมปง หลงั ปลกู ถงึ ระยะเกบ็ เกีย่ ว โดยองคค วามรจู ากงานวจิ ยั ที่ถายทอด
อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม ผลงานการบูรณาการองคความรู แกเกษตรกร ไดแก การตัดแตงก่ิง การควบคุมทรงพุม การให
ของนกั วจิ ัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ในดานเทคโนโลยีการผลิต การ ปุยและนํ้า การใชกรดจิบเบอเรลลิก (GA3) และ CPPU การ
จดั การโรคและแมลง เทคโนโลยหี ลงั การเกบ็ เกยี่ วองนุ ไซนม สั แคท ตดั แตง ชอ ผล เพอ่ื เพมิ่ คณุ ภาพทางดานกายภาพของผล เชน สผี วิ
เพอ่ื การพาณชิ ย ตลอดจนการประเมนิ คณุ ภาพองุน สวยงามสม่ําเสมอ ไมกราน ขนาดผลใหญขึ้น ไมมีเมล็ด และ
2.ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.พรี ะศกั ด์ิ ฉายประสาท อาจารย ชอ ใหญ รสชาติหวาน

ภาควิชาวิทยาศาสตรเกษตร คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากร งานวิจัยการเขาทําลายโรคแมลง และการปองกันกําจัด
ธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ ม มหาวทิ ยาลยั นเรศวร จงั หวดั พษิ ณโุ ลก เพ่ือปองกันความเสียหายท่ีจะเกิดขึ้น ไดแก โรครานํ้าคาง
และหัวหนาโครงการการจัดการความรูและถายทอดเทคโนโลยี โรคกง่ิ แหง โรคแอนแทรคโนส โรคสแคปหรอื โรคใบจดุ โรคราสนมิ
การผลิตองุนไซนมัสแคทเชิงพาณิชย ที่ไดรับการสนับสนุนจาก โรคราแปง โรคลําตนและรากเนาจากเห็ด โรคใบไมใบลวก
สาํ นกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) นาํ คณะสอื่ มวลชนชมความสาํ เรจ็ โรคใบจีบคลายพัด สวนแมลงศัตรูพืชที่สําคัญ เชน เพล้ียไฟ
3.ในการถายทอดเทคโนโลยีแกสวนองุนฮักริมปง อําเภอจอมทอง เพลย้ี ออ น หนอนกระทูหอม แมลงวนั ผลไม และหนอนเจาะสมอฝาย
จงั หวดั เชียงใหม ระบบการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว ซ่ึงเปนการ
ทั้งน้ี ผูชวยศาสตราจารย ดร.พีระศักด์ิ ฯ พรอมคณะ นําองคความรูจากงานวิจัย เชน การปรับปรุงคุณภาพ
ไดสะสมความรูเกี่ยวกับการผลิตและการจัดการเก็บเก่ียวองุน หลังการเก็บเกี่ยว การคัดบรรจุ การเก็บรักษาอุณหภูมิตํ่า และ
4.ไซนมัสแคท ท้ังจากญี่ปุนและสวนองุนในไทย ไดแก จังหวัด การยืดอายุการเก็บรกั ษาดวยการดัดแปลงสภาพบรรยากาศ

พษิ ณโุ ลก เชยี งใหม ลาํ พนู ลาํ ปาง และตาก ทาํ ใหไ ดร บั ทราบปญ หา การรวมกลุมของเกษตรกร การตลาด โดยมีกิจกรรมให
ของเกษตรกรโดยตรง และไดท ดลองเพอื่ แกไ ขปญ หาในแปลงปลกู ผปู ระกอบการ พอ คา คนกลาง และกลมุ เกษตรกรรว มเสวนา
องุนไซนมัสแคทในมหาวิทยาลัยนเรศวร จากน้ันไดรวบรวม เพื่อหาแนวทางการจัดการและการปรับปรุงคุณภาพเพื่อเพิ่ม
องคความรู เพื่อจัดอบรมถายทอดองคความรูดานเทคโนโลยี ศักยภาพในตลาดสงออก
การผลิต การจัดการโรคและแมลง เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
องุนไซนม สั แคทเพ่อื การพาณชิ ย และการประเมนิ คณุ ภาพองนุ

16 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

National Research Council of Thailand (NRCT)


Click to View FlipBook Version