The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 1 นวัตกรรมการศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by milkmano44, 2021-11-07 11:38:14

หน่วยที่ 1 นวัตกรรมการศึกษา

หน่วยที่ 1 นวัตกรรมการศึกษา

ความรูเ้ บอื งตน้

เกียวกับนวตั กรรมการศึกษา

Educational Innovation

ผศ.ดร.พวงทอง เพชรโทน
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี

หัวข้อเนือหา

ความหมายของนวตั กรรม
กระบวนการเกดิ นวตั กรรม
คณุ ลักษณะของนวตั กรรม
เกณฑ์ทใี ช้ในการพิจารณานวตั กรรม
นวตั กรรมการศึกษา ประเภทนวตั กรรมการศกึ ษา
ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยกี ารศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีการศกึ ษา

ความหมายของ Innovation
"นวัตกรรม"
มาจากภาษาลาตนิ Innovare แปล
วา่ renew, modify
นวตั กรรม มาจากภาษาบาลีสันสกฤต

นว+อตต (บาล)ี = ใหม+่ ตนเอง
กรม์ (สันสกฤต) = การกระทํา

ความหมาย "นวัตกรรม"

นวตั กรรม คือ ความใหมแ ละทนั สมัย ซ่ึงถกู คนพบโดยส่ิงนัน้ ไมเ คยมีมากอ น เป็นสง่ิ ท่ี
ถูกคนพบ ถูกเก็บซอนไวโดยยังไมผา นกระบวนการทางวิทยาศาสตร เม่อื นํามาทดสอบ หรอื
ทดลองก็เป็นนวตั กรรม (อํานวย เดชชัยศรี, 2544)

นวัตกรรม คือ การนําส่งิ ใหมๆ เขา มาเปลีย่ นแปลง เพ่ิมเติมวธิ กี ารทท่ี ําอยูเดมิ เพ่อื ให
ใชไดผ ลดียิง่ ข้ึน (บญุ เก้อื ควรหาเวช, 2542)

ความหมาย "นวตั กรรม"

นวัตกรรม คือ เป็นแนวความคิด การปฏบิ ตั ิ การประดิษฐสง่ิ ใหมๆ ทีย่ ังไมเ คยมมี ากอน
หรือเป็นการพัฒนาดดั แปลงจากของเดมิ ทม่ี อี ยแู ลวใหทันสมยั และใชไดผ ลดีย่ิงข้นึ ชว ยใหก าร
ทํางานนัน้ มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลสูงกวา เดิม ชวยประหยดั เวลา และแรงงาน
(กิดานันท มลทิ อง, 2548)







นวตั กรรม = แนวคดิ การ
ปฏิบตั ิ หรอสงิ ประดิษฐใ์ หมท่ ี
ยงั ไม่เคยมใี ช้มาก่อน หรอ
เปนการพัฒนา ดดั แปลงของ
เดิมทีมีอยใู่ ห้ทันสมัยและใชไ้ ด้
ผลดขี ึน



กระบวนการเกิดนวตั กรรม

1 2 3

มกี ารประดิษฐค์ ิดค้น/ พฒั นาการ การนาํ ไปใชจ้ รงิ จดั เปน
ปรบั ปรุง / พฒั นาของ (Development) มกี าร นวตั กรรมทีสมบูรณ์
เดิมให้เหมาะสม ทดลอง / ตรวจสอบ/
pilot study



คณุ ลักษณะของนวตั กรรม

เปนสงิ ใหมท่ ังหมดหรอื บางสว่ น หรอื เปนของเก่าทีใชไ้ มไ่ ดผ้ ลใน ยงั ไมเ่ ปนสว่ นหนงึ ของระบบงาน
อดตี แต่นาํ มาปรบั ปรงุ ใหม่ หรอื ปรบั ปรงุ ใหด้ ขี นึ ในปจจุบนั

นาํ วธิ กี ารจดั การระบบ (SYSTEM APPROACH) มาใชโ้ ดย มกี ารพสิ จู นด์ ว้ ยการวจิ ยั วา่ นวตั

พจิ ารณาองค์ประกอบ สงิ ปอนเขา้ กระบวนการและผลลัพธ์ กรรมนนั ชว่ ยแก้ปญหา / ชว่ ยให้

งานมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขนึ

เกณฑ์ในการ เปนสงิ ใหมท่ ังหมด ประดษิ ฐค์ ิดค้นโดยใช้
พิจารณา หรอื บางสว่ น วธิ กี ารจดั ระบบ
นวัตกรรม

มกี ารพสิ จู นว์ จิ ยั สงิ ใหมน่ นั ยงั ไมเ่ ปน
เพอื ใหเ้ กิดความ สว่ นหนงึ ของ

มนั ใจ ระบบงานปจจุบนั

นวตั กรรม
ทางการศึกษา

ความหมายของนวตั กรรมการศึกษา

เปนการนาํ เอาสงิ ใหมๆ่ ซงึ อาจอยูใ่ นรปู ของความคิด
หรอื การกระทํารวมทังสงิ ประดษิ ฐก์ ็ตามเขา้ มาใชใ้ นระบบ
การศึกษาเพอื มุง่ หวงั ทีจะเปลียนแปลงสงิ ทีมอี ยูเ่ ดมิ ให้
ระบบการจดั การศึกษามปี ระสทิ ธภิ าพยงิ ขนึ

(บุญเกือ ควรหาเวช, 2542)

ความหมายของนวตั กรรมการศึกษา

สงิ ใหมๆ่ ทีสรา้ งขนึ มาเพอื ชว่ ยแก้ปญหาเกียวกับการ
จดั การเรยี นการสอนหรอื พฒั นาใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพไดแ้ ก่แนวคิดรปู แบบวธิ กี ารกระบวน
การสอื ต่างๆทีเกียวกับการศึกษา

(สคุ นธ์ สทิ ธพานนท์, 2551)

ความหมายของนวตั กรรมการศึกษา

สงิ ทําขนึ ใหมไ่ ดแ้ ก่แนวคิดแนวทางระบบรปู แบบวธิ ี
การกระบวนการสอื และเทคนคิ ต่างๆทีเกียวกับการศึกษาซงึ
ไดร้ บั การคิดค้นและจดั ทําขนึ ใหมเ่ พอื ชว่ ยแก้ปญหาต่างๆ
ทางการศึกษา

(ทิศนา แขมมณ,ี 2548)

ความหมายของนวตั กรรมการศึกษา

การนํานวตั กรรมมาใชใ้ นวงการการศึกษาเรยี กวา่ นวตั กรรมการ
ศึกษาหมายถึงนวตั กรรมทีชว่ ยใหก้ ารศึกษาและการเรยี นการสอนมี
ประสทิ ธภิ าพดยี งิ ขนึ ผเู้ รยี นสามารถเกิดการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งรวดเรว็ มี
ประสทิ ธผิ ลสงู กวา่ เดิมเกิดแรงจูงใจในการเรยี นด้วยนวตั กรรมเหล่านัน
ทังยงั ประหยดั เวลาในการเรยี นได้อีกดว้ ย

(กิดานันท์ มลิทอง, 2548)

“นวตั กรรมการศึกษา หมายความวา่ แนวคิด

วธิ กี าร กระบวนการ สอื การเรยี นการสอน หรอื
การบรหิ ารจดั การในรปู แบบใหม่ ซงึ ไดม้ กี าร
ทดลองและพฒั นาจนเปนทีนา่ เชอื ถือวา่

สามารถสง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นและการ
จดั การศึกษา และใหห้ มายความรวมถึงการนํา
สงิ ดงั กล่าวมาประยุกต์ใชใ้ นพนื ทีนวตั กรรม

การศึกษาดว้ ย”

นวตั กรรมการศกึ ษา คือ สิง่ หนง่ึ สง่ิ ใดไมว า จะเปนสอ่ื การสอน
เทคนคิ การสอนการบริหารและการจดั การการ
ศกึ ษาซง่ึ เปน สงิ่ ท่คี ิดคน สรางข้นึ ใหมห รือ
ดัดแปลงจากส่ิงที่ใชห รือปฏบิ ัตติ ามปกติ
ทาํ ใหการเรยี นการสอนมีประสิทธภิ าพมาก
ยิง่ ข้นึ อยรู ะหวางการทดลองใชหรือยงั ไมไ ด
รบั การผนวกเขาเปนสว นหนึ่งของการเรียน
การสอนตามปกติ





แนวคิดพนื ฐานการเกิดนวตั กรรมทางการศึกษา

ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล การใชเ้ วลาเพอื การศึกษา

มุง่ หาวธิ กี ารใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นตาม การใหค้ วามสาํ คัญกับการเปดโอกาสใน
ความสามารถ เชน่ การเรยี นแบบ การใชเ้ วลาเรยี นอยา่ งอิสระ ตามความ
ไมแ่ บง่ ชนั แบบเรยี นสาํ เรจ็ รปู ชุด สามารถและความต้องการ เชน่ การจดั
ตารางสอนแบบยดื หยุน่ มหาวทิ ยาลัย
การสอน การสอนเปนคณะ
คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เปด แบบเรยี นสาํ เรจ็ รูป การเรยี น
ออนไลน์แบบเปด
ความพรอ้ ม
ประสทิ ธภิ าพในการเรยี น
การเรยี นรจู้ ะไดผ้ ลดเี มอื ผเู้ รยี นมี
ความพรอ้ ม ซงึ เปนสงิ ทีสรา้ งขนึ ได้ การขยายตัวทางวชิ าการ และการ
ถ้าหากสามารถจดั บทเรยี น ใหพ้ อ เปลียนแปลงของสงั คม เพอื เปดโอกาสให้
เหมาะกับระดบั ความสามารถของ ทกุ คนศึกษาได้อยา่ งกวา้ งขวางและทัวถึง
เชน่ มหาวทิ ยาลัยเปด แบบเรยี นสาํ เรจ็ รปู
เดก็ แต่ละคน เชน่ ศูนยก์ ารเรยี น
การเรยี นการสอนทางไกล

INNOVATION โดยสรปุ

“นวตั กรรม เปนแนวปฏิบตั ิ หรอื แนวความคิด

หรอื การกระทําใหม่ ๆ ทังหมด หรอื บางสว่ นก็ได้
ซงึ เกิดขนึ เนอื งจากมปี ญหา และมนษุ ยพ์ ยายาม
แก้ปญหานนั ๆ ถ้าไมม่ ปี ญหานวตั กรรมจะไมเ่ กิด
ขนึ และเมอื สงิ ใหมใ่ ชไ้ ดผ้ ลดเี ปนทียอมรบั ของคน
สว่ นมากจนถือเปนแนวปฏิบตั ิโดยทัวไปจนกลาย
เปนเรอื งธรรมดา สภาพนวตั กรรมนนั จะหมดไป

กลายเปนเทคโนโลยรี ปู แบบหนงึ ในระบบงาน”

ลักษณะของนวตั กรรม

ประโยชนห์ รอื ผลดที ีไดร้ บั ความเขา้ กันได้ ความซบั ซอ้ น
(Relation Advantage) (Compatibility) (Complexity)

การทดลองได้ การสงั เกตได้
(Trialability) (Observability)

การยอมรบั นวตั กรรมทางการศกึ ษา

นวตั กร เปนบุคคลทีเฉลียวฉลาด รอบรู้ มี
เหตผุ ล มคี วามคิดรเิ รมิ ใหมๆ่ กล้าทีจะ
นักต่อต้าน นาํ สงิ ใหมๆ่ ไปทดลองใช้ หรอื รบั ความ
คิดใหมไ่ ด้เรว็
เปนบุคคลทีเฉลียวฉลาด รอบรู้ แต่ไม่
ชอบเสยี ง ไมย่ อมรบั อะไรง่ายๆ
เนอื งจากกลัวขอ้ บกพรอ่ ง
บุคคลเหล่านีจงึ มกั ต่อต้านสงิ ใหมๆ่ ที
เกิดขนึ

ผนู้ าํ เปนบุคคลสาํ คัญของกล่มุ
และเปนทียอมรบั ของสมาชกิ ในกล่มุ
ถ้าผนู้ าํ ยอมรบั นวตั กรรมใหม่ ยอ่ ม
ทําให้ผอู้ ืนคล้อยตาม

การบูรณาการ การรับไปใช้ ขนั ของการยอมรบั
การทดลอง การประเมนิ ค่า นวตั กรรม
การรับรู้
การแสดงความสนใจ







พระราชบญั ญตั ิพนื ทีนวตั กรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒

พนื ทีนวตั กรรมการศึกษานาํ รอ่ ง

ความสําคัญ เกิดแรงจูงใจความสนใจ

นวัตกรรมการศกึ ษา เปนแนวทางในการแก้ปญหาการ
ดําเนนิ งานใหส้ าํ เรจ็

ชว่ ยประหยดั ค่าใชจ้ ่าย

ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี นรูไ้ ด้มากขนึ และ
รวดเรว็

สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นและผสู้ อนเกิดความคิด
สรา้ งสรรค์

เพมิ คณุ ภาพและปรมิ าณงานใหส้ งู กว่าเดิม

ประเกภาทรนศวึกตั ษการรม

นวตั กรรมดา้ นหลกั สตู ร
นวตั กรรมการเรยี นการสอน

นวตั กรรมสือการสอน

นวัตกรรมดา้ นการประเมินผล

นวตั กรรมการบริหารจดั การ




























Click to View FlipBook Version