The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์กับสุขภาพ สัปดาห์ที่1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chakkaphan, 2022-01-25 01:26:45

เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์กับสุขภาพ สัปดาห์ที่1

เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์กับสุขภาพ สัปดาห์ที่1

เคร่ืองด่ืมทม่ี แี อลกอฮอล์กบั สุขภาพ
และการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ

การเปลย่ี นแปลงของร่างกายและความสัมพนั ธ์
ของการด่ืมเคร่ืองด่ืมทม่ี แี อลกอฮอล์

เคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์เช่น สุรา เบียร์ ไวน์ วิสกี้ น้าตาลเมา เมื่อ
ดื่มเข้าไป 5 ส่วน จะมีแอลกอฮอล์ 1 ส่วน ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแส
เลือดส่วนทเี่ หลืออกี 4 ส่วน จะถูกดูดซึมผ่านผนังลาไส้เลก็

หลงั จากท่ีดื่มเข้าไปประมาณ 1 ชั่วโมงแอลกอฮอล์จะถูกดูดซึมเข้า
สู่ ก ระ แส เลื อด จ นห มด แล ะท า ให้ ระ ดับ แอ ลก อ ฮอ ล์ สู งสุ ดต า ม
ร่ างกายรับเข้ าไปแอลกอฮอล์ที่ถูกดูดซึมเข้ าไปกระจายอยู่ตามส่ วน
ต่างๆได้แก่ นา้ ลาย นา้ ไขสันหลงั กระแสเลือด มนั สมอง และตับ

มเี พยี งประมาณร้อยละ 5 ของแอลกอฮอล์ท้งั หมดเท่าน้ันทข่ี บั ออก
จากร่ างกายทางลมหายใจผ่ านปอดและทางปัสสาวะโดยผ่ านไต
ส่วนที่เหลืออยู่ตามเนื้อเย่ือต่างๆและจะถูกเผาผลาญเป็ นส่วนใหญ่
ทตี่ บั ซ่ึงส่วนทเ่ี หลือจะถูกเผาผลาญเป็ นไขมนั

เม่ือดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์เข้าไปฤทธ์ิของแอลกอฮอล์
จะกดประสาทโดยแบ่งได้เป็ น 3 ระยะดงั นี้

ระยะที่ 1 ออกฤทธ์ิต่อสมองโดยไปกดประสาทส่ วนที่ทาหน้าที่
เก่ียวกับความคิดกระตุ้นประสาททาให้ คลายความกังวลหรื อตึง
เครียดกล้าแสดงออกกว่าปกติมันเกิดจากฤทธ์ิของแอลกอฮอล์กด
ประสาทไว้ชั่วคราว

ระยะท่ี 2 ออกฤทธ์ิต่อสมองส่วนที่ควบคุมการเคลื่อนไหวและ
การพูดทาให้ประสาทการรับรู้ช้ากว่าปกติทาให้พูดไม่ชัด เคลื่อน
ไว้ได้ไม่ดี ระยะนีถ้ ือว่าเร่ิมเมาแล้ว

ระยะท่ี 3 ออกฤทธ์ิที่ศูนย์ควบคุมการหายใจโดยจะไปกดประสาท
ส่ วนท่ีควบคุมการหายใจทาให้หายใจไม่สะดวก เกิดอาการไม่
รู้สึกตวั หรือหมดสติ

จากการทดลองเพื่อหาขนาดความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในเลือดที่
สามารถทาให้เกิดอาการเมาในลกั ษณะต่างๆหรือมีอาการที่ปรากฏ
เมื่อดื่มแอลกอฮอล์เข้าไปน้ัน จากสถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุ
และสาธารณภยั กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข

1.ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในเลือด 50-150 มลิ ลกิ รัม

ลกั ษณะอาการ เมาน้อย
ผลทเี่ กดิ ขนึ้ กบั ผู้ดื่ม ประสิทธิภาพการมองเห็นและการทางาน
ของกล้ามเนื้อตกตา่ ลง การตดั สินใจเร่ิมช้า

2.ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในเลือด 150-300 มลิ ลกิ รัม

ลกั ษณะอาการ เมาปานกลาง

ผลที่เกิดขึน้ กับผู้ดื่ม ประสิทธิภาพการมองเห็น
ตกต่ามากระบบควบคุมการทางานของระบบ
ประสาทลดลง

3.ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในเลือด 300-500 มลิ ลกิ รัม

ลกั ษณะอาการ เมามาก

ผลที่เกิดขึ้นกับผู้ด่ืม ตามีอาการพร่ามัวหรือเห็นภาพช้อน
ระดับน้าตาลในเลือดต่า อุณหภูมิในร่างกายต่าแขนและขา
เกดิ อาการเกร็ง

4.ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในเลือดมากกว่า 500 มลิ ลกิ รัม

ลกั ษณะอาการ รุนแรง
ผลท่ีเกิดขึ้นกับผู้ดื่ม ไม่รู้สึกตัวหายใจช้าการ
ตอบสนองลดลงการควบคุมการทางานของ
ระบบประสาทเส่ื อมลงทาให้ หมดสติและอาจ
เสียชีวติ ได้


Click to View FlipBook Version