The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gosjantula, 2022-06-08 05:44:48

คู่มือการใช้สื่อ นวัตกรรม : การใช้โมเดลสามมิติ ประกอบชุดกิจกรรมด้วยรูปแบบการสอน Active learning เรื่องรามเกี

คู่มือการใช้สื่อ 8 มิถุนายน





คำนำ
ค#มู ือการใชง, านสือ่ นวัตกรรม : โมเดลสามมติ ิ ประกอบชดุ กจิ กรรมด,วยรูปแบบ
การสอน Active Learning เรื่องรามเกยี รต์ิ ตอนบทพากยQเอราวัณ สำหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปทZ ี่ ๓ โรงเรยี นเทศบาล
๓ บา, นเหล#า เล#มนี้จดั ขนึ้ โดยมีวัตถปุ ระสงคQ เพ่อื ใช,เปน^ แนวทางในการใชน, วตั กรรมช้ินนปี้ ระกอบกบั แผนการจัดการเรยี นรู,
จำนวน ๗ แผนการจัดการเรยี นร,ู โดยในเล#มจะประกอบดว, ยแผนการจดั การเรียนรู,จำนวน ๗ แผน ๒๖ คาบ แบบฝกd ทกั ษะ
จำนวน ๑๐ ชดุ และ แบบทดสอบกอ# นเรยี นและหลังเรียนจำนวน ๕๐ ข,อ โดยสามารถนำสื่อนวตั กรรมชิน้ น้ีไปใช,
ประกอบการสอนไดใ, นระดบั มัธยมศึกษาปZที่ ๓ หรือใช,เปน^ แหล#งการเรียนรสู, ำหรับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน, ได,
ผ,จู ดั ทำส่ือหวงั เป^นอย#างยง่ิ วา# สอ่ื นวตั กรรม : โมเดลสามมิติ ประกอบชดุ กจิ กรรมดว, ยรปู แบบการสอน Active
Learning เรื่องรามเกยี รติ์ ตอนบทพากยQเอราวัณ สำหรบั นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปZที่ ๓ โรงเรยี นเทศบาล ๓ บา, นเหล#า ชน้ิ น้ี
จะเป^นสอื่ และเครอื่ งมือท่ีช#วยส#งเสริมทกั ษะการเรยี นรู,ดา, นวรรณคดี เสริมสรา, งใหผ, เ,ู รียนเกิดจนิ ตภาพ และสร,างความสุขใน
การเรียนใหแ, กน# กั เรยี นได,ตลอดไป

จนั ทรตQ ลุ า โพธท์ิ อง
ผูจ, ดั ทำ

สารบัญ ๓

หน,า

คูม# อื การใชส, ื่อนวัตกรรมการเรียนรู, โมเดลรามเกียรต์ิสามมิติ ตอนช,างเอราวณั
ประกอบแผนการจดั การเรียนร,วู ชิ าภาษาไทย ระดับชน้ั มัธยมศึกษา
ปZที่ ๓....................................................................................................................................๔
คำอธิบายรายวิชาภาษาไทย ท ๒๓๑๐๑..............................................................................๘
คำอธบิ ายรายวิชาภาษาไทย ท ๒๑๑๐๒..............................................................................๙
มาตรฐานการเรยี นร,ู และตัวชวี้ ดั .........................................................................................๑๐
วธิ ีการใชส, ือ่ นวัตกรรมการเรยี นร,ู โมเดลรามเกยี รต์ิสามมิติ ตอนชา, งเอราวณั
ประกอบแผนการจัดการเรียนรูว, ิชาภาษาไทย ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษา
ปทZ ี่ ๓..................................................................................................................................๑๘
แผนการจัดการเรยี นรท,ู ่ี ๑..................................................................................................๔๙
แผนการจัดการเรียนร,ทู ี่ ๒..................................................................................................๖๑
แผนการจดั การเรียนรท,ู ่ี ๓..................................................................................................๗๑
แผนการจัดการเรียนรท,ู ี่ ๔..................................................................................................๗๗
แผนการจดั การเรียนรทู, ี่ ๕..................................................................................................๗๙
แผนการจดั การเรยี นรท,ู ่ี ๖..................................................................................................๘๕
แผนการจัดการเรียนรท,ู ่ี ๗..................................................................................................๙๓

ประวัตผิ ูจ, ดั ทำ............................................................................................................๑๐๒



คมู# ือการใชส, ่อื นวัตกรรม: โมเดลสามมิติ ประกอบชุดกจิ กรรมดว, ยรูปแบบ

การสอน Active Learning เรอื่ งรามเกียรต์ิ ตอนบทพากยZเอราวณั
สำหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปaท่ี ๓ โรงเรียนเทศบาล ๓ บ,านเหลcา

ความเป=นมาและความสำคัญของปญC หา

โลกยุค ค.ศ. ๒๐๐๐ จะแตกต#างไปจากศตวรรษทผี่ #านมาอยา# งมากมาย เนือ่ งจาก
จะเปน^ การกา, วข,ามไปสู#ยคุ ใหม#ทีเ่ รียกกันว#า “โลกไร,พรมแดน” และ “ยุคข,อมูลข#าวสาร” การแขง# ขัน
ในสังคมโลกทำให,แตล# ะภูมภิ าคมกี ารเปล่ียนแปลงอย#างรวดเร็วท้ังด,านเศรษฐกจิ การเมอื ง สังคม
และเทคโนโลยี การเปลีย่ นแปลงนจี้ ะสง# ผลกระทบอยา# งรนุ แรงตอ# วถิ ีชวี ติ ของผู,คนในสังคม
อย#างที่ไม#เคยเกิดขึ้นมาก#อนในอดีต การศึกษาจึงมีบทบาทและความสำคัญยิ่งต#อวิถีชีวิตของคนและสังคม โดยเฉพาะการ
เตรยี มคนเข,าสศ#ู ตวรรษที่ ๒๑ เปน^ ภารกิจของการศึกษาโดยตรง ขณะเดียวกันความเปลยี่ นแปลงอยา# งรนุ แรง
ของโลกก็ทำให,มีความจำเป^นท่จี ะต,องกลบั มาทบทวนและจดั การศึกษากันใหม# (ร#งุ แกว, แดง , ๒๕๔๓ : ๑)

การดำรงชีวิตของมนุษยQในโลกของเราเริ่มตั้งแต#อดีตจนถึงปwจจุบัน มีสิ่งหนึ่งที่เป^นหัวใจสำคัญยิ่งที่สะท,อนให,เห็น
ถึงความเจรญิ ก,าวหนา, ของมนษุ ยอQ ย#างตอ# เนื่อง นั่นก็คอื ความสามารถในการใชภ, าษา เพือ่ การตดิ ต#อส่อื สาร
ซึ่งกนั และกนั ภาษาและการสือ่ สารท่เี กิดขึน้ ควบคกู# ับความเจริญรุง# เรืองของสังคมมนุษยQ ได,ก#อใหเ, กดิ วิวัฒนาการ
ในด,านตา# งๆ ทีม่ ผี ลตอ# การใชช, วี ิตประจำวัน เช#น การแลกเปล่ียนความคดิ เห็นระหวา# งบุคคลหรือกลม#ุ สงั คม
การถ#ายทอดความรู,สึกนึกคิด การสร,างความสัมพันธQ การขอร,อง และการขอความช#วยเหลือ รวมทั้งการนำเสนอข,อมูลต#างๆ
ที่เกี่ยวข,องกับตนเองหรือบุคคลอื่น สิ่งเหล#านี้ล,วนสืบเองมาจากความสามารถของมนุษยQในการใช,ภาษาเพื่อการสื่อสารแทบ
ท้งั ส้นิ (คณาจารยQ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณรQ าชวทิ ยาลัย , ๒๕๕๒ : ๒)

ภาษามสี ว# นสำคัญอย#างย่งิ ที่จะทำใหก, ระบวนการส่ือสารดำเนนิ ไปได, เพราะภาษา
จะทำหน,าที่เป^นตัวกลางที่จะทำให,ผู,ส#งสารและผู,รับสารเข,าใจตรงกัน ในขณะที่กระบวนการสื่อสารกำลังดำเนินไปนั้น ผู,ส#ง
สารจะต,องแปลสาร อันได,แก# ความรู,สึกนึกคิด ความต,องการ ตลอดจนข,อเท็จจริงต#างๆ ที่ต,องการส#งถึงผู,รับสารให,เป^น
สัญลักษณQ ซึ่งก็คือ “ภาษา” แล,วจึงนำสารซึ่งแปลเป^นภาษานี้ส#งผ#านสื่อไปสู#ผู,รับสาร หากผู,ส#งสารไม#แปรสารให,เป^น
สัญลักษณQคือภาษาเสียก#อน กระบวนการสื่อสารก็จะเกิดปwญหา เพราะขาดตัวกลางที่จะทำหน,าที่เชื่อมโยงความเข,าใจท่ี
ตรงกนั ระหว#างผูส, #งสารและผู,รับสาร (จไุ รรตั นQ ลกั ษณะศริ ิ , ๒๕๔๓ : ๔-๕)

ภาษาไทยเป^นเอกลักษณQของชาติไทย เป^นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก#อให,เกิดความเป^นเอกภาพและเสริมสร,าง
บุคลิกภาพของคนในชาติให,มีความเป^นไทย เป^นเครื่องมือในการติดต#อสื่อสารเพื่อสร,างความเข,าใจและความสัมพันธQที่ดีต#อ
กัน ทำให,สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร#วมกันในสังคมประชาธิปไตยได,อย#างสันติสุข และเป^นเครื่องมือใน
การแสวงหาความรู,ประสบการณQจากแหล#งข,อมูลสารสนเทศต#างๆ เพื่อพัฒนาความรู, กระบวนการคิดวิเคราะหQ วิจารณQ และ
สรา, งสรรคQ ใหท, ันต#อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความกา, วหน,า
ทางวิทยาศาสตรQ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชใ, นการพัฒนาอาชพี ให,ม่งั คงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเปน^ สื่อแสดง
ภมู ปิ wญญาของบรรพบุรษุ ดา, นวฒั นธรรม ประเพณี สุนทรียภาพ เป^นสมบัตลิ ำ้ ค#าควรแก#การเรยี นร,ู อนรุ กั ษQ
และสบื สานใหค, งอยคู# ูช# าตไิ ทยตลอดไป (กระทรวงศกึ ษาธิการ , ๒๕๕๒ : ๓๗)

นอกจากภาษาแล,วความสำคัญของวรรณคดีก็มีความสำคัญ เพราะวรรณคดีเหมือนงานศิลปะประเภทหนึ่งที่สร,าง
ความบันเทิงใจ และความจรรโลงใจ ความบันเทิงใจคือความอิ่มใจอิ่มอารมณQเมื่อได,เสพรสงานศิลปะเช#นเดียวกับความอิ่ม



ท,องเมื่อได,เสพรสอาหาร ส#วนความจรรโลงใจหมายถึงความผ#องแผ,ว ชื่นบานและร#าเริง หายจากความหมกมุ#นกังวล มีจิตใจที่
ขัดเกลาและมีอารมณQที่กลอ# มเกลามนษุ ยใQ หร, ู,จกั ความงาม ความดี และความเปน^ จริงของชีวติ

โดยทว่ั ไปเรามักถือกันว#าบทบาทสำคัญของวรรณคดีคอื ใหค, วามบนั เทงิ ใจมากกว#าเพ่ือความจรรโลงใจ
แต#หากพิจารณาวรรณคดีไทย โดยเฉพาะวรรณคดีโบราณแล,ว จะพบว#าบทบาทหน,าที่ทั้งสองมีความสำคัญควบคู#กัน กวีไทย
มักมุ#งสร,างสรรคQงานประพันธQที่ให,ความเพลิดเพลินด,วยและสั่งสอนเพื่อยกระดับจิตใจผู,อ#านผู,ฟwงไปด,วย คุณค#าของวรรณคดี
ไทยจงึ มที ้ังทางด,านอารมณQและด,านคณุ ธรรม (กระทรวงศกึ ษาธิการ , ๒๕๕๕ : ๒)

เหน็ ไดว, #าวรรณคดีก็เป^นส#วนสำคัญในวิชาภาษาไทย ผูท, ศี่ ึกษาวรรณคดี นอกจากจะได,
ความบันเทิงแล,ว ยังได,ภาษา วัฒนธรรมจากวรรณคดีนั้น ๆ ด,วย ดังนั้น วรรณคดีไทยจึงไม#สามารถแยกออกจากวิชา
ภาษาไทยได, การเรียนหลักภาษาไทย และวรรณคดจี ึงเป^นเนื้อหาในหลกั สูตรที่นกั เรียนทุกชนั้ ตอ, งเรยี นควบค#ูกบั ไป

บทพากยQเอราวัณ เป^นการกล#าวพรรณนาถึงช,างเอราวัณ ช,างทรงของพระอินทรQที่มีลักษณะพิสดารอลังการ และยังมี
การพรรณนากองทัพทั้งฝ~ายพระลักษมณQ และฝ~ายอินทรชิตที่ใช,ภาพพจนQในการพรรณนา เนื้อหาเหล#านี้นักเรียนจึงต,องใช,
จินตนาการอย#างมากในการเรยี น

ด,วนเหตุนี้ ครูผู,สอนจึงเลือกทำสื่อการสอนจากเนื้อหาบทเรียนในหนังสือวรรณคดีวิจักษQชั้นมัธยมศึกษาปZที่ ๓ บทท่ี
๕ บทพากยQเอราวัณ เพ่ือหวังให,ผู,เรียนไดเ, ขา, ใจองคQประกอบต#าง ๆ อาทิ ลักษณะของช,างเอราวัณ เน้ือเร่ือง
การจัดกระบวนทัพ ฯลฯ และหวังให,ผู,เรียนมีจินตนาการ มีความเข,าใจบทเรียน และมีความสุขในการเรียนวิชาภาษาไทยมาก
ขน้ึ

วตั ถปุ ระสงคZ

๑. เพือ่ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาภาษาไทย เรอ่ื งบทพากยเQ อราวัณ ของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษา
ปZที่ ๓ ระหว#างก#อนเรียนกับหลังเรียน

๒. เพ่ือเพมิ่ ประสิทธภิ าพการทำแบบฝกd ทักษะของนกั เรียน

อุปกรณZหลกั ในการผลิตสอ่ื นวัตกรรม

๑. ดินเกาหลี
๒. สำลี
๓. สีสเปรยQ
๔. ลวด
๕. กาว
๖. อุปกรรแQ ละของตกแต#งต#าง ๆ
๗. เว็บไซตQ Prezi
๘. เว็บไซตQ Canva For Education
๙. แอปพลเิ คชนั Procreate
๑๐.เว็บไซตQ Anyflip
๑๑. Googlefrom
๑๒. Googledog

๑๓.แอปพลเิ คชัน Zipgrade ๖
๑๔.สร,างกจิ กรรมในห,องเรยี น ดว, ย Power Point

ข้ันตอนการผลิตสอื่
๑. ศึกษาเนอื้ หาสาระวชิ าภาษาไทย เร่อื งรามเกยี รติ์ ตอนชา, งเอราวัณ ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปทZ ่ี ๓
๒. วางโครงรา# งการทำสอื่
๓. ปw‘นดินเกาหลี ตามเนื้อเรือ่ ง
๔. ประกอบช้นิ งานทกุ ช้นิ เขา, ดว, ยกนั
๕. ทำสอ่ื การเรียนอเิ ลก็ ทรอนกิ สQจากเว็บไซตQ www.Prezi.com
๖. ทำ QR Code ปรน๊ิ ตQตดิ ตามโมเดลสามมิติ
๗. จดั ทำแผนการสอน ด,วยเว็บไซตQ Googledog
๘. จัดทำขอ, สอบก#อนเรียน – หลังเรยี น และทำแบบฝกd ทกั ษะ ดว, ยเว็บไซตQ Googlefrom และทำเฉลยขอ, สอบใน
แอปพลเิ คชัน Zipgrade
๙. จัดทำแบบฝdกทกั ษะดว, ยแอปพลิเคชัน Procreate และ เว็บไซตQ Canva For education
๑๐. สรา, งกิจกรรมการเรยี นรด,ู ,วย Power Point
๑๑.

วธิ กี ารนำไปใช,

๑. ใช,ประกอบการสอนตามแผนการสอนท่จี ัดเตรยี มไว,ในเล#ม
๒. ครผู ,สู อนสามารถคดิ กิจกรรมอ่ืนเพื่อประกอบการใชส, อื่ นวตั กรรม อาทิ การเลน# เกม

ต#อจิก๊ ซอวQภาพ หรือ การแขง# ขนั อ่ืน ๆ เป^นตน,
๓. ใช,เปน^ แหลง# การเรยี นรส,ู ำหรบั นกั เรยี นในระดบั ชน้ั อืน่ ๆ
๔. นกั เรยี นสามารถสแกน QR Code เพ่อื ศึกษาเนอ้ื หาได,

ประโยชนZทีค่ าดวาc จะได,รบั

๑. ครูผู,สอนได,แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช,สือ่ นวตั กรรมประกอบแผนการจดั การเรยี นรู,
๒. เป^นแนวทางสำหรับครผู ูส, อนสาระการเรียนรูว, ชิ าภาษาไทยในการพฒั นาการสอนในเนอื้ หาเรอ่ื ง

อ่ืน ๆ ใหแ, ก#นกั เรยี นไดอ, ย#างมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผลสงู สดุ
๓. นกั เรียนมีความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ ในการเรียนวชิ าภาษาไทย

ขอ, เสนอแนะ
๑. ส่ือนวตั กรรม โมเดลรามเกยี รติ์ ตอน บทพากยQเอราวัณ สามารถนำมาทำกิจกรรม

ตา# ง ๆ ได, อาทิ การเล#นเกม การแขง# ขัน หรอื เปน^ การเรียนรนู, อกเวลาเรียนของนักเรียนชั้นอ่ืน ๆ ได,ดว, ย ทง้ั น้ีขึน้ อยู#กบั
ครูผูส, อนท่จี ะจัดกิจกรรมการสอนไปในวธิ กี ารใด

๒. สอ่ื นวตั กรรม โมเดลรามเกียรต์ิ ตอน บทพากยเQ อราวัณ เป^นส่ือท่ีทำจากกระดาษ และดนิ เกาหลี ซงึ่ ไมส# ามารถ
โดนน้ำได, ดงั นั้นการใชส, ่ือดังกลา# วควรระมดั ระวงั มใิ หโ, ดนนำ้ เพอ่ื รักษาส่ือการสอนชิน้ น้ีใหส, ามารถใช,งานไดใ, นระยะยาว

๓. การใชส, ือ่ นวัตกรรมชน้ิ น้ี ควรจัดโต–ะเรยี นในลักษณะตัวยู โดยตงั้ ส่อื นวัตกรรมกลางห,องเรยี น ๗
เพื่อใหน, กั เรียนไดม, องเหน็ สื่อนวตั กรรมได,ท่วั ถึงทัง้ หอ, ง

๔. สำหรบั โปรแกรม Prezi ทีอ่ ย#ูใน QR Code น้นั นักเรียนจะตอ, งโหลดแอปพลิเคชัน Prezi

เพอ่ื ความเสถยี รของตัวโปรแกรม
๖. นกั เรียนmujไมม# โี ทรศพั ทQ ไม#มอี นิ เทอรQเน็ต ครูอาจจะเสนอแนะใหไ, ปศกึ ษาร#วมกบั เพือ่ นทส่ี ามารถสแกน QR

Code ได,



คำอธบิ ายรายวชิ า
ภาษาไทย ท๒๓๑๐๑

รายวชิ าพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จาํ นวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

..............................................................................................................................................................................

ฝึกการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ ได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน อ่านเรื่อง

จากวรรณคดีในบทเรียน ข่าวและเหตุการณ์สําคัญ บทความ บันเทิงคดี สารคดี สารคดีเชิงประวัติ ตํานาน งานเขียนเชิง

สร้างสรรค์ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ แล้วระบุจับใจความสําคัญ

และรายละเอียดของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนการอ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ รายงานวิเคราะห์

วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบ ตีความ และประเมินค่าแนวคิดที่ได้จากการเขียน เพ่ือ

นําไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิต ฝึกการเขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติโดยเล่าเหตุการณ์ ข้อคิดเห็นและทัศนคติในเรื่องต่าง

ๆ การเขียนย่อความจากนิทาน ประวัติ ตํานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดํารัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ

การเขียนจดหมายกิจธุระเชิญวิทยากร ขอความอนุเคราะห์หรือขอบคุณ การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและการเขียน

รายงานโครงงาน การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนอักษรไทย ฝึกการฟังและการดู การพูดแสดง

ความคิดเห็นและประเมินเรื่อง การพูดวิเคราะห์ วิจารณ์จากเรื่องที่ฟังแลดูเพื่อนําข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต

การพูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นสมุทรปราการ ศึกษาเกี่ยวกับการจําแนกและการ

ใช้คําภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย การวิเคราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อน การแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงส่ี

สุภาพ อ่านวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิตคําสอน เหตุการณ์

ในประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี แล้ววิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าของวรรณคดีของวรรณคดี วรรณกรรม สรุปเนื้อหา ความรู้

ข้อคิด จากการอ่านเพ่ือนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตลอดจนท่องจําและบอกคุณค่าของบทอาขยานตามที่กําหนดและบท

รอ้ ยกรองทม่ี คี ุณคา่ ตามความสนใจและนําไปใชอ้ ้างอิง

โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการ

ปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อให้เกิดความรู้ มี

มารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การพูด มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การใช้ทักษะชีวิต การใช้

เทคโนโลยี เปน็ ผู้ใฝร่ ู้ใฝเ่ รยี น ม่งุ มน่ั ในการทํางาน รักความเปน็ ไทย มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม

รหสั ตวั ชว้ี ดั

ท ๑.๑ ม ๓ / ๑ ท ๑.๑ ม ๓ / ๓ ท ๑.๑ ม ๓ / ๔ ท ๑.๑ ม ๓ / ๕

ท ๑.๑ ม ๓ / ๙ ท ๑.๑ ม ๓ / ๑๐

ท ๒.๑ ม ๓ / ๑ ท ๒.๑ ม ๓ / ๓ ท ๒.๑ ม ๓ / ๔ ท ๒.๑ ม ๓ / ๕

ท ๒.๑ ม ๓ / ๙ ท ๒.๑ ม ๓ / ๑๐

ท ๓.๑ ม ๓ / ๑ ท ๓.๑ ม ๓ / ๒ ท ๓.๑ ม ๓ / ๓ ท ๓.๑ ม ๓ / ๖

ท ๔.๑ ม ๓ / ๑ ท ๔.๑ ม ๓ / ๒ ท ๔.๑ ม ๓ / ๖

ท ๕.๑ ม ๓ / ๑ ท ๕.๑ ม ๓ / ๒ ท ๕.๑ ม ๓ / ๓ ท ๕.๑ ม ๓ / ๔

รวมท้งั หมด ๒๓ ตวั ชวี้ ัด

คำอธบิ ายรายวิชา ๙
ภาษาไทย ท๒๓๑๐๒

๑๐

รายวิชาพื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จาํ นวน ๑.๕ หน่วยกติ

................................................................................................................................................................................

ฝึกการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองประเภทต่าง ๆ ได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่อง ท่ี

อา่ น อา่ นเร่อื งจากวรรณคดีในบทเรยี น ข่าวและเหตกุ ารณส์ าํ คญั บทความ สารคดี สารคดีเชงิ ประวตั ิ ตาํ นาน งานเขียน

เชิงสร้างสรรค์ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และระบุความแตกต่าง

ของคําที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน วิจารณ์

ความสมเหตุสมผล การลําดับความเป็นไปได้ ของเรื่อง และวิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้ง ฝึกการเขียนข้อความ

ตามสถานการณแ์ ละโอกาสตา่ ง ๆ โดยใชถ้ อ้ ยคําได้ถูกตอ้ งตามระดับภาษา

การเขยี นอธิบาย ช้ีแจง แสดงความคดิ เหน็ และโต้แย้งอย่างมีเหตผุ ล การเขยี นวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความ

คิดเห็น หรือโต้แย้ง การกรอกแบบสมัครงานพร้อมเขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู้และทักษะที่เหมาะสมกับงาน ฝึกการฟัง

การดู การพูด ในโอกาสต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ การพูดโน้มน้าวโดยนําเสนอหลักฐานตามลําดับเนื้อหาอย่างมี

เหตุผลน่าเชื่อถือ ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระดับภาษา การใช้คําทับศัพท์ ศัพท์บัญญัติ และคําศัพท์ทางวิชาการและ

วิชาชีพ การแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพเกี่ยวกับท้องถิ่นสมุทรปราการ อ่านวรรณคดี วรรณกรรม และ

วรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิตคําสอน เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี แล้ว

วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม สรุปเนื้อหา ความรู้ ขอ้ คิด จากเรื่องที่อ่านเพื่อนําไปประยุกต์ใช้ใน

ชีวิตจริง ตลอดจนท่องจําและบอกคุณค่าของบทอาขยานตามท่ีกําหนดและ บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและ

นาํ ไปใชอ้ า้ งองิ

โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการ

ปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อให้เกิดความรู้ มี

มารยาทในการอา่ น การเขียน การฟงั การดู การพดู มคี วามสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การใช้ทกั ษะ

ชีวิต การใช้เทคโนโลยี เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทํางาน รักความเป็นไทย มีคุณธรรม จริยธรรม และ

คา่ นิยมทเี่ หมาะสม

รหัสตวั ช้ีวัด

ท ๑.๑ ม.๓ / ๑ ท ๑.๑ ม.๓ / ๒ ท ๑.๑ ม.๓ / ๖ ท ๑.๑ ม.๓ / ๗

ท ๑.๑ ม.๓ / ๘ ท ๑.๑ ม.๓ / ๑๐

ท ๒.๑ ม.๓ / ๒ ท ๒.๑ ม.๓ / ๖ ท ๒.๑ ม.๓ / ๗ ท ๒.๑ ม.๓ / ๘

ท ๒.๑ ม.๓ / ๑๐

ท ๓.๑ ม.๓ / ๔ ท ๓.๑ ม.๓ / ๕ ท ๓.๑ ม.๓ / ๖

ท ๔.๑ ม.๓ / ๓ ท ๔.๑ ม.๓ / ๔ ท ๔.๑ ม.๓ / ๕ ท ๓.๑ ม.๓ / ๖

ท ๕.๑ ม.๓ / ๑ ท ๕.๑ ม.๓ / ๒ ท ๕.๑ ม.๓ / ๓ ท ๕.๑ ม.๓ / ๔

รวมทง้ั หมด ๒๒ ตัวชว้ี ัด

๑๑

มาตรฐานการเรียนรู, และตวั ชวี้ ดั

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓

สาระท่ี ๑ การอา่ น

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความร้แู ละความคิด เพื่อนาํ ไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ัญหา

ในการดาํ เนินชวี ิตและมนี สิ ยั รกั การอา่ น

ตัวชี้วัด ผู้เรยี นรู้อะไร ผูเ้ รยี นทําอะไรได้

๑. อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและ
และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกต้อง
และเหมาะสมกบั เรื่องทอ่ี ่าน บทรอ้ ยกรองได้อย่างถกู ต้อง ร้อยกรองไดถ้ กู ต้องเหมาะสมกับ

๒. ระบุความแตกตา่ งของ เหมาะสมตามหลกั การอ่าน เรื่องท่อี า่ น
คําทม่ี ีความหมายโดยตรง และ
ความหมายโดยนัย สามารถนาํ ไปใชใ้ นการเรียนรู้เร่อื ง

๓. ระบใุ จความสําคญั และ อ่นื ไปเป็นอย่างดี
รายละเอยี ดของขอ้ มูลท่ี
สนบั สนุนจากเรื่องทอี่ ่าน คําในภาษาไทยมที ัง้ ความหมาย บอกความหมายของคาํ ท่ีมี

๔. อ่านเรือ่ งต่างๆ แล้วเขยี นกรอบ โดยตรงและความหมายโดยนัย ความหมายโดยตรงหรือโดยนัย
แนวคิด ผังความคิด บันทึก
ยอ่ ความและรายงาน ผอู้ า่ นจะต้องพจิ ารณาบรบิ ทของคาํ จากงานเขยี นประเภทต่าง ๆ ได้

แลว้ แปลความหรอื ตีความจงึ จะ

สามารถบอกความหมายของคําได้

การอา่ นงานเขียนประเภทตา่ ง ๆ ระบใุ จความสําคญั และ

ผอู้ ่านจะตอ้ งระบใุ จความสาํ คญั รายละเอียดของข้อมลู ที่

และใจความรองซึ่งสนับสนนุ สนับสนุนจากเรอ่ื งที่อ่าน

ใจความหลัก ซ่ึงจะทําให้ผูอ้ ่าน

สามารถสรปุ ใจความสาํ คญั และ

รายละเอียดของเร่อื งได้

การเขียนกรอบแนวคดิ เขยี นกรอบแนวคดิ ผงั ความคิด

ผังความคดิ เป็นการสรุปเรื่องราวท่ี บันทึก ย่อความและรายงานจาก

อ่านในรปู แบบของกรอบหรือภาพ เรือ่ งที่อา่ นได้

และมีการเชือ่ มโยงใหเ้ หน็

ความสัมพันธ์ของเนือ้ หา

การบนั ทกึ ย่อความ รายงาน เป็น

การสรุปเรอ่ื งที่อ่านในรปู แบบของ

งานเขยี นสัน้ ๆ ระบใุ จความสําคัญ

และเขียนขยายความให้เกดิ ความ

ชัดเจนตามลําดับ

ตวั ช้ีวดั ผูเ้ รียนรูอ้ ะไร ผู้เรียนทําอะไรได้ ๑๒

๕. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ การอ่านโดยใช้วิธีการเปรียบเทยี บ อ่านงานเขยี นแล้ววเิ คราะห์
เรือ่ งทีอ่ ่านโดยใช้กลวิธกี าร เรอื่ งทอ่ี ่านกับงานเขยี นเรื่องอน่ื ๆ วจิ ารณแ์ ละประเมินใน
เปรยี บเทยี บ เพอื่ ให้ผอู้ า่ นเข้าใจ ในด้านเน้อื หา กลวิธกี ารนาํ เสนอ เชิงเปรยี บเทียบได้
ไดด้ ขี ้ึน และคณุ ค่าของงานเขียนจะทําให้
ผ้อู ่านเขา้ ใจได้ดีย่ิงขน้ึ อ่านแล้วประเมนิ ความถกู ตอ้ ง
๖. ประเมนิ ความถกู ตอ้ งของข้อมลู ของข้อมลู ทีใ่ ชส้ นบั สนนุ ในเรือ่ ง
ทใี่ ช้สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน การอา่ นข่าว เหตุการณ์ สารคดี ทอ่ี า่ นดว้ ยข้อมูลจากแหลง่ อื่น ๆ
ผอู้ า่ นจะต้องประเมินความถกู ตอ้ ง
๗. วจิ ารณ์ความสมเหตุสมผล ของขอ้ มลู ทใ่ี ชส้ นบั สนุนในเร่ืองที่ วจิ ารณค์ วามสมเหตุสมผล
การลาํ ดบั ความ และ อ่านด้วยขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ จากแหล่ง การลําดับความ และความ
ความเป็นไปไดข้ องเร่ือง อน่ื ๆ นํามาประกอบการพิจารณา เป็นไปไดข้ องเรอ่ื งทอี า่ นได้
ลงความเหน็
๘. วิเคราะหเ์ พื่อแสดงความคิดเห็น แสดงความคดิ เห็นโต้แย้ง
โต้แยง้ เกย่ี วกบั เรื่องทอี่ ่าน การวิจารณค์ วามสมเหตสุ มผล เก่ยี วกับเร่อื งท่ีอ่าน
การลาํ ดบั ความ และความเปน็ ไป
๙. ตีความและประเมินคณุ ค่า ไดข้ องเรอ่ื งท่ีอ่าน โดยอาศยั หลักการ ตีความและประเมนิ คณุ คา่
แนวคดิ ที่ไดจ้ ากงานเขียน วธิ ีการ และขอ้ มูลท่ีเช่อื ถือได้มา ทไ่ี ดร้ บั จากการอา่ นและนาํ ไป
อย่างหลากหลาย เพ่ือนาํ ไปใช้ ประกอบ ทาํ ใหก้ ารวิจารณ์เรื่องต่าง ๆ ประยุกตใ์ ชแ้ ละแกป้ ัญหา
แก้ปัญหาในชีวติ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ในชีวติ ได้

๑๐.มมี ารยาทในการอ่าน การแสดงความคิดเหน็ โตแ้ ยง้ อา่ นอยา่ งมมี ารยาทเปน็
หมายเหตุ เกีย่ วกบั เรอ่ื งทอี่ ่าน ต้องอาศัย แบบอย่างและให้ข้อคดิ
ตวั ชวี้ ดั ตัวนใี้ หจ้ ดั หลักการ วธิ กี าร ขอ้ มูล เหตผุ ล แกผ่ ู้อืน่ ได้
กจิ กรรมรวมกบั ตวั ชวี้ ัดท่ี ๑ – ๙ มาประกอบ จะทาํ ใหก้ ารแสดง
ความคิดเห็นโต้แย้งมีเหตมุ ีผล
นา่ เชอ่ื ถือมากขน้ึ

การอ่านตคี วามและประเมนิ คุณค่า
แนวคิดทไ่ี ดจ้ ากงานเขียน
หลากหลาย ทั้งด้านการใชภ้ าษา
วิธกี ารเขียน และขอ้ คิดในการ
ดํารงชวี ติ จะทําใหส้ ามารถนาํ
ความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ หเ้ กดิ
ประโยชนแ์ ละแกป้ ญั หาในชวี ิตได้

ในการอ่านใดๆ ส่งิ สาํ คัญที่ควร
คาํ นึงคือตอ้ งมมี ารยาทในการอา่ น
เพื่อให้เกิดผลดที ง้ั ต่อตนเองและ
ผอู้ ่นื

สาระท่ี ๒ การเขียน ๑๓
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสอ่ื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว

ในรปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

ตวั ช้วี ัด ผ้เู รยี นรอู้ ะไร ผเู้ รยี นทาํ อะไรได้

๑. คดั ลายมือตัวบรรจงครงึ่ บรรทดั การคัดลายมอื ตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั คัดลายมอื ตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั

๒. เขยี นขอ้ ความโดยใช้ถ้อยคําได้ ตามรปู แบบการเขียน ไดถ้ ูกตอ้ งตามรปู แบบตัว
ถูกต้องตามระดับภาษา
ตวั อกั ษรไทยได้อย่างถกู ต้อง อกั ษรไทย และสามารถนาํ ไปใช้
๓. เขียนชีวประวตั ิหรือ
อตั ชีวประวัติ โดยเล่าเหตุการณ์ สวยงาม จะสามารถนาํ ไปใช้ใน ประโยชนไ์ ด้
ข้อคดิ เหน็ และทัศนคติ
ในเรื่องต่างๆ ชวี ติ ประจําวันได้

๔. เขียนยอ่ ความ การใช้ภาษาในงานเขยี นมหี ลาย เขียนขอ้ ความตามสถานการณ์

ระดับ ไดแ้ ก่ ระดับทางการ โอกาสตา่ งๆไดถ้ ูกต้องเหมาะสม

ก่งึ ทางการ และไม่เปน็ ทางการ

ผูเ้ ขยี นจะตอ้ งเขยี นโดยใช้ถอ้ ยคํา

ภาษา ใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมตาม

สถานการณแ์ ละโอกาส

การเขยี นชวี ประวัตขิ องบุคคลและ เขยี นชีวประวัตหิ รอื

อตั ชีวประวัตขิ องตนเอง ผู้เขยี น อัตชวี ประวตั ิของบุคคลได้

จะตอ้ งรวบรวมขอ้ มลู เร่อื งราวและ

ข้อคิดเหน็ ของบคุ คลนั้น ๆนํามา

เรียบเรียงโดยใช้ภาษาท่ีเหมาะสม

สละสลวย สามารถสะทอ้ นข้อคดิ

ให้แก่ผู้อา่ นเพ่อื นําไปใชใ้ น

ชีวิตประจาํ วนั ได้

การเขยี นย่อความเป็นการเขียน เขยี นยอ่ ความจากงานเขียน

สรุปยอ่ เนื้อหาของเรือ่ งให้ได้ ประเภทตา่ ง ๆ ได้

ใจความครบถว้ นสมบูรณ์ ผ้เู ขียน

จงึ ต้องอา่ นเร่อื งและเก็บใจความ

สําคญั มาสรปุ ย่อตามกระบวนการ

๑๔

ตัวชี้วดั ผเู้ รียนรูอ้ ะไร ผู้เรียนทําอะไรได้

๕. เขยี นจดหมายกจิ ธุระ การเขยี นจดหมายกจิ ธุระเป็นการ เขียนจดหมายกจิ ธุระได้

๖. เขยี นอธิบาย ชีแ้ จง เขียนจดหมายทมี่ ีรปู แบบ
แสดงความคิดเห็น และโต้แย้ง
อย่างมีเหตผุ ล กึ่งราชการ ใช้ในการตดิ ตอ่

๗. เขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ และ ประสานงานใหเ้ กิดประโยชน์
แสดงความรู้ ความคดิ เหน็ หรือ
โต้แย้งในเรื่องตา่ งๆ กับตน องคก์ ร หรอื หน่วยงาน

๘. กรอกแบบสมคั รงาน การเขียนอธิบาย ชีแ้ จงแสดงความ เขียนอธบิ าย ชี้แจง แสดงความ
พร้อมเขียนบรรยาย เกยี่ วกับ
ความรแู้ ละทกั ษะของตนเอง คิดเห็นและโต้แย้งอย่างมีเหตผุ ล คิดเหน็ และโตแ้ ย้งเรอื่ งตา่ ง ๆ
ทเ่ี หมาะสมกบั งาน
จะต้องอาศยั ขอ้ มูลสนบั สนุนที่ อยา่ งมเี หตผุ ล

ชัดเจนเพียงพอ จึงจะทาํ ใหง้ าน

เขยี นมคี ณุ ภาพ

การเขียนวเิ คราะหว์ ิจารณแ์ ละ เขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และ

แสดงความรู้ ความคิดเห็นหรือ แสดงความรู้ ความคิดเห็น

โต้แยง้ เรื่องท่อี ่านอย่างมีเหตุผล หรือโตแ้ ย้งในเรอื่ งทอี่ ่าน

จะต้องอาศัยขอ้ มลู สนบั สนุนท่ี อยา่ งมเี หตุผล

ชดั เจนเพียงพอ จึงจะทาํ ให้งาน

เขยี นมีคณุ ภาพ

การกรอกใบสมคั รงานจะต้องกรอก ๑.กรอกใบสมัครงาน

ขอ้ มูลตามแบบรายการของ ๒.เขยี นบรรยายความรู้

หนว่ ยงานทีร่ บั สมคั ร ผู้กรอก ความสามารถของตนเองท่ี

จะตอ้ งศึกษาข้อความในแบบ เหมาะสมกบั งาน

รายการให้เข้าใจ แลว้ จึงกรอก

ข้อมูลของตนเองโดยใช้ถ้อยคาํ

ภาษาที่กระชบั ชดั เจน ตรงความ

เปน็ จริง ดว้ ยลายมือทอ่ี า่ นง่ายไม่

ขูดลบขดี ฆ่า นอกจากนจี้ ะต้อง

เขยี นบรรยายความรู้ ความสามารถ

ทกั ษะของตนเองให้เหมาะสมกบั

งานทสี่ มคั ร จงึ จะเปน็ ประโยชน์ต่อ

การสมคั รงาน

๑๕

ตัวชีว้ ัด ผู้เรียนรู้อะไร ผ้เู รยี นทําอะไรได้

๙. เขียนรายงานการศกึ ษาค้นคว้า การเขียนรายงานการศกึ ษาค้นคว้า เขยี นรายงานการศึกษาค้นควา้

และโครงงาน เป็นการเขียนท่ีตอ้ งอาศัยข้อมลู จาก และรายงานโครงงานได้

การศกึ ษาคน้ คว้า นาํ มาวเิ คราะห์

เรียบเรียงอยา่ งเป็นระบบดว้ ย

ภาษาแบบแผน มีรูปแบบและการ

อา้ งองิ แหลง่ ข้อมูลทช่ี ดั เจน

ส่วนการเขยี นรายงานโครงงาน

เป็นการนําเสนอกระบวนการ

และผลการศกึ ษาคน้ คว้า

๑๐. มมี ารยาทในการเขียน การตระหนักถึงความจาํ เป็นของ มมี ารยาทในการเขียนและเป็น

การมีมารยาทในการเขียนและ แบบอย่างแก่ผูอ้ ืน่ ได้

ปฏบิ ัติตนใหเ้ ปน็ ผู้ที่มีมารยาทใน

การเขียนได้ดีจนเป็นนิสัย สามารถ

นําไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนต์ ่อตนเอง

และเป็นแบบอย่างแก่ผู้อน่ื

สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรสู้ ึกในโอกาส

ตา่ งๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

ตัวช้วี ัด ผู้เรียนรอู้ ะไร ผู้เรียนทาํ อะไรได้

๑. แสดงความคิดเห็นและประเมนิ การฟังและดอู ย่างมีประสทิ ธิภาพ แสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ฟี ัง
เรอ่ื งจากการฟงั และการดู ผูฟ้ ังหรอื ผ้ดู จู ะตอ้ งฟงั หรอื ดอู ย่าง และดแู ล้วประเมนิ เร่ืองทฟ่ี งั และ
ตั้งใจวิเคราะห์แยกแยะเรอ่ื งราว ดู ตามเกณฑ์ได้
๒. วิเคราะห์และวจิ ารณ์ อย่างละเอยี ด แสดงความคิดเหน็
เรื่องทีฟ่ งั และดู เพอื่ นําข้อคิด จากเร่ืองและประเมินคุณคา่ ของ วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์เรอ่ื งทีฟ่ ัง
มาประยุกต์ใช้ในการดําเนนิ เรือ่ งดงั กล่าวเพ่อื นาํ ไปประยุกตใ์ ช้ และดูได้ และนาํ ขอ้ คิดมา
ชีวติ ประยุกต์ใชใ้ นการดาํ เนนิ
การพูดวเิ คราะหว์ จิ ารณเ์ ร่ืองที่ฟงั ชีวติ ประจําวนั
๓. พดู รายงานเร่ืองหรอื ประเด็น หรอื ดูจะต้องเขา้ ใจเรอื่ งราวโดย พดู รายงานเร่อื งหรอื ประเด็นท่ี
ที่ศึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง ละเอยี ดจงึ จะสามารถประเมนิ เพ่ือ ศกึ ษาค้นควา้ จากการฟัง ดู และ
การดู และการสนทนา นําข้อคิดทไี่ ด้มาประยุกต์ใชไ้ ด้ การสนทนาได้ตามหลักการ

การพูดรายงานจากการฟัง ดู และ
การสนทนาจะต้องใช้หลักการ
สาํ รวจค้นคว้า และการสรุป

ตัวชว้ี ดั ผู้เรยี นรู้อะไร ผเู้ รียนทําอะไรได้ ๑๖

ข้อความรู้ท่ีเปน็ ประโยชน์และระบุ

แหลง่ อา้ งอิงชดั เจน

๔. พดู ในโอกาสตา่ งๆ ไดต้ รงตาม การพดู ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงคต์ ้อง พูดในโอกาสตา่ งๆ ได้ตรงตาม

วัตถปุ ระสงค์ มกี ารรวบรวม คดั เลอื กขอ้ มูลมาใช้ วตั ถปุ ระสงคโ์ ดยรวบรวม

ให้เหมาะสม คัดเลอื กข้อมูลมาใชใ้ หเ้ หมาะสม

สอดคลอ้ งกับลักษณะและ

สถานการณ์

๕. พดู โน้มน้าว โดยนาํ เสนอ หลักการพดู โนม้ น้าวไดอ้ ย่างมี พดู โนม้ น้าวได้อย่างมเี หตผุ ล

หลกั ฐานตามลาํ ดับเนือ้ หา เหตุผล น่าเชื่อถือตอ้ งมีการนํา น่าเชื่อถอื โดยมกี ารนําหลักฐาน

อย่างมเี หตผุ ลและนา่ เช่อื ถอื หลกั ฐานจากแหลง่ ตา่ งๆมาใช้ ตามลาํ ดบั เน้อื หามาใช้

อ้างอิงประกอบการพูด ประกอบการพดู

๖. มีมารยาทในการฟัง การดู การปฏิบัติตนใหม้ ีมารยาท ปฏบิ ัติตนเป็นผู้ที่มีมารยาท

และการพูด ในการฟัง การดูและการพูดเปน็ ในการฟงั การดูและการพดู

มารยาททางสงั คม อนั จะเกิดประโยชน์ต่อการ

พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง

และผ้อู นื่

สาระท่ี ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและ

พลังของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ

ตวั ชว้ี ดั ผ้เู รยี นรู้อะไร ผเู้ รียนทําอะไรได้

๑. จาํ แนกและใชค้ าํ การจาํ แนกคาํ ทม่ี าจาก จาํ แนกและใชภ้ าษาตา่ งประเทศ
ภาษาตา่ งประเทศที่ใชใ้ น ภาษาตา่ งประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย ได้
ภาษาไทย ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง จะทําใหส้ ะกดคํา
เหลา่ นน้ั ไดแ้ ละนําไปใชไ้ ดต้ รง วิเคราะหโ์ ครงสร้างของประโยค
๒. วเิ คราะหโ์ ครงสร้างประโยค ความหมาย เหมาะกับระดบั ของ ซบั ซ้อนได้
ซบั ซ้อน ภาษา
วิเคราะหร์ ะดับภาษาได้
๓. วเิ คราะหร์ ะดับภาษา ความเข้าใจเกยี่ วกบั โครงสรา้ ง
ของประโยคจะทาํ ให้สามารถ
วิเคราะห์ประโยคท่ซี บั ซอ้ นและ
สร้างประโยคทส่ี ละสลวยสอื่
ความหมายได้ชดั เจนมากขึ้น

ภาษาไทยมกี ารใชภ้ าษาหลาย
ระดับ ได้แก่ ระดบั ทางการ

กงึ่ ทางการ และไม่เปน็ ทางการ ๑๗

การวิเคราะหร์ ะดบั ของการใช้

ภาษา จะทําให้นักเรียนใช้ภาษาได้

ถกู ตอ้ งเหมาะสม

๔. ใชค้ ําทบั ศพั ทแ์ ละศพั ท์บญั ญัติ คาํ ทับศพั ท์ เป็นคําศพั ท์ ใช้คําทบั ศัพทแ์ ละศพั ทบ์ ญั ญตั ิ

ภาษาตา่ งประเทศ สว่ นใหญเ่ ปน็ ไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์

ภาษาองั กฤษ มกั ใชใ้ นภาษาท่ี

ไม่เป็นทางการ หรอื ใช้ในระดบั

ทางการกรณีทย่ี งั ไมม่ คี ําไทย

บญั ญตั ิไว้ ท่ีเรยี กวา่ ศพั ทบ์ ัญญตั ิ

การเรยี นรู้หลักการดงั กลา่ วจะทาํ

ใหส้ ามารถนาํ คําทบั ศพั ท์และ ศัพท์

บัญญตั ไิ ปใช้ได้อยา่ งเหมาะสม

ตัวช้ีวัด ผเู้ รยี นร้อู ะไร ผเู้ รยี นทําอะไรได้

๕. อธิบายความหมาย คาํ ศพั ท์ทางวชิ าการ เป็นศัพท์ อธบิ ายความหมายคาํ ศพั ทท์ าง
คําศัพทท์ างวิชาการและวิชาชีพ เฉพาะของศาสตร์แขนงต่าง ๆ วิชาการและวชิ าชพี ได้
สว่ นคาํ ศัพท์ทางวชิ าชพี เปน็ คําศัพท์
๖. แตง่ บทร้อยกรอง ทใี่ ชเ้ ฉพาะผู้อยใู่ น
วงวิชาชพี เดยี วกนั ศึกษาคําศพั ท์
เหลา่ นีใ้ หก้ วา้ งขวาง จะชว่ ยในการ
สื่อสาร และสามารถนาํ ไปใช้ให้เกดิ
ประโยชน์ในชีวติ ประจําวันได้

การแต่งบทร้อยกรอง ไดถ้ ูกตอ้ ง แตง่ โคลงส่สี ุภาพได้
ตามหลักการ และมคี วามไพเราะ
นอกจากจะเปน็ การแสดง
ความสามารถในการใชภ้ าษาไทย
แลว้ ยงั สามารถนาํ ไปใชใ้ น
สถานการณต์ า่ ง ๆได้ เช่น
คําอวยพร บทอาเศยี รวาท

๑๘

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่า

และนํามาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจริง

ตวั ชว้ี ดั ผู้เรียนรู้อะไร ผ้เู รยี นทําอะไรได้

๑. สรุปเนือ้ หาวรรณคดี วรรณกรรม หลักการสรุปเนอื้ หาวรรณคดแี ละ สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดีและ
และวรรณกรรมท้องถ่นิ ในระดับ วรรณกรรม วรรณกรรม และวรรณกรรม
ทีย่ ากยง่ิ ขึ้น ท้องถิ่นท่ีอ่านได้
หลักการวเิ คราะห์วรรณคดแี ละ วเิ คราะห์วิถไี ทยและคณุ คา่ จาก
๒. วิเคราะห์วิถีไทย และคุณค่า วรรณกรรมไทย วรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ า่ น
จากวรรณคดีและวรรณกรรม ได้
ทอี่ ่าน ๑.หลกั การวเิ คราะหค์ ุณคา่ และ สรุปความรู้และข้อคดิ จากการ
ขอ้ คิดจากวรรณคดแี ละ อา่ นเพื่อประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง
๓. สรปุ ความรู้ และข้อคดิ วรรณกรรม
จากการอา่ น เพอ่ื นําไป ท่องจําบทอาขยานตามท่ีกาํ หนด
ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจริง ๒.การประยกุ ตใ์ ช้ความร้แู ละ และบทร้อยกรองท่มี คี ุณค่าตาม
ข้อคิด ความสนใจและนําไปใช้อ้างอิงได้
๔. ทอ่ งจําและบอกคุณคา่
บทอาขยานตามท่ีกําหนด และ ๑.หลักการอ่านบทรอ้ ยกรอง
บทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณค่า ตาม ๒.หลกั การวเิ คราะห์คณุ ค่าของบท
ความสนใจ และนาํ ไปใช้อ้างอิง
รอ้ ยกรอง

๑๙

คมู# อื การใช,สอ่ื นวัตกรรมการเรยี นรู, โมเดลรามเกยี รติ์ ตอนช,างเอราวณั
ประกอบแผนการจัดการเรียนร,วู ชิ าภาษไทย ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปทR ี่ ๓

ส่อื นวัตกรรมการเรียนรู, โมเดลรามเกยี รต์ิสามมิติ ตอนช,างเอราวัณชุดนี้ ประกอบดว, ย ๔ ชดุ ไดแ, ก#
๑. โมเดลสามมิติ ประกอบดว, ย ชา, งเอราวัณ ,พระอนิ ทรQ,สารถขี องพระอินทร,Q ราชรถของพระราม, พลทหารลงิ
จำนวน ๑๐ ตัว,ม,าจำนวน ๓ ตัว และฐานวางโมเดลจำนวน ๒ ช้ิน

๒. QR Code จำนวน ๓๒ ชิน้ ตดิ ไวใ, นโมเดลรามเกยี รติส์ ามมิติ สำหรับนักเรยี นเพือ่ สแกนศกึ ษาเนื้อหา
ในบทเรียน โดยใน QR Code ที่นักเรยี นสแกนนน้ั จะปรากฏเปน^ โปรแกรม Prezi
โดยจะมีบทพระราชนิพนธQ ถอดคำประพันธแQ ละทำนองเสนาะใหท, กุ บท
นอกจากนย้ี ังมเี กรด็ ความรตู, #าง ๆ ทนี่ กั เรียนควรร,ู ในเร่อื งบทพากยเQ อราวัณ
พร,อมรูปภาพประกอบอย#างชัดเจน

๓. สอื่ การเรียนสำเร็จรูป จำนวน ๙ ช้ิน สำหรับครเู พื่อใช,ในการสอน
โดยภายในสอ่ื การเรยี นสำเรจ็ รูปน้ี จะเปน^ การรวม QR Code ของนักเรียนจำนวน ๓๒ ชนิ้ แบ#งออกเป^น ๙

แบบเรียนสำเร็จรปู เพ่อื ให,ครูสามารถเปด™ ประกอบการสอนของตนเองได, โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี
๓.๑ Prezi – window (๑) เน้ือหา การพรรณนาลักษณะของชา4 งเอราวัณ
๓.๒ Prezi – window (๒) เนอ้ื หา พรรณนาอปุ กรณ8ท่ีประดับบนตัวช4าง
๓.๓ Prezi – window (๓) เนอ้ื หา พรรณนาถึงกระบวนทัพของช4างเอราวัณ
๓.๔ Prezi – window (๔) เนอื้ หา พรรณนาตอนพระรามตน่ื บรรทม
๓.๕ Prezi – window (๕) เนื้อหาพรรณนา กองทพั ของพระราม
๓.๖ Prezi – window (๖) พระลกั ษมณ8ต4องศร
๓.๗ Canva For Education ความเป\นมาของรามเกียรต์ิ และบทพากย8เอราวณั
๓.๘ Canva For Education โวหารอธิพจน8
๓.๙ Facebook ชา4 งเอราวัณ ๓๖๐ องศา

คูcมือการใช,สอื่ สำหรับครู

๒๐

Prezi – window (๑)
เริ่มตั้งแต#บท “อนิ ทรชติ บดิ เบอื นกายิน ” ถงึ บท “มีวมิ านแกว4 งามบวร”

๒๑

Prezi – window (๒)
เร่ิมตั้งแต# “เครื่องประดับเก4าแก4วโกมิน” ถงึ บท “โลทันสารถีขนุ มาร”

๒๒

Prezi – window (๓)
เร่มิ ตั้งแต# “บรรดาโยธาจตั ุรงค”8 ถึงบท “ลอยฟoามาในเวหน”

๒๓

Prezi – window (๔)
เริ่มต้งั แต# “เมื่อน้นั จึงพระจักร”ี ถึงบท “จบั ฟาo อากาศแลเหลอื ง”

๒๔

Prezi – window (๕)
เร่มิ ต้งั แต# “เสดจ็ ทรงรถแก4วโกสยี ”8 ถงึ บท “เรtงพลโยธาพานรนิ ทร8”

Prezi – window (๖)

เร่ิมตัง้ แต# “เม่อื นั้นพระศรอี นชุ า” ถงึ บท “ศรเตม็ ไปทั่วราศ”ี ๒๕

Canva For Education (๗)
ความเปน\ มาของรามเกยี รต์ิและบทพากย8เอราวัณ

๒๖

Canva For Education (๘)
อธิพจน8โวหาร

๒๗

Facebook (๙)
ชา4 งเอราวัณ ๓๖๐ องศา
QR Code ในโมเดลรามเกียรติ์ ตอน บทพากยเ์ อราวณั สาํ หรบั นักเรียน

คําประพนั ธ์ โมเดลรามเกียรต์สิ ามมิติ QR Code ๒๘

อินทรชิตบดิ เบือนกายนิ
เหมอื นองคอ์ มรนิ ทร์
ทรงคชเอราวัณ

ชา้ งนริ มติ ฤทธแิ รงแขง็ ขนั ๑

เผือกผ่องผวิ พรรณ ๓
สีสังขส์ ะอาดโอฬาร์

สามสบิ สามเศยี รโสภา

เศยี รหนงึ่ เจ็ดงา
ดังเพชรรตั นร์ ูจี

งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี
สระหนง่ึ ย่อมมี
เจด็ กออุบลบนั ดาล
กอหนง่ึ เจ็ดดอกดวงมาลย์
ดอกหน่ึงแบง่ บาน
มกี ลบี ได้เจด็ กลีบผกา
กลบี หน่งึ มเี ทพธดิ า
เจ็ดองค์โสภา
แนง่ น้อยลําเพานงพาล

คาํ ประพันธ์ โมเดลรามเกยี รติ์สามมิติ QR Code ๒๙

นางหน่งึ ย่อมมบี ริวาร ๔
อีกเจ็ดเยาวมาลย์
ล้วนรูปนริ มิตมารยา

จับระบําราํ ร่ายส่ายหา
ชาํ เลืองหางตา
ทําทีดงั เทพอปั สร

มีวิมารแกว้ งามบวร
ทุกเกศกุญชร
ดงั เวไชยนั ต์อมรนิ ทร์

เครอ่ื งประดับเก้าแก้วโกมนิ ๕
ซองหางกระวนิ ๖

สร้อยสายชนักถกั ทอง



คําประพันธ์ โมเดลรามเกียรติ์สามมิติ QR Code ๓๐

ตาข่ายเพชรรตั น์รอ้ ยกรอง ๘
ผา้ ทพิ ยป์ กตระพอง ๙
หอ้ ยพู่ทกุ หูคชสาร ๑๐

โลทนั สารถีขนุ มาร
เป็นเทพบตุ รควาญ
ขับทา้ ยที่นง่ั ชา้ งทรง

คาํ ประพนั ธ์ โมเดลรามเกยี รตส์ิ ามมิติ QR Code ๓๑

บรรดาโยธาจัตุรงค์
เปลีย่ นแปลงกายคง
เปน็ เทพไทเทวัญ

ทพั หนา้ อารกั ขไพรสณั ฑ์
ทัพหลงั สุบรรณ
กนิ นรนาคนาคา

๑๑

ปีกซ้ายฤษิตวทิ ยา ๑๒
๑๓
คนธรรพ์ปีกขวา
ตั้งตามตํารบั ทัพชยั

คําประพันธ์ โมเดลรามเกยี รติ์สามมิติ QR Code ๓๒

ปีกซา้ ยฤษิตวทิ ยา
คนธรรพป์ ีกขวา
ตั้งตามตาํ รับทพั ชัย

๑๔

ลว้ นถืออาวุธเกรยี งไกร ๑๕
โตมรศรชัย ๑๖
พระขรรค์คทาถ้วนตน
ลอยฟ้ามาในเวหน
รีบเร่งรพี้ ล
มาถึงสมรภมู ิชัย

เมอ่ื นัน้ จึงพระจักรี
พอพระสรุ ยิ ศ์ รี
อรุณเรืองเมฆา

ลมหวนอวลกลนิ่ มาลา
เฟอ่ื งฟุง้ วนา
นวิ าสแถวแนวดง

ผ้งึ ภูห่ มูค่ ณาเหมหงส์
รอ่ นราถาลง
แทรกไซร้ในสรอ้ ยสมุ าลี

ดเุ หวา่ เรา้ เรง่ พระสุรยิ ์ศรี
ไก่ขนั ปีกตี
กู่กอ้ งในทอ้ งดงดาน
ปกั ษาตืน่ ตาขันขาน
หาคู่เคยี งประสาน
สาํ เนียงเสนาะในไพร
เดือนดาวดบั เศรา้ แสงใส
สรา่ งแสงอโณทัย
กผ็ ่านพยบั รองเรือง

คําประพันธ์ โมเดลรามเกียรติ์สามมติ ิ QR Code ๓๓

จับฟ้าอากาศแลเหลอื ง
ธิบดินทร์เธอบรรเทือง
บรรทมฟนื้ จากไสยา

เสดจ็ ทรงรถแกว้ โกสยี ์
ไพโรจน์รจู ี
จะแขง่ ซึง่ แสงสรุ ิย์ใส

เทยี มสินธพอาชาไนย ๑๗
เรงิ รอ้ งถวายชัย ๑๘
๑๙
ชนั หรู ะเหดิ หฤหรรษ์

มาตลีสารถีเทวัญ
กรกมุ พระขรรค์

ขับรถมากลางจัตรุ งค์

คําประพนั ธ์ โมเดลรามเกียรติ์สามมิติ QR Code ๓๔

เพลารอยพลอยประดบั ดุมวง
กกึ ก้องกาํ กง
กระทบกระท่ังธรณี

มยุรฉตั รชุมสายพรายศรี ๒๐
๒๑
พัดโบกพชั นี ๒๒
กบร่ี ะบายโบกลม

มยรุ ฉตั รชุมสายพรายศรี

พดั โบกพชั นี
กบร่ี ะบายโบกลม

คําประพันธ์ โมเดลรามเกียรตสิ์ ามมติ ิ QR Code ๓๕

มยุรฉตั รชมุ สายพรายศรี
พดั โบกพัชนี
กบีร่ ะบายโบกลม

๒๓

องึ อนิ ทเภรตี รี ะงม

แตรสังขเ์ สยี งประสม
ประสานเสนาะในไพร

เสยี งพลโหร่ อ้ งเอาชัย ๒๔
๒๕
เล่ือนล่นั สนั่นใน
พิภพเพยี งทําลาย

คําประพนั ธ์ โมเดลรามเกยี รติ์สามมติ ิ QR Code ๓๖

สตั ภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย ๒๖
ออ่ นเอียงเพยี งปลาย ๒๗
ประนอมประนมชมชัย ๒๘

พสุธาอากาศหวาดไหว
เนอ้ื นกตกใจ
ซกุ ซอ่ นประหวั่นขวญั หนี

ลูกครุฑพลดั ตกฉมิ พลี
หสั ดินอินทรี
คาบชา้ งก็วางไอยรา

วานรสาํ แดงเดชา
หักถอนพฤกษา
ถอื ตา่ งอาวุธยุทธยง
ไม้ไหลย้ ูงยางกลางดง
แหลกลู่ลม้ ลง
ละเอยี ดด้วยฤทธโิ ยธี

อากาศบดบงั สุริย์ศรี
เทวญั จนั ทรี
ทุกช้นั อาํ นวยอวยชัย

บ้างเปดิ แกลแก้วแววไว
โปรยทิพมาลัย
ซ้องสาธุการบูชา

ชักรถรีเ่ รื่อยเฉื่อยมา
พุม่ บุษปมาลา
กงรถไม่จรดธรณินทร์

เรง่ พลโยธาพานรินทร์

เร่งรัดหสั ดิน

วานรให้รีบเร่งมา

คําประพันธ์ โมเดลรามเกยี รติ์สามมิติ QR Code ๓๗

เมื่อนน้ั พระศรีอนุชา ๒๙
เอ้ือนอรรถวจั นา
ตรัสถามสคุ รีพขุนพล ๓๐

เหตไุ ฉนสหัสนยั น์เสด็จดล
สมรภมู ิไพรสณฑ์
เธอมาดว้ ยกลอนั ใด

สุครีพทลู ทดั เฉลยไข
ทุกทีสหัสนัยน์
เสด็จด้วยหม่เู ทวา

อวยชัยถวายทพิ มาลา
บดั น้ีเธอมา
เหน็ วปิ ริตดฉู งน

ทรงเคร่อื งศสั ตราแยง่ ยล
ฤจะกลับเปน็ กล
ไปเขา้ ด้วยราพณอ์ าธรรม์

พระผู้เรืองฤทธแิ ข็งขัน
คอยดูสาํ คญั
อยา่ ไว้พระทยั ไพรี

เมอ่ื นั้นอินทรชติ ยักษี
ตรสั ส่ังเสนี
ใหจ้ ับระบาํ รําถวาย

ให้องค์อนชุ านารายณ์
เคลิบเคลม้ิ วรกาย
จะแผลงซ่ึงศัสตรศรพล

อินทรชติ สถิตเหนือเอรา
วณั ทอดทศั นา
เห็นองค์พระลกั ษณฤ์ ทธริ งค์

เคลิบเคล้ิมหฤทัยใหลหลง
จึงจับศรทรง
พรหมาสตร์อนั เรืองเดชา

ทูนเหนอื เศยี รเกล้ายกั ษา
หมายองค์พระอนชุ า
กแ็ ผลงสาํ แดงฤทธิรณ

อากาศกอ้ งโกลาหล
โลกล่นั อึงอล
อํานาจสะท้านธรณี

อากาศก้องโกลาหล
โลกลน่ั องึ อล
อํานาจสะท้านธรณี

คาํ ประพันธ์ โมเดลรามเกยี รติ์สามมติ ิ QR Code ๓๘

-
ความเปน็ มาของรามเกียรต์ิ และบทพากยเ์ อราวณั

คาํ ประพันธ์ โมเดลรามเกยี รติส์ ามมติ ิ QR Code ๓๙

-
โวหารอธิพจน์

คําประพนั ธ์ โมเดลรามเกียรตสิ์ ามมติ ิ QR Code ๔๐

๔๑

ชุดแบบฝึกทกั ษะ เรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน บทพากยเ์ อราวัณ
๑. ชุดแบบฝึกทักษะ เรื่อง รามเกยี รติ์ ตอนบทพากยเ์ อราวัณ

๔๒

๔๓

Qr Code สำหรบั สแกนเข้าไปทำชนิ้ งาน ๔๔

Qr Code เฉลย แบบฝกึ ทกั ษะ

๒. สมดุ บนั ทกึ ความรู้ เร่อื ง บทพากยเ์ อราวัณ ๔๕

๔๖

๔๗

Qr Code สมดุ บนั ทกึ ความรู้ เรอ่ื ง บทพากยเ์ อราวณั สำหรบั Download

Qr Code สมดุ บนั ทกึ ความรู้ เร่อื ง บทพากย์เอราวณั (เฉลย) ๔๘

๔๙

แผนการจัดการเรียนร้ปู ระกอบสอื่ นวัตกรรม : โมเดลสามมิติ
ประกอบชุดกจิ กรรมดว้ ยรูปแบบ

การสอน Active Learning เร่อื งรามเกียรติ์ ตอนบทพากยเ์ อราวัณ
สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรยี นเทศบาล ๓ บา้ นเหล่า

๕๐

แผนการจดั การเรียนรูเ, พื่อสง# เสรมิ คุณลักษณะอย#อู ยา# งพอเพียง

รหสั – ชื่อรายวชิ า ท๒๓๑๐๑ รายวชิ า ภาษาไทย กลcมุ สาระการเรยี นรู, ภาษาไทย

หนcวยการเรียนรทู, ี่ ๑ เรอ่ื ง บทพากยQเอราวัณ จำนวน ๓ คาบ
แผนจดั การเรียนรูท, ี่ ๑ เร่อื ง เลา# เรอ่ื งรามเกยี รติ์ คาบละ ๕๐ นาที
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปZที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ปaการศึกษา ๒๕๖๑ .

ครผู สู, อน นายจันทรQตุลา โพธท์ิ อง ครู โรงเรียน เทศบาล ๓ บา, นเหลา# สำนกั การศึกษา เทศบาลเมืองอดุ รธานี
วันที่ เดอื น พ.ศ..............................

สาระท่ี ๑ การอ#าน
มาตรฐานการเรยี นร!ู

มาตรฐาน ท.๑.๑ ใชก, ระบวนการอ#านสร,างความร,ูและความคดิ เพือ่ นำไปใช,ตัดสนิ ใจ แกป, ญw หาในการดำเนินชีวิต
และมีนสิ ยั รกั การอา# น

ตวั ชี้วดั
๑. ม.๓/๑ อ#านออกเสยี งบทร,อยแก,วและรอ, ยกรองไดถ, ูกตอ, งเหมาะสมกบั เรอื่ งทอ่ี #าน
๒. ม.๓/๔ อา# นเรอ่ื งต#าง ๆ แลว, เขยี นกรอบแนวคดิ ผังความคดิ บนั ทึก ย#อความ และรายงาน

สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐานการเรยี นร!ู

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช,กระบวนการเขียนเขยี นสอ่ื สาร เขยี นเรยี งความ ยอ# ความ และเขยี นเร่อื งราวในรปู แบบต#าง ๆ
เขียนรายงานข,อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน, ควา, อยา# งมีประสทิ ธภิ าพ

ตวั ชวี้ ดั
๑. ม.๓/๒ เขียนขอ, ความโดยใชถ, ,อยคำไดถ, กู ตอ, งตามระดับภาษา
๒. ม.๓/๔ เขยี นย#อความ

สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐานการเรียนร!ู

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา, ใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณวQ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย#างเห็นคณุ คา# และนำมา
ประยุกตQใชใ, นชวี ิตจรงิ
ตวั ชี้วัด

๑. ม. ๓/๑ สรปุ เน้ือหาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท,องถน่ิ ในระดบั ท่ยี ากข้ึน
๒. ม.๓/๒ วเิ คราะหวQ ิถไี ทยและคุณค#าจากวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา# น
ม.๓/๔ ท#องจำและบอกคณุ ค#าบทอาขยานตามทกี่ ำหนด และบทร,อยกรองทม่ี คี ณุ คา# ตามความสนใจและนำไปใชอ, ,างอิง


Click to View FlipBook Version