The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาวะถดถอยโรงเรียนวัดนาวง.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by daknologo_duen, 2022-06-13 00:53:15

ภาวะถดถอยโรงเรียนวัดนาวง.

ภาวะถดถอยโรงเรียนวัดนาวง.

รายงานการฟนื้ ฟู

ภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้

โรงเรียนวัดนาวง

สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ในปี 2564 การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนไม่สามารถดาเนินการได้ต่อเนอ่ื ง
และส่งผลกระทบต่อการศกึ ษาของโรงเรยี นวัดนาวง 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นผ้เู รยี น
ด้านครูผู้สอน ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการวัด
และประเมินผลผู้เรียน ดา้ นสื่อและเทคโนโลยที างการศกึ ษา และด้านผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นรู้ของผู้เรยี น ทางโรงเรยี นวัดนาวงจึงได้ดาเนินงานการเฝ้าระวัง
การตดิ เชือ้ ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 และดาเนินการจัดการเรียนการ
สอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยดาเนินการฟื้นฟูภาวะถดถอย
ทางการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น
ใหส้ อดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และความต้องการจาเป็นของผู้เรียน

โรงเรียนวัดนาวงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร “มาตรการฟื้นฟูภาวะ
ถดถอยทางการเรียนรู้” ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนที่ได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด - 19 การพัฒนาเทคนิคและวิธีการจัดการ
เรียนการสอน การพัฒนาสื่อ และเทคโนโลยีดิจิทัลทางการศึกษา และการ
พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในส่วนทเ่ี กีย่ วข้อง ดา้ นการดาเนินการเฝ้าระวังโรค
ตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 การจัดการเรยี นการสอนภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา
2565 การดาเนินงานการฟื้นฟูสภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้ (Learning
loss recovery) การพฒั นาคุณภาพการอา่ นออก เขียนได้ คดิ เลขเปน็
และด้านความปลอดภยั ในสถานศึกษา (MOE Safety Center)
เพอื่ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนตอ่ ไป

โรงเรียนวัดนาวง



สารบัญ

ความเปน็ มา 1

การดาเนินการเฝ้าระวัง 1
โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 12
14
การจัดการเรียนการสอน 24
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 27

การดาเนินงาน
การฟืน้ ฟูภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้

การพัฒนาคณุ ภาพ
การอ่านออก เขยี นได้ คิดเลขเป็น

ความปลอดภัยในสถานศกึ ษา

กลไกส่กู ารปฏิบตั แิ ละเงอื่ นไขความสาเร็จ 28

ภาคผนวก
คณะผ้จู ดั ทา

ความเปน็ มา

ความเปน็ มา

สบื เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด - 19 อย่างต่อเน่ืองท่ัวโลกตั้งแต่
ปลายปี พ.ศ. 2562 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ท้ังด้านสาธารณสุข เศรษฐกิจ
สงั คม รวมท้ังด้านการศึกษาสถานศึกษาจาเป็นต้องปิดการเรียนการสอนในสถานศึกษาเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด
ของโรคโควิด-19 โดยเฉพาะในพื้นท่ีที่มีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อย่างรุนแรงนั้น สถานศึกษาต้องปิด
อยา่ งต่อเน่ืองตลอดท้งั ปีการศึกษา ส่งผลใหท้ ุกฝา่ ยทเ่ี ก่ียวขอ้ งตอ้ งปรับตวั ปรบั บทบาท และปรบั รูปแบบ วิธีการเรียน
การสอนให้เอื้อต่อการจัดการศึกษาภายใต้สถานการณ์ โควิด-19 สถานศึกษามีการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการ
ใหเ้ อื้อต่อการเรียนร้ขู องผู้เรียนอย่างปลอดภยั จากโรคระบาด ครผู สู้ อน ต้องเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนรู้ใหม่เป็นแบบ
ทางไกลหรือออนไลน์ เพ่ือทดแทนการเรียนการสอนในช้ันเรียนปกติ และผู้เรียนทุกระดับการศึกษาต้องเรียนรู้อยู่
ท่ีบ้าน ที่พักตามมาตรการป้องกันโรคภาวะวกิ ฤตดิ งั กล่าวเกิดขนึ้ ขเปน้ั ็นทระี่ ย1ะเวลา 2 ปีกว่าแล้ว เกิดผลกระทบต่อระบบ
การศกึ ษาไทยอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนท้ังต่อครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาโดยรวมทาให้เห็น
จดุ อ่อนทชี่ ดั เจนของระบบการศกึ ษาไทยในการรองรับการเปล่ียนแปลงได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

โรงเรียนวัดนาวงจึงมีการเลือกรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ และระดับ
ความรุนแรง โดยในช่วงแรกของปีการศึกษา 2564 โรงเรียนใช้รูปแบบ On-Hand ให้นักเรียนรับชุดการเรียนรู้ไป
เรยี นรู้ด้วยตัวเองที่บ้าน โดยมีครูติดตามเป็นระยะต่อมาเพื่อใหข้ครนั้ ูกทับี่น2ักเรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กัน และให้นักเรียนได้
เรยี นหนงั สือกับครทู ่ีบ้านทางโรงเรียนเพ่ิมรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ On-Line และ On-Demand
ใหค้ รเู ปน็ ผจู้ ัดการเรียนการสอนผา่ นเครอ่ื งมอื และแอพพลิเคชนั ตา่ ง ๆ ทที่ างโรงเรยี นกระจายไปสู่ผูเ้ รียน

รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

ข้ันท่ี 3

จากการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน On-Hand On-Line และ On-Demand ในภาค เรียนท่ี 1
ปีการศึกษา 2564 นาข้อมูลมาสังเคราะห์พบว่าภาพรวมของผู้เรียนโรงเรียนวัดนาวงมีภาวะถดถอยทางการเรียนรู้
เนื่องจากตอนท่ีผู้เรียนเรียนอยู่บ้านบางส่วนอาจขาดการทบทวนบทเรียนเป็นเวลานาน รวมถึงความไม่พร้อม
ของผู้ดูแล ผู้ปกครอง ผู้เรียนที่ครอบครัวไม่มีความพร้อมด้านเศรษฐกิจจะขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์
เครื่องคอมพิวเตอร์ สมารท์ โฟน และอินเทอร์เนต็ สาหรบั การเรยี กนราู้ทรางวไกัดลแอยลา่ ะงกมีปารระสปิทรธิภะเามพินหรผอื ลกล่าวได้ว่าภาวะ
ถดถอยทางการเรยี นรู้ของผู้เรยี นมาจากการเรียนร้ทู หี่ ยุดชะงัก

1

จากภาวะการถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ทางโรงเรียนได้ตะหนักถึงปัญหาอยากจะแก้ปัญหาผู้เรียน
ทไ่ี มส่ ามารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ และผเู้ รียนทผี่ ้ปู กครองไม่สามารถดแู ลใหค้ าแนะนาในการทาแบบฝึก On-Hand
ที่บ้านได้ เน่ืองจากขาดความพร้อมในหลาย ๆ อย่าง ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนได้ดาเนินการ
ขอเปดิ การจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบ On-Site

รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ข้ันท่ี 1

โรงเรียนวัดนาวงได้มีการประชมุ คณะครูในโรงเรียน วาขงแน้ั ผทนรี่ ะ2ดบั โรงเรียน ดาเนินงานการฟื้นฟูผู้เรียนตาม
มาตรการฟนื้ ฟภู าวะถดถอยทางการเรยี นรู้ นาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างเปน็ รปู ธรรม โดยผลการสังเคราะห์แบ่งออกเป็น
5 ส่วน ได้แก่ การดาเนินการเฝา้ ระวังโรคตดิ เชอื่ ไวรสั โคโรนา 2019 การจดั การเรยี นการสอนภาคเรยี นที่ 1
ปีการศึกษา 2565 การดาเนินงานการฟื้นฟูสภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning loss recovery) การพัฒนา
คุณภาพการอ่านออกเขียนได้ คดิ เลขเป็น และด้านความปลอดภัยในสถานศึกษา (Nawong Safety Center)
เพ่ือประกอบการพิจารณาในการนาสู่การปฏิบัติ ดงั มรี ายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

ผลกระทบของโควดิ -19 ขัน้ ที่ 3

ตอ่ การจดั การศกึ ษาของโรงเรียนวดั นาวง

จากการสังเคราะห์ผลการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ในสถานการณ์โควิด-19 ด้านผลกระทบ
ของสถานการณ์โควดิ -19 ต่อการพัฒนาการศกึ ษาของโรงเรยี นวดั นาวง พบวา่ มผี ลกระทบตอ่ ระบบการจัดการศึกษา
ของโรงเรยี นวัดนาวง 6 ดา้ น ดังน้ี

1. ด้านผูเ้ รยี น

ในสถานการณ์โควิด-19 ผู้เรียนต้องปรับเวลาและวิธกีกาารรเวรียดั นแรู้ใลหมะก่จาาเปร็นปตร้อะงเเรมียนิ นรผู้อลยู่ท่ีบ้าน ท่ีพักใน
ลักษณะทางไกล หรือออนไลน์ ซ่ึงพบว่า ผู้เรียนที่ครอบครัวไม่มีความพร้อมด้านเศรษฐกิจจะขาดความพร้อมด้าน
อปุ กรณ์ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ สมารท์ โฟน และอนิ เทอร์เนต็ สาหรับการเรยี นรทู้ างไกลอย่างมีประสิทธิภาพ

2

ดา้ นผลกระทบทเ่ี กดิ แก่ผูเ้ รียน เนอ่ื งจากการเรยี นทางไกลหรือออนไลน์เป็นระยะเวลานานตลอดช่วงการระบาดของ
โควิด-19 พบวา่ นักเรียนระดับอนุบาลปฏิบัติกิจวัตรประจาวันไม่เหมาะสม เช่น พักผ่อนไม่เป็นเวลา การดูแลความ
สะอาดสุขภาพร่างกายไม่ถูกสุขลักษณะ รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ไม่ครบถ้วน และเด็กไม่ได้รับการฝึกให้
ชว่ ยเหลอื ตนเอง ไม่พยายามช่วยเหลอื ตนเอง แก้ปัญหาในการทากิจวัตรของตนเองไม่ได้ เด็กใช้มือ - ตาไม่ประสาน
สัมพันธ์กัน กล้ามเนื้อใหญ่ไม่แข็งแรง ใช้ภาษาสื่อสารไม่เหมาะสมตามวัย ขาดการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นท่ีไม่ใช่
ครอบครัว ฟังคาสง่ั และปฏิบัติตามคาสั่งยังไม่ดีเท่าท่ีควร ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการท้ัง 4 ด้านของเด็ก ได้แก่
ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 มีภาวะถดถอยทางการ
เรียนรู้ในด้านการอ่านออก เขียนได้ เน่ืองจากขาดการฝึกฝนทบทวน และขาดความต่อเน่ืองในการเรียนรู้ นักเรียน
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 มภี าวะถดถอยเชงิ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6ในวิชา
ภาษาไทย ภาษาตา่ งประเทศ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพขิวเน้ั ตทอรี่ ์ 1และพลศึกษา เน่ืองจากขาดความต่อเน่ืองใน
การเรียนรู้ จึงสง่ ผลให้มีผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลง และนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 มีภาวะถดถอย
ด้านพฤติกรรมและการอย่รู ่วมกนั ในสงั คม ส่งผลให้นักเรียนเรมิ่ มีทศั นคตเิ ชงิ ลบต่อการเรยี น และแสดงออกโดยการไม่
เข้าเรียน รวมท้งั มผี ลกระทบต่อสภาวะ ทางอารมณ์ สัมพนั ธภาพ และสุขภาพจติ ของผูเ้ รียนอกี ดว้ ย

นอกจากนี้ยังพบว่า การเรียนทางไกลหรือออนไลน์ทาให้ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะการปฏิบัติน้อยลง
จไมาส่กากมาารรปถฏทบิ าตั กิจจิ รกงิ รซรมึง่ สกง่าผรลเรตียอ่ นกรา่วรมพกัฒับนเพา่ือทนกั ไษดะ้ ชแวีลิตะเทสียกั โษอะกสางัสคใขมนก้นั แาลทระเ่ี รอ2ียานรมรจู้ณา์ขกอแงหผลเู้ ่รงเยี รนียนรู้ภายนอกและการเรียนรู้

2. ครูผสู้ อน

ครูเปน็ ผู้มบี ทบาทสาคญั ในการจัดการเรยี นรู้ย่อมไดร้ บั ผลกระทบจากการเปลยี่ นรูปแบบการเรยี นการสอนใน
สถานการณ์โควดิ -19 พบว่า ครูมภี าระงานเพิ่มมากข้ึนในการจัดการเรยี นรแู้ ละการดูแลผู้เรียน ครูมีความเส่ียงในการ
ปฏบิ ตั งิ านในสถานการณโ์ รคระบาด ครูมีความวติ กกังวลเกีย่ วกับการจัดการเรยี นรู้ในรปู แบบใหม่และกังวลว่าผลการ
เรียนของผู้เรียนจะตกต่าลง ครูขาดขวัญกาลังใจในการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน ซึ่งส่งผลให้คุณภาพการ
จัดการเรียนรู้ของครูลดลงเม่ือเทียบกับสถานการณ์ปกติ นอกขจัน้ ากทนี่ ้ีก3ารเปล่ียนรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้
เทคโนโลยมี ากขนึ้ ยังส่งผลให้ครตู ้องพัฒนาตนเองมากขึ้นในด้านการใช้สื่อเทคโนโลยี ต่าง ๆ เพื่อจัดการเรียนรู้ และ
สง่ ผลให้ครูบางสว่ นมคี วามเครียด เนอื่ งจากยงั ไม่คุน้ เคยกับการใช้เทคโนโลยใี นการเรียนการสอนมากอ่ น

3. ดา้ นหลกั สูตรและการจดั การเรยี นการสอน

โรงเรียนวัดนาวงจาเป็นต้องปรับการจัดการศึกษา โดยเฉพาะด้านหลักสูตรสถานศึกษา เวลาเรียน
และวิธีการจัดการเรียนการสอน เพ่ือรองรับมาตรการการป้องกันโรคระบาด ทั้งรูปแบบการเรียนการสอนผ่าน
อินเทอรเ์ นต็ (Online) ผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น Zoom meeting, Google classroom, Google meet,Youtube,
ดFa้าcนeอbปุ oกoรkณแ์เทลคะโนLโinลeยีโดaยpกpาliรcใaชti้หoนnังเสปือ็นใตบ้นงากนารแเลรียะนแบกาบรฝสึกอหกนัดแาใบหรบ้ วผู้เ(ัดรOียnแนลนhาaะไกnปdเา)รรียสนปาหรรู้ทระับ่ีบเผ้ามนู้เรินียกนผาทรลจี่ไมัด่มกีคารวเารมียพนรก้อามร
สอนในสถานศึกษา (On-demand) สาหรบั ผู้เรยี นท่มี คี วามพรอ้ มด้านอุปกรณแ์ ละเทคโนโลยสี ามารถเรียนรู้ผ่าน

3

เว็บไซต์หรือแอปพลิเคช่ันทางการศึกษาต่าง ๆ ที่มีชุดโปรแกรมในจัดทาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ให้ครูผู้สอนใช้งาน
หรือเปน็ คลงั ทร่ี วบรวมบทเรียนสาเร็จรปู ต่าง ๆ สาหรับเปน็ ส่อื ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งท้ังผู้เรียนและครูผู้สอน
น้ันจะสามารถเลือกใช้เว็บไซต์หรือแอปพลิเคช่ันเหล่าน้ันร่วมกันในการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนใน
สถานศึกษา (On-site) ด้วยการลดขนาดของห้องเรียนให้สามารถรักษาระยะห่างเพื่อป้องกันโรค เช่น สลับวัน
ใหผ้ ้เู รยี นเข้ามาเรียน เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนได้รับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองและสอดรับกับความจาเป็นของ
ผ้เู รยี น นอกจากน้ใี นสถานการณ์โควิด-19 โรงเรยี นวัดนาวงมีการกระชับหลักสูตรและเน้ือหาสาระการเรียนการสอน
โดยเนน้ สอนกล่มุ สาระวชิ าหลกั ได้แก่ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา และเน้น
เนื้อหาสาระท่ีสาคญั จาเปน็ กอ่ น

4. ด้านการวดั และประเมนิ ผลผูเ้ รยีข้ันนท่ี 1

ภายใต้สถานการณ์โควิด-19 โรงเรียนวัดนาวงมีข้อจากัดในการวัดและประเมินผลผู้เรียนตามเกณฑ์
ของหลักสูตรท่ีกาหนด เช่น ความครบถ้วนของเนื้อหา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการฝึกปฏิบัติ เป็นต้น ส่งผลให้
โรงเรยี นวัดนาวงตอ้ งปรับวิธีการกากบั ติดตาม ผลการจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลผู้เรียนให้สอดคล้อง
กับรูปแบบการเรียนการสอนที่ปรับเปลี่ยน รวมทั้งปรับตามแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับแนวปฏิบัติ
ในการวัดและประเมินผลในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดขอขง้ันโรทค่ี โ2ควิด-19 ซึ่งพบว่า ในระดับสถานศึกษาได้นา
รูปแบบ วิธีการ วัดและประเมินผลที่หลากหลายมาใช้ เช่น การวัดผลเชิงประจักษ์ การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลแบบออนไลน์ การใชใ้ บงาน แบบฝกึ /ชิน้ งาน โดยในภาคเรียนที่ผ่านมามีการนัดกลุ่มนักเรียน เพ่ือทา
การวัดและประเมินผล ซ่ึงนักเรียนท่ีมีความพร้อมจะนัดหมายกับครู เพื่อเข้ามาประเมินผลการเรียนรู้ตามนโยบาย
ของสถานศกึ ษา คอื นักเรยี นพร้อม ครพู ร้อม โรงเรียนเปน็ ฐานสรา้ งงาน สร้างการเรียนร้สู ู่ผู้เรยี น

5. ดา้ นสอ่ื และเทคโนโลยีทางการศึกษา

การจัดการศึกษาภายใต้สถานการณ์โควิด-19 จาเป็นต้องใช้สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาเป็นเครื่องมือ
สาคัญเพื่อจัดการเรียนรู้ผ่านระบบทางไกลหรือระบบออนไลนข์ให้นั ้แทก่ผ่ี 3ู้เรียน จากการสังเคราะห์พบว่า สถานศึกษา
มีการปรบั ปรงุ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงในการจัดการเรียนการสอนตาม
ความพร้อมของแต่ละแห่ง เช่น จัดหาอุปกรณ์การถ่ายทอดออนไลน์ พัฒนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ต พัฒนาส่ือ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นตน้ เพือ่ ให้ครูผสู้ อนไดใ้ ช้แพลตฟอร์ม หรอื แอพพลิเคชนั ในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์
ได้ เช่น ระดับชั้นอนบุ าลใชก้ ารจดั การเรยี นการสอนผา่ น Google meet ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-3 จัดการเรียน
การสอนผ่าน Zoom meeting, Google meet และYoutube ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6 และระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปที ่ี 1-6 จัดการเรียนการสอนผ่าน Facebook ,Google classroom และYoutube นอกจากน้ียังมีการ
ใช้ Line application ในการตดิ ต่อส่อื สารกับนักเรียนและผปู้ กครอง เป็นตน้ แตก่ ็พบปัญหาว่าเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
กแลาระเกราียรนสรอ่ื ู้ขสอางรผยู้ังเรไีมยเ่นพียผงู้ปพกอคแรลอะงสบญั างญราาณยมอีขิน้อเทจอารก์เัดนต็ ไมไม่ส่เาสมถายี รรถกยจาังัดมรหีควาวสัดาัญมแไญมลา่พณะรก้ออมินาดเรท้าปนอรสร์เื่อนะอ็ตเุปมหกินรรณือผม์แลีใลชะ้อเยท่าคงโจนาโกลัดยไีใมน่
เพียงพอใหบ้ ตุ รหลานสามารถใช้เรียนออนไลนไ์ ด้ จงึ สง่ ผลต่อประสทิ ธผิ ลในการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์

4

6. ดา้ นผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น

จากการสังเคราะห์พบผลกระทบด้านผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนรู้ของผเู้ รียนเกิดขึ้นอย่างชัดเจนในการจัดการเรียนรู้ ใน
สถานการณ์โควดิ -19 ในระยะเวลา 2 ปีท่ผี า่ นมา โดยผลการสารวจความคิดเห็นของผู้เรียน ครู ผู้บริหารสถานศึกษา
และ ผปู้ กครอง เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2564 ส่วนใหญ่เห็นว่าการระบาด ของโควิด-19 ระลอกใหม่เกิดผลกระทบใน
ด้านผลสัมฤทธ์ิของผ้เู รยี นมากท่ีสดุ และจากผลการศึกษาล่าสุดในปี 2565 เก่ียวกับภาวะ ถดถอยทางการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนในสถานการณโ์ ควดิ -19 พบว่า ภาพรวมของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีการรับรู้ภาวะถดถอยทางการ
เรยี นรู้ในระดับปานกลาง โดยผู้เรียนนักเรียนระดับอนุบาลปฏิบัติกิจวัตรประจาวันไม่เหมาะสม เช่น พักผ่อนไม่เป็น
เวลา การดูแลความสะอาดสุขภาพร่างกายไม่ถูกสุขลักษณะ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ไม่ครบถ้วน และเด็ก
ไมไ่ ด้รบั การฝึกใหช้ ่วยเหลอื ตนเอง ไม่พยายามช่วยเหลอื ตนเอง แขก้ันป้ ทญั ี่ ห1าในการทากจิ วัตรของตนเองไม่ได้ เด็กใช้มือ-
ตาไม่ประสานสมั พนั ธก์ นั กลา้ มเนือ้ ใหญไ่ มแ่ ข็งแรง ใชภ้ าษาสอื่ สารไม่เหมาะสม ตามวัย ขาดการปฏิสัมพันธ์กับบุคคล
อืน่ ที่ไมใ่ ช่ครอบครัว ฟังคาส่ังและปฏิบัติตามคาสั่งยังไม่ดีเท่าที่ควร ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของ
เด็ก ไดแ้ ก่ ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-3 มีภาวะถดถอย
ทางการเรียนรู้ในด้านการอ่านออก เขียนได้ เน่ืองจากขาดการฝึกฝนทบทวน และขาดความต่อเน่ืองในการเรียนรู้
นักเรยี นระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4-6 มีภาวะถดถอยเชงิ ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4-6
ในวิชาภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสขตรัน้ ์ คทอ่ี ม2พิวเตอร์ และพลศึกษาเนื่องจากขาดความ
ต่อเนื่องในการเรียนรู้ จึงส่งผลให้มีผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลง และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 มี
ภาวะถดถอยด้านพฤติกรรมและการอยู่ร่วมกันในสังคม ส่งผลให้นักเรียนเริ่มมีทัศนคติเชิงลบต่อการเรียน และ
แสดงออกโดยการไมเ่ ขา้ เรยี น รวมทั้งมีผลกระทบต่อสภาวะ ทางอารมณ์ สัมพันธภาพ และสุขภาพจิตของผู้เรียนอีก
ด้วย ดังแสดงตามแผนภาพตอ่ ไปนี้

ข้ันที่ 3

การวดั และการประเมินผล

5

ตารางผลการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวยั ช้ันอนบุ าลปีที่ 2-3
กอ่ นการจดั กิจกรรมเตรียมความพรอ้ ม ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565

ในภาวะการเรยี นรู้ถดถอย Learning loss recovery

ผลการประเมินพัฒนาการเดก็ รายด้าน (คน) จานวน
(คน)
ระดับชัน้ (1=ควรปรับปรงุ , 2=ปานกลาง , 3=ดี)
79
อนบุ าลปีท่ี 2 ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สงั คม สติปัญญา
ร้อยละ 57
เฉลีย่ รวมรายด้าน 321321321321
อนบุ าลปีท่ี 3
ร้อยละ 28 36 15 26 38 15 24 40 15 18 61 0
เฉล่ียรวมรายด้าน 35.44 45.57 18.99 32.91 48.10 18.99 30.38 50.63 18.99 22.78 77.22 0.00

72.15 71.31 ขน้ั ท่ี 170.46 74.26

20 27 10 20 26 11 20 25 12 17 40 0
35.09 47.37 17.54 35.09 45.61 19.30 35.09 43.86 21.05 29.82 70.18 0.00

72.51 71.93 71.35 76.61

ขนั้ ท่ี 2

แผนภมู ิแสดงผลการประเมินพัฒนาการเดก็
ก่อนการจดั กิจกรรมเตรียมความพรอ้ มระดบั ปฐมวัย

ผลการประเมินพัฒนาการเด็กก่อน การจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม

อนุบาลปี ท่ี 2 อนุบาลปี ที่ 3

72.15 ขน้ั ที่ 3

72.51

71.31

71.93

70.46

71.35

74.26

76.61

การวัดและการประเมินผลพัฒ น าการ ด้ าน สั ง ค ม
พั ฒ น า ก า ร ด้ า น ร่ า ง ก า ย พั ฒ น า ก า ร ด้ า น อ า ร ม ณ์ จิ ต ใ จ พั ฒ น า ก า ร ด้ า น ส ติ ปั ญ ญ า

6

ตารางแสดงผลการประเมนิ ทักษะการอ่านออก เขยี นได้
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 – 3 ก่อนเรยี น

ภาคเรยี นที่ 1 การศกึ ษา 2565 (LEARNING LOSS RECOVERY)

จานวนนักเรยี น ภาวะถดถอยของนักเรียน
(คน)
ระดบั ชน้ั อา่ นไม่ออก รอ้ ยละ เขยี นไมไ่ ด้ ร้อยละ

(คน) (คน) 47.25
37.62
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 91 48 52.75 43 20.75
ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 101 34.56
ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 106 36 35.64 38
298
รวม 24 22.64 22
108 ข้ันท่ี 1 36.24 103

แผนภมู แิ สดงผลการประเมนิ นกั เรยี นอา่ นไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ด้
(LEARNING LOSSขัน้ RทECี่ 2OVERY)

ก่อนการจดั การเรยี นการสอนปรับพนื้ ฐาน

ผ ล ก าร ป ร ะเมินนัก เรียนอ่านไม่อ อ ก เขี ยนไม่ได้ ( L EAR NI NG L OS S R ECOVER Y )
ก่อ น ก าร จัด ก าร เรียน ก าร ส อน ป รับพื้น ฐาน

นักเรยี นอ่านไมอ่ อก นกั เรียนเขียนไม่ได้

52.75 ขน้ั ที่ 3
47.25
35.64
37.62
22.64
20.75

การวัดและการประเมินผล
ช้ั นป ร ะถมศึก ษ าปีท่ี 1 ชั้ นป ร ะถมศึก ษ าปีท่ี 2 ช้ั นป ร ะถมศึก ษ าปีที่ 3

7

ตารางแสดงผลการทดสอบก่อนเรยี น 5 วชิ าหลกั
ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6

ในรายวชิ า ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สงั คมศึกษา
ภาคเรยี นท่ี 1 การศกึ ษา 2565 (LEARNING LOSS RECOVERY)

จานวน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา
นักเรียน
ระดบั ชั้น (คน) ผ่าน ไม่ ผา่ น ไม่ ผ่าน ไม่ ผา่ น ไม่ ผา่ น ไม่
ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผ่าน
ป.4 93
ป.5 100 39 54 41 52 ขั้น4ท3่ี 1 50 36 57 40 53
ป.6 87
รวม 280 45 55 37 63 43 57 38 62 49 51

42 45 36 57 40 47 31 56 44 43

81 154 114 172 126 154 105 175 133 147

ข้นั ท่ี 2

แผนภูมิแสดงผลนักเรียนที่ไม่ผ่านการทดสอบก่อนเรียน 5 วิชาหลัก
ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6

แผนภูมิแสดงผลนักเรียนท่ีไม่ผ่านการทดสอบก่อนเรียน 5 วิชาหลัก
ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตขร์ น้ั ที่ 3ภาษาองั กฤษ สังคมศกึ ษา

58.1
55.9
53.8

61.3
57
55

63
57

62
51
51.7

58.6
54

64.4
49.4

ช้ั น ป .4 ช้ัน ป.5 การวดั และการประชเ้ันมปิน.6ผล

8

ตารางแสดงผลด้านพฤติกรรมและการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมกอ่ นการทากิจกรรม
ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-6

จา ้ดานความ ีม ิวนัย
้ดานความ ีมน้าใจฯ
ระดับ นวน ้ดานการ ัรบฟังความ
ชั้น นัก
เรียน ิคดเห็น
้ดานประเภทแสดงความ
(คน)
ิคดเห็น
้ดานการตรง ่ตอเวลา

ดี พอใช้ ปรบั ดี พอใช้ ปรบั ดี พอใช้ ปรับ ดี พอใช้ ปรับปรุ ดี พอใช้ ปรับ
ปรุง ปรงุ ปรุง ง ปรงุ

ม.1 119 32 46 41 42 40 37 22 ข46ัน้ ท่ี 511 40 48 31 29 33 57

ม.2 117 29 39 49 34 38 45 19 46 52 46 31 40 26 32 59

ม.3 103 23 43 37 36 40 27 18 45 40 33 35 35 24 35 44

ม.4 46 7 12 27 17 11 18 7 12 27 17 11 18 6 11 29

ม.5 43 5 14 24 15 8 20 5 14 24 10 9 24 7 13 23

ม.6 36 4 16 16 14 10 12 4 ข16ั้นท่ี 126 13 16 7 6 12 18

รวม 464 100 170 194 158 147 159 75 179 210 159 150 155 98 136 230

เฉล่ยี 21.55 36.64 41.81 34.05 31.68 34.27 16.16 38.58 45.26 34.27 32.33 33.41 21.12 29.31 49.57

แผนภมู แิ สดงผลร้อยละด้านพฤติกรรมและการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมกอ่ นการทากจิ กรรม
ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1-6

50 49.57
45
40 41.81 34.05 34.27 45.26
35 36.64 31.68
38.58 ขัน้ ท่ี 3
29.31
34.27 32.33 33.41

30
25 21.55 21.12

20 16.16
15
10
5
0

การวัดและการประเมินผล

ดี พอใช้ ปรับปรงุ

99

แผนภมู แิ สดงผลรอ้ ยละด้านพฤตกิ รรมและการอยูร่ ่วมกนั ในสงั คม
ก่อนการทากิจกรรมของนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-6

50 43.29 46.1 44.37 48.6 42.7
45 45.5

40 34.63 32.5 30.3 32.6
35
30
25 22.08 24.2 24.7
18.9
20
15
10 การดาเ9น.52 ินกขาัน้ ทร่ี 1 เฝ้าระวงั
5
0

โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019

ข้ันที่ 2

ดี พอใช้ ปรับปรุง

จากการสังเคราะห์พบว่าการระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้ระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนต้อง
ปรับเปลี่ยนอย่างฉับพลัน จนปรับตัวไม่ทัน จากระบบปกติในโรงเรียนเป็นการเรียนรู้ท่ีบ้าน (Home-based
learning) จากระบบช้นั เรยี นเป็นการเรียนร้สู ว่ นบุคคล (Personalized learning) โดยมีปัจจัยการเปลี่ยนแปลงด้าน
เทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital disruption) เข้ามาเปน็ โจทย์สาคัญในการจดั การศึกษา ทัง้ การจัดการศกึ ษาในชว่ งสถาน -
การณ์วิกฤติของโรคระบาดและการพัฒนาการศึกษาหลังยุคโควิด-19 (Post-COVID) ท่ีจะส่งผลให้เกิดการปรับ
รูปแบบและวิธีการเรียนรู้พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน แขล้ันะกทาี่ ร3ปรับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา เป็น
Super Coach ครูผู้สอนจะต้องจัดการเรียนรใู้ นยุคดิจิทลั อีกทั้งเทคโนโลยีจะเปน็ เครอ่ื งมือที่สาคญั ในการสร้างโอกาส
การเรยี นร้ตู ลอดชีวติ และพฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษาตอ่ ไปในยุคดสิ รัปชัน

การวดั และการประเมนิ ผล

การดาเนนิ งานเฝา้ ระวัง
โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

จากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อทุกภาคส่วน ผลกระทบที่เป็น
ปัญหาของผู้เรียนคือผู้เรียนไม่สามารถมาเรียนที่โรงเรียนได้ จึงส่งผลให้การเรียนมีสภาวะถดถอย เมื่อสถานการณ์
เป็นไปในทางท่ีดีข้ึน โรงเรียนวัดนาวงจึงได้ดาเนินการขอเปิดสถานศึกษา ให้ผู้เรียนได้เข้ามาเรียน On-site
เพ่ือดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนท่ีไม่มีความพร้อมในการเรียนออนไลน์ ผู้เรียนที่ขาดการติดต่อกับครูประจาชั้น
และขาดการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง โรงเรียนวัดนาวงได้ดาเนนิ การตามมาตรการเฝ้าระวังโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
อย่างเคร่งครัด มีการวางแผน และการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา การปฏิบัติตนของนักเรียนและบุคลากร
ในสถานศึกษาเพื่อลดโอกาสการตดิ เชอ้ื และปอ้ งกนั ไม่ให้เกิดการติดเชื้อโรคโควิด 19 ให้เกิดความปลอดภัยแก่ทุกคน
การจดั การศึกษาสามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนือ่ ง ไมห่ ยดุ ชะงกั และสามารถการดาเนินงานการฟ้ืนฟูภาวะถดถอย
ทางการเรยี นรู้ให้แก่ผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

10

11

การจดั การเรยี นการสอน
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565

การจดั การเรยี นการสอน
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565

ผลกระทบจากสถานการณ์ โควิด-19 ในปีการศึกษา 2564 ส่งผลให้กิจกรรมการเรียนการสอนไม่สามารถ
ดาเนนิ การได้ตอ่ เนือ่ ง และมผี ูเ้ รยี นท่หี า่ งหายจากระบบการศึกษา คือขาดการติดต่อกับครูประจาช้ัน ไม่มีการส่งงาน
หรือการเขา้ เรียนในรปู แบบตา่ ง ๆ ตามทโ่ี รงเรยี นวดั นาวงดาเนนิ การจัดให้ตามบริบท ดงั นั้นในปกี ารศึกษา 2565
ได้ดาเนินการระยะเร่งดว่ น เพือ่ แกไ้ ขปัญหา และติดตามผเู้ รยี นดังน้ี
1. มาตรการระยะเร่งดว่ น

1.1 ด้านโอกาสในการเขา้ ถึงการศึกษา
ดาเนินงานโครงการ “พาน้องกลับมาเรียน” เพ่ือติดตาม และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่หลุดออกจากระบบ
การศึกษา และออกกลางคันให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา การบริการการศึกษาอย่างเหมาะสม รวมท้ังจัดหา
ทุนการศึกษาท่ีจาเปน็ สาหรบั ผูเ้ รียนยากจน

รายงานการดาเนนิ งาน
นโยบายเรง่ ดว่ น
12

1.2 ด้านคุณภาพการเรยี นรู้
โรงเรียนวัดนาวงเร่งดาเนินการ ดงั นี้

1.2.1 วัดและประเมินผลความรู้และทักษะของผู้เรียน ทุกระดับชั้นเม่ือขึ้นปีการศึกษา 2565
โดยเฉพาะในวชิ าพน้ื ฐาน ในระดบั ปฐมวยั เน้นพัฒนาการของเด็ก ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-3 เน้นอ่านออกเขียน
ได้ คิดเลขเป็น ระดับประถมศึกษาปีท่ี 4-6 เน้นผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของ ในวิชาภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ และพลศึกษา ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 เน้นด้านพฤติกรรมและการอยู่
ร่วมกันในสังคม ซึ่งสถานศึกษาอาจประยุกต์ใช้แบบวัดมาตรฐานที่มีอยู่หรือจัดทา แบบวัดขึ้นเองตาม ตัวช้ีวัด
ของหลักสูตรของสถานศึกษา อาจใช้วิธีการวัดหลายรูปแบบตามธรรมชาติของวิชาและวัยของผู้เรียน เช่น
แบบทดสอบข้อเขียน แบบสังเกต การสมั ภาษณ์ พูดคยุ เล่นเกม ทากจิ กรรม เป็นต้น เพอ่ื ใหค้ รูผู้สอนได้ข้อมูลพ้ืนฐาน
ความพร้อมของผู้เรยี น เพ่อื วางแผนจดั การเรยี นรไู้ ด้อย่างเหมาะสม

1.2.2 จัดสอนเสริม สอนพิเศษเพ่ิมความรู้และทักษะ ที่จาเป็นต้องเติมเต็มให้แก่ผู้เรียนตามความ
ตอ้ งการต้ังแต่ปีการศกึ ษา 2565 โดยดาเนินการตามบริบทของโรงเรียนในการเปิดสอนเสริมให้แก่ผู้เรียน ที่ต้องการ
เติมเตม็ ในดา้ นทม่ี ีปญั หา เช่น จัดสอนเป็นรายบุคคล รายกลุ่มในตอนเช้าก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ ช่วงพักกลางวัน
และช่วงหลงั เลิกเรยี น เปน็ ตน้

2. รปู แบบการจัดการศกึ ษา
จากโมเดลการบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนวัดนาวง NEW Work 4 S Model นามาขับเคล่ือนการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้
นวตั กรรม School based management Model in Covid-19 Epidemic โดยปีการศกึ ษา 2565 โรงเรียน
วดั นาวง จดั การเรียนการสอนในรูปแบบ On-Site ดาเนนิ การจดั การเรยี นการสอนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา
ปีการศึกษา 2565

NEW Work 4 S Model

13

การดาเนินงานการฟนื้ ฟู
ภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้

การดาเนินงานการฟ้ืนฟู
ภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้

จากการสังเคราะห์การวัดและประเมินผลความรู้ และทักษะของผู้เรียน หลังจากได้รับผลกระทบจาก
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และข้อเสนอแนะเชิงการปฏิบัติ รวมทั้ง
ขอ้ เสนอแนะจากการประชุม ไดด้ าเนนิ การฟน้ื ฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ตามแนวทางมาตรการฟน้ื ฟภู าวะถดถอย
ทางการเรยี นรดู้ งั รายละเอียดต่อไปน้ี

14

1. ปรบั หลักสตู รสถานศึกษา

จากการสังเคราะห์การวัดและประเมินผลความรู้ และทักษะของผู้เรียน หลังจากได้รับผลกระทบจาก
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และข้อเสนอแนะเชิงการปฏิบัติ รวมทั้ง
ข้อเสนอแนะจากการประชุม ไดด้ าเนนิ การฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้ ตามแนวทางมาตรการฟนื้ ฟูภาวะถดถอย
ทางการเรยี นรู้ดังรายละเอียดตอ่ ไปน้ี

2. ปรบั รูปแบบและวธิ ีการวัดและประเมนิ ผล

กาหนดหลักเกณฑ์ เคร่ืองมือ และวิธีการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ให้มีความยืดหยุ่นตามสถานการณ์
และบริบทของโรงเรียน ใช้วิธีการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของผู้เรียนในแต่ละ
ระดับช้ัน เน้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง การวัดและประเมินผลเน้นวัดพัฒนาการของผู้เรียนมากกว่า
ตัดสินผลการเรียน ลดการทดสอบท่ีไม่จาเป็นเน้นการวัดผลจากการปฏิบัติ เช่น การทาชิ้นงาน การส่งแบบฝึก
การส่งวิดีโอการอ่าน หรือวิดีโอการทากิจกรรมอื่น ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา
และใหข้ อ้ มลู ผลการประเมนิ ปอ้ นกลับแก่ผเู้ รียนอยา่ งสรา้ งสรรค์ เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นไดพ้ ัฒนาตนเอง

3. จัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการแลเช่ือมโยง
ประสบการณ์ในชวี ติ ประจาวนั ของผ้เู รยี น

จากสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ในช่วงปี พ.ศ. 2564 ผ้เู รยี นไมส่ ามารถมาเรียน
On-site ได้อย่างต่อเนื่อง ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ได้บูรณาการเน้ือหาวิชา และองค์ความรู้ที่สาคัญใน
กลุม่ สาระตา่ ง ๆ

15

ใช้ปรากฏการณ์หรือสถานการณ์ใหม่ ๆ มาเช่ือมโยง ความคิดรวบยอดในกลุ่มสาระต่าง ๆ เข้าด้วยกัน รวมทั้ง
เชื่อมโยงองค์ความรเู้ นื้อหาในบทเรยี นรว่ มกบั ประสบการณ์ในชีวิตประจาวันของผู้เรียนด้วยการเรียนรู้จากสิ่งใกล้ตัว
ผูเ้ รียนในชวี ิตจริง ดว้ ยการเรยี นรู้จากสงิ่ ใกลต้ ัวผู้เรียนในชวี ิตจรงิ

4. จดั การเรยี นรแู้ บบนาตนเองหรอื กากบั ตนเอง
ในการเรียนรอู้ ยา่ งเหมาะสมกบั ชว่ งวัยของผูเ้ รียน

จัดการเรียนรทู้ ่ีส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นตงั้ เป้าหมายและวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง ในช่วงสถานการณ์ Covid–
19 ระบาดหนักจนไม่สามารถมาเรียน On-site ได้ ผู้เรียนรับแบบฝึก และเรียนออนไลน์ที่บ้าน จากนั้นผู้เรียนทา
ขอ้ ตกลงกับครู โดยผเู้ รียนเปน็ ผกู้ าหนดวนั และเวลา ในการเข้ามาส่งงาน และทาแบบทดสอบกับครูผู้สอนได้เองเพ่ือ
สรา้ งความรับผิดชอบต่อหนา้ ที่ โดยครูคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นผมู้ มี วี นิ ัย กากบั ติดตามใหผ้ เู้ รยี นสามารถกากับตนเอง
จนบรรลเุ ปา้ หมายการเรียนรู้ เมื่อเปิดเรียน On-Site ในห้องเรียน ครูทาข้อตกลงการเรียนรู้ร่วมกันกับผู้เรียน ครูใช้
การเสรมิ แรงให้คาแนะนาปรึกษา และใหผ้ ู้เรยี นมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องจนบรรลุเป้าหมายการ
เรยี นรขู้ องผู้เรยี นท่ีตง้ั ไว้

5. ส่งเสริมการเรียนรู้ของผ้เู รียนรายบคุ คล

ครูวิเคราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบุคคล จากนั้นจัดทาแผนพัฒนาผู้เรียนรายบุคคล เปิดเรียน On-Site ผู้เรียนทุก
คนได้รับการเตรียมความพร้อม และความช่วยเหลือในการเรียนเพ่ือชดเชยการเรียนรู้ที่สูญหาย โดยครูจัดกิจกรรม
ซ่อมเสริมผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่งเสริมกิจกรรมและมอบหมายงานตามความถนัดของผู้เรียน รวมท้ังพัฒนาช่อง
ทางการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย ท่เี อือ้ ต่อการเรียนร้เู ป็นรายบุคคลสาหรบั ผเู้ รียนทุกช่วงวัย

6. จดั กิจกรรมทพี่ ฒั นาทกั ษะสงั คม
และอารมณข์ องผเู้ รยี น

ในช่วง 2 สัปดาห์แรกของการเปิดเรียน On-Site จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดีด้วยการ
ทางานร่วมกับเพ่ือน ๆ หรือให้ผู้เรียนร่วมทากิจกรรมเชิงสังคมท่ีเหมาะสม และการอยู่ร่วมกันในโรงเรียน เช่น
กิจกรรมปฐมนิเทศจัดทุกระดับชั้นพร้อมกัน โดยให้ความรู้เก่ียวกับระเบียบ การวัดประเมินผล ระเบียบวินัยของ
นักเรียน และความรู้เกี่ยวกับสุขอนามัย และกิจกรรม Big Cleaning ระดับอนุบาลใช้กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรม
กลางแจ้งและเกมการเลน่ กิจกรรมศนู ย์การเรียน ศลิ ปะสรา้ งสรรค์ และเกมการศึกษา ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1-3
กิจกรรมปรับพ้ืนฐาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4-6 การปรับพฤติกรรมผ่านกิจกรรม ลูกเสือ-เนตรนารี ระดับช้ัน
มธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 การปรับพฤติกรรมผ่านกิจกรรม ลูกเสือ-เนตรนารี และ โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม
และธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา (โรงเรียนสุจริต) เปน็ ต้น

16

หรือร่วมกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมหรือร่วมทากิจกรรมทางวิชาการใหม่ ๆ เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้ปรับตัว
และเกดิ แรงจงู ใจในการเรยี นรู้ ท้งั นี้ หากยงั มีภาวะของโรคระบาด กจิ กรรมตอ้ งออกแบบให้เหมาะกับความปลอดภัย
ของผู้เรยี น

7. พฒั นารปู แบบห้องเรียนเคล่ือนท่ี

จัดเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ตามความเหมาะสมของบริบท สถานการณ์ และความต้องการจาเป็นของพื้นท่ี สาหรับ
กรณีทีย่ งั มีความเส่ยี งของโรคระบาด โรงเรยี นตอ้ งดาเนินการภายใต้มาตรการป้องกันโรคอย่างเข้มงวดหรือ Bubble
& Seal

8. พฒั นาการจัดการเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning

ผสมผสานรูปแบบ กิจกรรม วิธีการจัดเรียนรู้แบบออนไลน์ ต่าง ๆ กับชั้นเรียนปกติอย่างยืดหยุ่นและมี
ประสิทธิภาพ และประยุกต์ ใช้ส่ือเทคโนโลยีที่หลากหลายตามความพร้อมและความถนัดของผู้เรียน เพื่อสร้าง
ความคนุ้ เคย ความพรอ้ มในการจดั การเรียนรู้ ยุคใหมใ่ ห้เกิดขึน้ ในสถานศกึ ษา เพ่ือปรับเปล่ียนการเรียนรู้ บทบาทครู
และผ้เู รยี นสูย่ คุ New normal

9. ออกแบบ พฒั นา และจดั สรรส่อื การเรียนรทู้ เี่ หมาะสม
และพฒั นาแหลง่ การเรยี นร้ทู สี่ ง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ อง
ผูเ้ รียนอย่างหลากหลาย

ส่งเสริมครูผู้สอนให้สามารถผลิตและใช้ส่ือการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความถนัดความต้องการ และความ
พร้อมของผู้เรียนรายบุคคล ท้ังส่ือออนไลน์ ออฟไลน์ และสื่อที่เป็นของจริง รวมท้ังพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่
หลากหลาย เออื้ ใหค้ รูผู้สอนและผเู้ รียนสามารถเลอื กใช้ไดต้ ามความเหมาะสมของกจิ กรรม

17

1. พฒั นาเทคนคิ การสอนของครู

โดยพฒั นาครูใหม้ ีสมรรถนะการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการ เทคนคิ การออกแบบการจัดการเรยี นรแู้ ละการ
จัดการชนั้ เรยี นของแบบการเรยี นรู้เชิงรุก (Active learning) การใชเ้ ทคนคิ การจดั การเรยี นรูท้ ี่นา่ สนใจ หลากหลาย
ดึงดูดความสนใจของผเู้ รียน

2. พัฒนาสมรรถนะดา้ นเทคโนโลยดี จิ ิทลั ของครู

โดยพฒั นาครผู สู้ อนทกุ ช่วงวยั ให้มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรทู้ ่ีใช้ส่ือและเทคโนโลยีในยุคดิจิทัลได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ พัฒนาเทคนิคการจัดการเรียนร้โู ดยใชเ้ ทคโนโลยที ม่ี ีความนา่ สนใจ สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
ใหแ้ ก่ผเู้ รียน ครูทุกคนไดร้ บั การเตรียมความพร้อมและการสนับสนุน เพื่อแก้ไขปัญหาความรู้ถดถอยของนักเรียนให้
สามารถนาเทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรมต่าง ๆ มาผสมผสานในการสอน รวมท้ังจัดทากรอบสมรรถนะดิจิทัล
สาหรบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เพอ่ื เปน็ กรอบที่ชัดเจนในการพัฒนาทักษะและสมรรถนะของครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา

3. ปรับบทบาทครใู หเ้ ปน็ โค้ชหรอื ผอู้ านวยความสะดวก
ในการเรยี นร้อู ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

โดยพัฒนากระบวนการโค้ชเพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้เรียน สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริม
ศกั ยภาพผู้เรียนตามความถนัด สร้างส่ิงแวดล้อมทางการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม แนะนาวิธีเรียนรู้ กระตุ้น และสร้างแรง
บันดาลใจในการเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผ้เู รยี น

18

4. ปรบั บทบาทผู้บริหารสถานศกึ ษาเปน็ Super Coach
สู่การเปล่ียนแปลงการจดั การเรยี นรู้ ในยคุ ดจิ ิทลั

โดยพัฒนากระบวนทศั นใ์ หม่ เสริมสร้างวสิ ัยทัศน์และกลยุทธ์ในการบริหาร และการจัดการเรียนรู้ เป็นผู้นา
การปรับหลักสตู ร การวางแผนพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้ การนิเทศและพัฒนาครู การจัดหาและพฒั นาเทคโนโลยี สื่อ
และแหลง่ เรียนรใู้ นสถานศึกษา รวมถงึ ระบบการดูแลช่วยเหลือผเู้ รยี น และการสร้างเครือข่าย ประสานความร่วมมือ
กบั ทกุ ฝ่ายอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

5. จดั ใหม้ ศี นู ย์พฒั นาครเู พื่อฟืน้ ฟูคุณภาพ
การเรยี นร้ใู นระดบั สถานศึกษา

เพือ่ ดาเนนิ การพัฒนาครู และครูผู้สอนมีความสะดวกในด้านการพัฒนาการเรียนการสอนยุคใหม่ โรงเรียน
วัดนาวงได้จัดทาห้องสตูดิโอ เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถเข้ามาใช้ในการถ่ายคลิปวิดีโอการสอน หรือจัดทาส่ือการสอน
ออนไลน์ได้

1. จัดทาหลักสตู รหรอื ค่มู อื สาหรบั ผปู้ กครอง

เพอ่ื สือ่ สารและสร้างความเขา้ ใจเกยี่ วกับการจัดการเรยี นการรใู้ ห้แก่ ผปู้ กครองได้เข้าใจอย่างชัดเจนเกี่ยวกับ
แนวปฏบิ ัติและการจัดการเรยี นการสอนของสถานศึกษา

19

2. สร้างปฏิสมั พนั ธ์และสมั พันธภาพทดี่ ี
ระหว่างครูผ้สู อนและผู้ปกครอง

โดยมรี ูปแบบ วิธกี าร ช่องทางการส่ือสารท่หี ลากหลาย เช่น facebook page ไลน์กลุ่มห้องเรียน ผู้ปกครอง
สามารถสื่อสาร ซกั ถาม แสดงคิดเห็นไดส้ ะดวก เพื่อให้ผปู้ กครองมีความเข้าใจท่ชี ัดเจน มีส่วนร่วมในการวางแผนการ
เรียน กากับ ติดตาม และสง่ เสริมสนบั สนนุ การเรยี นรขู้ องผู้เรยี น

คูม่ ือนกั เรยี น
โรงเรยี นวัดนาวง

โดยรวบรวมสื่อการเรียนรู้และนวัตกรรมการเรียนการสอนสาหรับ เผยแพร่ให้ครู ผู้เรียน และผู้ปกครอง
สามารถเขา้ ถงึ และใชส้ อื่ การเรียนรู้ร่วมกันได้ และครูผู้สอนสามารถแลกเปล่ียนและแบ่งปันส่ือ ในการจัดการเรียนรู้
ได้อย่างสะดวกกว้างขวางตามบรบิ ทของ สถานศกึ ษา

20

1. จัดสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมต่อการเรียนรู้

โดยโรงเรยี นวัดนาวง จดั บรรยากาศ อาคารสถานท่ใี หร้ ม่ รน่ื น่าอยู่ น่าดู น่ามอง ใหม้ ีบรรยากาศทเ่ี ป็นมิตรใน
การเรยี นรู้ สภาพหอ้ งเรียนสวยสะอาด บรรยากาศวชิ าการ ใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามสบายใจ เออ้ื ต่อการเรียนรู้ของผ้เู รยี น

2. ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาสขุ ภาพกายและ สุขภาพจิต

โดยให้ผู้เรียนมีกิจกรรมที่ผ่อนคลาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เพื่อลดความเครียด และวิตกกังวล
และเสรมิ แรงจูงใจเชงิ บวกในการเรียนรใู้ ห้แก่ ผเู้ รียน รวมท้งั สอดแทรกการเรียนรู้ทักษะการป้องกันภัยให้แก่ ผู้เรียน
ควบคกู่ ับการเรียนร้ดู า้ นวชิ าการ เพื่อปอ้ งกนั และสรา้ งความปลอดภัยด้านสุขภาพกายและใจแก่ผู้เรียน ด้วยกิจกรรม
การกฬี า และทักษะการสร้างอาชพี

3. เสริมสรา้ งทศั นคตทิ ดี่ ใี นการเรยี นรู้และการดาเนินชวี ิต

โดยทัง้ ผ้ปู กครองและครผู สู้ อนรว่ มกนั สง่ เสริมและพัฒนาทัศนคติที่ดีในการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองของ
ผู้เรียน พัฒนากรอบความคิดเชิงบวก ให้แก่ ผู้เรียนอย่างต่อเนื่องตามสถานการณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งการปลูกฝัง
คุณธรรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา โดยมีการพานักเรียนไป
ทาบญุ ทวี่ ดั นาวงทุกวันพระ

4. สง่ เสรมิ การรู้เทา่ ทนั ส่ือเทคโนโลยใี หแ้ ก่ผู้เรยี น

ให้ผู้เรียนมีความตระหนักและรู้เท่าทันสื่อ รวมถึงการเฝ้าระวัง และกากับติดตามผู้เรียนในการเข้าถึงส่ือ
เพราะสือ่ ที่ไมเ่ หมาะสม อาจส่งผลต่อการเรียนรแู้ ละสุขภาพจติ ของผู้เรียน

21

1. จดั สรรอินเทอร์เนต็ เพ่อื การศกึ ษา

โรงเรยี นวดั นาวงปรับปรุงเครอื ข่ายระบบสญั ญาณ Internet เพือ่ อานวยความสะดวกของครู ในการจดั การ
เรยี นการสอนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ

2. จดั หาอปุ กรณ์ เครื่องมอื และโปรแกรม ทท่ี นั สมยั แก่ครูผสู้ อน
เพื่อจัดการเรียนการสอนในยคุ ดิจิทัลไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยเร่งจัดหาอุปกรณท์ ่คี รมู คี วามจาเป็นต้องใช้

ในการจัดการเรียนการสอน เชน่ ชุดหูฟงั กล้อง โปรแกรมระบบ Sinology Cloud Server โรงเรยี นวัดนาวง

3. จัดตั้งศูนยส์ ่อื และเทคโนโลยที างการศกึ ษา
ในระดับโรงเรยี น

เพ่ือสนับสนนุ ช่วยเหลอื และให้คาปรกึ ษาแกค่ รผู ูส้ อน ให้สามารถใชเ้ ทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นการสอน
ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมเี จ้าหน้าที่ด้านเทคนิคทีส่ ามารถไปช่วยเหลือ สนับสนุนครูไดต้ ามความต้องการจาเปน็

22

จดั หาวคั ซีนใหแ้ ก่บุคลากรในโรงเรยี น มีการสรา้ งขวญั และกาลงั ใจใหแ้ กค่ รู ทีท่ ่มุ เทเสยี สละ และอุทิศตนเพื่อ
การเรียนการสอน เช่น การยกย่อง การเลื่อนข้ันเงินเดือน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การมอบเกียรติบัตรครู ดี
ไม่มีวนั ลา เปน็ ตน้

23

การพฒั นาคณุ ภาพ
การอ่านออก เขยี นได้ คิดเลขเป็น

12345

6 7 8 9 10

การพัฒนาคุณภาพ
การอ่านออก เขียนได้ คดิ เลขเป็น

จากการจดั การเรยี นรใู้ นรูปแบบ On-Hand On-Line และ On-deman ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
พบว่านักเรยี นโรงเรียนวดั นาวง โดยเฉพาะระดับชัน้ ประถมศึกษา มีภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ในด้านการอ่านออก
เขียนได้ คิดเลขเป็น เน่ืองจากขาดการฝึกฝนทบทวน และขาดความต่อเนื่องในการเรียนรู้ เม่ือโรงเรียนเปิดเรียน
On-Site ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ครูรวบรวมข้อมูลการเข้าเรียนของผู้เรียนใน 3 รูปแบบมาวิเคราะห์
พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ไม่สามารถเข้าถึงการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เม่ือเปิดภาคเรียนท่ี 2 ในรูปแบบ
On-site จึงได้วางแผนการจัดการเรียนการสอนเพื่อฟื้นฟูภาวะถดถอยของผู้เรียน และเพื่อลดช่องว่างการเรียนรู้
ระหวา่ งผเู้ รยี น ใหส้ ามารถเรียนไปพร้อมกนั ได้ดงั นี้

1. ปรับพนื้ ฐานใหน้ ักเรียนก่อนในช่วง 2 อาทิตย์แรกของการเปิดเทอม เน้นจัดกิจกรรมท่ีพัฒนาทักษะสังคม
และอารมณ์ของผูเ้ รียน

2. จดั หลักสตู รแบบเรง่ รัด กระชับเน้อื หาเพ่อื ฟน้ื ฟูภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้ ชว่ ยเหลือผู้เรียนในเน้ือหาที่มี
ปญั หา เนน้ เน้อื หาสาระการเรยี นรทู้ ีส่ าคัญจาเปน็ ในภาคเรยี นท่ี 1 เช่อื มโยงกบั ภาคเรยี นที่ 2

3. ในช่วงแรกของการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ในรูปแบบ On- Site การจัดการเรียนรู้ตารางปรับพ้ืนฐาน เน้น 5
วิชาหลัก ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สงั คมศกึ ษา และวชิ าอื่นสอนบูรณาการ

4. ปรบั รูปแบบและวธิ ีการวดั และประเมินผล เน้นการวัดประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
5. วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ซ่อมเสริมผู้เรียนท่ีอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ คิดเลขไม่เป็น เป็นรายบุคคล
ส่งเสรมิ กจิ กรรมและมอบหมายงานตามความถนดั ของผู้เรียน
6. ผสมผสานรูปแบบ กิจกรรม วธิ กี ารจัดเรียนรู้ท่เี คยใช้ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ นามาปรับใช้กับ
ช้ันเรียนปกติอย่างยืดหยุ่น และใช้สื่อเทคโนโลยีท่ีหลากหลายตามความพร้อมและความถนัดของผู้เรียน เพื่อสร้าง
ความคนุ้ เคย ความพร้อมในการจดั การเรียนรู้ยุคใหม่ใหเ้ กิดขึ้นในสถานศกึ ษา
7. ครูผู้สอนผลิตและใช้สื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับผู้เรียน โดยใช้สื่อให้หลากหลาย เช่น สื่อออนไลน์
ออฟไลน์ และส่อื ที่เปน็ ของจรงิ รวมทง้ั ชดุ กิจกรรมสาหรบั แก้ไขปญั หาผู้เรียน
8. ประเมินผู้เรียนด้วยวิธีการประเมินที่หลากหลาย เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน โดยเน้นการปฏิบัติจริง
มากกวา่ การประเมนิ ผลโดยการทาข้อสอบเพียงอย่างเดยี ว

ปกี ารศึกษา 2565

จากการจดั การศึกษาแบบ On-Site ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ที่ผ่านมา ทาให้ทราบถึงปัญหาของ
ผู้เรียน แนวทางการแก้ปัญหา จึงสามารถวิเคราะห์ และวางแผนเตรียมการดาเนินการปรับพื้นฐานให้แก่ผู้เรียนในปี
การศึกษา 2565 ได้ดงั นี้

24

1. ดาเนินการคดั กรองผเู้ รยี นในสปั ดาหแ์ รกของการเปดิ ภาคเรียน เดอื นพฤษภาคม
2. วิเคราะห์ และประเมินผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคล คดั กรองผเู้ รียนทีอ่ ่านไม่ออก เขียนไมไ่ ด้ คดิ เลขไม่เปน็
เพอื่ ดาเนินการพัฒนาผู้เรยี นตอ่ ไป
3. ครผู ู้สอนวิเคราะห์ผ้เู รยี นทอ่ี ่านไม่อออก เขียนไม่ได้ คิดเลขไม่เป็น จากน้ันจัดกลุ่มระดับความรู้ เป็นกลุ่ม
เก่ง กลาง อ่อน เพื่อให้สะดวกต่อการปรับพื้นฐาน โดยใช้นวัตกรรม แบบฝึกหัด ใบงาน ส่ือการสอนท่ีหลากหลาย
และเหมาะสมกบั การเรียนรขู้ องผู้เรียน
4. จัดตารางสอนปรับพ้ืนฐาน เน้นวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ เพื่อปูพื้นฐานให้นักเรียน และจัดสอนซ่อม
เสริมเพ่ิมเติมในช่วงเช้า ตอนกลางวัน และช่วงเย็น หลังเลิกเรียน ให้แก่ผู้เรียนท่ีอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ในแต่ละ
ห้องเรยี น
5. ครูผู้สอนผลิตและใช้สื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับผู้เรียน โดยใช้สื่อให้หลากหลาย เช่น สื่อออนไลน์
ออฟไลน์ และส่อื ท่เี ป็นของจรงิ รวมทั้ง นวตั กรรม หรอื ชุดกจิ กรรมสาหรบั แก้ไขปัญหาผเู้ รยี น
6. ประเมินพฒั นาการของผู้เรียนหลงั จากการเรียนปรบั พืน้ ฐาน

1. ประเมนิ สภาพแวดล้อม ตรวจสอบความเปลยี่ นแปลงของผู้เรยี น
การประเมินผเู้ รยี นรายบคุ คล เพ่ือประเมนิ ความรูพ้ ื้นฐานของนกั เรยี น และคดั กรองนักเรยี นอา่ นไม่ออก

เขยี นไม่ได้ คิดเลขไมเ่ ป็น เพอ่ื คัดเลอื กวิธกี ารสอน หรือนวัตกรรมที่จะนามาใชแ้ ก้ปญั หาผเู้ รยี น
2. การวางแผนในระดับสายชน้ั

เมอื่ ทราบข้อมลู พ้นื ฐานของผู้เรียน ครูชว่ ยกนั กาหนดแนวทางการแกป้ ญั หา เช่น ช่วยกนั กาหนดนวัตกรรม
ที่จะนามาใชแ้ กป้ ญั หา หรอื ชดุ กจิ กรรม และสือ่ ต่าง ๆ ท่จี ะนามาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนปรบั พนื้ ฐาน
ใหเ้ หมาะสมกบั ระดับความรขู้ องผเู้ รียน เก่ง กลาง อ่อน

25

3. สนบั สนุนพัฒนาครใู นการฟืน้ ฟกู ารเรยี นรู้ทีถ่ ดถอย
ครูตอ้ งได้รบั การพัฒนาและมองผู้เรียนให้ออกวา่ ผู้เรียนมีช่องว่างตรงไหน ต้องเติมเต็มส่วนไหน และครูต้อง

พฒั นา เทคนิค นวตั กรรม และสือ่ การสอน เพอื่ ให้เหมาะสมกบั ผเู้ รียน
4. การช่วยเหลอื ผูเ้ รียน

คือการพัฒนาตัวผู้เรียน ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือช่วยลดช่องว่างการเรียนรู้ การใช้ส่ือให้
เหมาะสมกับผู้เรียน และการจัดสภาพห้องเรียนให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ พร้อมทั้งดูแลสุขภาวะของผู้เรียนทั้ง
ทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สังคม และสติปัญญา
5. การติดตาม ปรบั ปรงุ และผลสะทอ้ นกลับ

เม่ือวางแผนการปรับพื้นฐานให้ผู้เรียน การใช้นวัตกรรม และส่ือการสอนเพ่ือแก้ไขปัญหาผู้เรียนท่ีมีภาวะ
ถดถอยทางการเรียนรู้ ในดา้ นอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ต้องมีการประเมินควบคู่กันเป็นระยะ คือก่อนการปรับ
พ้นื ฐาน ระหว่างการปรับพนื้ ฐาน และหลงั การปรบั พืน้ ฐาน เพ่ือศึกษาพัฒนาการของผู้เรียน และสะท้อนผลเพื่อการ
ปรับปรงุ หรอื ปรับเปลย่ี นให้เหมาะสมกบั ผูเ้ รียน

26

ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา

ความปลอดภัยในสถานศกึ ษา

จากการเปิดเรียนในรูปแบบปกติ (On-Site) การวางแผนการจัดการเรียนการสอนเพื่อฟ้ืนฟูสภาวะถดถอย
ของผู้เรียนนั้น โรงเรียนต้องสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้และสุขภาวะท่ีดีของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนมีความรู้สึก
ปลอดภัย เพือ่ ลดความเครยี ด ความวิตกกงั วล และเสริมแรงจงู ใจเชิงบวกในการเรียนรู้ให้แก่ผเู้ รียน รวมท้ังสอดแทรก
การเรยี นรู้ทักษะการป้องกันภัยให้แก่ผู้เรียนควบคู่กับการเรียนรู้ด้านวิชาการ โรงเรียนวัดนาวงจึงได้จัดทาโครงการ
ความปลอดภัยสถานศึกษา MOE Safety Center เพ่ือป้องกันและสร้างความปลอดภัยด้านสุขภาพกาย และใจ
แก่ผู้เรียน เมื่อผู้เรียนมีสุขภาพกายและใจที่ดี รู้สึกม่ันคง ปลอดภัย ผู้เรียนก็จะมีความพร้อมในการมาเรียน
และเปดิ รับเน้อื หาวิชาการ

ขน้ั ท่ี 1

ขนั้ ที่ 2

ข้นั ที่ 3

ความปลอดภยั สถานศึกษา

การวัดและการประเมนิ ผล

27

แผนภูมิแสดงผลร้อยละดา้ นพฤตกิ รรมและการอยู่รว่ มกันในสงั คม
ก่อนการทากิจกรรมของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-6

50 43.29 46.1 44.37 48.6 42.7
45 45.5

40 34.63 32.5 30.3 32.6
35
30
25 22.08 24.2 24.7
18.9
20
15 9.52
10

กลไกสูก่ ารปฏิบัติ5 ขั้นท่ี 1
0

และเง่ือนไขความสาเรจ็

ขัน้ ที่ 2

ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

จากการสังเคราะห์พบว่าการระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้ระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนต้อง
ปรับเปลี่ยนอย่างฉับพลัน จนปรับตัวไม่ทัน จากระบบปกติในโรงเรียนเป็นการเรียนรู้ท่ีบ้าน (Home-based
learning) จากระบบชนั้ เรยี นเป็นการเรียนรู้สว่ นบคุ คล (Personalized learning) โดยมีปัจจัยการเปล่ียนแปลงด้าน
เทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital disruption) เขา้ มาเปน็ โจทย์สาคญั ในการจัดการศึกษา ท้ังการจดั การศกึ ษาในช่วงสถาน -
การณ์วิกฤติของโรคระบาดและการพัฒนาการศึกษาหลังยุคโควิด-19 (Post-COVID) ท่ีจะส่งผลให้เกิดการปรับ
รูปแบบและวิธีการเรียนรู้พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน แขลั้นะกทาี่ ร3ปรับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา เป็น
Super Coach ครูผู้สอนจะต้องจดั การเรียนรูใ้ นยุคดิจทิ ลั อกี ทงั้ เทคโนโลยีจะเปน็ เครือ่ งมอื ท่ีสาคัญในการสร้างโอกาส
การเรียนรู้ตลอดชีวติ และพฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษาตอ่ ไปในยุคดิสรัปชนั

การวดั และการประเมนิ ผล

กลไกลสกู่ ารปฏิบตั ิ
และเงือ่ นไขความสาเร็จ

1.การสร้างการรับรูแ้ ละความตระหนักเก่ียวกับวกิ ฤตคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จะต้องสร้างความรู้
ความเข้าใจเก่ยี วกบั ทิศทางการพัฒนาการศกึ ษาไทยหลังยุคโควดิ จดุ เนน้ ความจาเปน็ เรง่ ด่วนในการพัฒนา
และมาตรการฟื้นฟภู าวะถดถอยทางการเรียนรแู้ กผ่ ู้เรยี น

2. การจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารฟื้นฟู ให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และสร้าง
ความร่วมมือ รว่ มกับการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning loss recovery)
ของโรงเรียน เพ่ือการนาไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม มีกิจกรรมการดาเนินงานที่ชัดเจน สอดคล้องกับความ
ต้องการจาเป็น กาหนดผู้รบั ผิดชอบ และสนับสนุนงบประมาณตามความเหมาะสมกับบริบท โดยคานึงถึงความพร้อม
และความแตกตา่ งกันตามบรบิ ทของผเู้ รียน

3. การทบทวน ปรับปรุง และกาหนดแนวทาง กฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ์ที่เก่ียวข้อง ให้เอื้อต่อการ
พัฒนาการเรียนการสอน โดยมีการปรับห้องเรียนเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมใช้เทคโนโลยีดิจิทัล อาทิ การจัดสรรส่ือ
เทคโนโลยี เครื่องคอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณ์ เคร่ืองมือการเรียน เรียนการสอนออนไลน์ หอ้ ง Math Discovery
หอ้ งคอมพิวเตอร์ หอ้ งเรยี นอจั ฉริยะ 4.0 สศู่ ตวรรษที่ 21 การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานดา้ นเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา

4. การเรง่ พัฒนาดจิ ิทลั แพลตฟอร์มการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือเช่ือมโยงระบบแพลตฟอร์มการเรียนรู้
ตั้งแต่ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา จนถึงระดับมัธยมศึกษา ให้เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยง
หลักสูตร สื่อ และทรัพยากร เพ่ือการเรียนรู้ให้ใช้งานร่วมกันได้อย่างท่ัวถึง และพัฒนาระบบการติดตามและ
ประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอน โดยใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ

5. ปรบั หลกั สตู รสถานศกึ ษาในระดับมัธยมศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา โดยสร้างหลักสูตร
เพ่ิมเติมในปีการศึกษา 2565 ในระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ไดแ้ ก่ แผนศิลปฯ์ ภาษา และแผนการกฬี า อาชีพ
เพอ่ื สง่ เสรมิ พฒั นานกั เรยี นให้สอดคล้องกบั จุดเนน้ ความตอ้ งการ ความถนดั ของนักเรียนและทอ้ งถิ่นอย่างเหมาะสม

6. เปดิ โอกาสใหค้ รผู ู้สอน ไดจ้ ัดการเรียนรูอ้ ยา่ งเต็มความสามารถ เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพบรบิ ท
และความต้องการจาเป็นของโรงเรียน

7. การบูรณาการการดาเนนิ งานกบั หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องทกุ ภาคสว่ น โดยบรู ณาการเชื่อมโยงการดาเนินงาน
ท้ังในระดับกลุ่มโรงเรียน ระดับพ้ืนท่ี ภาครัฐและเอกชน เพ่ือขับเคล่ือนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี
ดิจทิ ลั ให้มีความกา้ วหนา้ ทันการเปลี่ยนแปลง

28

ภาคนวก

แผนการจดั ประสบการณ

กิจกรรมการเตรยี มคกวาราศมกึพษรา้อปม์เมปวดิ ยั เรอยี านยุ 5-6 ปี
ระดบั ปฐมวัย

สาระการเรียนรู้

ครูผสู้ อน - โครงสร้างอวยั วะภายใน
- ระบบการทางานของอวัยวะภายใน
นางสาวกัลศณฏั ฐ์ สอนดี ตาแหน่ง ครู - ช่อื ของอวยั วะภายใน
- การดูแลรักษาอวยั วะภายใน

โรงเรียนบา้ นเดก็ ดวี ทิ ยาคม จงั หวดั เชียงใหม่ กจิ กรรมการเรียนรู้

สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4

แผนการจัดประสบการณ ขน้ั ท่ี 1 ขั้นดึงความรเู้ ดมิ เวลา 10 นาที

การศึกษาป์มวยั อายุ 5-6 ปี ครนู านักเรียนปรบมอื เป็นจังหวะ 1 2 3 4 5 ซ้ากนั
3 รอบและร้องเพลงออกกาลัง นักเรียนเคลื่อนไหว
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 รา่ งกายไปรอบ ๆ บริเวณหอ้ งเรียนอยา่ งอสิ ระเมอ่ื
เรื่อง ฉันคอื ฉนั ได้ยนิ สัญญาณ “หยดุ ” ให้หยุดเคล่อื นไหวทันที

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 ขนั้ ท่ี 2 ขั้นเติมความร้ใู หม่ เวลา 40 นาที
เรือ่ ง ตาแหน่งของอวยั วะภายใน
สอนวันที่ 30 สงิ หาคม 2564 - ครจู ดั บอรดอวยั วะภายในรา่ งกายและบตั รคาชือ่
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ของอวยั วะ ครจู ะชไี้ ปทต่ี าแหนง่ ของอวัยวะพรอ้ ม
ยกบัตรคาให้นกั เรยี นอา่ นตามบัตรคา 1 รอบ
มาตร์านการศกึ ษาระดับป์มวัย จากนัน้ นกั เรยี น ตอ้ งตอบเองโดยไม่มบี ตั รคา
- ครสู นทนาและให้ความรู้กบั นักเรียนเรือ่ งอวยั วะ
ม์.8 : อยรู่ ว่ มกับผู้อื่นไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ และปฏฐบิ ัติ ภายในร่างกาย ตาแหนง่ ของอวัยวะ และหนา้ ท่ี
ตนเป็นสมาชิกท่ดี ีของสงั คมในระบอบประชาธิปไตย ของอวัยวะ เชน่ หัวใจอยบู่ รเิ วณอกข้างซ้าย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเป็นประมุข ทาหน้าท่สี ูบฉดี เลอื ด เป็นต้น
ม์.9 : ใช้ภาษาสอ่ื สารได้เหมาะสมวัย
ม์.10 : มีความสามารถในการคิดที่เป็นพ้ืน์าน ขัน้ ท่ี 3 ขั้นสรปุ เวลา 10 นาที
การเรยี นรู้
ม์.12 : มีเจตคติทดี่ ตี อ่ การเรียนร้แู ละมคี วาม ครูสนทนาและสรปุ เร่อื งอวัยวะภายในรา่ งกาย
สามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมวัย ตาแหน่งของอวัยวะ และหน้าที่ของอวัยวะภายใน

สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้

จดุ ประสงคการเรียนรู้ K P A 1. บตั รคาและบตั รภาพอวยั วะภายในร่างกาย
2. บอรดอวัยวะภายในรา่ งกาย
1. นกั เรียนสามารถบอกชือ่ และหนา้ ที่ของอวยั วะภาย 3. กจิ กรรมโยงเส้นจบั คู่ ช่อื อวัยวะภายในร่างกาย
ในร่างกายได้ (K) และตาแหนง่ ของอวยั วะ

2 .นักเรยี นสามารถตอบคาถามจากบัตรคาและบัตร การวัดและการประเมินผล
ภาพอวยั วะภายในร่างกายได้ (P)
3. นกั เรียนมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มุง่ ม่ันในการทางาน เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ 1. หนงั สือเสริมประสบการณ
วิธีการวดั “ตวั เรา” หน้าท่ี 5-7
และรกั ความเป็นไทย (A)
1. ตรวจใบงาน
2. สังเกตุพฤติกรรม

แผนการจดั ประสบการณ

กิจกรรมปกรบาั รพศน้ืึกฐษาาปน์มวัย อายุ 5-6 ปี
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3

สาระการเรยี นรู้

ครูผ้สู อน - โครงสร้างอวัยวะภายใน
- ระบบการทางานของอวยั วะภายใน
นางสาวกัลศณฏั ฐ์ สอนดี ตาแหนง่ ครู - ชือ่ ของอวยั วะภายใน
- การดแู ลรักษาอวยั วะภายใน

โรงเรียนบา้ นเดก็ ดวี ทิ ยาคม จงั หวดั เชยี งใหม่ กิจกรรมการเรียนรู้

สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4

แผนการจดั ประสบการณ ขัน้ ที่ 1 ขั้นดึงความรเู้ ดมิ เวลา 10 นาที

การศึกษาป์มวัย อายุ 5-6 ปี ครนู านกั เรยี นปรบมือเป็นจังหวะ 1 2 3 4 5 ซ้ากนั
3 รอบและร้องเพลงออกกาลัง นกั เรยี นเคลอื่ นไหว
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 รา่ งกายไปรอบ ๆ บรเิ วณหอ้ งเรยี นอยา่ งอิสระเม่ือ
เรือ่ ง ฉันคือฉนั ได้ยินสัญญาณ “หยดุ ” ใหห้ ยุดเคลื่อนไหวทนั ที

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1 ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั เตมิ ความร้ใู หม่ เวลา 40 นาที
เรือ่ ง ตาแหนง่ ของอวัยวะภายใน
สอนวันที่ 30 สิงหาคม 2564 - ครูจัดบอรดอวัยวะภายในร่างกายและบตั รคาชอ่ื
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ของอวัยวะ ครจู ะช้ไี ปทตี่ าแหนง่ ของอวยั วะพรอ้ ม
ยกบตั รคาให้นักเรียนอา่ นตามบตั รคา 1 รอบ
มาตร์านการศึกษาระดบั ป์มวยั จากนั้นนกั เรียน ตอ้ งตอบเองโดยไมม่ บี ตั รคา
- ครูสนทนาและให้ความรู้กับนักเรียนเร่ืองอวยั วะ
ม์.8 : อยู่ร่วมกับผ้อู ่ืนได้อยา่ งมีความสุขและปฏฐบิ ัติ ภายในร่างกาย ตาแหน่งของอวัยวะ และหนา้ ท่ี
ตนเป็นสมาชิกท่ดี ขี องสังคมในระบอบประชาธปิ ไตย ของอวยั วะ เชน่ หัวใจอย่บู ริเวณอกข้างซ้าย
อนั มพี ระมหากษัตริยทรงเป็นประมุข ทาหน้าทส่ี บู ฉดี เลือด เป็นต้น
ม์.9 : ใชภ้ าษาส่อื สารได้เหมาะสมวัย
ม์.10 : มคี วามสามารถในการคิดที่เป็นพื้น์าน ข้นั ที่ 3 ข้นั สรุป เวลา 10 นาที
การเรยี นรู้
ม์.12 : มเี จตคติท่ดี ตี อ่ การเรียนรู้และมคี วาม ครสู นทนาและสรุปเรอื่ งอวัยวะภายในร่างกาย
สามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมวัย ตาแหนง่ ของอวัยวะ และหน้าท่ขี องอวัยวะภายใน

สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้

จุดประสงคการเรียนรู้ K P A 1. บัตรคาและบตั รภาพอวยั วะภายในร่างกาย
2. บอรดอวยั วะภายในร่างกาย
1. นกั เรยี นสามารถบอกช่ือและหนา้ ท่ขี องอวยั วะภาย 3. กิจกรรมโยงเส้นจบั คู่ ช่อื อวัยวะภายในรา่ งกาย
ในรา่ งกายได้ (K) และตาแหนง่ ของอวยั วะ

2 .นักเรยี นสามารถตอบคาถามจากบตั รคาและบัตร การวัดและการประเมนิ ผล
ภาพอวัยวะภายในรา่ งกายได้ (P)
3. นักเรยี นมีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการทางาน เครอื่ งมือทใ่ี ช้ 1. หนงั สอื เสริมประสบการณ
วิธีการวดั “ตวั เรา” หน้าท่ี 5-7
และรกั ความเป็นไทย (A)
1. ตรวจใบงาน
2. สงั เกตพุ ฤติกรรม

แผนการจดั ประสบการณ

กิจกรรมปกรบาั รพศน้ืึกฐษาาปน์มวัย อายุ 5-6 ปี
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4-6

สาระการเรยี นรู้

ครูผ้สู อน - โครงสรา้ งอวยั วะภายใน
- ระบบการทางานของอวยั วะภายใน
นางสาวกัลศณฏั ฐ์ สอนดี ตาแหนง่ ครู - ชือ่ ของอวัยวะภายใน
- การดแู ลรกั ษาอวยั วะภายใน

โรงเรียนบา้ นเดก็ ดวี ทิ ยาคม จงั หวดั เชยี งใหม่ กิจกรรมการเรียนรู้

สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4

แผนการจดั ประสบการณ ขัน้ ที่ 1 ขน้ั ดึงความรเู้ ดมิ เวลา 10 นาที

การศึกษาป์มวัย อายุ 5-6 ปี ครนู านกั เรียนปรบมือเป็นจังหวะ 1 2 3 4 5 ซ้ากนั
3 รอบและร้องเพลงออกกาลัง นกั เรยี นเคลอื่ นไหว
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 รา่ งกายไปรอบ ๆ บรเิ วณหอ้ งเรยี นอยา่ งอิสระเม่ือ
เรือ่ ง ฉันคือฉนั ได้ยินสัญญาณ “หยดุ ” ใหห้ ยุดเคลื่อนไหวทนั ที

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 1 ขน้ั ท่ี 2 ข้นั เติมความร้ใู หม่ เวลา 40 นาที
เรือ่ ง ตาแหนง่ ของอวัยวะภายใน
สอนวันที่ 30 สิงหาคม 2564 - ครูจัดบอรดอวัยวะภายในร่างกายและบตั รคาชอ่ื
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ของอวัยวะ ครูจะชี้ไปทตี่ าแหนง่ ของอวยั วะพรอ้ ม
ยกบตั รคาใหน้ กั เรียนอา่ นตามบตั รคา 1 รอบ
มาตร์านการศึกษาระดบั ป์มวยั จากนั้นนกั เรยี น ต้องตอบเองโดยไมม่ บี ตั รคา
- ครูสนทนาและให้ความรู้กับนักเรียนเร่ืองอวยั วะ
ม์.8 : อยู่ร่วมกับผ้อู ่ืนได้อยา่ งมีความสุขและปฏฐบิ ัติ ภายในร่างกาย ตาแหน่งของอวัยวะ และหนา้ ท่ี
ตนเป็นสมาชิกท่ดี ขี องสังคมในระบอบประชาธปิ ไตย ของอวยั วะ เช่น หัวใจอย่บู ริเวณอกข้างซ้าย
อนั มพี ระมหากษัตริยทรงเป็นประมุข ทาหน้าท่ีสบู ฉดี เลอื ด เป็นต้น
ม์.9 : ใชภ้ าษาส่อื สารได้เหมาะสมวัย
ม์.10 : มคี วามสามารถในการคิดที่เป็นพื้น์าน ข้นั ที่ 3 ข้นั สรปุ เวลา 10 นาที
การเรยี นรู้
ม์.12 : มเี จตคติท่ดี ตี อ่ การเรียนรู้และมคี วาม ครสู นทนาและสรปุ เรอื่ งอวัยวะภายในร่างกาย
สามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมวัย ตาแหนง่ ของอวัยวะ และหน้าท่ขี องอวัยวะภายใน

สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้

จุดประสงคการเรียนรู้ K P A 1. บัตรคาและบัตรภาพอวยั วะภายในร่างกาย
2. บอรดอวยั วะภายในร่างกาย
1. นกั เรยี นสามารถบอกช่ือและหนา้ ท่ขี องอวยั วะภาย 3. กิจกรรมโยงเส้นจบั คู่ ช่อื อวัยวะภายในรา่ งกาย
ในรา่ งกายได้ (K) และตาแหนง่ ของอวยั วะ

2 .นักเรยี นสามารถตอบคาถามจากบตั รคาและบัตร การวัดและการประเมนิ ผล
ภาพอวัยวะภายในรา่ งกายได้ (P)
3. นักเรยี นมีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการทางาน เครอื่ งมือทใ่ี ช้ 1. หนงั สอื เสริมประสบการณ
วิธีการวัด “ตวั เรา” หน้าท่ี 5-7
และรกั ความเป็นไทย (A)
1. ตรวจใบงาน
2. สงั เกตพุ ฤติกรรม

แผนการจดั ประสบการณ

กจิ กรรมปรบั ดา้ นพฤตกิ รรมกแาลระศกกึ าษรอาปย์รู่ มว่ วมัยกนัอาในยุส5งั -ค6มปี
ระดบั ชนั้ มธั ยมศสกึ าษระากปารีทเร่ี 1ียน-6รู้

ครผู สู้ อน - โครงสรา้ งอวยั วะภายใน
- ระบบการทางานของอวัยวะภายใน
นางสาวกลั ศณฏั ฐ์ สอนดี ตาแหน่ง ครู - ช่อื ของอวัยวะภายใน
- การดูแลรกั ษาอวยั วะภายใน

โรงเรยี นบ้านเด็กดวี ทิ ยาคม จังหวดั เชียงใหม่ กิจกรรมการเรียนรู้

สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4

แผนการจดั ประสบการณ ขนั้ ที่ 1 ข้นั ดงึ ความรู้เดิม เวลา 10 นาที

การศึกษาป์มวัย อายุ 5-6 ปี ครูนานักเรยี นปรบมอื เป็นจงั หวะ 1 2 3 4 5 ซ้ากนั
3 รอบและรอ้ งเพลงออกกาลัง นกั เรียนเคล่ือนไหว
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 รา่ งกายไปรอบ ๆ บริเวณหอ้ งเรียนอยา่ งอิสระเมอื่
เร่อื ง ฉนั คือฉนั ได้ยนิ สญั ญาณ “หยุด” ให้หยดุ เคลื่อนไหวทนั ที

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ขั้นท่ี 2 ข้นั เติมความรใู้ หม่ เวลา 40 นาที
เรื่อง ตาแหนง่ ของอวยั วะภายใน
สอนวันที่ 30 สงิ หาคม 2564 - ครูจัดบอรดอวัยวะภายในรา่ งกายและบตั รคาชอ่ื
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ของอวัยวะ ครูจะชไี้ ปทต่ี าแหนง่ ของอวัยวะพร้อม
ยกบตั รคาใหน้ ักเรียนอา่ นตามบตั รคา 1 รอบ
มาตร์านการศึกษาระดับป์มวัย จากน้ันนักเรียน ตอ้ งตอบเองโดยไมม่ ีบตั รคา
- ครูสนทนาและให้ความรกู้ ับนักเรียนเรื่องอวัยวะ
ม์.8 : อย่รู ว่ มกบั ผู้อื่นได้อยา่ งมคี วามสุขและปฏฐบิ ัติ ภายในรา่ งกาย ตาแหนง่ ของอวัยวะ และหน้าที่
ตนเป็นสมาชกิ ทดี่ ขี องสงั คมในระบอบประชาธิปไตย ของอวยั วะ เช่น หวั ใจอยบู่ รเิ วณอกขา้ งซา้ ย
อันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเป็นประมขุ ทาหน้าที่สูบฉดี เลือด เป็นตน้
ม์.9 : ใชภ้ าษาสื่อสารได้เหมาะสมวัย
ม์.10 : มคี วามสามารถในการคดิ ที่เป็นพื้น์าน ขน้ั ที่ 3 ข้ันสรุป เวลา 10 นาที
การเรยี นรู้
ม์.12 : มีเจตคตทิ ีด่ ีต่อการเรียนรแู้ ละมีความ ครูสนทนาและสรุปเร่อื งอวยั วะภายในรา่ งกาย
สามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมวยั ตาแหน่งของอวยั วะ และหนา้ ทข่ี องอวัยวะภายใน

สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้

จุดประสงคการเรียนรู้ K P A 1. บตั รคาและบตั รภาพอวัยวะภายในรา่ งกาย
2. บอรดอวยั วะภายในร่างกาย
1. นกั เรียนสามารถบอกชอ่ื และหนา้ ท่ีของอวยั วะภาย 3. กิจกรรมโยงเสน้ จบั คู่ ชื่ออวยั วะภายในรา่ งกาย
ในร่างกายได้ (K) และตาแหนง่ ของอวยั วะ

2 .นักเรียนสามารถตอบคาถามจากบัตรคาและบตั ร การวัดและการประเมินผล
ภาพอวัยวะภายในรา่ งกายได้ (P)
3. นักเรียนมวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการทางาน เครือ่ งมอื ที่ใช้ 1. หนังสอื เสริมประสบการณ
วิธีการวดั “ตวั เรา” หนา้ ที่ 5-7
และรกั ความเป็นไทย (A)
1. ตรวจใบงาน
2. สงั เกตุพฤติกรรม

แผนการจัดประสบการณ

คณะผกาู้จรศดั กึ ษทาปา์มวัย อายุ 5-6 ปี

วา่ ท่รี ้อยตรี จิรตั น์ อย่ยู ืน สาระการเรียนรู้

ครูผสู้ อผอู้นานวยการโรงเรียนวัดนาวง - โครงสร้างอวปัยระวธะภานายกรในรมการ

นางสนาาวงกสาัลวพศมิ ณพ์ทฏัิพฐย์์ ปญัสญอานบุญดี ตาแหนง่ ครู - ระบบการทางานของอวยั วะภายใน

รองผู้อานวยการโรงเรียนวดั นาวง - ชื่อของอวยั วระอภงาปยรใะนธานกรรมการ

- การดแู ลรกั ษาอวยั วะภายใน

โรงเรียนนาบงา้ สนาเวดพก็ ิมดพวี ์จทิ ันยทารค์ มคจนังขหยนัวดั เชยี งใหม่ กจิ กรรมการเกรรยี รมนกราู้ ร
สานักงานนเาขงตสพาื้นวทศีก่ ศาวิรศิมกึลษาประถบมรศรึกจษงาศเชลิ ียปง์ ใหม่ เขต 4
กรรมการ เวลา 10 นาที
แผนกานราจงสัดาปวอรระสิสาบการณอารมณ์ช่ืน ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั ดึงคกวรารมมรกูเ้ ดารมิ

นางสาวบุษรา โคตะบตุ ดา ครนู านักเรียนปรบกมรอืรมเปก็นาจร งั หวะ 1 2 3 4 5 ซ้ากัน
การศึกนษาางปส์าวมศวศยั วิ มิ อลายุ 5-6โนนปสี าย ร3่างรอกบายแไลปะรรออ้ บงเพๆลกบรงรรอเิมวอกณกากรหาอ้ ลงังเรนยี ักนเอรยยี า่นงเคอลสิ ือ่ระนเไมห่อื ว
เหรนอื่ ว่ งยกฉนานั ราคเงือรสยีฉานนัวรศู้ทริ ิพ่ี 1ร ได้ยนิ สญั ญาณ “หกยรรดุ ม”กใาหร้หยดุ เคล่อื นไหวทนั ที
รากทอง

เแรผื่อนงกตารนนาจแาาดังหงสสนกาา่งาววรขนกเอรนั่มิ งยี ตนอนพววรลรยัูท้ ว่ี 1ะภายวจงนีใขนคงึ าพะเนา ขั้นที่ 2 ขั้นเตมิ คกวรารมมรก้ใู าหรม่ เวลา 40 นาที
- ครูจดั บอรดอกวรัยรวมะกภาารยลใะนเรลา่ขงากนาุกยารและบตั รคาชอ่ื

สอนวนั ที่ 30 สิงหาคม 2564 ของอวยั วะ ครจู ะชี้ไปทต่ี าแหนง่ ของอวยั วะพรอ้ ม

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ยกบัตรคาใหน้ ักเรยี นอา่ นตามบตั รคา 1 รอบ

จากน้ันนักเรยี น ต้องตอบเองโดยไมม่ บี ตั รคา

มาตร์านการศกึ ษาระดับป์มวัย - ครสู นทนาและใหค้ วามร้กู ับนกั เรียนเรอ่ื งอวัยวะ

ม์.8 : อยูร่ ว่ มกับผอู้ ืน่ ได้อยา่ งมีความสุขและปฏฐบิ ัติ ภายในร่างกาย ตาแหน่งของอวัยวะ และหนา้ ที่
ตนเป็นสมาชกิ ท่ีดขี องสังคมในระบอบประชาธปิ ไตย
อันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเป็นประมุข ของอวัยวะ เชน่ หวั ใจอย่บู รเิ วณอกข้างซ้าย
ม์.9 : ใชภ้ าษาส่ือสารได้เหมาะสมวยั
ม์.10 : มคี วามสามารถในการคิดท่เี ป็นพื้น์าน ทาหน้าทส่ี บู ฉดี เลอื ด เป็นต้น
การเรยี นรู้
ม์.12 : มเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ การเรยี นรู้และมคี วาม ข้นั ท่ี 3 ข้นั สรปุ เวลา 10 นาที
สามารถในการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมวยั
ครสู นทนาและสรปุ เร่อื งอวัยวะภายในร่างกาย
ตาแหน่งของอวัยวะ และหนา้ ท่ขี องอวยั วะภายใน

สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้

จุดประสงคการเรียนรู้ K P A 1. บัตรคาและบัตรภาพอวยั วะภายในร่างกาย
2. บอรดอวัยวะภายในร่างกาย
1. นักเรยี นสามารถบอกชื่อและหนา้ ทข่ี องอวยั วะภาย 3. กจิ กรรมโยงเส้นจับคู่ ช่อื อวยั วะภายในร่างกาย
ในร่างกายได้ (K) และตาแหนง่ ของอวยั วะ

2 .นกั เรียนสามารถตอบคาถามจากบตั รคาและบัตร การวัดและการประเมนิ ผล
ภาพอวัยวะภายในร่างกายได้ (P)
3. นักเรียนมวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มั่นในการทางาน เคร่ืองมือที่ใช้ 1. หนังสือเสริมประสบการณ
วธิ ีการวดั “ตัวเรา” หน้าที่ 5-7
และรักความเป็นไทย (A)
1. ตรวจใบงาน
2. สงั เกตุพฤติกรรม

โรงเรยี นวัดนาวง

สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version