The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NESDC, 2020-03-03 03:16:19

รายงานประจำปี 2562 ของ สศช.

ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความเขม้ แข็งทางเศรษฐกจิ และแข่งขันไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน
การขับเคลื่อนความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รายงานด้านการจัดอันดับความสามารถใน
การแข่งขันของสถาบันนานาชาติในปี 2562 ซึ่งได้รับความสนใจและเป็นที่ยอมรับมาอย่างต่อเนื่องระดับสากล
โดยในสว่ นของสถาบนั IMD ระบวุ า่ ประเทศไทยมอี นั ดบั ดขี นึ้ 5 อนั ดบั มาอยใู่ นอนั ดบั ที่ 25 (จากอนั ดบั ที่ 30 ในปี 2561)
และยังเปน็ อนั ดบั 3 ในอาเซยี น ในส่วนของรายงานของ WEF ปีทีผ่ ่านมา ซ่งึ สะท้อนภาพยคุ ปฏวิ ัตอิ ตุ สาหกรรม 4.0
หรือ The Fourth Industry Revolution ประเทศไทยอยู่ในอันดับท่ี 40 จาก 140 ประเทศ ทั้งนี้ เพื่อพัฒนา
ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ สศช. ไดด้ ำ� เนนิ การพฒั นาขอ้ มลู และตดิ ตามความกา้ วหนา้ ในการขบั เคลอื่ น
และยกอนั ดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั มาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ไดแ้ ก่ การศกึ ษา/วเิ คราะหก์ ระบวนการเกบ็ ขอ้ มลู และรายงาน
ผลความสามารถในการแข่งขันของสถาบัน IMD และ WEF รวบรวมข้อมูล Hard data เพ่ือน�ำส่งให้สถาบัน IMD
ใชป้ ระกอบการจดั อนั ดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั ปี 2019 ดำ� เนนิ การรว่ มกบั สมาคมการจดั การธรุ กจิ แหง่ ประเทศไทย
จดั สัมมนา Executive Forum on Competitiveness 2019 เมือ่ วันท่ี 14 มีนาคม 2562 เพอื่ ใหข้ ้อมูลแก่ภาคเอกชน
สำ� หรบั การตอบแบบสอบถามของสถาบนั IMD และ WEF และจดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเรอื่ ง “การจดั ระบบและพฒั นา
ข้อมูลเพ่ือการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ” เมื่อวันท่ี 29 มีนาคม 2562 เพ่ือสร้างความรู้
ความเข้าใจดา้ นการจัดการข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ (Hard Data) ที่เกีย่ วขอ้ งกับความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

การพฒั นาฐานการผลติ ภาคเกษตรใหเ้ ขม้ แขง็ และการสร้างการเรียนรู้ร่วมกันในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ
และยั่งยืน สศช. ได้ขับเคลื่อนการพัฒนาภาคเกษตรให้ การพัฒนาภาคเกษตรให้เข้มแข็งและย่ังยืน และสามารถ
เขม้ แขง็ และยง่ั ยนื ในภารกจิ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ 1) การชแ้ี จง นำ� ไปใชใ้ นการกำ� หนดแนวทางในการขบั เคลอ่ื นเรอ่ื งดงั กลา่ ว
ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรกรรม ต่อไป โดยส�ำนักงานฯ ได้จัดสัมมนาและประชุมเชิง
ยั่งยืน พ.ศ. .... ต่อคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 7 ปฏบิ ตั กิ าร รวม 3 ครงั้ ไดแ้ ก่ (1) การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
ซ่ึงอยู่ระหว่างการพิจารณา 2) การประสานติดตามและ เรื่องการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันให้กับสินค้า
จัดท�ำรายงานความก้าวหน้าการด�ำเนินงานขับเคลื่อน เกษตรอินทรีย์ เพื่อความย่ังยืนในภาคเกษตร เม่ือวันท่ี
เกษตรกรรมย่งั ยืน ปี 2561 ของหนว่ ยงานต่าง ๆ ตามท่ี 15 - 16 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 จังหวัดนครปฐม (2) การจัด
นายกรัฐมนตรีส่ังการ 3) การศึกษาและติดตามการ ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและระดมความคดิ เหน็ เรอ่ื ง แนวทาง
ดำ� เนนิ งานงานเกษตรกรรมยัง่ ยืนและนโยบายด้านเกษตร การพัฒนาภาคเกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืนภายใต้บริบท
ทสี่ ำ� คัญ โดยการลงพืน้ ที่ 4 ครงั้ ประกอบด้วย (1) จังหวดั การเปล่ียนแปลงของโลก เมื่อวันที่ 19 – 21 กันยายน
ราชบุรี/กาญจนบุรี (2) จังหวัดสระแก้ว/ฉะเชิงเทรา 2562 จังหวัดนครปฐม และ (3) การจัดประชุมเชิง
(3) จงั หวดั สระบุร/ี นครราชสมี า และ (4) จงั หวดั เชยี งราย ปฏิบัติการ เรื่อง “แนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนา
เพอ่ื ติดตามการด�ำเนินงานตามนโยบายของรัฐ ทง้ั ในสว่ น เศรษฐกจิ ชวี ภาพเพอ่ื ความยง่ั ยนื ในภาคเกษตร” เมอื่ วนั ท่ี
ของการสง่ เสรมิ เกษตรกรรมยง่ั ยนื /เกษตรอนิ ทรยี /์ เกษตร 30 กนั ยายน 2562 ณ กรงุ เทพมหานคร
ปลอดภยั การส่งเสริมการท�ำเกษตรแปลงใหญ่ และการ การพฒั นานวตั กรรมเชงิ นโยบาย “การปฏริ ปู
ส่งเสริมเกษตรกรปราดเปร่ือง (Smart Farmer) ท�ำให้ ระบบการใหบ้ ริการและการสง่ เสรมิ SMEs” สศช. ได้ให้
ไดร้ บั ทราบขอ้ เทจ็ จรงิ และปญั หาอปุ สรรค เพอื่ นำ� ไปจดั ทำ� ความส�ำคัญกับการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ในฐานะที่
ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย และ 4) การจดั สมั มนาและประชมุ เป็นวิสาหกิจที่มีอยู่เป็นจ�ำนวนมาก และเป็นรากฐาน
เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เพื่อให้เกิดกระบวนการรับฟังความคิดเห็น ทางเศรษฐกิจส�ำคัญที่ก่อให้เกิดการจ้างงานและการ

50 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

กระจายรายไดข้ องประเทศ จงึ ไดน้ ำ� “Design Thinking” AI ซ่งึ จะช่วยใหส้ ามารถเข้าถึงขอ้ มูลได้ครอบคลมุ รวดเรว็
ซึ่งเป็นเคร่ืองมือในการก�ำหนดนโยบายรูปแบบใหม่มาใช้ และลดอคติในการตัดสนิ ใจ) การติดตามและสง่ ตอ่ การให้
ในการท�ำความเข้าใจปัญหาการให้ความช่วยเหลือแก่ ความชว่ ยเหลอื SMEs ตลอดวงจร ไปจนถงึ การประเมนิ ผล
SMEs ของภาครัฐอย่างลึกซึ้ง โดยให้ผู้ใช้ (Users) เป็น ท้ังในระดับธุรกิจและภาพรวมของแผน/โครงการภาครัฐ
ศูนย์กลาง และออกแบบระบบการให้ความช่วยเหลือ เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารปรบั ปรงุ วงจร PDCA (Plan-Do-Check-Act)
SMEs ท่ีมปี ระสิทธภิ าพ ตอบโจทยผ์ ูใ้ ช้ อันเปน็ การจัดท�ำ ให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน โดยให้ส�ำนักงานส่งเสริม
นโยบายทแ่ี ตกตา่ งไปจากรปู แบบการจดั ทำ� นโยบายแบบเดมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (สสว.) เปน็ หนว่ ยงาน
การศึกษาในคร้ังน้ีมีข้อเสนอแนะในการปฏิรูประบบการ หลกั ในการกำ� กบั ดแู ลและบรู ณาการการใหค้ วามชว่ ยเหลอื
ใหบ้ รกิ ารและการสง่ เสรมิ SMEs ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยยดึ SMEs ร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องท้ังหมด ท้ังนี้ สศช.
หลกั การทส่ี �ำคญั (Guiding Principles) 5 ประการ คือ ไดท้ ำ� งานรว่ มกนั อยา่ งใกลช้ ดิ กบั สสว. เพอื่ ปรบั ปรงุ ระบบ
(1) Inclusiveness ผู้ประกอบการทุกระดับรวมถึง ดงั กลา่ วใหม้ คี วามครอบคลมุ ครบถว้ นและมปี ระสทิ ธภิ าพ
ผู้ประกอบการรายย่อย (Micro Enterprises) สามารถ มากยิ่งขึ้น ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ
เข้าถึงได้อย่างเท่าเทียม (2) SMEs-very friendly ขนาดกลางและขนาดย่อมพิจารณา และผลักดันให้มี
ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงบริการของภาครฐั ได้สะดวก การดำ� เนนิ การอยา่ งเป็นรูปธรรมโดยเรว็ ตอ่ ไป
และมตี น้ ทุนต่ำ� มาก (3) SMEs’ Need Responsiveness
ผู้ประกอบการเป็นผู้เลือกใช้บริการได้ตามความต้องการ
(4) Professional & Quality Service การจดั ทำ� แผนงาน/
โครงการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ของหน่วยงาน
ท่เี กี่ยวขอ้ ง มคี ุณภาพ สามารถแก้ปญั หาเชิงลึกหรอื สร้าง
ความเข้มแข็งให้แก่ผู้ประกอบการที่มีระดับการพัฒนา
แตกต่างกัน และ (5) Quality over Quantity KPIs
การก�ำหนดตัวชี้วัดความส�ำเร็จท่ีเหมาะสมในเชิงคุณภาพ
สามารถวัดผลกระทบและน�ำไปสู่การปรับปรุงมาตรการ/
โครงการท่ตี อบโจทย์ผู้ประกอบการได้ดีย่งิ ข้นึ นอกจากน้ี
ยังได้ออกแบบระบบการปฏิรูปและพัฒนาระบบการ
ส่งเสริม SMEs ท่ีตรงตามหลักการดังกล่าวข้างต้น
ครอบคลมุ ตง้ั แตก่ ารขน้ึ ทะเบยี นเขา้ สรู่ ะบบของ SMEs กบั
ภาครฐั การวนิ จิ ฉยั ปญั หาและความตอ้ งการชว่ ยเหลอื ของ
SMEs โดยที่ปรึกษาท่ีมีความเชี่ยวชาญ (หรือประยุกต์ใช้

ยุทธศาสตร์ด้านการเตบิ โตท่เี ปน็ มติ รกับสิง่ แวดลอ้ มเพอ่ื การพัฒนาอยา่ งยั่งยนื

การประเมนิ ผลสัมฤทธิโ์ ครงการจดั ทีด่ นิ ทำ� กนิ ให้ชุมชน
ภายใตค้ ณะอนุกรรมการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ใิ นการด�ำเนนิ การจดั ทีด่ ินทำ� กนิ ให้ชมุ ชน

การจดั ทด่ี นิ ทำ� กนิ ใหช้ มุ ชนเปน็ นโยบายทสี่ ำ� คญั แห่งชาติ (คทช.) มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ
ของรัฐบาล และเป็นส่วนหน่ึงของยุทธศาสตร์ประเทศ ทง้ั นี้ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ในฐานะ
ด้านการลดความเหล่ือมล้�ำและการสร้างความเป็นธรรม ประธาน คทช. ได้ลงนามค�ำสั่งแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ
ในสงั คม โดยรฐั บาลไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการนโยบายทด่ี นิ ประเมินผลสัมฤทธ์ิในการด�ำเนินการจัดท่ีดินท�ำกินให้

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 51

ชมุ ชน โดยมสี ำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คม หมายเลขที่ 3931 อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว และพื้นที่
แหง่ ชาติ (สศช.) เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ าร เมอ่ื วนั ที่ 26 พฤศจกิ ายน ปฏริ ปู ท่ีดิน อ.ชยั บรุ ี จ.สุราษฎรธ์ านี (3) พ้ืนที่ป่าชายเลน
2558 ท�ำหน้าท่ีในการติดตามความก้าวหน้า รวบรวม 1 พื้นที่ ประกอบด้วย พื้นที่ป่าชายเลนบ้านคลองราง
ประเด็นปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึ้นจากการด�ำเนินงาน จ.สุราษฎร์ธานี (4) พื้นที่สาธารณประโยชน์ 2 พ้ืนท่ี
ในระดับปฏิบัติ พร้อมท้ังจัดท�ำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ประกอบด้วย พ้ืนที่ท�ำเลเลี้ยงสัตว์ทุ่งประเทียน้อย
เพ่ือให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ในการขับเคล่ือน สาธารณประโยชน์ จ.บุรรี ัมย์ และพื้นที่ตะกาดหนองเหีย่ ง
การด�ำเนินโครงการจัดที่ดินท�ำกินให้ชุมชนได้อย่างมี สาธารณประโยชน์ อ.เมอื ง จ.ตราด และ (5) พนื้ ทรี่ าชพสั ดุ
ป ระสิท ธิภ า พและ เ กิดผลสัมฤทธ์ิตามนโ ย บา ย 1 พนื้ ที่ ประกอบดว้ ย พนื้ ทรี่ าชพสั ดุ ปจ.259 จ.ปราจนี บรุ ี
ของรัฐบาล ซ่ึงท่ีผ่านมา สศช. ในฐานะฝ่ายเลขานุการ นอกจากน้ี ไดม้ กี ารจดั ประชมุ ระดมความคดิ เหน็ เพอื่ เผยแพร่
คณะอนุกรรมการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการด�ำเนินการ ผลการประเมินโครงการจัดท่ีดินท�ำกินให้ชุมชนในปี
จัดท่ีดินให้ชุมชน ได้ลงพ้ืนที่เพื่อติดตามความก้าวหน้า ทผี่ า่ นมา และรบั ฟงั ปญั หา ขอ้ คดิ เหน็ รวมทง้ั ขอ้ เสนอแนะ
การด�ำเนินโครงการจัดท่ีดินท�ำกินให้ชุมชน ในปี 2559 จากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นท่ีโครงการจัดท่ีดินท�ำกิน
และลงพื้นที่เพ่ือประเมินผลสัมฤทธ์ิการด�ำเนินโครงการ ใหช้ มุ ชน จำ� นวน 4 คร้ัง ประกอบดว้ ย คร้ังแรก เมอื่ วนั ท่ี
จัดท่ีดินท�ำกินให้ชุมชน ตาม CIPP Model (Context– 25 มิถุนายน 2562 ณ โรงแรมเค พาร์ค แกรนด์
Input-Process-Product Evaluation Model) ตั้งแต่ จ.สุราษฎรธ์ านี ครงั้ ทสี่ อง เม่ือวนั ที่ 2 กรกฎาคม 2562
ปี 2560 จนถึงปจั จุบนั ณ โรงแรม ไอบสิ สไตล์ เชียงใหม่ จ. เชยี งใหม่ ครั้งทสี่ าม
ในปี 2562 สศช. ได้มอบหมายให้ศนู ย์บรกิ าร เมือ่ วนั ท่ี 3 กันยายน 2562 ณ โรงแรมสนุ ีย์ แกรนด์ โฮเทล
วิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ติดตาม แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ จังหวัดอุบลราชธานี และ
ความก้าวหน้าการด�ำเนินการจัดที่ดินท�ำกินให้ชุมชน ครัง้ ที่ส่ี เมือ่ วันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2562 ณ โรงแรมใบหยก
โดยได้ลงพืน้ ทีจ่ ัดเกบ็ ข้อมูลแบบสอบถาม พรอ้ มท้ังรับฟงั สกาย กรงุ เทพฯ
ความคิดเห็นจากประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการจัดที่ดิน ท้ังน้ี สศช. จะจัดท�ำรายงานการประเมินผล
ท�ำกนิ ให้ชมุ ชนและเจ้าหนา้ ทที่ ป่ี ฏิบตั ิงานในพืน้ ที่ จ�ำนวน สัมฤทธิ์การจัดที่ดินท�ำกินให้ชุมชน รวมทั้งข้อเสนอแนะ
17 พน้ื ท่ี จำ� แนกออกไดเ้ ปน็ 5 ประเภทพน้ื ที่ ดงั นี้ (1) พน้ื ที่ เชิงนโยบายเพื่อขับเคล่ือนการด�ำเนินโครงการจัดที่ดิน
ป่าสงวนแหง่ ชาติ 10 พ้นื ท่ี ประกอบดว้ ย ป่าบางเบาและ ท�ำกินให้ชุมชนให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ
ป่าคลองเซียด จ.สุราษฎร์ธานี ป่าควนบ้าหวี จ.ตรัง เสนอตอ่ คณะกรรมการนโยบายทีด่ นิ แหง่ ชาติตอ่ ไป
ปา่ แมง่ าวฝง่ั ซา้ ย จ. ลำ� ปาง ปา่ แมแ่ จม่ จ. เชยี งใหม ่ ปา่ ดง
ธรรมชาติ จ.ตราด ปา่ ท่าโสม จ.ตราด ปา่ หว้ ยยอดมน
จ.อุบลราชธานี ปา่ ดง ภูโหลน่ จ.อุบลราชธานี ป่าเขาบนิ
จ.ราชบรุ ี และปา่ เขากรวดปา่ เขาพลอง จ.ราชบรุ ี (2) พนื้ ที่
ปฏิรูปที่ดิน 3 พื้นที่ ประกอบด้วย พื้นที่ปฏิรูปที่ดิน
หมายเลขที่ 421 อ.วังน�ำ้ เยน็ จ.สระแกว้ พน้ื ทป่ี ฏิรปู ทด่ี ิน

การประเมนิ ส่งิ แวดลอ้ มระดบั ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA)

1. การจัดท�ำโครงการน�ำร่อง SEA กับ Centre for Environmental Management: ICEM)
การพัฒนาเชงิ พื้นท:ี่ จังหวัดระยอง โดยความรว่ มมอื กับ เพื่อทดลองน�ำแนวทางการประเมินส่ิงแวดล้อมระดับ
ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ภายใต้สัญญาร่วมกับ ยุทธศาสตร์ (กันยายน 2561) ไปด�ำเนินการประยุกต์ใช้
ศนู ยก์ ารจดั การสง่ิ แวดลอ้ มระหวา่ งประเทศ (International ในการศึกษาจัดท�ำการประเมินส่ิงแวดล้อมระดับ

52 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาพื้นท่ี ซึ่งได้มีการจัดประชุม (กรุงเทพฯ และปริมณฑล) จงั หวดั กรงุ เทพฯ ระหว่างวนั ท่ี
เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและระดมความคดิ เหน็ จำ� นวน 4 ครง้ั ไดแ้ ก่ 3 - 4 และ 7 - 9 กรกฎาคม 2562
ครั้งท่ี 1 การปรึกษาหารือร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.2 การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรู้
ในการกำ� หนดขอบเขตและประเมนิ ขอ้ มลู พน้ื ฐาน เมอื่ วนั ท่ี ความเข้าใจเก่ียวกับ SEA และเผยแพร่ความส�ำคัญของ
24 เมษายน 2562 ณ จงั หวดั ระยอง ครง้ั ท่ี 2 การปรกึ ษาหารอื SEA ใหก้ บั ประชาชนทวั่ ไปและภาคกี ารพฒั นาทเี่ กยี่ วขอ้ ง
ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการประเมินผลกระทบของ รับทราบ และรับฟังความคิดเห็นเก่ียวกับการขับเคลื่อน
แผนพัฒนาจงั หวัดระยอง ปี พ.ศ. 2561 - 2565 เม่ือวันท่ี และจัดท�ำการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ของ
10 - 11 มิถุนายน 2562 ณ จังหวัดระยอง คร้ังท่ี 3 ประเทศไทย จ�ำนวน 2 ครัง้ คร้งั ละ 200 คน โดยครง้ั ที่ 1
การปรกึ ษาหารอื รว่ มกบั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการกำ� หนด จัดไปเม่ือวันที่ 27 พฤษภาคม 2562 และครั้งที่ 2 เมื่อ
แนวทางการพัฒนาจังหวัดระยองอย่างยั่งยืน เมื่อวันที่ วนั ที่ 7 พฤศจิกายน 2562
18 - 19 กรกฎาคม 2562 ณ จงั หวัดระยอง และครั้งที่ 4 2.3 การประชมุ ระดมความคดิ เหน็ เพอื่ ปรบั ปรงุ
บทเรียนที่ได้รับจากการด�ำเนินงานโครงการน�ำร่อง และพัฒนาข้อเสนอการจัดท�ำการประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์กับการพัฒนา ระดับยุทธศาสตร์ และแนวทางการประเมินส่ิงแวดล้อม
เชงิ พนื้ ท่ี และการปรบั ปรงุ แนวทางการประเมนิ สงิ่ แวดลอ้ ม ระดับยุทธศาสตร์ (SEA Guideline) (กันยายน 2561)
ระดบั ยทุ ธศาสตร์ (กนั ยายน 2561) เมอ่ื วนั ที่ 22 กรกฎาคม ให้มีความเหมาะสมและชัดเจนในการน�ำไปสู่การปฏิบัติ
2562 ณ กรุงเทพฯ จ�ำนวน 2 ครั้ง ครงั้ ละ 80 คน โดยคร้ังที่ 1จดั ไปเมอ่ื วันท่ี
2. การสร้างความรู้ความเข้าใจด้าน SEA 2 สิงหาคม 2562 และคร้ังท่ี 2 เมอ่ื วันที่ 3 กันยายน 2562
ให้กบั ทุกภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง ภายใต้โครงการขับเคลื่อน 3. การพฒั นาและปรบั ปรงุ ขอ้ เสนอการจดั ทำ�
การประเมนิ สง่ิ แวดลอ้ มระดบั ยทุ ธศาสตร์ โดยผา่ นการจดั SEA แนวทางการประเมินส่ิงแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์
ฝึกอบรมทางวิชาการดา้ น SEA ให้กบั ผูท้ �ำการศึกษาและ (SEA Guideline) และ (รา่ ง) ระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรี
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และการประชุมสัมมนาเผยแพร่ ว่าด้วยการประเมนิ สง่ิ แวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ พ.ศ. ....
ประชาสัมพันธ์ รวมทั้งการปรับปรุงและพัฒนาข้อเสนอ ให้มีความถูกต้องเหมาะสมตามหลักวิชาการ และมี
การจัดท�ำการประเมินส่ิงแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์และ ความชัดเจนในการนำ� ไปสู่การปฏบิ ตั ิ
แนวทางการประเมินส่ิงแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (SEA 4. การก�ำกับงานวิชาการโครงการ SEA
Guideline) ของประเทศใหม้ คี วามเหมาะสม ซง่ึ มกี จิ กรรม จำ� นวน 7 โครงการ ไดแ้ ก่ 1) โครงการศกึ ษา SEA สำ� หรบั
ทสี่ ำ� คญั ประกอบด้วย พ้ืนท่ีจัดต้ังโรงไฟฟ้าถ่านหินในภาคใต้ ของกระทรวง
2.1 การฝึกอบรมทางวิชาการด้านการ พลังงาน 2) โครงการศกึ ษา SEA พ้นื ทีล่ มุ่ น้ำ� 5 แห่ง คือ
ประเมินส่ิงแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ จ�ำนวน 6 ครั้ง พ้ืนท่ลี ุ่มน้�ำชี ลมุ่ นำ้� มูล ลมุ่ น้ำ� สะแกกรัง ลมุ่ น�ำ้ ปราจีนบุรี
ทว่ั ประเทศ ให้กบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ทง้ั ภาครัฐ เอกชน และลมุ่ นำ้� ภาคใตฝ้ ง่ั ตะวนั ออก ของสำ� นกั งานทรพั ยากรนำ�้
ประชาสังคม สถาบันการศึกษา/บริษัทที่ปรึกษา จ�ำนวน แห่งชาติ และ 3) โครงการ SEA ด้านการใช้ประโยชน์
900คนไดแ้ ก่ครงั้ ท่ี1(ภาคกลาง)จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ทดี่ นิ ของส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
ระหว่างวันที่ 8 – 12 กรกฎาคม 2562 ครง้ั ท่ี 2 (กรงุ เทพฯ และส่งิ แวดลอ้ ม
และปริมณฑล) จงั หวดั กรุงเทพฯ ระหวา่ งวนั ที่ 24 – 26
และ 30 – 31 กรกฎาคม 2562 ครง้ั ท่ี 3 (ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ) จังหวดั ขอนแกน่ ระหว่างวันท่ี 5 - 9 สิงหาคม
2562 ครงั้ ที่ 4 (ภาคใต)้ จังหวัดสงขลา ระหวา่ งวนั ท่ี 19
- 23 สงิ หาคม 2562 ครง้ั ท่ี 5 (ภาคเหนอื ) จงั หวดั เชยี งใหม่
ระหว่างวันท่ี 16 - 20 กันยายน 2562 และคร้ังท่ี 6

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 53

ยุทธศาสตร์ด้านการบรหิ ารจัดการในภาครัฐ

การป้องกนั การทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย

ผลงานการขับเคล่ือนแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 สู่การปฏิบัติ ภายใต้ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ
ในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย ในส่วนที่เก่ียวข้องกับภารกิจ
ของศูนยป์ ฏิบัติการต่อต้านการทจุ ริต (ศปท.) สศช. ในปงี บประมาณ 2562 มีดังน้ี

1. การดำ� เนนิ การรว่ มกบั หนว่ ยงานภายนอก สำ� นกั งาน ป.ป.ท. กำ� หนดใหส้ ว่ นราชการจดั ทำ� แผนบรหิ าร
สศช. โดย ศปท. รว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ความเสี่ยงการทุจริต ซ่ึงใช้มาตรฐาน Committee of
ในการขับเคลื่อนภารกิจด้านการส่งเสริมคุณธรรม Sponsoring Organization of the Tread Way
จริยธรรม การท�ำงานตามหลักธรรมาภิบาล และ Commission (COSO) เปน็ แนวทางเพอื่ เตรยี มการรองรบั
การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบ ดงั น้ี การเปลยี่ นแปลงทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ จากการดำ� เนนิ โครงการ/
1.1 ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ กั บ ส� ำ นั ก ง า น แผนงานที่ส�ำคัญ โดยต้องน�ำแนวคิดธรรมาภิบาลหรือ
คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ กรอบการประเมินความเส่ียงการทุจรติ ใน 3 ด้าน มาเปน็
(ส�ำนักงาน ป.ป.ช.) โดย สศช. ได้เข้าร่วมการประเมิน ปัจจัยในการวิเคราะหค์ วามเสี่ยง (ประกอบด้วย ด้านการ
คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงาน พิจารณาอนุมัติ อนุญาต ด้านความโปร่งใสของการใช้
ภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA) อ�ำนาจและต�ำแหน่งหน้าที่ และด้านความโปร่งใสของ
ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซึง่ การประเมินดังกลา่ ว การใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการทรัพยากร
ได้ถูกก�ำหนดให้เป็นกลยุทธ์ส�ำคัญของยุทธศาสตร์ชาติว่า ภาครัฐ) ทั้งนี้ หน่วยงานต้องคัดเลือกโครงการ/แผนงาน
ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 ส�ำคัญ และมีผลกระทบสูงต่อการบรรลุความส�ำเร็จตาม
(พ.ศ. 2560-2564) โดยคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันท่ี พันธกิจหรือประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงานอย่างน้อย
23 มกราคม 2561 เห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานละ 1 กระบวนงาน เพื่อน�ำมาจัดท�ำเป็นแผน
ทกุ หนว่ ยงานให้ความร่วมมือและเข้ารว่ มการประเมิน ITA บริหารความเส่ียงการทุจริต และรายงานสรุปผล
ดังกล่าวในระหว่างปีงบประมาณ 2561-2564 โดยใช้ การด�ำเนินงานตามแผน ฯ ส่งให้ส�ำนักงาน ป.ป.ท.
แนวทางและเครอ่ื งมอื การประเมนิ ตามทส่ี ำ� นกั งาน ป.ป.ช. ตามก�ำหนด เพื่อใช้ประกอบการประเมินผลองค์กรต่อไป
ก�ำหนด เพื่อน�ำไปสู่การยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้ โดยในปีงบประมาณ 2562 สศช.ได้พิจารณาคัดเลือก
การทุจรติ (Corruption Perception Index : CPI) ของ โครงการการบรหิ ารจดั การยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละการปฏริ ปู
ประเทศไทยใหส้ งู ขน้ึ ทง้ั น้ี สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ไดป้ ระกาศผล ประเทศ ซง่ึ เปน็ ภารกจิ หลกั ของสำ� นกั งานฯ จดั ทำ� เปน็ แผน
อยา่ งเป็นทางการ เมือ่ วันท่ี 17 ตุลาคม 2562 สรปุ ได้ว่า บริหารความเส่ียงการทุจริต และได้ส่งผลการด�ำเนินงาน
สศช. มีระดับผลการประเมิน ITA ในภาพรวมที่ 89.28 ตามแผนดงั กล่าวไปยงั สำ� นักงาน ป.ป.ท. แลว้ เมือ่ วันท่ี 31
คะแนน จัดอยู่ในกลุ่ม A โดยภายใต้คะแนนภาพรวมดัง กรกฎาคม 2562 และรายงานผลการด�ำเนินงานตาม
กล่าว ประกอบด้วยคะแนนตัวช้ีวัด 10 ตัว ซึ่งตัวช้ีวัดท่ี แผนฯ แล้ว 3 รอบ ไดแ้ ก่ รอบ 6 เดอื น รอบ 9 เดอื น และ
สศช. ได้คะแนนสูงสดุ คือ การปอ้ งกันการทจุ ริต ได้ 100 รอบ 12 เดอื น สรปุ ในภาพรวมไดว้ า่ สศช. สามารถดำ� เนนิ การ
คะแนน ไดต้ ามวตั ถุประสงค์ท่ีกำ� หนด และควบคุมความเสย่ี งการ
1.2 ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ กั บ ส� ำ นั ก ง า น ทจุ รติ ไดต้ ามแผนฯ ท�ำใหส้ ามารถปอ้ งกนั ความเสีย่ งได้
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 1.3 ความรว่ มมอื กบั สำ� นกั งานคณะกรรมการ
ในภาครัฐ (ส�ำนกั งาน ป.ป.ท.) ในปงี บประมาณ 2562 ข้าราชการพลเรือน (ส�ำนักงาน ก.พ.) ในปีงบประมาณ

54 รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

2562 สศช. ได้จัดท�ำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนจริยธรรม 1.4 ความร่วมมือกับส�ำนักงานปลัด
สศช. ตามที่ส�ำนักงาน ก.พ. ก�ำหนดและส่งรายงานผล ส�ำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) สศช. ได้เข้าร่วม
การดำ� เนนิ การตามแผนดงั กลา่ ว สรปุ ไดว้ า่ สศช. สามารถ การประเมินผลการด�ำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาองค์กร
บรรลุผลการด�ำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของแผนท่ี คุณธรรม ปี 2562 ซ่ึงเป็นภารกิจที่หน่วยงานภาครัฐ
กำ� หนดไว้2 ประการ ไดแ้ ก่ (1) การพฒั นา สศช. ใหเ้ ป็น ต้องด�ำเนินการให้สอดคล้องกับแผนแม่บทส่งเสริม
องค์กรทบี่ ริหารงานโดยยึดม่นั ในหลกั คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2559-2564) ตามมติ
และความโปร่งใสและเป็นท่ียอมรับของสังคม โดยใน คณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 12 กรกฎาคม 2559 และมี
ปงี บประมาณ 2562 สศช. มคี ะแนนการประเมนิ คณุ ธรรม ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นหน่วยงาน
และความโปร่งใสในภาพรวมอยทู่ ี่ร้อยละ 89.28 คะแนน ประสานและรวบรวมผลการประเมินจากหน่วยงานใน
ซ่ึงสูงกว่าเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ที่ระดับร้อยละ 85 และ สงั กดั สำ� นกั นายกรฐั มนตรสี ง่ ใหก้ รมการศาสนา กระทรวง
(2) การพัฒนาบุคลากรของ สศช. ท่ีเข้ารับการอบรม วฒั นธรรม ซง่ึ เปน็ หนว่ ยงานเจา้ ภาพหลกั ในการขบั เคลอื่ น
ทุกระดับให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีขวัญก�ำลังใจในการ แผนแม่บทดังกล่าว ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2562 สศช.
ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน และ ได้จัดท�ำและส่งรายงานการประเมินผลการด�ำเนินงาน
ประชาคม สศช. มีความเชื่อม่ันในระบบการรับเร่ือง ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรคุณธรรม ปี 2562 ระยะท่ี 1
รอ้ งเรยี น และตรวจสอบของ สศช. โดยมผี ลการดำ� เนนิ การ เรยี บรอ้ ยแลว้ โดยผลการดำ� เนนิ งานพบวา่ สศช. ผา่ นเกณฑ์
จากการจัดการฝึกอบรม “รทู้ ันจิต ชวี ติ เป็นสุข ปที ี่ 2” การเป็น “องค์กรส่งเสริมคุณธรรม” (ตามเกณฑ์
ภายใต้โครงการพัฒนาเชิงรุกเพื่อการป้องกันและ การประเมินระดับที่ 1 ตามท่ีกรมการศาสนาก�ำหนด)
ปราบปรามการทจุ รติ ใน สศช. ประจำ� ปงี บประมาณ 2562 ดว้ ยผลการประเมนิ 5 คะแนนจากคะแนนเตม็ 6 คะแนน
ตามทกี่ ำ� หนดไวใ้ นแผนปฏบิ ตั กิ ารดงั กลา่ ว พบวา่ บคุ ลากร ซึ่งครอบคลุม 3 ประเด็นหลักท่ีผู้บริหารและบุคลากร
สศช. ผู้ที่ผา่ นการอบรมได้รับความรหู้ ลังการอบรม เฉลี่ย ได้ด�ำเนินการร่วมกัน ได้แก่ การด�ำเนินกิจกรรม
ร้อยละ 85.36 และน�ำความรู้ท่ีได้จากการอบรมไป การประกาศเจตนารมณก์ ารตอ่ ตา้ นการทจุ รติ การกำ� หนด
ประยุกต์ใช้โดยเฉล่ียรอ้ ยละ 87.76 ซ่ึงสงู กว่าค่าเป้าหมาย เป้าหมายด้านคุณธรรมขององค์กร และการจัดท�ำแผน
ตัวชี้วัดท่ีก�ำหนดไว้ คือ ร้อยละ 70 และ ร้อยละ 80 ส่งเสรมิ คุณธรรมทีเ่ ปน็ เป้าหมายขององคก์ ร
ตามล�ำดบั

รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 55

2. การด�ำเนินการภายในหน่วยงาน สศช. จดั ทำ� สอื่ เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธเ์ กยี่ วกบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
โดย ศปท. ได้ด�ำเนินการภายในหน่วยงานเพื่อขับเคลื่อน กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเก่ียวข้องเผยแพร่ให้บุคลากร
ภารกิจด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การท�ำงาน สศช. และสาธารณชนทราบผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆ เปน็ ระยะๆ
ตามหลักธรรมาภิบาล และการป้องกันและปราบปราม มากกว่า 12 คร้ัง ยกร่างต้นฉบับเพ่ือการจัดท�ำคู่มือ
การทุจริตประพฤตมิ ชิ อบ ดังนี้ ข้อบังคับว่าด้วยจรรยาข้าราชการ สศช. พ.ศ. 2562
2.1 การแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ จดั กจิ กรรมขบั เคลอื่ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมระหวา่ งบคุ ลากร
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ใน สศช. ภายใตก้ ารฝกึ อบรม “รทู้ นั จติ ชวี ติ เปน็ สขุ ปที ี่ 2”
ภาครัฐและความม่ันคง ตามค�ำสั่งสภาพัฒนาการ โครงการพฒั นาเชงิ รกุ เพอื่ การปอ้ งกนั และปราบปรามการ
เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ท่ี 18/2562 (สง่ั ณ วันท่ี 11 ทจุ รติ ใน สศช. ประจำ� ปงี บประมาณ 2562 ในสถานทต่ี า่ ง ๆ
กนั ยายน 2562) มนี ายทวีศักด์ิ กออนันตกลู เปน็ ประธาน ร่วมกับเครือข่ายภายนอก ได้แก่ วัดอรุณราชวราราม
อนกุ รรมการ และเลขาธกิ ารสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และ ราชวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ มูลนิธิบ้านอารีย์ กรุงเทพฯ
สงั คมแหง่ ชาติ หรอื รองเลขาธกิ ารสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ วัดสวนแก้ว จังหวัดนนทบุรี วัดเทพศิรินทราวาส
และสังคมแห่งชาติ เป็นอนุกรรมการฯ มีอ�ำนาจหน้าท่ี ราชวรวิหาร พิพิธภัณฑ์พระพทุ ธศาสนา กรงุ เทพฯ และ
6 ประการ ประกอบด้วย (1) จัดท�ำข้อเสนอแนะ วัดโสมนัสราชวรวิหาร และผู้บริหารและบุคลากร สศช.
กรอบแนวทางการพัฒนาและกลไกการขับเคล่ือนระบบ ได้จัดกิจกรรมเพื่อสังคม ได้แก่ กิจกรรมบริจาคโลหิต
บริหารจัดการภาครัฐและความม่ันคง กลไกประเมินผล ณ สภากาชาดไทย ในปี 2562 เปน็ จำ� นวนทง้ั สน้ิ 4 คร้งั
กระทบระดบั ยทุ ธศาสตร์ ภายใตแ้ ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ และกิจกรรมบริจาคอุปกรณ์ท�ำขาเทียมส�ำหรับผู้พิการ
สังคมแห่งชาติเสนอสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม ใหโ้ รงงานทำ� ขาเทยี มพระราชทาน โรงพยาบาลแมส่ ะเรยี ง
แหง่ ชาต ิ (2) กำ� หนดแนวทางและหลกั เกณฑก์ ารวเิ คราะห์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน นอกจากนี้ สศช. ยังได้ศึกษาและ
แผน แผนงาน และโครงการพัฒนาของส่วนราชการ พัฒนาช่องทางรับแจ้งเบาะแสรับเร่ืองร้องเรียน ร้องทุกข์
องค์การมหาชน และรัฐวิสาหกิจ ด้านการบริหารจัดการ และจัดท�ำแบบบันทึกรับข้อร้องเรียน ร้องทุกข์ของ
ภาครฐั และความมน่ั คง เสนอสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และ เจา้ หนา้ ท่ี สศช. รวมทง้ั จดั ทำ� ประกาศเรอ่ื งวธิ กี ารรอ้ งเรยี น
สงั คมแห่งชาติ (3) กล่นั กรองแผน แผนงาน และโครงการ หลักเกณฑ์คุ้มครองผู้ร้องเรียน และแนวทางการเยียวยา
พฒั นาของสว่ นราชการ องคก์ ารมหาชน และรฐั วสิ าหกิจ ความเสียหายของผู้ถูกร้องเรียน โดยเผยแพร่ข้อมูล
ดา้ นการบรหิ ารจดั การภาครฐั และความมน่ั คง ตามท่ี สศช. ที่เก่ียวข้องบนเว็บไซต์ของ สศช. และศูนย์ปฏิบัติการ
เสนอ เพอ่ื ใหค้ วามเหน็ และขอ้ เสนอแนะตอ่ สภาพฒั นาการ ตอ่ ต้านการทุจรติ สศช. ด้วย
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (4) ติดตามรายงาน
การประเมินผลแผน แผนงาน และโครงการพัฒนาของ
สว่ นราชการ องคก์ ารมหาชน และรัฐวิสาหกิจ และเสนอ
รายงานด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภาครัฐและความมั่นคง ต่อสภาพัฒนาการ
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตเิ พอ่ื ทราบ (5) เชญิ บคุ คล หรอื
คณะบุคคล มาใหข้ ้อเท็จจรงิ คำ� อธบิ าย ความเห็น หรือ
ค�ำแนะน�ำเม่ือเห็นสมควร และ (6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นใด
ตามทสี่ ภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตมิ อบหมาย
การด�ำเนินการตามแผนปฏิบัติการขับเคล่ือน
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 พบว่า
ในปีงบประมาณ 2562 สศช. ได้พัฒนาองค์ความรู้และ

56 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ

ยุทธศาสตรด์ ้านการพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน

และระบบโลจิสติกส์

การขับเคล่อื นด้านการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน
รายงานการติดตามและประเมินผลการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตามแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 ในช่วงระยะคร่ึงแผน (พ.ศ. 2560-2562) แผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12 ได้กำ� หนดเปา้ หมายการพัฒนา
และตัวชวี้ ัดท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานในระดบั ภาพรวมจ�ำนวน 3 เป้าหมายทีส่ �ำคัญ ซงึ่ จากการติดตาม
และประเมินผลการพัฒนาฯ สรปุ เป้าหมาย ตัวชี้วดั และผลการพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานในระดับภาพรวม ดงั น้ ี

ตารางที่ 1 สรุปเป้าหมายและตัวช้วี ดั ผลการพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานในระดบั ภาพรวม

เป้าหมายและตวั ชว้ี ดั 2560 2561 2562 2563 2564

1. สดั สว่ นการใชพ้ ลงั งานข้ันสุดทา้ ยต่อผลติ ภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Energy Intensity: EI)
ลดลงเปน็ 7.7 พันตนั เทยี บเทา่ น�้ำมนั ดบิ /พันลา้ นบาท

ผลการตดิ ตามและประเมนิ ผล 7.89 7.85

2. สดั สว่ นต้นทนุ โลจสิ ติกส์ตอ่ ผลิตภัณฑม์ วลรวมในประเทศลดลงเป็นรอ้ ยละ 12

ผลการติดตามและประเมินผล ร้อยละ ร้อยละ

13.6 13.4

3. ต้นทุนคา่ ขนสง่ สนิ ค้าต่อผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศลดลงตำ่� กวา่ รอ้ ยละ 7

ผลการติดตามและประเมินผล ร้อยละ รอ้ ยละ

7.4 7.3

ที่มา : จากการรวบรวมขอ้ มลู ของ สศช.

เปา้ หมายสดั สว่ นการใชพ้ ลงั งานขนั้ สดุ ทา้ ยตอ่ การใชพ้ ลงั งานอยา่ งประหยดั และคมุ้ คา่ และการดำ� เนนิ การ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (EI)1 ลดลงเป็น 7.7 ตามกลยุทธ์หรือมาตรการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน อาทิ
พันตันเทียบเท่าน้�ำมันดิบ/พันล้านบาท การด�ำเนินงาน การบังคับใช้มาตรฐานอาคารก่อสร้างใหม่ การติดฉลาก
ระยะครง่ึ แผนฯ (ในปี 2561) ประเทศไทยมสี ัดส่วนการใช้ อุปกรณ์ประหยัดพลงั งาน และท่ีสำ� คัญ ไดแ้ ก่ การพฒั นา
พลงั งานขนั้ สดุ ทา้ ยต่อผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ หรอื โครงการและการด�ำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงานใน
EI อยู่ที่ 7.85 พันตันเทียบเท่าน้�ำมันดิบ/พันล้านบาท ภาคขนส่ง โดยเฉพาะการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ลดลงจากปี 2558 (ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11) ท่ีมี คมนาคมขนส่งระบบราง และการพฒั นาระบบโลจิสตกิ ส์
สัดสว่ นประมาณร้อยละ 8.18 โดยคา่ EI มีแนวโน้มลดลง ให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น ดังน้ัน จึงคาดว่าประเทศไทย
อย่างต่อเนื่องจากปี 2553 ซึ่งเป็นปีฐานที่เร่ิมด�ำเนินการ จะสามารถบรรลุเป้าหมายตัวช้ีวัดน้ีได้ที่ 7.70 พันตัน
ตามแผนอนุรักษพ์ ลงั งาน ซ่ึงปัจจยั ส�ำคัญทที่ ำ� ให้สามารถ เทยี บเท่าน�ำ้ มนั ดบิ ต่อพนั ล้านบาท
บรรลตุ ามเปา้ หมาย ไดแ้ ก่ นโยบายรัฐทใี่ หค้ วามส�ำคญั กบั

1 เปน็ ตวั ชว้ี ัดทสี่ ะทอ้ นวา่ สนิ คา้ และบริการข้นั สุดท้ายของประเทศ 1 หนว่ ยมูลคา่ ใชพ้ ลงั งานในการผลติ มากนอ้ ยเพียงใด
ซ่ึงหากตวั ช้ีวัดน้ีมแี นวโนม้ ลดลงอาจกล่าวไดว้ ่าประเทศมีประสิทธิภาพในการใชพ้ ลังงานทด่ี ีขึ้น

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 57

เป้าหมายสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ ภาพรวมการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของ
ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมในประเทศลดลงเปน็ รอ้ ยละ 12 และ ประเทศไทยมีผลการพัฒนาท่ีดีข้ึนโดยจากการจัดอันดับ
สัดส่วนต้นทุนค่าขนส่งสินค้าต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม ประสทิ ธภิ าพด้านโลจิสติกส์โดยธนาคารโลก (Logistics
ในประเทศลดลงตำ�่ กวา่ รอ้ ยละ 7 ในปี 2561 ประเทศไทย Performance Index : LPI) ในปี พ.ศ. 2561 ประเทศไทย
มีต้นทุนโลจิสติกส์และต้นทุนค่าขนส่งสินค้าประมาณ ไดร้ บั การจดั ใหอ้ ยใู่ นอนั ดบั ที่ 32 จาก 160 ประเทศทว่ั โลก
ร้อยละ 13.4 และ 7.3 ตอ่ GDP ลดลงจากปี 2560 ท่ีมี ปรบั ตวั สงู ขน้ึ อยา่ งกา้ วกระโดดจากอนั ดบั ที่ 45 ในปี 2559
ต้นทุนโลจิสติกส์และต้นทุนค่าขนส่งสินค้าร้อยละ 13.6 โดยมีคะแนนอยู่ท่ี 3.41 คะแนน สะท้อนให้เห็นถึง
และ 7.4 ตอ่ GDP ตามล�ำดบั ซ่ึงแม้ว่าต้นทุนโลจสิ ติกส์ การรบั รแู้ ละความพงึ พอใจในประสทิ ธภิ าพระบบโลจสิ ตกิ ส์
และต้นทุนค่าขนส่งสินค้าของประเทศจะมีแนวโน้มลดลง ของประเทศท่ีดีขึ้นในช่วงท่ีผ่านมา นอกจากนี้ต้นทุน
แต่อัตราการลดลงของต้นทุนดังกล่าวอยู่ในระดับต�่ำที่ โลจิสติกส์ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2560 มีมูลค่ารวม
ร้อยละ 0.1 - 0.2 ต่อปี 2,106.5พันล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 13.6
ขอ้ เสนอแนะ เพอ่ื ใหก้ ารขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรฯ์ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจ�ำปี
สามารถบรรลุเป้าหมายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานฯ ซงึ่ ลดลงจากรอ้ ยละ 13.8 ตอ่ GDP ในปี พ.ศ. 2559 และมี
ทกี่ �ำหนดไวใ้ นแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12 โดยเฉพาะการลด แนวโน้มท่ีคาดว่าจะลดลงต่อเนื่องเหลือร้อยละ13.4
ตน้ ทนุ โลจสิ ตกิ ส์ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งจะตอ้ งเรง่ รดั พฒั นา ต่อ GDP ในปี พ.ศ. 2561
โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่จะรองรับ
การขนสง่ สนิ คา้ ทางรางทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งดำ� เนนิ การใหแ้ ลว้ เสรจ็ ตน้ ทุนโลจสิ ติกสแ์ ละอันดบั LPI ปรับตัวดีขึน้
โดยเร็วหรือแล้วเสร็จตามแผนท่ีก�ำหนดไว้ โดยเฉพาะ สำ� หรบั การขบั เคลอ่ื นการพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์
บรเิ วณแหลง่ ผลติ สนิ คา้ เกษตรและอตุ สาหกรรม และประตู สศช. ไดด้ ำ� เนนิ การสรา้ งเครอื ขา่ ยพฒั นาความรว่ มมอื และ
การค้าของประเทศท่ีส�ำคัญ เช่น ท่าเรือ สนามบิน และ ติดตามการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ
ดา่ นชายแดน ทจี่ ะเปน็ การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการคมนาคม โลจิสติกส์จากภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในประเด็นการพัฒนา
และการเปลยี่ นแปลงรปู แบบการขนสง่ สนิ คา้ อนั จะนำ� ไป เพอ่ื เพมิ่ มลู คา่ ในหว่ งโซอ่ ปุ ทาน การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน
สกู่ ารชว่ ยลดตน้ ทนุ คา่ ขนสง่ สนิ คา้ ของประเทศในภาพรวม และสงิ่ อำ� นวยความสะดวก และการพฒั นาปจั จยั สนบั สนนุ
ตอ่ ไป ด้านโลจิสติกส์ในระดับนโยบายและระดับการพัฒนา
การขับเคลื่อนการพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์ เชงิ พน้ื ท่ี โดยการจดั ประชมุ ระดมความคดิ เหน็ พรอ้ มทง้ั ลง
ของประเทศไทย พื้นที่สำ� รวจเสน้ ทางการขนสง่ ตดิ ตามแผนงาน/โครงการ
การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย สำ� คญั ทม่ี ผี ลกระทบกบั การพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ สอ์ ยา่ งมี
ในช่วงที่ผ่านมาหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ นัยส�ำคัญ สร้างความรู้ความเข้าใจกับภาคีท่ีเก่ียวข้อง
ภาควิชาการ ได้ร่วมกันขับเคล่ือนการด�ำเนินงานภายใต้
กรอบแนวทางตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ
โลจิสตกิ สข์ องประเทศไทย ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564)
โดยในปี พ.ศ. 2562 เปน็ ชว่ งระยะเวลาครงึ่ แรกของแผนฯ
สศช. จึงไดท้ �ำการติดตาม และประเมินผลการด�ำเนนิ งาน
เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบในการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาระบบ
โลจิสติกส์ในระยะคร่ึงหลังของแผนฯ ให้มีประสิทธิภาพ
สามารถบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของแผนฯ ที่ได้
ก�ำหนดไว้ โดยสามารถสรุปประเด็นผลการพัฒนาได้ ดังน้ี

58 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

เพื่อให้ตระหนักถึงความส�ำคัญและเกิดความร่วมมือ ภาคใต้อย่างย่ังยืน การพัฒนาเทคโนโลยีที่จะเข้ามา
ในการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ รวมถึงการจัดท�ำ มีบทบาทในอนาคตและประเทศต้นแบบการพัฒนา
จดหมายข่าวการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ซ่ึงเป็นการ ดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ และการพฒั นาโลจสิ ตกิ สใ์ นภาคการเกษตร
รวบรวมขอ้ มลู การพฒั นาทนี่ า่ สนใจ บรบิ ทการเปลย่ี นแปลง นอกจากน้ียังได้สนับสนุนความร่วมมือในการแลกเปลี่ยน
ด้านต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศเผยแพร่ให้แก่ผู้สนใจ ข้อมูลทางวิชาการกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งในพ้ืนที่
ผา่ นเวบ็ ไซตข์ อง สศช. โดยในชว่ งทผ่ี า่ นมาไดม้ กี ารนำ� เสนอ ส่วนกลาง ภูมิภาค และประเทศเพื่อนบ้านที่จะน�ำไปสู่
ประเด็นส�ำคัญ อาทิ ประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ของ การพฒั นารว่ มกันอย่างยั่งยนื
ประเทศไทย กรอบแนวคดิ การพฒั นาพนื้ ทรี่ ะเบยี งเศรษฐกจิ

ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี

วิจัย และนวตั กรรม

ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวตั กรรม ในแผน โกกจลดาอจรงหสิพยมตทุฒั าิกธยนสศขา์า่ารสวะตบรบ์
พฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 มเี ปา้ หมายหลกั 2 ดา้ น ไดแ้ ก่ การเพมิ่ ความเขม้ แขง็ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยขี องประเทศ และเพม่ิ ความสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้ วทน. เพอ่ื ยกระดบั
ความสามารถในการแขง่ ขนั ของภาคการผลติ และบรกิ าร และคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน
ซึ่งที่ผ่านมามีความก้าวหน้าในการขับเคลื่อนการพัฒนา โดยสถาบัน IMD
จัดอนั ดบั ให้ประเทศไทยมโี ครงสรา้ งพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ดขี ึ้น 4 อันดบั ปรับจากอันดับที่ 42 ในปี 2561 ข้ึนมาอยู่
ท่อี นั ดับที่ 38 ในปี 2562 ขณะที่ อันดบั ความสามารถดา้ นนวตั กรรมของไทยขยับจากอันดับที่ 44 ในปี 2561 ขนึ้ มาอยู่
อนั ดบั ที่ 43 ในปี 2562 และแนวโนม้ การลงทนุ ดา้ นการวิจยั และพัฒนาเมือ่ เทยี บกบั GDP พบว่า เพ่ิมขึ้นจากรอ้ ยละ
0.37 ในปี 2554 เปน็ รอ้ ยละ 1 ในปี 2560 ซงึ่ คาดว่าจะเป็นไปตามเปา้ หมายท่ีกำ� หนดไว้รอ้ ยละ 1.5 ได้ ภายในส้ินสดุ
แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 หรอื ปี 2564

นอกจากนี้แล้ว ยังมีมาตรการขับเคล่ือนด้านต่าง ๆ
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนา เช่น การยกเว้นภาษีเงินได้
นิติบุคคลส�ำหรับค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
และนวตั กรรม การพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานทางวิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยีในเขตพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกด้วยเทคโนโลยี
และนวตั กรรมหรอื EECi ทมี่ งุ่ เนน้ การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยชี วี ภาพ
เมืองนวตั กรรมระบบอัตโนมตั หิ นุ่ ยนต์ และเมอื งนวตั กรรมการบนิ
และอวกาศ การสง่ เสรมิ การพฒั นา BCG Model ท่ีผลักดันให้เกดิ
การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ
สีเขียว เป็นต้น ซ่ึงนอกจากจะเป็นขับเคล่ือนเพ่ือบรรลุเป้าหมาย
การพฒั นาภายใตแ้ ผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 แลว้ ยงั มคี วามสอดคลอ้ ง
กับเปา้ หมายการพฒั นาทีย่ ่ังยนื หรือ SDGs อีกด้วย

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 59

60 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาภาค เมือง และพื้นทเี่ ศรษฐกิจ

การขับเคลอื่ นการพฒั นาเศรษฐกิจหลักเชิงพืน้ ที่ภาคเหนอื
(Northern Economic Cluster : NEC)

การพฒั นาภาคเหนอื ไดก้ �ำหนดพ้ืนทพี่ ฒั นาเศรษฐกจิ หลักและแนวทางการพฒั นา ดังน้ี

กลมุ่ พน้ื ทภี่ าคเหนอื ตอนบน พฒั นาใหเ้ ปน็ พน้ื ที่ ข้อจ�ำกัดในการเข้าถึงบริการของภาครัฐ ปลดล๊อคการใช้
เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Lanna Cluster) ประโยชน์พื้นที่ป่าไม้ และสร้างความม่ันคงในท่ีดินท�ำกิน
ประกอบด้วย 4 จงั หวัด ไดแ้ ก่ เชียงใหม่ เชยี งราย ล�ำพูน ตามโครงการจดั ทด่ี นิ ทำ� กนิ ใหช้ มุ ชน (คทช.) สนบั สนนุ การ
ลำ� ปาง โดยฟ้นื ฟู 4 เมืองเก่า พฒั นาแหลง่ ศิลปวัฒนธรรม ปรับระบบเกษตรตามแนวทางวนเกษตร และเกษตร
เช่ือมกับบริการท่องเที่ยว สร้าง Brand “Lanna ผสมผสาน พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวใหม่ พัฒนาเศรษฐกิจ
Heritage” และมงุ่ ผลกั ดนั ใหเ้ ปน็ เมอื งทอ่ งเทยี่ วทมี่ คี ณุ คา่ ฐานราก (Local Economy)
เชิงวัฒนธรรมระดับโลก เช่ือมโยงแหล่งท่องเท่ียวกับ ซึ่งในการจัดท�ำแผนปฏิบัติการเพ่ือขับเคลื่อน
Cultural Cities ใน GMS ตอนบน การพฒั นาเศรษฐกจิ หลกั เชงิ พน้ื ทภี่ าคเหนอื ไดด้ ำ� เนนิ การ
กลุ่มพ้ืนท่ีภาคเหนือตอนล่าง พัฒนาให้เป็น จดั ประชมุ ไปแลว้ 2 กลมุ่ พืน้ ท่ี คอื กลมุ่ Bio Economy
พนื้ ทเ่ี ศรษฐกจิ ฐานชวี ภาพหลกั ของประเทศ (Bio Economy Cluster เม่ือวันท่ี 26 กรกฎาคม 2562 ณ จังหวัด
Cluster) ประกอบด้วย 9 จังหวัด ได้แก่ นครสวรรค์ นครสวรรค์ และกลมุ่ Highland Development Cluster
ก�ำแพงเพชร พิจิตร พิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย เมอื่ วนั ท่ี 3 กนั ยายน 2562 ณ จงั หวดั นา่ น โดยการประชมุ
อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี โดยพัฒนาแหล่งอุตสาหกรรม ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และ
ฐานชีวภาพของประเทศ โดยมีนครสวรรค์เป็นศูนย์กลาง สถาบนั การศกึ ษาในพนื้ ที่ เพอ่ื รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ตอ่ กรอบ
จากฐานวัตถุดิบ ข้าว อ้อย และมันส�ำปะหลัง พัฒนา แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจหลักเชิงพื้นท่ีภาคเหนือ และ
ตอ่ ยอดการผลติ จากวตั ถดุ บิ ทางการเกษตรไปสผู่ ลติ ภณั ฑ์ เพื่อการน�ำเสนอแผนงาน โครงการส�ำหรับปีงบประมาณ
มลู คา่ สงู กลมุ่ พนื้ ทท่ี ย่ี งั มขี อ้ จำ� กดั เชงิ กายภาพ (Highland 2564 เพอ่ื ขบั เคล่อื นการดำ� เนินงานต่อไป ซึ่งผลจากการ
Development Cluster) ประกอบดว้ ย 4 จังหวัด ได้แก่ ประชุมทั้ง 2 กลุ่มพื้นที่ ที่ประชุมได้แสดงความคิดเห็น
แมฮ่ อ่ งสอน พะเยา แพร่ และนา่ น โดยพฒั นาและปรบั ปรงุ ต่อกรอบแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจหลักเชิงพ้ืนท่ี
โครงสร้างพืน้ ฐาน พฒั นาแหล่งน�้ำเพ่ือการเกษตร อุปโภค ภาคเหนือและน�ำเสนอแผนงาน โครงการท่ีเก่ียวข้องรวม
บรโิ ภค รวมทั้งพัฒนาระบบไฟฟ้าและระบบ ICT เพ่อื ลด ทงั้ สนิ้ 33 โครงการ สำ� หรบั กลมุ่ Creative Lanna Cluster
จะไดด้ ำ� เนนิ การจดั ประชมุ ระดมความคดิ เหน็ ในระยะตอ่ ไป


รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 61

การขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกิจหลักเชิงพื้นท่ี กลมุ่ พนื้ ทกี่ รงุ เทพฯ และปรมิ ณฑล ใหเ้ ปน็ พนื้ ที่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ศูนย์กลางบริการด้านโลจิสติกส์ โดยพัฒนาการขนส่ง
ต่อเน่ืองหลายรูปแบบที่เน้นการพัฒนาระบบเช่ือมต่อ
การพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ก�ำหนด พฒั นาระบบอ�ำนวยความสะดวกทางการค้า พัฒนาพน้ื ที่
พนื้ ทีพ่ ัฒนาเศรษฐกิจหลักและแนวทางการพฒั นา ดังนี้ โดยรอบสถานขี นส่งมวลชนขนาดใหญ่ในเมอื ง จัดตง้ั ศนู ย์
พ้ืนที่พัฒนาผลิตภัณฑ์พื้นถ่ินที่มีอัตลักษณ์ รวบรวมและกระจายสนิ คา้ (CDC) และศนู ยก์ ระจายสนิ คา้
เฉพาะคุณภาพสูง โดยพัฒนาศูนย์กลางแฟช่ันผ้าไหม ยอ่ ยในเขตเมอื ง พฒั นาบรกิ ารและบคุ ลากรดา้ นโลจสิ ตกิ ส์
ผา้ ฝ้าย ผ้ายอ้ มคราม ทอ่ี ดุ รธานี หนองบวั ลำ� ภู สกลนคร และสง่ เสรมิ การนำ� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาพฒั นาบรกิ าร
ส่งเสริมการเลี้ยงโคเน้ือคุณภาพสูงที่สกลนคร มุกดาหาร ดา้ นโลจิสติกส์
นครพนม และส่งเสริมการปลูกพืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ พน้ื ทจ่ี งั หวดั ปทมุ ธานี ใหเ้ ปน็ “ศนู ยก์ ลางวจิ ยั
เมืองหนาว สมุนไพร ในพ้ืนที่เลย อุดรธานี สกลนคร และนวัตกรรม” โดยสร้างนวัตกรรมให้กับอุตสาหกรรม
นครพนม ฐานเดิม (S-curve) พัฒนาเกษตรกร ผู้ประกอบการ
พื้นท่ีเศรษฐกิจฐานชีวภาพและอุตสาหกรรม วสิ าหกจิ ชมุ ชน ผปู้ ระกอบการ SMEs และวสิ าหกจิ เรม่ิ ตน้
เกษตรมูลค่าสูง โดยพัฒนาข้าวหอมมะลิในพ้ืนท่ีทุ่งกุลา (Startup) สู่ Smart Farmer และ Tech Startup และ
ร้องไห้และทุ่งสัมฤทธิ์ พัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปเน้ือ ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โดยอาศัยการด�ำเนินงานของ
คุณภาพสูงท่ีนครราชสีมา และพัฒนาฐานอุตสาหกรรม เครือข่ายนวัตกรรมร่วมกับเครือข่ายเกษตรกร ภาครัฐ
ชีวภาพ ที่มีศนู ยก์ ลางการพฒั นาท่ีขอนแกน่ นครราชสมี า ภาคเอกชน ในการขยายผลเกษตรปลอดภัยและเกษตร
อุบลราชธานี อนิ ทรยี ใ์ หเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย เพมิ่ ความหลากหลายของ
พ้ืนที่ฐานอุตสาหกรรมอนาคต โดยพัฒนา ผลิตผลการเกษตร เพิ่มผลติ ภาพ และสรา้ งมลู ค่า รวมทง้ั
อุตสาหกรรมการบนิ ในพ้ืนที่นครพนม ร้อยเอ็ด ขอนแก่น เชื่อมโยงไปสู่การท่องเท่ียวสีเขียว (Green & Organic
และพฒั นาอตุ สาหกรรมระบบรางทข่ี อนแกน่ นครราชสมี า Tourism) ตลอดจนสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ผปู้ ระกอบการทอ่ งเทยี่ ว
พนื้ ทที่ มี่ ศี กั ยภาพสงู ในการดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทยี่ ว กลุ่มพื้นท่ีที่มีศักยภาพด้านการผลิตและ
โดยพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวริมแม่น้�ำโขงในพ้ืนที่ แปรรปู สนิ คา้ เกษตร ใหเ้ ปน็ แหลง่ อตุ สาหกรรมเกษตรและ
7 จังหวัดริมแม่น้�ำโขง พัฒนาและส่งเสริมการท่องเท่ียว อตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู มลู คา่ สงู โดยพฒั นาเปน็ แหลง่
อารยธรรมอีสานใต้ ท่ีนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ผลติ สนิ คา้ เกษตรมลู คา่ สงู พฒั นากระบวนการผลติ สรู่ ะบบ
ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ส่งเสริมและพัฒนาอุทยานธรณี มาตรฐานความปลอดภัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและ
โคราช (Khorat Geopark) สู่การรับรองให้เป็นอุทยาน นวัตกรรมเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มและความหลากหลายของ
ธรณีโลกของยูเนสโก (UNESCO Global Geoparks) ผลิตภัณฑ์ พัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้เป็นเกษตรกร
ใช้ประโยชน์จากการเป็นศูนย์กลางการท่องเท่ียวเชิงกีฬา อจั ฉรยิ ะ พฒั นาระบบการขนสง่ เพอื่ ลดตน้ ทนุ การผลติ และ
ของจังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจ ความเสยี หายจากการขนสง่ รวมทง้ั สนบั สนนุ การเชอ่ื มโยง
ชุมชน และพัฒนาและส่งเสริมการท่องเท่ียวชุมชนช้าง หว่ งโซก่ ารผลติ ทงั้ ภายในภาค ระหวา่ งภาค และตา่ งประเทศ
(Elephant World) ทีส่ รุ นิ ทร์ และพฒั นารปู แบบทางการตลาด และวธิ กี ารในการเขา้ ถงึ
ลกู คา้ ท่ีหลากหลาย
การขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจหลักเชิงพื้นท่ี กลมุ่ พน้ื ทชี่ ายฝง่ั ทะเลตะวนั ตก พฒั นาเชอื่ มโยง
ภาคกลางและพนื้ ที่กรงุ เทพมหานคร การท่องเที่ยวกับจังหวัดชุมพร และระนอง ของภาคใต้
โดยฟื้นฟูและจัดระเบียบพ้ืนที่หาดชะอ�ำ-หัวหิน อนุรักษ์
การพฒั นาภาคกลางและพนื้ ทก่ี รงุ เทพมหานคร และพัฒนาเมืองเก่าเพชรบุรี ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ได้ก�ำหนดพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจหลักและแนวทาง โครงการพระราชด�ำริและการท่องเที่ยวตามรอย
การพฒั นา ดงั น้ี

62 รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ

ประวัติศาสตร์ตามยุคสมัยของพระมหากษัตริย์ในแต่ละ พื้นท่ีท่องเท่ียวเชิงเกษตร (Agro-tourism)
พระองค์ พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรม ไดแ้ ก่ ระยอง จนั ทบรุ ี และตราด โดยฟืน้ ฟูแหล่งท่องเท่ียว
การท่องเท่ียวให้มีความหลากหลายและเชื่อมโยงกับ ปรบั ปรงุ ภมู ิทศั น์ พัฒนาเส้นทาง สิง่ อ�ำนวยความสะดวก
เสน้ ทางท่องเท่ียวกับแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดชุมพรและ ความปลอดภัย ระบบโลจิสติกส์ กิจกรรมการท่องเท่ียว
ระนองของภาคใต้ พัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน และ สินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียวให้ได้มาตรฐานสากล
พัฒนายกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าและธุรกิจบริการ สอดคล้องกับเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ของชุมชน และ
การท่องเท่ยี วอย่างสร้างสรรค์ เป็นธรรมชาติ รวมทั้งสอดคล้องกับความต้องการของ
นักท่องเท่ียว พัฒนาบริการที่เก่ียวเนื่องกับการท่องเที่ยว
การขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจหลักเชิงพื้นท่ี ให้ได้มาตรฐาน สร้างความรู้ ความเข้าใจ และการมี
ภาคตะวนั ออก สว่ นรว่ มใหก้ บั ชมุ ชน รวมทง้ั สรา้ งระบบการบรหิ ารจดั การ
การท่องเทยี่ วเชงิ เกษตรในชุมชน และพฒั นาระบบตลาด
การพฒั นาภาคตะวนั ออกไดก้ ำ� หนดพนื้ ทพ่ี ฒั นา และประชาสมั พนั ธ์ โดยการใชส้ อื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การจดั ทำ�
เศรษฐกจิ หลักและแนวทางการพัฒนา ดงั นี้ และเผยแพร่หนังสั้นที่เก่ียวข้องกับแหล่งท่องเที่ยว และ
สรา้ งเครอื ข่ายเชอื่ มโยงกบั แหล่งทอ่ งเทีย่ วอน่ื ๆ


การขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกิจหลักเชิงพื้นท่ี
ภาคใตแ้ ละภาคใตช้ ายแดน

การพัฒนาเศรษฐกิจหลักเชิงพ้ืนท่ี ในพื้นท่ี
ภาคใต้ ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาศักยภาพส�ำคัญของ
พน้ื ที่ โดยมปี ระเดน็ และแนวทางการพฒั นาท่สี �ำคญั ดงั น้ี

พ้ืนที่เมืองผลไม้และพชื สมนุ ไพร (Fruit and พ้ืนท่ีภาคใต้ฝั่งอันดามัน ให้ความส�ำคัญกับ
Herb Cities) ไดแ้ ก่ จันทบรุ ี ตราด ปราจีนบุรี นครนายก การพฒั นายกระดบั มาตรฐานดา้ นการทอ่ งเทย่ี วในพนื้ ที่
และสระแก้ว โดยยกระดบั จันทบุรี ตราด ปราจนี บุรี และ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน โดยมีแนวทางพัฒนา
นครนายกให้เป็นมหานครผลไม้เมืองร้อนแห่งเอเชีย ส�ำคัญ ประกอบด้วย (1) พัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟู แหล่ง
ยกระดับพืชสมุนไพรปราจีนบุรี จันทบุรี สระแก้วให้เป็น ทอ่ งเทยี่ วทางทะเลใหส้ ามารถรองรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วไดอ้ ยา่ ง
ธรุ กจิ สมนุ ไพรสตู่ ลาดสากล สนบั สนนุ การวจิ ยั พฒั นา และ
สรา้ งนวตั กรรม รวมทง้ั เชอื่ มโยงสกู่ ารพฒั นาอตุ สาหกรรม
เกษตรแปรรูป อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรม
เวชภัณฑ์และเวชส�ำอาง พัฒนาปัจจัยพ้ืนฐาน อาทิ ดิน
และน้�ำให้เหมาะสม ส่งเสริมและสร้างเกษตรกรให้เป็น
Smart Farmer ยกระดับการค้าการตลาดให้เข้าสู่ระบบ
ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และพัฒนาระบบการเก็บ
รกั ษาและการขนสง่ สนิ คา้ และพฒั นาฐานขอ้ มลู การเกษตร
ท้ังขอ้ มลู ด้านการผลิต และความต้องการผลผลติ

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 63

เหมาะสม (Carrying Capacity) ในแหล่งทอ่ งเทีย่ วหลัก และการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจและสนับสนุน
ของภาค (ภเู กต็ สมยุ พะงนั และหลเี ปะ๊ เปน็ ตน้ ) การพฒั นา องค์ความรู้และแหล่งทุนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางพารา
การท่องเท่ียวที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม (Andaman โดยใช้ระบบตลาดน�ำการผลิต และ (5) พัฒนาโครงสร้าง
Go Green) (2) พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอ�ำนวย พน้ื ฐานเช่ือมโยงเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ความสะดวกทเี่ พยี งพอและไดม้ าตรฐาน การพฒั นาระบบ
คมนาคมเช่อื มโยงเส้นทาง (Route) ท่องเทย่ี ว เพอ่ื ใหเ้ กดิ พื้นที่ภาคใต้ชายแดน การพัฒนาเชิงพื้นที่
โครงข่ายการท่องเที่ยวที่มีประสิทธิภาพ พัฒนา Marina ในพื้นที่ภาคใต้ชายแดนให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา
Hub เชอื่ มโยงเสน้ ทางการทอ่ งเทยี่ วทางทะเล และพฒั นา ศักยภาพของพื้นที่ในประเด็นและแนวทางการพัฒนา
ทา่ เรือสำ� ราญขนาดใหญ่ (3) สง่ เสรมิ การท่องเทยี่ วชุมชน ท่ีส�ำคัญ ในด้านการพัฒนาเกษตรผสมผสานและสร้าง
เชอื่ มโยงแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทมี่ ชี อ่ื เสยี ง ตอ่ ยอดฐานทรพั ยากร ความเข้มแข็งเศรษฐกิจชุมชน โดยมีแนวทางการพัฒนา
ชมุ ชน วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาหาร ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนทมี่ คี วาม ประกอบด้วย (1) พัฒนาแหล่งน�้ำและระบบชลประทาน
โดดเด่นเป็นอัตลักษณ์ เพื่อสร้างอาชีพเพ่ิมรายได้ให้กับ ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นท่ีให้เพียงพอส�ำหรับการเกษตร
เศรษฐกจิ ฐานราก (4) พฒั นาบคุ ลากรด้านการท่องเท่ยี ว และอุปโภคบริโภค (2) ส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกร
ให้ได้มาตรฐานและเพียงพอ จัดตั้งศูนย์อบรมเจ้าหน้าท่ี และสถาบันเกษตรกรน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
ความปลอดภัยทางทะเล พัฒนาคุณภาพมาตรฐาน พอเพียงและศาสตร์พระราชาประยุกต์ใช้ (3) ส่งเสริม
ผู้ประกอบการ (5) พัฒนามาตรฐานความปลอดภัยและ การผลติ สนิ คา้ เกษตรอตั ลกั ษณท์ มี่ กี ารบง่ ชที้ างภมู ศิ าสตร์
ความสะอาดของแหล่งท่องเท่ียว สนับสนุนการพัฒนา (GI) และการตลาดโดยเทคโนโลยี (4) ยกระดับมาตรฐาน
มาตรฐานความปลอดภัยใหก้ ับนกั ทอ่ งเท่ยี ว มีการบรหิ าร สนิ คา้ เกษตรโดยกระบวนการรบั รองและตรวจสอบสนิ คา้
จัดการขยะและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมในแหล่งท่องเท่ียว ยอ้ นกลบั (5) ยกระดบั คณุ ภาพเกษตรกรสู่ Smart Farmer
และ (6) ส่งเสริมประชาสัมพันธ์และการตลาดการ (6) พัฒนาตลาดสินค้าชุมชน ตลาดกลางการเกษตรเพ่ือ
ท่องเที่ยวที่หลากหลาย สนับสนุนการใช้ระบบออนไลน์ เป็นแหลง่ รวบรวมและจ�ำหน่ายสนิ คา้ ท้องถ่นิ
ภมู ิสารสนเทศ สง่ เสริมการสรา้ ง Platform Digital เพ่อื
อำ� นวยความสะดวกให้กบั นกั ทอ่ งเท่ียว การพฒั นาพนื้ ทเ่ี ศรษฐกิจ
พื้นท่ีภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (จังหวัดพัทลุงและ
สงขลา) ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาเกษตรปลอดภัย พ้ืนท่ีบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก พ้ืนท่ี
และเกษตรอินทรีย์ การพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา บ ริ เ ว ณ ช า ย ฝ ั ่ ง ท ะ เ ล ต ะ วั น อ อ ก เ ป ็ น ฐ า น ก า ร ผ ลิ ต
และการค้าชายแดน โดยมีแนวทางการพัฒนาประกอบ อุตสาหกรรมหลักของประเทศ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม
ด้วย (1) สนับสนุนการวิจัยและเทคโนโลยีชีวภาพและ ปิโตรเคมี พลังงาน และยานยนต์ และมีการเติบโตทาง
นวัตกรรมขยายผลสู่การผลิตสินค้าเกษตร การแปรรูป เศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขา
เพื่อเพิ่มมูลค่าและผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย (2) เพ่ิม
ศักยภาพฐานการผลิตเดิม (ข้าว ประมง ปศุสัตว์)
ปรับโครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการ
ผลติ ท่ไี ดใ้ ห้เออ้ื ตอ่ การผลติ ท่ีไดม้ าตรฐาน (GAP/HACCP)
/Zoning /Smart–Modern Farm) (3) ยกระดับคุณภาพ
และเอกลักษณ์สินค้า พัฒนาระบบตรวจสอบรับรอง
มาตรฐาน สร้างแบรนด์สินค้า ความเป็นอัตลักษณ์
เฉพาะถ่ิน เพื่อตอบสนองให้กับตลาดสินค้าเฉพาะกลุ่ม
(4) ตอ่ ยอดสอู่ ตุ สาหกรรมเกษตร (ยางพารา) ทมี่ มี ลู คา่ เพมิ่

64 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

อุตสาหกรรมคิดเปน็ สัดส่วน 1 ใน 3 ของประเทศ ปัจจุบัน การจดั ตงั้ เขตสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ พเิ ศษ การใหส้ ทิ ธปิ ระโยชน์
มีคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก การจัดท�ำแผนผังการใช้ประโยชน์ในท่ีดินและแผนผัง
(กพอ.) ตามพระราชบญั ญตั เิ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาระบบให้บริการ
พ.ศ. 2561 ซงึ่ มนี ายกรฐั มนตรเี ปน็ ประธาน และเลขาธกิ าร แบบเบ็ดเสร็จ นอกจากนี้ สศช. ร่วมเป็นคณะท�ำงาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่วมเป็น ในโครงการโครงสร้างพ้ืนฐานส�ำคัญ และให้ความเห็น
กรรมการเป็นกลไกหลักในการบริหารจัดการพื้นท่ีภายใต้ ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับ
แนวคิดการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก การพัฒนาเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
(Eastern Economic Corridor: EEC) เพื่อยกระดับ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน สศช.
อุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยมีการด�ำเนินโครงการและ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา
มาตรการส�ำคัญ ได้แก่ การพัฒนาโครงการโครงสร้าง เศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) ร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
พื้นฐานหลัก (เช่น โครงการรถไฟความเร็วสูงเช่ือม ขับเคลื่อนการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน
สามสนามบนิ โครงการสนามบนิ อตู่ ะเภาและเมอื งการบนิ ใน 10 พน้ื ท่ี ได้แก่ ตาก สระแกว้ ตราด มกุ ดาหาร สงขลา
ภาคตะวันออก โครงการท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด หนองคาย เชียงราย นครพนม กาญจนบรุ ี และนราธิวาส
ระยะที่ 3 โครงการทา่ เรอื แหลมฉบัง ระยะที่ 3 เปน็ ตน้ ) โดยมคี วามก้าวหนา้ ดงั น้ี

การพฒั นาพนื้ ทร่ี ะเบียงเศรษฐกจิ ภาคใต้อย่างยัง่ ยนื (SEC)

คณะรฐั มนตรีในคราวประชมุ นอกสถานท่อี ยา่ งเปน็ ทางการ ณ จงั หวดั ชุมพร เมอ่ื วนั ท่ี 21 สิงหาคม 2561
ไดม้ ีมตเิ หน็ ชอบหลกั การของกรอบแนวคิดการพัฒนาพื้นทีร่ ะเบยี งเศรษฐกิจภาคใต้อยา่ งย่งั ยนื (Southern Economic
Corridor: SEC) ครอบคลุมภาคใต้ตอนบน 4 พืน้ ท่ี ได้แก่ ระนอง ชมุ พร สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช ตามที่ สศช.
เสนอ และไดม้ อบหมายให้ สศช. ศกึ ษาความเหมาะสมในรายละเอียดของรูปแบบการพัฒนาพ้ืนท่ีชมุ พร-ระนอง และ
พนื้ ทสี่ รุ าษฎรธ์ าน-ี นครศรธี รรมราช โดย สศช. ไดร้ ว่ มกบั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งจดั ทำ� รายละเอยี ดของรปู แบบการพฒั นาฯ

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 65

ซงึ่ ครอบคลุมแผนปฏิบัติการการพฒั นา SEC ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2562-2565) เสนอคณะรัฐมนตรใี นการประชมุ เม่ือวันท่ี
22 มกราคม 2562 โดยไดม้ มี ตริ บั ทราบผลการศกึ ษาฯ และแผนปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นา SEC ตามกรอบการพฒั นา 4 ดา้ น
จำ� นวน 116 โครงการ วงเงินรวม 106,790.13 ล้านบาท รวมท้งั มอบหมายให้ สศช. และหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งเรง่ รดั
ดำ� เนนิ โครงการทจ่ี ะชว่ ยสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ หรอื เปน็ ประโยชนโ์ ดยตรงตอ่ ประชาชนใหเ้ กดิ ผลเปน็ รปู ธรรมโดยเรว็
ซึ่ง สศช. ได้ประสานหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนาโครงการส�ำคัญภายใต้แผนปฏิบัติการ SEC อาทิ
เพิ่มศักยภาพท่าเรือระนอง ส่งเสริมการท่องเที่ยวตามแนวชายฝั่งทะเล Royal Coast สนับสนุนการจัดตั้ง SECr
ศูนย์ความเชย่ี วชาญดา้ นการวจิ ยั เชงิ พน้ื ทร่ี ะเบยี งเศรษฐกจิ ภาคใต้ แปรรปู สมนุ ไพรแบบครบวงจร ผลกั ดนั ปา่ ชายเลนระนอง
สมู่ รดกโลก พฒั นาเมอื งน่าอยู่/เมืองอัจฉริยะ เพอ่ื ยกระดับคุณภาพชวี ิตประชาชนในพื้นที่ นอกจากนี้ยงั ได้จัดท�ำวีดทิ ศั น์
และโปสเตอร์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การพัฒนา SEC ให้กับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เพื่อสร้าง
ความรู้ ความเขา้ ใจ และสร้างการมีส่วนร่วมในการขบั เคลื่อนการพฒั นา SEC ให้เกดิ ผลอย่างเปน็ รูปธรรมและยัง่ ยืน

66 รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ดา้ นความร่วมมือระหวา่ งประเทศเพื่อการพฒั นา

การประชุมระดับรัฐมนตรี ครั้งท่ี 11 กรอบ ประเทศลมุ่ แมน่ ำ้� โขง จงึ ขอใหญ้ ปี่ นุ่ ชว่ ยถา่ ยทอดเทคโนโลยี
ความร่วมมือลุ่มแม่น�้ำโขง-ญ่ีปุ่นด้านเศรษฐกิจและ และเป็นผู้แนะแนวทางในการน�ำใช้ IoTs และอุปกรณ์
อตุ สาหกรรม (Mekong-Japan Economic Ministe ดิจิทัลต่าง ๆ เพ่ือขยายและสนับสนุนความเช่ือมโยง
Meeting) ด้านอุตสาหกรรมระหว่างไทย ญี่ปุ่น และประเทศใน
เม่ือวันท่ี 10 กันยายน 2562 นายศักดิ์สยาม อนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ ำ้� โขง นอกจากน้ี ไทยยนื ยนั ความพรอ้ ม
ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในฐานะ ใหก้ ารสนบั สนนุ การเชอื่ มโยงโครงสรา้ งพน้ื ฐานทางกายภาพ
รัฐมนตรีประจ�ำกรอบความร่วมมือลุ่มแม่น้�ำโขง-ญ่ีปุ่น ในอนภุ ูมิภาคลุม่ แมน่ ำ�้ โขงในทกุ รปู แบบ ซึง่ สามารถเชอื่ ม
ด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของไทย ได้เข้าร่วม โยงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดน และ
การประชุมระดับรัฐมนตรีกรอบความร่วมมือลุ่มแม่น�้ำ เชื่อมโยงกับโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ
โขง-ญ่ีปุ่น ด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ครั้งท่ี 11 ภาคตะวันออก (EEC) เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่ง
ณ โรงแรมแชงกร-ี ลา กรงุ เทพมหานคร การเช่ือมต่อห่วงโซ่มูลค่าในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้�ำโขง เพ่ือ
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคม และรฐั มนตรี สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ สถานการณท์ ท่ี งั้ สองฝา่ ยตา่ งกไ็ ดป้ ระโยชน์
ประจำ� กรอบความรว่ มมอื ดา้ นเศรษฐกจิ และอตุ สาหกรรม และไม่ท้ิงใครไว้เบ้ืองหลัง ในส่วนของการเชื่อมโยง
ของประเทศลมุ่ แมน่ ำ�้ โขงอกี 4 ประเทศคอื กมั พชู า สปป.ลาว เชงิ กฏระเบยี บนน้ั ประเทศไทยยนื ยนั สนบั สนนุ การดำ� เนนิ งาน
เมียนมา และเวียดนาม รวมทั้ง นายชิเงฮิโระ ทานากะ ในระยะแรกเรมิ่ ของความตกลง CBTA สู่การปฏิบัติอยา่ ง
ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และ เปน็ รปู ธรรม และแสดงความยนิ ดที ไ่ี ทยและเมยี นมาไดร้ ว่ ม
อตุ สาหกรรมของญป่ี นุ่ (METI) ไดร้ ว่ มใหค้ วามเหน็ ชอบตอ่ ลงนามในบนั ทกึ ความเขา้ ใจในการเรมิ่ ใชค้ วามตกลงวา่ ดว้ ย
รา่ งแถลงขา่ วรว่ มการประชมุ ฯ (Joint Media Statement) การขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงและมี
และร่างวิสัยทัศน์การพัฒนาอุตสาหกรรมในอนุภูมิภาค ผลในทางปฏิบัติแล้ว ภาครัฐควรจะต้องร่วมพัฒนาและ
ลมุ่ แมน่ ำ�้ โขงในระยะที่ 2 (ปี 2562-2566) หรอื “MIDV 2.0” ปรับปรุงกฎระเบียบเพ่ือส่งเสริมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ซึ่งมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในอนุภูมิภาค ให้สามารถเชอ่ื มโยงกับตลาดท่ีใหญ่และทันสมยั ซึ่งมีสว่ น
ลุ่มแม่น�้ำโขงอย่างยั่งยืนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ส�ำคัญในการส่งเสริมส่ิงแวดล้อมที่ดีในการด�ำเนินธุรกิจ
ผ่านความเช่ือมโยงหลัก 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความ ดจิ ทิ ลั และบม่ เพาะขดี ความสามารถของ SMEs และธรุ กจิ
เช่ือมโยงด้านอุตสาหกรรม โครงสร้างพื้นฐาน และ ทเี่ ร่ิมตน้ และเตบิ โตแบบกา้ วกระโดด (Start-ups) เพื่อให้
กฎระเบียบ 2) ดา้ นนวัตกรรมเชงิ ดจิ ิทลั และ 3) ดา้ นการ พวกเขาสามารถเป็นส่วนหน่ึงของห่วงโซ่มูลค่าในระดับ
ด�ำเนินการตามเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ัง่ ยืน (SDGs) อนภุ ูมภิ าคและภูมิภาคได้ตอ่ ไป
ไทยได้ให้ความเห็นต่อเร่ืองดังกล่าวว่า อน่ึง กรอบความร่วมมือลุ่มแม่น�้ำโขง-ญ่ีปุ่น
การดำ� เนนิ งาน MIDV 2.0 ในระยะท่ี 2 จะไดร้ บั ผลกระทบ ด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม มุ่งสนับสนุนกิจกรรม
จากแนวโน้มท่ีจะพลิกโฉมการเปลี่ยนแปลงของโลก คือ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งญป่ี นุ่ และประเทศลมุ่ แมน่ ำ�้ โขงซง่ึ เปน็
เทคโนโลยที สี่ รา้ งความพลกิ ผนั (Disruptive Technology) ฐานการผลติ ของญป่ี นุ่ ประเทศไทยจำ� เปน็ ตอ้ งเรง่ ใหญ้ ปี่ นุ่
มผี ลตอ่ การพฒั นาการเชอื่ มโยงอตุ สาหกรรม คอื การนำ� ใช้ ถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารผลติ เรง่ พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยใ์ น
อนิ เทอรเ์ นท็ ในทุกสง่ิ (Internet of Things: IoTs) และ คลสั เตอรอ์ ตุ สาหกรรมทไี่ ทยมคี วามเขม้ แขง็ เชน่ ยานยนต์
อุปกรณ์ดิจิทัลต่าง ๆ ซึ่งสามารถเพิ่มมูลค่าและขีดความ และอิเลก็ ทรอนิกส์ รวมทั้งในกลุ่มอุตสาหกรรม S-Curve
สามารถแก่คลัสเตอร์อุตสาหกรรมซ่ึงมีฐานการผลิตใน ในพน้ื ที่ EEC ซงึ่ คาดวา่ ญป่ี นุ่ จะเปน็ กลมุ่ ลงทนุ หลกั ในขณะ

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 67

เดียวกันประเทศไทยจะต้องมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนา การพฒั นาอตุ สาหกรรมในอนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ ำ้� โขงในระยะ
เพอ่ื สรา้ งนวตั กรรม รวมทง้ั ปรบั ปรงุ หลกั สตู รการศกึ ษาใน ที่ 2 (ปี 2562-2566) หรือ “MIDV 2.0” รวมไปถึง
ทุกระดับเพ่ือรองรับการลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิต น�ำเสนอความก้าวหน้าการด�ำเนินงานของ AMEICC2
เพื่อเพิ่มมูลค่า เพ่ือสนับสนุน 3 เสาหลักของวิสัยทัศน์ MIDV 2.0
การประชุมระดับรัฐมนตรีกรอบความร่วมมือ ประกอบด้วย 1) ด้านความเช่ือมโยงด้านอุตสาหกรรม
ลุ่มแม่น�้ำโขง-ญ่ีปุ่นด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม โครงสรา้ งพน้ื ฐาน และกฎระเบียบ 2) ดา้ นนวตั กรรมเชิง
คร้ังท่ี 12 กำ� หนดจดั ขนึ้ ในปี 2563 ณ ประเทศเวียดนาม ดจิ ทิ ลั และ 3) ดา้ นการดำ� เนนิ การตามเปา้ หมายการพฒั นา
ในโอกาสการประชุมระดับรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ทยี่ ง่ั ยนื (SDGs) และการนำ� เสนอขอ้ มลู เชงิ ลกึ และกจิ กรรม
ครัง้ ท่ี 52 เพอ่ื ส่งเสริมความร่วมมอื อนุภูมภิ าคลุ่มแมน่ ้�ำโขง-ญ่ปี ุ่น
ประเดน็ ท่ีฝา่ ยไทยเสนอ เห็นพอ้ งกับวิสัยทัศน์
การประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีและภาคเอกชน MIDV 2.0 ซง่ึ มแี นวคดิ การพฒั นาอตุ สาหกรรมในลมุ่ แมน่ ำ้� โขง
กรอบความรว่ มมอื ลมุ่ แมน่ ำ�้ โขง-ญปี่ นุ่ ดา้ นเศรษฐกจิ อยา่ งเชือ่ มโยง โดยประเทศสมาชกิ ตอ้ งรว่ มก�ำหนดกรอบ
และอตุ สาหกรรม ครั้งท่ี 12 การดำ� เนนิ งาน รวมถงึ เปา้ หมายและทศิ ทางใหช้ ดั เจน และ
ประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธเ์ ปน็ รปู ธรรม
เม่ือวันที่ 15 สิงหาคม 2562 นายทศพร มากยง่ิ ข้ึน และควรส่งเสริมความรว่ มมือระหว่างประเทศ
ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ ในกลุ่ม ACMECS กับญี่ปุ่น โดยเน้นความเช่ือมโยงด้าน
สงั คมแหง่ ชาติ ปฏบิ ตั ริ าชการแทนรฐั มนตรปี ระจำ� แผนงาน อุตสาหกรรม ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล
MJ-CI ท�ำหน้าที่ประธานท่ีประชุมร่วมกับ นายชิเงฮิโระ เพอื่ สง่ เสรมิ การตลาดดจิ ทิ ลั และนวตั กรรม เรง่ การดำ� เนนิ การ
ทานากะ ผชู้ ่วยรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงเศรษฐกิจ การคา้ ตามความตกลง CBTA ในสว่ นการสนบั สนนุ ความเชอ่ื มโยง
และอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น (Ministry of Economy, ห่วงโซ่การผลิตในอนุภูมิภาค ส่งเสริมห่วงโซ่คุณค่า
Trade and Industry: METI) พร้อมด้วยรัฐมนตรี 5 ภาคเกษตร สง่ เสรมิ พาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ พอื่ พฒั นาธรุ กจิ
ประเทศลุ่มแม่น้�ำโขง ผู้แทนหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และ SMEs ในพน้ื ทใ่ี หม้ คี วามเขม้ แขง็ ขน้ึ โดยการพฒั นาพาณชิ ย์
ผู้แทนองค์กรหุ้นส่วนการพัฒนา โดยผลการประชุมฯ มี อเิ ลก็ ทรอนกิ สจ์ ะสนบั สนนุ ใหธ้ รุ กจิ SMEs มคี วามสามารถ
สาระส�ำคัญคือการรับทราบและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ในการแข่งขนั มากขึ้น
เกี่ยวกับการด�ำเนินโครงการต่าง ๆ ภายใต้ร่างวิสัยทัศน์

2 AMEICC: AEM-METI Economic and Industrial Cooperation Committee คณะกรรมการความร่วมมือทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมอาเซียนและญี่ปุ่น
จัดตัง้ ข้ึนเมือ่ การประชุมสดุ ยอดอาเซียน-ญ่ีป่นุ ครั้งท่ี 6 โดยจดั ประชุมคร้งั แรกเมื่อวนั ที่ 23 พฤศจกิ ายน 2541 ณ กรุงเทพฯ โดยเป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีเศรษฐกิจ
ของอาเซียนและรฐั มนตรีการคา้ และอตุ สาหกรรมของญป่ี ุน่ เพื่อแลกเปล่ยี นความเห็นด้านสถานการณเ์ ศรษฐกิจโลก
68 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

การประชุมระดับผู้น�ำ ครั้งท่ี 12 แผนงาน นอกจากนี้ ทป่ี ระชมุ มงุ่ เน้นการบรรลุเปา้ หมาย
การพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย- ตามวิสัยทศั นป์ ี 2579 ซ่ึงให้ความส�ำคญั กบั การบูรณาการ
มาเลเซยี -ไทย (Indonesia-Malaysia-Thailand การใชป้ ระโยชนจ์ ากนวตั กรรม การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื และลด
Growth Triangle: IMT-GT) ความเหล่ือมล�้ำ ประกอบด้วย การพัฒนาเมืองสีเขียว
การพฒั นาภายใตก้ รอบการพฒั นาเมอื งอยา่ งยง่ั ยนื การพฒั นา
เม่อื วนั ที่ 28 เมษายน 2561 พลเอก ประยทุ ธ์ เสน้ ทางและวงจรทอ่ งเทยี่ วทยี่ ง่ั ยนื ปราศจากความเหลอ่ื มลำ�้
จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี เปน็ ประธานการประชมุ ระดบั และแข่งขันได้ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การท่องเท่ียว
ผู้นำ� คร้งั ท่ี 11 แผนงานการพฒั นาเขตเศรษฐกิจสามฝา่ ย ปี 2560-2579 ตลอดจนแผนปฏิบตั ิการ ปี 2560-2564
อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (Indonesia-Malaysia- การเตรยี มพฒั นาเสน้ ทางทอ่ งเทยี่ วเรอื สำ� ราญใน IMT-GT
Thailand Growth Triangle: IMT-GT) ณ โรงแรมแชงกร-ี ลา ทเ่ี ชอื่ มโยงสนู่ านาชาตแิ ละเนน้ ความสำ� คญั ของภาคเอกชน
สาธารณรฐั สิงคโปร์ โดยมีนายโจโก วิโดโด ประธานาธิบดี ในการด�ำเนินงาน การพัฒนาภาคเกษตรเพื่อสร้างความ
สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย และ ตนุ มซู า ฮติ มั ผูแ้ ทนพเิ ศษ ยั่งยืน ปราศจากความเหล่ือมล�้ำ และใช้นวัตกรรม
ของนายกรฐั มนตรมี าเลเซยี เขา้ รว่ มการประชมุ พรอ้ มดว้ ย การเสริมสร้างความม่ันคงด้านอาหาร การปรับปรุงร่าง
บุคคลส�ำคัญอ่นื ๆ ประกอบด้วย รฐั มนตรีประจ�ำแผนงาน บันทึกความเข้าใจระหว่างสามประเทศเร่ืองการขยาย
IMT-GT ของสามประเทศ โดยรัฐมนตรีประจ�ำแผนงาน เส้นทางบิน ซ่งึ ลงนามไว้ในปี 2538 เพ่ือส่งเสริมการสร้าง
IMT-GT ของไทยได้แก่นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ ความเช่ือมโยงในอนุภูมิภาค การผลักดันให้ใช้ระบบ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เป็นผู้แทนรัฐมนตรี พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และเศรษฐกิจดิจิทัลมาช่วยขยาย
ประจ�ำแผนงาน IMT-GT สามประเทศกล่าวรายงาน โอกาสทางการค้าและการลงทุนใน IMT-GT การจัดต้ัง
ความกา้ วหนา้ การดำ� เนนิ การในรอบปี 2560-2561 ตอ่ ผนู้ ำ� เขตเศรษฐกิจพิเศษเพ่ือสร้างระบบห่วงโซ่คุณค่าเชื่อมโยง
รว่ มดว้ ยเลขาธกิ ารอาเซยี น(ดาโตะ๊ ลมิ จอ๊ กหอย)รองประธาน ระหวา่ งเขตเศรษฐกิจพเิ ศษตา่ ง ๆ ในอนภุ มู ิภาค
ธนาคารพัฒนาเอเชีย (นายสตีเฟน พี กร๊อฟ) ร่วมด้วย ท้ังน้ี ข้อเสนอฝ่ายไทย โดยพลเอกประยุทธ์
นายสรุ งค์ บลู กลุ ประธานสภาธรุ กจิ IMT-GT การประชมุ ฯ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรขี องไทย ได้ใหข้ ้อเสนอแนะตอ่
ผู้น�ำสามปะเทศ IMT-GT ได้ร่วมกันรับรอง แนวทางการขบั เคล่ือนแผนงาน IMT-GT 4 ประเด็นดังน ี้
แถลงการณ์ร่วมของการประชุมซึ่งมีสาระส�ำคัญคือ ผู้น�ำ 1) การพฒั นาความเชอ่ื มโยงทางกายภาพบนมติ คิ วามรเิ รมิ่
IMT-GT ไดร้ บั ทราบความสำ� เรจ็ ของแผนงานความรว่ มมอื ใหม่ ๆ โดยทงั้ สามประเทศควรพจิ ารณาปจั จยั หรอื กลยทุ ธ์
IMT-GT ในโอกาสครบรอบ 25 ปี ที่แผนงานมีบทบาท ที่จะก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงเป็นอย่างมาก (Game
ส�ำคัญในการลดความเหล่ือมล้�ำและความยากจนในพื้นที่ Changer) ตอ่ การพฒั นาพนื้ ที่ IMT-GT อาทิ นโยบายหนงึ่
ภายใต้แผนงานความร่วมมือ ขณะเดียวกัน ผู้น�ำสาม แถบหนง่ึ เสน้ ทางของจนี เปน็ ตน้ 2) ความรว่ มมอื ในการ
ประเทศ IMT-GT ได้เน้นย�้ำความส�ำคัญของการพัฒนา กา้ วเขา้ สพู่ ฒั นาการทางเทคโนโลยเี ปลยี่ นโลก ไดเ้ นน้ ยำ�้ ให้
ความเชอื่ มโยงดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน (PhysicalConnectivity ทุกสาขาความร่วมมือควรใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้า
Projects: PCPs) จำ� นวน 38 โครงการของ 3 ประเทศ ทางเทคโนโลยีในปัจจุบันมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(มูลค่ารวม 47,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) ซึ่งเป็นปัจจัย 3) สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของภาคกี ารพฒั นาและการพฒั นา
ส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจใน IMT-GT โดยไทยมี IMT-GT รุ่นใหม่ เพอื่ ลดความเหล่อื มล้�ำอยา่ งแท้จรงิ และ
โครงการท่มี คี วามคืบหนา้ ท่ีส�ำคัญ อาทิ โครงการก่อสรา้ ง 4) กำ� หนดระยะเวลาความรว่ มมอื ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มทชี่ ดั เจน
รถไฟทางคู่ หาดใหญ่-ปาดังเบซาร์ และรถไฟทางคู่ โดยไทยไดเ้ สนอใหม้ กี ารจดั ตงั้ คณะทำ� งานดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม
สรุ าษฎรธ์ าน-ี หาดใหญ-่ สงขลา ทจ่ี ะเรม่ิ กอ่ สรา้ งโดยลำ� ดบั ในแผนงาน IMT-GT ขึน้ อยา่ งเป็นทางการภายในปี 2562

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 69

การด�ำเนินงานภายใต้คณะกรรมการเศรษฐกิจ
เอเปค (APEC Economic Committee) ประจำ�
ปี 2561

สศช. เป็นหน่วยงานหลักในการติดตาม และ Sector Governance: PSG) จัดกิจกรรมการหารือเชิง
เข้าร่วมการประชุมในคณะกรรมการเศรษฐกิจเอเปค นโยบาย (Policy Discussions) ภายใตห้ วั ขอ้ ความโปรง่ ใส
(Economic Committee: EC) โดยมหี นา้ ทใ่ี นการตดิ ตาม ในการด�ำเนินงานภาครัฐหรือภาครัฐแบบเปิด (Open
ศกึ ษา วเิ คราะหป์ ระเดน็ การปฏริ ปู โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ Government) ซึ่งหมายถึงการพัฒนาการปกครองท่ี
และปัจจัยพ้ืนฐานเชิงยุทธศาสตร์ที่เก่ียวเนื่อง ร่วมจัดท�ำ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความโปรง่ ใส ซอื่ ตรง ตรวจสอบได้ และการมี
แผนปฏิบัติการรายเขตเศรษฐกิจ (Individual Action ส่วนร่วมท่ีจะช่วยสนับสนุนประชาธิปไตยและการเติบโต
Plans: IAPs) เพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปโครงสร้าง และ อย่างทั่วถึง การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการ
รายงานนโยบายเศรษฐกิจเอเปค (APEC Economic วางแผน ตง้ั แตก่ ารออกแบบ การดำ� เนนิ นโยบาย การตดิ ตาม
Policy Report: AEPR) โดยในปี 2461 ไดม้ กี ารประชมุ และประเมินผล ไปจนถึงการจัดท�ำรายงานและรับฟัง
คณะกรรมการเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 1/2561 (EC1) ข้อเสนอแนะ เพื่อแลกเปล่ียนแนวคิดและกระตุ้นให้เกดิ
ระหว่างวนั ที่ 5-6 มีนาคม 2561 และการเจ้าหนา้ ทร่ี ะดบั ความโปร่งใสในการด�ำเนินงานภาครัฐ เพ่ือเพ่ิมคุณภาพ
สงู ดา้ นการปฏริ ปู โครงสรา้ ง และการประชมุ คณะกรรมการ ของบริการภาครัฐและการมีส่วนร่วมของประชาชน
เศรษฐกจิ เอเปค ครงั้ ที่ 2/2561 (EC2) ระหวา่ งวนั ที่ 14-17 ในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ภาครัฐ โดย ดร.ปัทมา เธยี รวศิ ษิ ฎส์ กลุ
สิงหาคม 2561 ณ เมืองพอร์ตมอร์สบี รัฐเอกราช
ปาปวั นวิ กนิ ี
ในช่วงการประชุม EC1 สศช. ในฐานะ
ผู้ประสานงานหลักของกลุ่มธรรมาภิบาลภาครัฐ (Public

70 รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

รองเลขาธิการฯ เป็นผู้ด�ำเนินรายการ และมีผู้เข้าร่วม สนับสนุนตลาดท่ีเปิดกว้าง โปร่งใส และมีการแข่งขันสูง
อภิปราย ประกอบด้วย ผู้แทน Organization for (2) การใหค้ วามสำ� คัญกบั การปฏริ ปู โครงสรา้ งเพอื่ พัฒนา
Economic Cooperation and Development (OECD) ทุนมนุษย์ ภาคบรกิ าร และนวตั กรรม และ (3) แนวทาง
พรอ้ มทง้ั ผแู้ ทนจากเขตเศรษฐกิจ เช่น ฟลิ ิปปินส์ จนี ไทเป แบบผสมผสานท่ีจะวางนโยบายและด�ำเนินโครงการ
และไทย (ผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ทจี่ ะชว่ ยส่งเสรมิ การเตบิ โตอยา่ งท่ัวถึง
ราชการ หรอื กพร.) 2. ความเชื่อมโยง ที่ประชุมให้ความส�ำคัญ
ในช่วงการประชมุ EC2 ทปี่ ระชุมไดเ้ หน็ ชอบ กับความเชื่อมโยงอย่างรอบด้านในทุกมิติซ่ึงจะช่วย
รายงานนโยบายเศรษฐกจิ เอเปคประจำ� ปี 2561 เร่ืองการ สนบั สนนุ การเจริญเตบิ โตท่คี รอบคลุม และย่ังยนื โดยยึด
ปฏริ ปู โครงสรา้ งและโครงสรา้ งพน้ื ฐาน (APEC Economic แผนแม่บทความเช่อื มโยงในเอเปค ปี 2558-2568 (APEC
PolicyReportonStructural ReformandInfrastructure: Connectivity Blueprint 2015-2025) ท่ีมุ่งให้เกิด
AEPR 2018) ซ่ึงมีเนื้อหาแบ่งออกเป็น 2 ส่วนที่ส�ำคัญ การเชอ่ื มโยงอย่างทั่วถงึ ในภูมิภาคเอเชยี -แปซิฟิก
ได้แก่ (1) ความต้องการด้านโครงสร้างพ้ืนฐานและ 3. เศรษฐกิจดิจิทัล นโยบายรัฐบาลด้านการ
ผลกระทบจากการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานทาง ปฏิรูปโครงสร้างในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล จะต้องตอบสนอง
กายภาพและดจิ ทิ ลั ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและความเชอ่ื มโยง ต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีท่ีเกิดขึ้น โดยต้องมี
และ (2) บทบาทของนโยบายดา้ นโครงสรา้ งในการผลกั ดนั การเตรียมพร้อมแรงงานให้มีทักษะรองรับกับการ
ข้อก�ำหนดและการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานที่มี เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การพัฒนาผู้ประกอบการให้
ประสิทธิภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการโครงสร้าง สามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลในการเพิ่ม
พ้ืนฐานของเขตเศรษฐกิจ ได้แก่ การเพ่ิมขึ้นของจ�ำนวน ผลติ ภาพ และการกระตนุ้ การคา้ และการเปดิ ตลาดรองรบั
ประชากรและประชากรสงู วยั ความตอ้ งการการขนสง่ และ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั โดยการดำ� เนนิ งานภายใตแ้ ผนอนิ เทอรเ์ นต็
ความเช่ือมโยง การเพ่ิมข้ึนของโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล และเศรษฐกิจดิจิทัล (APEC Internet and Digital
และความต้องการปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานให้พร้อมรับ Roadmap) นอกจากจะเน้นย�้ำถึงความส�ำคัญของการ
กบั ภาวะวกิ ฤต ทงั้ นี้ ไดม้ กี ารกำ� หนดหวั ขอ้ รายงานนโยบาย พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานดิจิทัล การเข้าถึงเครือข่าย
เศรษฐกิจเอเปคประจ�ำปี 2562 เร่ืองการปฏิรปู โครงสร้าง บรอดแบนด์แล้ว ยังมุ่งเน้นการพัฒนากรอบนโยบาย
และเศรษฐกิจดิจิทัล (Structural Reform and the ภาครัฐท่ีเป็นเอกภาพเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตและเศรษฐกิจ
Digital Economy) ดจิ ทิ ลั สง่ เสรมิ ความเชอ่ื มโยงของประเดน็ ดา้ นกฎระเบยี บ
นอกจากนี้ ดร.ปัทมา เธียรวิศิษฎ์สกุล ส่งเสริมนวัตกรรม ตลอดจนยกระดับความเชื่อม่ันและ
รองเลขาธิการฯ ได้ปฏิบัติหน้าท่ีหัวหน้าคณะผู้แทนไทย ความปลอดภยั ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการประชมุ เจา้ หนา้ ทร่ี ะดบั สงู ดา้ นการปฏริ ปู โครงสรา้ ง 4. แนวปฏิบัติท่ีดีด้านกฎระเบียบ (Good
ซ่ึงได้จดั ขึ้นเป็นคร้ังแรกในปนี ี้ โดยทีป่ ระชุมไดม้ กี ารหารอื Regulatory Practice: GRP) เทคโนโลยีดิจิทัลจะช่วย
เพ่ือปิดช่องว่างการพัฒนา และร่วมก�ำหนดทิศทางการ สนบั สนนุ ความโปรง่ ใสดา้ นกฎระเบยี บและการมสี ว่ นรว่ ม
ด�ำเนินงานด้านการปฏิรูปโครงสร้าง โดยให้ความส�ำคัญ ของประชาชน และการส่งเสริมให้กรอบการด�ำเนินงาน
กับ 4 ประเดน็ หลัก ไดแ้ ก่ ดา้ นกฎระเบยี บสนบั สนนุ โลกใหก้ า้ วสคู่ วามเปน็ ดจิ ทิ ลั และ
1. ความครอบคลุมของการพัฒนา ที่ประชมุ ส่งเสริมนวัตกรรม โดยเน้นย้�ำถึงความส�ำคัญของ
ไดม้ กี ารหารอื รา่ งกรอบแนวคดิ เชงิ นโยบายเรอ่ื ง การปฏริ ปู กระบวนการวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ผลกระทบทางกฎหมาย
โครงสรา้ งและการเตบิ โตอยา่ งทว่ั ถงึ (Policy Framework (Regulatory Impact Assessment: RIA) ซึ่งจะน�ำไปสู่
on Structural Reform and Inclusive Growth) ซงึ่ การออกกฎระเบยี บตามหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ (Evidence-
ประกอบด้วย 3 แนวทางทสี่ ำ� คญั ได้แก่ (1) การกำ� หนด based Regulations) ที่จะเกิดประสิทธิผลคุ้มค่า และ
ให้มีการวางนโยบาย สถาบันและกฎระเบียบพ้ืนฐานเพื่อ ไม่กลบั เปน็ อุปสรรคตอ่ การพฒั นา

รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ 71

GแกาผroรนปwงราtะนhชกTมุ าrรรiะพaดnฒั บัgนlผeานู้ :เขำ� IMตคเรTศงั้ -รทGษ่ีT1ฐ)2กจิแสลาะมกฝาา่รยปรอะนิ ชโมุดรนะเี ซดบัยี -รมฐั ามเนลเตซรยี ี ค-ไรทง้ั ย2(5Inแdลoะnกeารsiปaร-Mะชaมุ laอyน่ื siๆa-ทTเ่ีhกaยี่ iวlaขnอ้ dง

แผนงาน IMT-GT ได้มีการจัดประชุมส�ำคัญ มาเลเซีย และเช่ือมโยงทางทะเลไปยังพื้นท่ีเกาะสุมาตรา
2 ครงั้ ในปี 2562 โดยเม่ือวันที่ 23 มถิ นุ ายน 2562 ไดม้ ี ตอนใต้ในอินโดนีเซีย และเร่งรัดการลงทุนในโครงการ
การประชุมระดับผู้น�ำ ครั้งที่ 12 โดยมีพลเอกประยุทธ์ เชื่อมโยงทางกายภาพ มูลค่ารวม 4.7 หม่ืนล้านเหรียญ
จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี เขา้ รว่ มการประชมุ ฯ นายโจโก สหรฐั ฯ ทงั้ นี้ การประชมุ ระดับผนู้ ำ� ครั้งท่ี 13 แผนงาน
วโิ ดโด ประธานาธบิ ดสี าธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ IMT-GT จะจัดขึ้นในปี 2563 ณ เมืองดานัง สาธารณรัฐ
ประธานการประชุม และตุน ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด สงั คมนยิ มเวยี ดนาม ในโอกาสเดยี วกบั การประชมุ สดุ ยอด
นายกรฐั มนตรีมาเลเซยี รว่ มดว้ ยรัฐมนตรปี ระจ�ำแผนงาน อาเซียน ครง้ั ท่ี 36
IMT-GT ของสามประเทศ เลขาธิการอาเซียน ประธาน ต่อมาในช่วงวันท่ี 10-13 กันยายน 2562
ธนาคารพัฒนาเอเชีย และเลขาธิการสภาพัฒนาการ ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (ศาตราจารย์พิเศษ รว่ มกบั กระทรวงมหาดไทย และจงั หวดั กระบ่ี เปน็ เจา้ ภาพ
ดร. ทศพร ศริ ิสัมพนั ธ์) ในฐานะเจ้าหนา้ ท่ีอาวโุ สของไทย จดั การประชมุ ระดบั รฐั มนตรี ครงั้ ที่ 25 และการประชมุ
เข้าร่วมประชุม โดยสาระส�ำคัญคือที่ประชุมเห็นพ้องใหม้ ี อื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง แผนงาน IMT-GT ณ จังหวัดกระบ่ี
การทบทวนแผนดำ� เนนิ งานระยะหา้ ปี (พ.ศ. 2560 – 2564) โดยมี ดร.อธิรฐั รตั นเศรษฐ รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวง
ในชว่ งกงึ่ กลางแผนรบั มอื โอกาสและความทา้ ทายทเ่ี กดิ ขนึ้ คมนาคม ในฐานะผู้แทนรัฐมนตรีแผนงาน IMT-GT
อาทิ การปฏิวัติอุตสาหกรรมคร้ังที่ 4 การเกิดขึ้นของ พรอ้ มดว้ ยผแู้ ทนรัฐมนตรีแผนงาน IMT-GT ของมาเลเซยี
เสน้ ทางการค้าใหม่ เช่น ความรเิ ร่มิ สายแถบและเสน้ ทาง และอนิ โดนเี ซยี รองเลขาธิการอาเซียน ผ้บู รหิ ารธนาคาร
และยทุ ธศาสตรอ์ นิ โด-แปซฟิ กิ การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ ง พฒั นาเอเชยี และ ดร.ปทั มา เธยี รวศิ ษิ ฎส์ กลุ รองเลขาธกิ าร
ประชากร การเตบิ โตของชมุ ชนเมอื ง และการเปลยี่ นแปลง สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในฐานะ
สภาพภมู อิ ากาศ เป็นตน้ ผู้แทนเจ้าหน้าที่อาวุโสของไทยเข้าร่วมประชุม โดยมี
ขณะเดยี วกนั ผนู้ ำ� 3 ประเทศเหน็ พอ้ งรว่ มกนั วา่ สาระสำ� คัญคอื การนำ� ผลการประชุมระดบั ผ้นู �ำ คร้งั ที่ 12
แนวทางการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจมีบทบาทส�ำคัญ มาขบั เคลอื่ นสู่การปฏบิ ตั ิ อาทิ เน้นยำ้� การพฒั นาระเบยี ง
ต่อการพัฒนาของ IMT-GT และยืนยันที่จะเพ่ิมแนว เศรษฐกิจและเพ่ิมแนวระเบียงเศรษฐกิจท่ี 6 และเร่งรัด
ระเบยี งเศรษฐกจิ ท่ี 6 เชอ่ื มโยงจงั หวดั ปตั ตานี จงั หวดั ยะลา การลงทุนในโครงการเชื่อมโยงทางกายภาพ
และจังหวัดนราธิวาส เข้ากับรัฐเประและรัฐกลันตันใน

72 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

นอกจากน้ี ไดห้ ารอื ถงึ แนวทางการอนรุ กั ษแ์ ละ การพฒั นาเศรษฐกจิ ของIMT-GTทงั้ น้ีสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี
ใชป้ ระโยชนจ์ ากเศรษฐกจิ ภาคทะเลอยา่ งยงั่ ยนื การพฒั นา จะเป็นเจ้าภาพการจัดประชุมระดับรัฐมนตรี คร้ังที่ 26
ความร่วมมือโครงการเมืองยางพาราระหว่าง 3 ประเทศ และการประชมุ อ่นื ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง ของแผนงาน IMT-GT
เพื่อส่งเสริมการใช้วัตถุดิบยางในอนุภูมิภาคให้มากขึ้น ชว่ งเดอื นกนั ยายน ปี 2563 ณ เมอื งปาดงั จงั หวดั สมุ าตรา
และส่งเสริมการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มเพ่ือกระตุ้น ตะวันตก

HกาuรmปรaะnชCุมaรpะดitับaสl ูงDอeาvเซelียoนpวm่าดe้วnยtก) ารพัฒนาทุนมนุษย์ (The ASEAN High-level Meeting on

ในวนั จนั ทรท์ ่ี9กนั ยายน2562ณกรงุ เทพมหานคร OECD กลุ่มประเทศ G20 และ UN) สง่ ผลให้ประชากร
สศช. ร่วมกับ World Bank และ UNICEF เป็นเจา้ ภาพ สว่ นใหญเ่ ขา้ ถงึ บรกิ ารทางสขุ ภาพไดม้ ากขนึ้ และชว่ ยสรา้ ง
และมีกระทรวงการต่างประเทศเป็นหน่วยงานสนับสนุน สังคมที่เท่าเทียม รวมท้ังได้มีการหารือแนวทางการลด
ได้จัดการประชุมระดับสูงอาเซียนว่าด้วยการพัฒนาทุน ภาวะทพุ โภชนาการ ผา่ นการใชข้ อ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ สง่ เสรมิ
มนษุ ย์ (The ASEAN High-level Meeting on Human การมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นตา่ งๆ และการตดิ ตามประเมนิ ผล
Capital Development) ในวนั จนั ทรท์ ี่ 9 กนั ยายน 2562 อย่างเป็นรูปธรรม 2) การพัฒนาทักษะแรงงานภายใต้
ณ กรุงเทพมหานคร ท้ังน้ี ประเด็นการพัฒนาทุนมนุษย์ การปฏิวัติอุตสาหกรรมคร้ังที่ 4 ด้วยการยกระดับทักษะ
เป็นประเด็นคาบเก่ียวระหว่างเสาภายใต้ประชาคม จ�ำเพาะดา้ นเชิงลกึ การวิจยั และนวตั กรรม และความเปน็
อาเซียนประเด็นหน่ึงท่ีเป็นเง่ือนไขส�ำคัญต่อการพัฒนา สากลเพอ่ื รองรบั แนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงทางอตุ สาหกรรม
อย่างยั่งยืน สอดคล้องกับแนวคิดหลักส�ำหรับการเป็น เน้นย�้ำถึงความส�ำคัญของสถานศึกษาที่จ�ำเป็นท่ีต้อง
ประธานอาเซยี นของไทย คือ “Advancing Partnership ร่วมมือกับภาคเอกชนมากข้ึนเพ่ือพัฒนาทักษะทางดิจิทัล
for Sustainability” ของแรงงานและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี และ
การประชุมได้มีการแลกเปล่ียนประสบการณ์ 3) การสง่ เสรมิ ระบบการศกึ ษาทค่ี รอบคลมุ และมคี ณุ ภาพ
และความส�ำเร็จในการพัฒนาทุนมนุษย์ในอาเซียน ดังน้ี โดยสนับสนุนการกระจายโอกาสและการสนับสนุน
1) การพัฒนาระบบสาธารณสุข โดยยกตัวอย่างความ ทางการเงิน รวมท้ังการสร้างหลักสูตรที่มุ่งเน้นความคิด
ส�ำเร็จของไทย เร่ืองโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า สรา้ งสรรค์ การเรยี นรแู้ บบสหวทิ ยาการ และการฝกึ อบรม
ซึ่งได้รับการยอมรับในเวทีระหว่างประเทศ (ไม่ว่าจะเป็น เพื่อสร้างทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวติ

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 73

การตดิ ตามประเมินผลและการพฒั นาตัวชีว้ ัด

สรปุ สาระสำ� คญั รายงานผลการพฒั นาเศรษฐกจิ และ ต่อปี อย่างไรก็ตาม ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค
สงั คมของประเทศ 2 ปี ของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ด้านรายได้เพิ่มข้ึนจาก 0.445 ในปี 2558 เป็น 0.453
ในปี 2560 และปัญหาความยากจนมีแนวโน้มที่ดีขึ้น
1. ผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ของ โดยสัดส่วนประชากรใต้เส้นความยากจนลดลงอย่าง
แผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 12 มีผลการด�ำเนินงาน ดงั นี้ ต่อเน่ือง ความเหลื่อมล้�ำด้านคุณภาพการศึกษาและ
1.1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ บุคลากรทางการแพทย์ระหว่างพื้นท่ียังเป็นปัญหาที่ต้อง
ทุนมนุษย์ คนไทยส่วนใหญม่ ีจิตใจดี ช่วยเหลือผ้อู ่ืน รู้จัก เรง่ แกไ้ ข อยา่ งไรกต็ าม ประชากรทมี่ ฐี านะยากจนสามารถ
ตอบแทนผู้มีพระคุณ มวี ถิ ีชีวติ อย่ใู นกรอบคุณงามความดี เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก
สดั สว่ นคดอี าญาตอ่ ประชากรหนง่ึ แสนคนมแี นวโนม้ ลดลง 1,820 รายในปี 2559 เปน็ 2,795 รายในปี 2560 นอกจาก
อย่างต่อเน่ือง คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ นี้ ชมุ ชนมศี กั ยภาพในการพงึ่ พาตนเอง โดยชมุ ชนมรี ายได้
และความสามารถเพ่ิมขึ้น ขณะที่เด็กมีไอคิวเฉล่ียลดลง จากการจ�ำหน่ายสินค้าหน่ึงต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือ
จากร้อยละ 98.23 ในปี 2559 เหลอื ร้อยละ 94.73 ในปี OTOP เพม่ิ ขนึ้ โดยมมี ลู คา่ สนิ ค้าท่ีขายได้เพิม่ สูงขึน้ อย่าง
2561 วัยแรงงานมีความรู้และทักษะเป็นไปตามความ ต่อเนอ่ื งจาก 125,231 ลา้ นบาทในปี 2559 เป็น 153,467
ต้องการของตลาดแรงงานและเยาวชนไทยให้ความสนใจ ล้านบาท ในปี 2560
ศึกษาในระบบทวิภาคีเพิ่มสูงข้ึนทุกปีอย่างต่อเน่ืองจาก 1.3 การสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ
125,896 คน ในปี 2560 เป็น 139,727 คน ในปี 2561 และแขง่ ขนั ไดอ้ ย่างยั่งยืน เศรษฐกจิ ไทยขยายตวั เพมิ่ ขึ้น
นอกจากนี้ การออมสว่ นบคุ คลตอ่ รายไดพ้ งึ จบั จา่ ยใชส้ อย ในปีท่ีสองของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 และมเี สถยี รภาพ
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง สัดส่วนคนไทยมีความ อยใู่ นเกณฑด์ ี ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมในประเทศขยายตวั สงู สดุ
ใฝร่ ู้ เรยี นร้ดู ้วยตนเองเพม่ิ ขน้ึ โดยคนไทยใช้อนิ เทอรเ์ น็ต ในรอบ 6 ปี โดยเพมิ่ ข้ึนจากร้อยละ 4.0 ในปี 2560 เป็น
เพื่อการอ่านหาความรู้เพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 29.80 ในปี ร้อยละ 4.1 ในปี 2561 ขณะทอ่ี ัตราเงนิ เฟ้อเพมิ่ ขนึ้ เปน็
2560 เป็นรอ้ ยละ 29.82 ในปี 2561 และคนไทยใชเ้ วลา ร้อยละ 1.1 ในปี 2561 สูงสุดในรอบ 4 ปี ในปี 2561
ในการอ่านเฉล่ีย 80 นาทตี อ่ วนั สว่ นสถานการณ์ดา้ นสุข สดั สว่ นหนส้ี าธารณะคงคา้ งเพม่ิ ขนึ้ เลก็ นอ้ ยมาอยทู่ ร่ี อ้ ยละ
ภาวะ พบวา่ การเสยี ชวี ิตจากอบุ ตั ิเหตทุ างถนน สดั สว่ น 41.88 และดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลต่อเน่ืองท่ี 32.4
แมว่ ยั ใส และรายจา่ ยสขุ ภาพทง้ั หมดตอ่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวม พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นผลมาจากการเกินดุลของทั้ง
ในประเทศลดลง ขณะท่ี อตั ราการฆ่าตวั ตายของคนไทย ดุลการค้าและดุลบริการ การผลิตภาคเกษตรและ
เพมิ่ ขนึ้ จาก 6.03 คนในปี 2560 เปน็ 6.32 คนตอ่ ประชากร ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวเพ่ิมข้ึน ขณะท่ีการผลิตภาค
หน่ึงแสนคนในปี 2561 บรกิ ารหดตวั นอกจากนี้ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม
1.2 การสร้างความเป็นธรรมและลด มีสัดส่วนเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง ในช่วงแผนพัฒนาฯ
ความเหลอื่ มล้ำ� ในสังคมไทย พบว่า การลดความเหลื่อม ฉบบั ท่ี 12 โดยผลติ ภณั ฑม์ วลรวมในประเทศของวสิ าหกจิ
ล้�ำยังไม่เปน็ ไปตามเป้าหมายของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ขนาดกลางและขนาดย่อม (GDP SME) ขยายตวั รอ้ ยละ
แมว้ า่ ประชากรรอ้ ยละ 40 ทม่ี รี ายไดต้ ำ่� สดุ มรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ 5.2 ในปี 2561 สงู กว่าการขยายตัวเศรษฐกจิ ในภาพรวม
จาก 3,353 บาท/คน/เดือน ในปี 2558 เป็น 3,408 บาท/ ทง้ั ประเทศทขี่ ยายตวั เพยี งรอ้ ยละ 4.1 และคดิ เปน็ สดั สว่ น
คน/เดือน ในปี 2560 แต่เพิ่มข้ึนเพียงร้อยละ 0.8 ร้อยละ 42.95 ตอ่ ผลติ ภัณฑม์ วลรวมในประเทศ แตย่ งั ไม่
ซงึ่ ตำ�่ กวา่ คา่ เปา้ หมายทตี่ ง้ั ไวใ้ หเ้ พมิ่ ขน้ึ ไมต่ ำ่� กวา่ รอ้ ยละ 15 บรรลเุ ปา้ หมายท่กี ำ� หนดไวร้ ้อยละ 45

74 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

1.4 การเตบิ โตทเ่ี ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื ขณะท่ีโอกาสทางการศึกษาของประชาชนใน 3 จังหวัด
การพัฒนาอย่างย่ังยืน ประเทศไทยมีพ้ืนที่ป่าไม้ ท้ัง ชายแดนภาคใต้มีแนวโน้มลดลง และค่าคะแนนดัชนี
ประเทศเพมิ่ ขึน้ จากรอ้ ยละ 31.58 ในปี 2560 เป็นร้อยละ ความสัมพันธ์กับประเทศเพ่ือนบ้านมีแนวโน้มลดลง
31.68 ในปี 2561 หมบู่ า้ นในชนบทรอ้ ยละ 94.83 มรี ะบบ ประเทศไทยยังมีความเส่ียงต่อการรับมือภัยคุกคาม
ประปา มีพนื้ ที่ชลประทานเพม่ิ ข้ึน 274,824 ไร่ นอกจาก ท้ังทางทหารและอ่ืนๆ
นน้ั คณะรฐั มนตรไี ดเ้ หน็ ชอบ (รา่ ง) แผนแมบ่ ทการบรหิ าร 1.6 การบริหารจัดการในภาครัฐ
จดั การทรัพยากรน�ำ้ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) เม่ือวนั ที่ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล
18 มถิ นุ ายน 2562 เพอื่ ใชเ้ ปน็ กรอบและแนวทางการแกไ้ ข ในสังคมไทย ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรภาครัฐและอันดับ
ปัญหาและพัฒนาทรัพยากรน้�ำของประเทศ ส่วนการ ความยากงา่ ยในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ ของไทยมแี นวโนม้ ทด่ี ขี น้ึ
จดั การขยะมูลฝอย พบว่า สดั ส่วนของขยะมูลฝอยชมุ ชน ขณะที่ประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐลดลง
ไดร้ บั การจดั การอยา่ งถกู ตอ้ งและนำ� ไปใชป้ ระโยชนเ์ พมิ่ สงู โดยสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรของรัฐต่องบประมาณ
ขึ้นเป็นร้อยละ 73.60 คุณภาพน้�ำผิวดินทั่วประเทศดีข้ึน รายจา่ ยประจำ� ปลี ดลงจากรอ้ ยละ 21.6 ในปี 2560 เหลอื
มีแหล่งน�้ำท่ีอยู่ในเกณฑ์ดีถึงพอใช้เพ่ิมข้ึนเป็นร้อยละ 45 ร้อยละ 20.5 ในปี 2561 อุปสรรคในการด�ำเนินธุรกิจ
สว่ นสถานการณห์ มอกควนั 9 จงั หวดั ภาคเหนอื มแี นวโนม้ ในประเทศไทยลดลง พิจารณาจากการจัดอันดับความ
ดขี ึ้นตงั้ แต่ปี 2559 โดยในปี 2561 จ�ำนวนวนั ที่ฝนุ่ ละออง ยากงา่ ยในการดำ� เนินธรุ กจิ (Ease of doing Business)
เกินค่ามาตรฐานลดลงจากปี 2559 และปี 2560 จาก ของไทยมีแนวโนม้ ดขี นึ้ จากอนั ดบั ที่ 46 ในปี 2560 เป็น
61 วนั และ 38 วัน เป็น 34 วัน ขณะท่ีการปลอ่ ยก๊าซ อันดับท่ี 26 ในปี 2561 (จาก 190 ประเทศ) ขณะท่ี
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากการใช้พลังงานของ ภาครัฐมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการลดลงแต่ยัง
ประเทศในช่วงท่ีผ่านมามีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ อยู่ในอนั ดบั ท่ี 2 ของอาเซยี น นอกจากนี้ องค์กรปกครอง
3.0 ตอ่ ปี ทงั้ นไ้ี ดม้ กี ารตดิ ตง้ั ระบบเตอื นภยั ลว่ งหนา้ สำ� หรบั ส่วนท้องถิ่นท่ีมีประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีมี
พ้ืนที่เสี่ยงอุทกภัย–ดินถล่มในพ้ืนที่ลาดชันและพ้ืนที่ราบ แนวโนม้ เพม่ิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งจากรอ้ ยละ 1.68 ในปี 2560
เชิงเขา รวม 1,095 สถานี 4,046 หมู่บ้าน เป็นรอ้ ยละ 1.89 ในปี 2561 ขณะท่กี ารทจุ ริตคอรร์ ปั ช่นั
1.5 การเสรมิ สรา้ งความมนั่ คงแหง่ ชาติ ยังคงเป็นท่ีต้องเร่งแก้ไข คะแนนของดัชนีการรับรู้
เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ สู ่ ค ว า ม ม่ั ง คั่ ง แ ล ะ ยั่ ง ยื น การทจุ ริต (CPI) ลดลงจาก 37 คะแนนในปี 2560 เหลือ
มีผลการด�ำเนินงานท่ีส�ำคัญ อาทิ คนในสังคมไทยมี 36 คะแนนในปี 2561
ความจงรักภักดีและร่วมกันปกป้อง เชิดชูสถาบัน
พระมหากษัตริย์ให้เป็นสถาบันหลักของประชาชนท้ังไทย
และต่างชาติเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา “เราท�ำความดี
เพ่ือชาติ ศาสน์ กษัตริย์” ภายใต้โครงการจิตอาสา
พระราชทานเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง สังคมไทยมีความ
สมานฉันท์เพิม่ ข้ึน โดยดัชนสี นั ตภิ าพโลก Global Peace
Index) ของไทยมีแนวโน้มดีข้ึนจากอันดับท่ี 120
ในปี 2560 เป็นอันดับที่ 114 ในปี 2561 และดัชนี
ความไมม่ เี สถยี รภาพทางการเมอื งมคี ะแนนดขี น้ึ นอกจากน้ี
ประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น เหตุการณ์ความรุนแรง
ที่ยืดเย้ือยาวนานกว่า 15 ปีมีแนวโน้มลดลง และรายได้
เฉลย่ี ของครวั เรอื นเฉลย่ี ในพน้ื ที่ 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
มีแนวโน้มดีข้ึนเมื่อเทียบกับช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 75

1.7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ อันดับท่ี 42 ในปี 2561 นอกจากนี้ ผลงานวิจัยและ
ระบบโลจิสติกส์ มีความก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ อาทิ เทคโนโลยพี รอ้ มใชข้ องประเทศไทยถกู นำ� ไปใชใ้ นการสรา้ ง
การใชพ้ ลงั งานของประเทศมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ สดั สว่ น มูลค่าเชิงพาณิชย์มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 37.17
การใช้พลังงานข้ันสุดท้ายต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน ในปี 2560 เป็นร้อยละ 41.18 ในปี 2561
ประเทศมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องจาก 8.53 พันตัน 1.9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นท่ี
เทียบเท่าน้�ำมันดิบต่อพันล้านบาทในปี 2560 เหลือ เศรษฐกจิ ในปที ส่ี องของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 มผี ลการ
8.39 พันตันฯ ในปี 2561 และสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ พัฒนา ดงั น้ี (1) ช่องว่างรายไดร้ ะหว่างภาค การกระจาย
ลดลง โดยสัดส่วนปริมาณการขนส่งสินค้าทางรางและ รายได้ภายในภาค มีความแตกต่างกันเพ่ิมขึ้น โดย
ทางน�้ำต่อปริมาณการขนส่งสินค้าทั้งหมดภายในประเทศ ผลติ ภัณฑ์ภาคต่อหวั (GRP per capita) คา่ เฉลีย่ ต่อหวั
มีแนวโนม้ เพม่ิ ขึ้น สว่ นด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อยู่ ระหว่างภาคที่มีค่าผลิตภัณฑ์ภาคต่อหัวสูงสุดและต�่ำสุด
ในเกณฑด์ ี โดยอนั ดบั ดชั นวี ดั ประสทิ ธภิ าพระบบโลจสิ ตกิ ส์ เพ่ิมขึน้ จาก 6.0 เทา่ ในปี 2559 เปน็ 6.2 เทา่ ในปี 2560
ระหว่างประเทศ (LPI) ของประเทศไทยอยู่อันดับที่ 32 (2) ส่ิงแวดล้อมในพ้ืนที่อุตสาหกรรมหลักยังเป็นปัญหาท่ี
จาก 160 ประเทศทว่ั โลกในปี 2561 ปรบั ตวั ดขี นึ้ อยา่ งกา้ ว ตอ้ งไดร้ บั การแกไ้ ขอยา่ งจรงิ จงั โดยคา่ เฉลยี่ สารเบนซนี ใน
กระโดดจากอนั ดบั ที่ 45 ในปี 2559 อันดับความพรอ้ มใช้ พื้นท่ีจังหวัดระยองในปี 2561 มีปริมาณค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น
ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (NRI) ดีข้ึน เป็น 2.76 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม)
จำ� นวนหมบู่ า้ นทมี่ อี นิ เทอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู เพมิ่ ขนึ้ เปน็ รอ้ ย ซึง่ มคี ่าเกินมาตรฐานที่ก�ำหนดใหไ้ ม่เกนิ 1.7 มคก./ลบ.ม
ละ 73.8 ในปี 2561 นอกจากน้ี การขยายก�ำลังการผลิต และ (3) การลงทนุ ในพ้ืนที่เศรษฐกิจใหมบ่ รเิ วณชายแดน
นำ�้ ประปาและกระจายโครงขา่ ยการใหบ้ รกิ ารนำ�้ ประปามี เพ่ิมข้ึนทั้งมูลค่าการลงทุนและจ�ำนวนผู้ประกอบการ
ความครอบคลมุ พน้ื ทที่ วั่ ประเทศ แตก่ ารบรหิ ารจดั การลด โดยมูลค่าการลงทุนในพ้ืนที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดน
นำ้� สญู เสยี ยังดำ� เนนิ การไม่ได้ตามเปา้ หมาย เพ่มิ ขึน้ จาก 2,323.97 ล้านบาทในปี 2560 เป็น 3,242.2
1.8 การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ลา้ นบาทในปี 2561
วจิ ยั และนวตั กรรม ในปที ส่ี องของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 1.10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อ
มีความเข้มแข็งมากขึ้น โดยการลงทุนเพ่ือการวิจัยและ การพัฒนา มีความก้าวหน้าในการพัฒนาเครือข่ายการ
พฒั นาของประเทศไทยมสี ดั สว่ นเพมิ่ ขนึ้ ถงึ รอ้ ยละ 36 หรอื เชอ่ื มโยงตามแนวระเบยี งเศรษฐกจิ ทค่ี รอบคลมุ และมกี าร
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1 ของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ ขณะที่ ใชป้ ระโยชนไ์ ดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ โดยดชั นคี วามสามารถในการ
การลงทนุ วจิ ยั และพฒั นาของภาคเอกชนตอ่ ภาครฐั เพม่ิ ขน้ึ แขง่ ขนั ระดบั โลก (GCI) ในดา้ นคณุ ภาพโครงสรา้ งพ้นื ฐาน
และบรรลเุ ป้าหมายตามทกี่ ำ� หนด ในปี 2560 มีการลงทนุ ปรับตัวดีข้นึ จากอันดับท่ี 60 (140 ประเทศ) ในปี 2560
วิจัยเพ่มิ ขึ้น คดิ เป็นสัดสว่ นการลงทุนวจิ ยั และพฒั นาของ เปน็ อนั ดบั ท่ี 67 (137 ประเทศ) ในปี 2561 โดยสนิ คา้ ขน้ั กลาง
ภาคเอกชน:ภาครัฐ เพิ่มเป็นร้อยละ 80:20 (เป้าหมาย ทผี่ า่ นดา่ นชายแดนระหวา่ งประเทศมมี ลู คา่ 4,519พนั ลา้ นบาท
กำ� หนดไว้ท่ี 70:30) สว่ นบคุ ลากรดา้ นการวิจยั และพฒั นา ในปี 2561 มูลค่าการส่งออกมีอัตราการขยายตัวร้อยละ
แบบเทียบเท่าท�ำงานเต็มเวลามีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นอย่าง 7.7 การค้าชายแดนระหว่างไทยกับประเทศเพ่ือนบ้าน
ตอ่ เนอ่ื งเปน็ 21.0 คนตอ่ ประชากร 10,000 คน ในปี 2560 ในอนุภูมิภาคขยายตัวร้อยละ 5.58 นอกจากน้ี ไทยให้
(รอบปสี ำ� รวจ 2561) จาก 17.0 คนต่อประชากร 10,000 ความช่วยเหลือด้านการเงินมีมูลค่า 5,945.11 ล้านบาท
คนในปี 2559 แต่ยังต่�ำกว่าเป้าหมายที่ก�ำหนดให้มี เพ่มิ ข้ึนจากปี 2559 ทีม่ ีมลู คา่ 1,241.48 ล้านบาท ขณะท่ี
บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาเพิ่มเป็น 25 คนต่อ การด�ำเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประชากร 10,000 คน ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ น มคี วามกา้ วหนา้ มากขน้ึ ประเทศไทยมคี ะแนน SDG Index
โครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยปี รบั ตวั เทา่ กบั 69.2 คะแนน จดั อยใู่ นอนั ดบั ท่ี 59 จาก 156 ประเทศ
ดีขนึ้ 6 อนั ดบั จากอนั ดบั ที่ 48 ในปี 2560 ขึ้นมาอยทู่ ี่ ขณะท่คี ะแนนเฉลย่ี ของภมู ิภาคอยู่ท่ี 64.1

76 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

2. ในระยะ 2 ปขี องแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 รายงานภาวะเศรษฐกจิ ไทย ปี 2562 และแนวโนม้
สังคมไทยมีความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในระดับ เศรษฐกจิ ไทยปี 2562 และปี 2563
ปานกลาง และมแี นวโนม้ สูงข้ึน โดยค่าดัชนคี วามอยูเ่ ย็น
เป็นสุขร่วมกันในสังคมไทยปรับตัวเพิ่มขึ้นจากร้อยละ สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในช่วง 9 เดือนแรกของ
66.60 ในปี 2559 หรือปีสุดท้ายของแผนพัฒนาฯ ปี 2562
ฉบบั ที่ 11 เปน็ รอ้ ยละ 70.40 ในปี 2560 หรือปแี รกของ เศรษฐกิจไทยในปี 2562 ยังคงขยายตัว
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และเพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ 76.47 ต่อเนื่องจากปี 2561 โดยเศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรก
ในปี 2561 หรือปีท่ีสองของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ขยายตวั รอ้ ยละ 2.8 ไตรมาสสองขยายตวั รอ้ ยละ 2.3 และ
โดยปัจจัยเก้ือหนุนท่ีส่งผลให้ความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน ไตรมาสทส่ี ามขยายตวั รอ้ ยละ 2.4 ตามลำ� ดบั รวม 9 เดอื น
ในสังคมไทยเพ่ิมข้ึน คือ สุขภาวะโดยรวมของบุคคล แรกของปี 2562 เศรษฐกจิ ไทยขยายตวั ร้อยละ 2.5 ชะลอ
ครอบครัว และชุมชน มีระดับดีขึ้นมาก จากระดับปาน ตวั จากรอ้ ยละ 4.3 ในชว่ งเดยี วกนั ของปกี อ่ น โดยการขยาย
กลางในปี 2560 เป็นระดับดีในปี 2561 เศรษฐกิจมี ตัวของเศรษฐกิจในไตรมาสที่สามในด้านการใช้จ่าย
ความเข้มแข็งและเป็นธรรมมีระดับดีข้ึนเล็กน้อย และ เป็นการขยายตัวต่อเนื่องของการบรโิ ภคภาคเอกชน และ
ยังคงทรงตัวอยู่ในระดับดี สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ การขยายตัวเร่งขึ้นของการลงทุนภาคเอกชน การลงทุน
สมดุล มีระดับดีขึ้น จากระดับต้องปรับปรุงเป็นระดับ ภาครัฐ และการใช้จ่ายของรัฐบาล ในขณะที่ปริมาณ
ปานกลาง สงั คมมคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตยทม่ี ธี รรมาภบิ าล การส่งออกสินค้าลดลง ในด้านการผลิต การผลิตสาขา
แม้จะมีคะแนนดีขึ้นมาก แต่ยังอยู่ในระดับต้องปรับปรุง เกษตรกรรมกลับมาขยายตวั การผลติ สาขาทพ่ี ักแรมและ
ขณะที่การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหล่ือมล�้ำ บรกิ ารดา้ นอาหารขยายตวั เรง่ ขนึ้ การผลติ สาขาการขนสง่
ในสงั คมมรี ะดบั ดีขึน้ มาก และสถานทเี่ กบ็ สนิ คา้ ขยายตวั ตอ่ เนอื่ ง ในขณะทกี่ ารผลติ
สาขาการขายส่งและการขายปลีกฯ สาขาก่อสร้าง และ
ตารางอตั ราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย สาขาไฟฟ้า ก๊าซฯ ชะลอตัวลง ส่วนสาขาอุตสาหกรรม
ปี 2560 – 2562 ปรับตัวลดลงต่อเน่ือง

% 2560 ทงั้ ป ี Q1 2561 Q4 Q1 2562
Q2 Q3 9M Q2 Q3 9M

GDP (%YoY) 4.0 4.1 5.0 4.7 3.2 4.3 3.6 2.8 2.3 2.4 2.5

GDP ปรับฤดูกาล (%QoQ sa) - - 1.9 1.0 0.0 - 0.8 1.0 0.4 0.1 -

แนวโน้มเศรษฐกจิ ไทยปี 2562 – 2563
สศช. คาดวา่ เศรษฐกจิ ไทยในปี 2562 คาดวา่ จะขยายตวั รอ้ ยละ 2.6 โดยคาดวา่ มลู คา่ การสง่ ออกสนิ คา้ จะลดลง
ร้อยละ 2.0 การบริโภคภาคเอกชน และการลงทนุ รวมขยายตัวรอ้ ยละ 4.3 และรอ้ ยละ 2.7 ตามล�ำดับ อตั ราเงนิ เฟ้อ
ท่ัวไปเฉลี่ยร้อยละ 0.8 และบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 6.2 ของ GDP ส่วนปี 2563 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ
2.7 – 3.7 โดยมแี รงสนบั สนนุ สำ� คญั ประกอบดว้ ย (1) แนวโนม้ การขยายตวั ในเกณฑท์ น่ี า่ พอใจของอปุ สงคภ์ ายในประเทศ
ทงั้ ในดา้ นการใชจ้ า่ ยภาคครวั เรอื น และการลงทนุ ภาครฐั และเอกชน (2) การปรบั ตวั ดขี น้ึ ของการสง่ ออกภายใตแ้ นวโนม้
การปรับตัวดีขึ้นอย่างช้า ๆ ของเศรษฐกิจโลก และการปรับตัวของภาคการส่งออกต่อมาตรการกีดกันทางการค้า
(3) การด�ำเนินมาตรการขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจของภาครัฐ และ (4) การปรับตวั ดขี ึ้นของภาคการท่องเทีย่ ว ทงั้ นี้ คาดว่า
มลู คา่ การสง่ ออกสนิ คา้ จะขยายตวั รอ้ ยละ 2.3 การบรโิ ภคภาคเอกชน และการลงทนุ รวมขยายตวั รอ้ ยละ 3.7 และรอ้ ยละ
4.8 ตามล�ำดับ อัตราเงินเฟอ้ ทว่ั ไปเฉล่ียอย่ใู นช่วงรอ้ ยละ 0.5 – 1.5 และบัญชเี ดินสะพดั เกนิ ดลุ รอ้ ยละ 5.6 ของ GDP

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 77

ประเดน็ การบรหิ ารนโยบายเศรษฐกจิ 3) การรักษาแรงขบั เคลอ่ื นการขยายตัวทางเศรษฐกิจจาก
ในช่วงที่เหลอื ของปี 2562 และปี 2563 การใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ โดยให้ความส�ำคัญกับ
ควรให้ความส�ำคัญกับ 1) การขับเคล่ือน (1) การเตรียมโครงการให้มีความพร้อมต่อการเบิกจ่าย
การสง่ ออกใหม้ ลู คา่ การสง่ ออกกลบั มาขยายตวั ไดไ้ มต่ ำ่� กวา่ เมื่องบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี 2563 มีผลบังคับใช้
รอ้ ยละ 3.0 โดยให้ความส�ำคญั กบั (1) การขับเคลือ่ นการ (2) การเร่งรัดอัตราเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี
สง่ ออกสนิ คา้ ทมี่ โี อกาสไดร้ บั ประโยชนจ์ ากมาตรการกดี กนั ในปีงบประมาณ 2563 ให้ไม่ต่�ำกว่าร้อยละ 92.3 โดย
ทางการค้า (2) การให้ความช่วยเหลือผู้ส่งออกท่ีได้รับ งบประจำ� และงบลงทนุ ไมต่ ำ�่ กวา่ รอ้ ยละ 98.0 และรอ้ ยละ
ผลกระทบผ่านความเช่ือมโยงของห่วงโซ่การผลิต 70.0 ตามล�ำดบั งบเหลื่อมปไี มต่ ำ่� กวา่ ร้อยละ 73.0 และ
(3) การปฏบิ ตั ติ ามกรอบกตกิ าการคา้ โลก ขอ้ กำ� หนด และ งบลงทุนรัฐวสิ าหกจิ ไมต่ ำ�่ กว่าร้อยละ 80.0 (3) การเร่งรัด
แนวทางปฏบิ ัตใิ นประเทศคู่ค้า และ (4) การขยายความ ด�ำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐานและการเบิกจ่าย
ร่วมมือทางเศรษฐกจิ และการคา้ โดยเฉพาะกับประเทศที่ จากโครงการทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งกอ่ สรา้ ง และ (4) การขบั เคลอื่ น
มีโอกาสใช้ประโยชน์จากการเบี่ยงเบนทิศทางทางการค้า โครงการลงทนุ ทม่ี คี วามสำ� คญั และจำ� เปน็ ตอ่ การยกระดบั
2) การขับเคลื่อนภาคการท่องเที่ยวให้สามารถขยายตัว ศักยภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 4) การสร้างความ
และสนับสนุนเศรษฐกิจในภาพรวมได้อย่างต่อเน่ือง โดย เชอ่ื มน่ั และสนบั สนนุ การขยายตวั ของการลงทนุ ภาคเอกชน
ให้ความส�ำคัญกับการเจาะตลาดกลุ่มนักท่องเท่ียวรายได้ โดย (1) การขบั เคลอ่ื นการสง่ ออก (2) การผลกั ดนั โครงการ
สงู การกระจายตลาดนกั ทอ่ งเทยี่ วใหม้ คี วามสมดลุ มากขน้ึ ลงทุนท่ีขอรับและได้รับอนุมัติส่งเสริมการลงทุนให้มี
การรกั ษาความปลอดภยั ของนกั ทอ่ งเทยี่ ว การจดั กจิ กรรม การลงทนุ จริงโดยเรว็ (3) การสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ
ส่งเสริมการท่องเท่ียว การอ�ำนวยความสะดวกและ และนักลงทุนท่ีได้รับผลกระทบจากมาตรการกีดกัน
ลดปัญหาความแออัดของนักท่องเที่ยว และการรณรงค์ ทางการค้าเพ่ิมการใช้ก�ำลังการผลิตและย้ายฐานการผลิต
ให้นักท่องเที่ยวชาวไทยท่องเท่ียวในประเทศมากขึ้น มาประเทศไทย (4) การขับเคล่ือนโครงการลงทุนของ

78 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

ภาครัฐ และ (5) การเตรียมความพร้อมดา้ นกำ� ลังแรงงาน แนวโน้มสัดส่วนตน้ ทนุ โลจิสตกิ ส์ในปี 2561 มี
และคุณภาพแรงงาน และ 5) การดูแลเกษตรกร ก�ำลัง แนวโนม้ ลดลงเหลอื รอ้ ยละ 13.4 ตอ่ GDP โดยคาดวา่ สว่ น
แรงงาน ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม ต้นทุนค่าขนส่งสินค้าจะปรับลดลงเหลือร้อยละ 7.3 ต่อ
และเศรษฐกิจฐานราก GDP ตน้ ทนุ การเกบ็ รกั ษาสนิ คา้ คงคลงั จะปรบั ลดลงเหลอื
รายงานโลจสิ ตกิ ส์ของประเทศไทยประจำ� ปี 2561 ร้อยละ 4.9 ต่อ GDP และต้นทุนการบริหารจัดการมี
ต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศไทยในปี 2560 สัดส่วนคงทรี่ ้อยละ 1.2 ต่อ GDP สัดสว่ นตน้ ทุนโลจิสตกิ ส์
มีมูลค่ารวม 2,106.5 พันล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วน ต่อ GDP (รอ้ ยละ)
รอ้ ยละ 13.6 ของผลติ ภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคา ทม่ี า: กองยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์ สำ� นกั งาน
ประจ�ำปี (Nominal GDP) ลดลงจากร้อยละ 13.8 ต่อ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
GDP ในปี 2559 มลู คา่ รวมของต้นทนุ โลจิสติกส์ขยายตวั  
ในอัตราท่ีสูงขึ้นตามการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ปริมาณการขนส่งสินค้า (พันตนั )
ในภาพรวม โดยสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ประกอบด้วย
ตน้ ทนุ ค่าขนสง่ สินคา้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.4 ตอ่ GDP ตน้ ทุน
การเก็บรักษาสินค้าคงคลังคิดเป็นร้อยละ 5.0 ต่อ GDP
และต้นทุนการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์คิดเป็น
รอ้ ยละ 1.2 ตอ่ GDP
ท้ังนี้ สัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ปรับ
ลดลงจากการปรับลดของสัดส่วนต้นทุนการเก็บรักษา
สินค้าคงคลังและต้นทุนการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์
โดยผู้ประกอบการมีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหาร
จัดการสินค้าคงคลังได้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ในขณะท่ี
สดั สว่ นตน้ ทนุ คา่ ขนส่งสนิ คา้ ยงั อยใู่ นระดบั คงที่ เนอื่ งจาก
ผู้ประกอบการยังคงเลือกใช้การขนส่งทางถนนที่มีต้นทุน
ค่าขนส่งต่อหน่วยสูงเป็นหลักประกอบกับปริมาณการ
ขนสง่ สินค้าทเ่ี พม่ิ มากขึ้น

ทม่ี า: ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สำ� นกั งาน
ปลัดกระทรวงคมนาคม

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 79

แนวทางการพัฒนาระบบโลจสิ ติกสข์ อง ของปลี ดลง ร้อยละ 5.2 ผู้ปว่ ยด้วยโรคปอดอกั เสบลดลง
ประเทศไทยในระยะตอ่ ไป ร้อยละ 31.1 ผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ลดลงร้อยละ 1.3
ควรใหค้ วามสำ� คญั กบั (1) การพฒั นาและผลกั ดนั แตพ่ บผปู้ ว่ ยโรคไขเ้ ลอื ดออกเพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 51.9 เนอ่ื งจาก
การใชป้ ระโยชนโ์ ครงสรา้ งพนื้ ฐานเพอ่ื สนบั สนนุ การขนสง่ ในหลายพน้ื ท่ยี ังมีฝนตกตอ่ เนือ่ ง
ตอ่ เนอื่ งหลายรปู แบบ โดยเรง่ รดั การพฒั นาโครงขา่ ยระบบ ความเป็นอยู่ของคนและพฤติกรรม
รางและผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การใชป้ ระโยชนเ์ ปน็ ระบบการขนสง่ ของคน ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2562 ค่าใช้จ่ายใน
สนิ คา้ หลกั ของประเทศ (2) การพฒั นาปจั จยั สนบั สนนุ และ การบริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ขยายตัว
สง่ิ อำ� นวยความสะดวก โดยพฒั นาระบบ National Single รอ้ ยละ 3.3 โดยปรมิ าณการบรโิ ภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์
Window (NSW) ให้สมบูรณ์ การปรับลดขั้นตอนและ ขยายตัวร้อยละ 4.2 ขณะที่การบริโภคบุหรี่ขยายตัว
กฎระเบียบที่เกี่ยวกับการนำ� เข้าส่งออก พร้อมท้งั สง่ เสรมิ รอ้ ยละ 1.7 ทง้ั น้ี ยงั ตอ้ งเฝา้ ระวงั กลยทุ ธท์ างการตลาดของ
การใช้เทคโนโลยีเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหาร บริษัทเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ท่ีผลิตเบียร์ไร้แอลกอฮอล์
จัดการของผูป้ ระกอบการ และ (3) การพัฒนาระบบฐาน ออกมาจ�ำหน่าย และอาศัยช่องโหว่ทางกฎหมายในการ
ข้อมูลใหญ่ (Big Data) ด้านโลจิสติกส์ ส�ำหรับใช้เป็น โฆษณา และอันตรายจากบุหร่ไี ฟฟา้
เครอื่ งมือในการประเมินผลและวางแผนการพัฒนาระบบ ความม่ันคงทางสังคม ด้านสถานการณ์
โลจิสตกิ ส์ของประเทศไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ ิน ในชว่ ง 9 เดือนแรก
ของปี 2562 คดีอาญารวม เพ่มิ ข้ึนรอ้ ยละ 19.0 เป็นการ
รายงานภาวะสังคมไทย ปี 2562 เพมิ่ ขน้ึ ของคดยี าเสพตดิ รอ้ ยละ 23.3 (สดั สว่ นรอ้ ยละ 85.5
รายงานภาวะสงั คมไทย ปี 2562 ประกอบดว้ ย ของคดีอาญารวม) คดีชีวิตร่างกายและเพศลดลงร้อยละ
(1) ความเคลอื่ นไหวทางสงั คมรายไตรมาส ไดแ้ ก่ คณุ ภาพ 2.9 คดปี ระทุษรา้ ยต่อทรพั ยล์ ดลงรอ้ ยละ 0.2 ยังคงต้อง
คน ความเป็นอยู่และพฤติกรรมของคน ความม่ันคงทาง เฝา้ ระวงั การแพรร่ ะบาดยาเสพตดิ การรณรงคใ์ หส้ งั คมได้
สังคม (2) สถานการณ์ทางสังคมที่ส�ำคัญในมิติต่าง ๆ ตระหนกั และรว่ มปอ้ งกนั และขจดั ความรนุ แรงตอ่ เดก็ และ
ทส่ี ะทอ้ นถงึ คณุ ภาพชวี ติ อยา่ งรอบดา้ น และ (3) บทความ สตรีในทุกรูปแบบให้หมดสิ้นไป ด้านความปลอดภัยของ
ซึ่งน�ำเสนอประเด็นทางสังคมเชิงลึกที่อยู่ในความสนใจ ผใู้ ชร้ ถใชถ้ นน การเกดิ อบุ ตั เิ หตลุ ดลงรอ้ ยละ 11.1 ผเู้ สยี ชวี ติ
มีผลกระทบต่อสังคม เพื่อเฝ้าระวังและเตือนภัยให้สังคม ลดลงร้อยละ 0.9 มูลค่าความเสียหายลดลงร้อยละ 2.1
ไดร้ ับทราบ ทงั้ นี้ ตลอดปี 2562 สาระสำ� คัญสถานการณ์ จำ� เปน็ ตอ้ งยกระดบั การบงั คบั ใชก้ ฎหมายความเรว็ ใหเ้ ปน็
ทางสงั คมและบทความประจ�ำฉบบั สรุปได้ดังนี้ ไปตามภารกจิ หลกั ในการกวดขนั วนิ ยั จราจร ปรบั ปรงุ การ
ความเคล่อื นไหวทางสังคม กำ� หนดบทลงโทษทม่ี ากขนึ้ ตามความรนุ แรงของการฝา่ ฝนื
การมีงานท�ำและคุณภาพคน ในช่วง 9 กฎหมาย ในสว่ นการรอ้ งเรยี นสนิ คา้ และบรกิ ารผา่ น สคบ.
เดือนแรกของปี 2562 ก�ำลังแรงงานลดลงร้อยละ 0.5 ลดลง แต่การร้องเรียนผู้ประกอบการด้านการท่องเท่ียว
ผมู้ งี านทำ� ลดลง รอ้ ยละ 0.5 ผวู้ า่ งงานเพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 10.8 ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่การรับร้องเรียนผ่าน กสทช.
คดิ เป็นอตั ราการวา่ งงานเท่ากบั ร้อยละ 0.98 การจา้ งงาน เพ่ิมข้ึน และยังต้องเฝ้าระวังภัยจากข่าวปลอมหลอกลวง
ภาคเกษตรลดลงรอ้ ยละ 3.3 และภาคนอกเกษตรเพม่ิ ขึน้ ผ่าน E-mail Scam ที่สร้างความเสียหายในวงกว้าง
รอ้ ยละ 0.8 สว่ นหนีค้ รัวเรือน ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2562 สถานการณท์ างสงั คมทส่ี �ำคัญ
มมี ูลคา่ 13.08 ล้านล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 5.8 หรือ การพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อเพิ่มศักยภาพ
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 78.7 ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมใน แรงงานในอนาคต ดว้ ยการใหเ้ ดก็ ไทยไดร้ บั การศกึ ษาทม่ี ี
ประเทศ ขณะท่ีผู้ป่วยด้วยโรคเฝ้าระวังรวม 9 เดือนแรก คณุ ภาพและการดแู ลดา้ นสขุ ภาพอยา่ งเตม็ ท่ี จงึ ตอ้ งเรง่ ยก
ระดับคุณภาพการศึกษาและลดปัจจัยเส่ียงเสียชีวิตจาก

80 รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

โรคไม่ติดต่อและอุบัติเหตุเพื่อเพิ่มอายุคาดเฉลี่ยใน ร้อยละ 1.3 และ 39.6 ตามล�ำดับ ยงั ตอ้ งเฝ้าระวังอยา่ ง
ประชากรวัยผู้ใหญ่ ต่อเน่ืองเพราะยังเป็นวัยท่ีควรอยู่ในระบบการศึกษา
การแก้ไขปัญหามลพิษฝุ่นอย่างต่อเนื่อง กระทรวงศึกษาธิการจึงมีการบังคับใช้กฎกระทรวงท่ีจะ
จ�ำเป็นต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด มี ท�ำให้แม่วัยรุ่นได้มีโอกาสอยู่ในระบบการศึกษาจนส�ำเร็จ
หนว่ ยงานเจา้ ภาพรบั ผดิ ชอบการแกป้ ญั หาอยา่ งบรู ณาการ การศกึ ษาเปน็ จ�ำนวนมากขึน้
และครบวงจร รวมท้ังเร่งร่วมมือระดับภูมิภาคในการ ประเทศไทยไดร้ ับการจดั อันดบั การแกไ้ ข
แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศโดยเฉพาะพ้ืนที่อาเซียน ปญั หาการค้ามนุษยเ์ ป็น Tier 2 เป็นปที ่ี 2 ติดตอ่ กนั
ภาคพืน้ สมุทร จากการแสดงให้เห็นถึงความพยายามที่เพิ่มข้ึนของไทย
เยาวชนมีความเสี่ยงต่อการเป็นภาวะ ในการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ จริงจัง ป้องกัน และมีความ
ซึมเศร้าและฆ่าตัวตายมากขึ้น ทุกภาคส่วนต้องร่วมมือ คืบหนา้ ในการแกป้ ญั หา
ปอ้ งกนั แกไ้ ขอยา่ งจรงิ จงั โดยความรว่ มมอื ของทกุ ภาคสว่ น เดก็ ไทย 1 ใน 5 เป็นเดก็ ยากจนหลายมติ ิ
ท้ังครอบครัวและคนใกล้ชิดต้องเอาใจใส่ต่อบุตรหลาน โดยประสบกับความขัดสนด้านการศึกษามากที่สุด
สถานศึกษาต้องเฝ้าระวังและสังเกตพฤติกรรม พร้อมท้ัง เขตชนบทมคี า่ ดชั นคี วามยากจนหลายมติ ใิ นกลมุ่ เดก็ สงู กวา่
ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ส่งเสริมทักษะชีวิตในกลุ่มเยาวชน ในเขตเมือง ทั้งสัดส่วนของเด็กยากจนหลายมิติและ
มากขน้ึ ความรุนแรงของความยากจน เมื่อพิจารณาเฉพาะ
กองทนุ เพอื่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา ความรนุ แรงของความยากจนแลว้ ภาคเหนอื มคี วามรนุ แรง
(กศส.) ความท้าทายในการสร้างโอกาสการเข้าถึง สูงท่ีสุด แม้ว่าสัดส่วนเด็กยากจนหลายมิติจะน้อยกว่า
การศึกษาอยา่ งท่ัวถึง เป็นเครอ่ื งมอื สำ� คญั ในการลดความ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็ตาม
เหลอ่ื มลำ้� และเพิ่มโอกาสทางการศกึ ษา ในปี 2561 กสศ. การป้องกันเด็กและเยาวชนจากภัย
ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ออนไลน์ เดก็ ไทยยงั มที กั ษะความฉลาดทางดจิ ทิ ลั ตำ�่ โดย
จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไขให้ ร้อยละ 60 มีความเสี่ยงจากภัยออนไลน์ ดังนั้น
กบั นกั เรยี น 510,040 คน ใน 26,557 โรงเรยี นสงั กดั สพฐ. ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องจ�ำเป็นต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็ก
มีการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะอาชีพและทักษะชีวิต รูเ้ ท่าทนั ส่ือ สารสนเทศ และมคี วามฉลาดทางดจิ ิทัล
จนกลายเปน็ ตวั อย่างต้นแบบเพ่ือใชข้ ยายผลตอ่ ไป เด็กรุ่นใหม่มีรูปแบบการท�ำงานที่เปลี่ยน
คนไทยอ่านและใช้เวลาอ่านเพิ่มขึ้น ไปจากอดตี 1 ใน 3 ของกลมุ่ คนเจเนอเรชนั วาย มแี นวโนม้
แต่เด็กวัยเรียนยังมีปัญหาอ่านไม่ออกและขาดทักษะด้าน การทำ� งานแบบ NextGen Work สูงกว่าคนในกล่มุ อน่ื ๆ
การอา่ น ภาพรวมการอา่ นของคนไทยดขี น้ึ ทง้ั ในแงจ่ ำ� นวน ทมี่ อี ายมุ ากกวา่ กลมุ่ คนรนุ่ ใหมย่ งั จำ� เปน็ จะตอ้ งมกี ารปรบั
คนอ่านและเวลาท่ีใช้ในการอา่ น แต่ยงั มีประเด็นท่ีตอ้ งเร่ง ตวั ใหส้ ามารถตอบสนองการทำ� งานในรปู แบบใหม่ ระบบ
แก้ไขท้ังในเรื่องปัญหาการอ่านไม่ออกและอ่านไม่คล่อง ความคดิ ตอ้ งมกี ารพฒั นาไปสกู่ ารคดิ เชงิ วเิ คราะห์ และการ
จำ� เปน็ ตอ้ งรณรงคใ์ หค้ วามรแู้ ละสรา้ งความเขา้ ใจกบั พอ่ แม่ คิดเชิงสรา้ งสรรค์มากขึน้ บทความทางสังคมทนี่ ่าสนใจ
และสงั คมให้มากขนึ้ เรง่ ด�ำเนินการแก้ไขหลกั สูตร วิธีการ ความเหลอื่ มลำ้� ในสงั คมไทย ยงั อยใู่ นระดบั
จัดการเรยี นการสอน สูงยังพบช่องว่างที่ต้องเร่งแก้ไขทั้งเร่ืองการบูรณาการ
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นกับโอกาสทางการ ขอ้ มลู ยากจนเพอื่ ชว่ ยเหลอื ไดต้ รงกลมุ่ เปา้ หมาย ปรบั ปรงุ
ศึกษา ข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 พบจ�ำนวน กฎระเบียบให้เกิดการแข่งขันท่ีเป็นธรรม ใช้นโยบาย
หญิงคลอดบตุ รอายุ 10-19 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.9 อัตรา การคลังเพื่อเอื้อประโยชน์ต่อผู้มีรายได้น้อย รวมทั้ง
การคลอดของหญงิ อายุ 10-14 ปี และอายุ 15-19 ปี ต่อ เพ่ิมมาตรการยกระดบั รายไดก้ ล่มุ ร้อยละ 40 ท่ีมรี ายได้
ประชากรหญิงในช่วงอายุเดียวกัน 1,000 คน เท่ากับ นอ้ ยทสี่ ดุ

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 81

อีสปอร์ต สถานการณ์ผลกระทบ และ ความก้าวหน้าการพัฒนาคนของ
แนวทางการดูแล อีสปอร์ตพัฒนาจากเกมออนไลน์ที่ ประเทศไทย ภาพรวม ปี 2562 คา่ ดชั นคี วามกา้ วหนา้ ของ
แขง่ ขนั เพอ่ื ความสนุกสนาน ไปสกู่ ารแขง่ ขนั จรงิ จงั สรา้ ง คนเท่ากับ 0.6219 ด้านการพัฒนาท่ีอยู่อาศัยและสภาพ
รายได้ให้กับผู้เล่นและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องที่อาจสร้าง แวดล้อมมีความก้าวหน้ามากท่ีสุด ด้านการศึกษามีความ
ผลกระทบตอ่ เดก็ และเยาวชนตดิ เกม จำ� เปน็ ตอ้ งมแี นวทาง ก้าวหน้าน้อยท่ีสุด จังหวัดส่วนใหญ่มีความก้าวหน้าการ
การดูแล มขี ้อกำ� หนดกฎระเบยี บและกตกิ าทีช่ ัดเจน พัฒนาคนเพ่ิมขึ้น ควรให้ความส�ำคัญกับการสร้างเสริม
อุบัติเหตุทางถนนป้องกันได้ ด้วยการมี สุขภาวะ การยกระดับคุณภาพการศึกษาและลดช่องว่าง
ระบบท่ีปลอดภัย ให้ความส�ำคัญกับโครงสร้างถนนและ การพัฒนาระหว่างพื้นท่ี การยกระดับรายได้ การขยาย
สิง่ แวดลอ้ มทเี่ หมาะสม ยานพาหนะที่ปลอดภัย การใช้รถ ระบบประกนั สงั คมใหค้ รอบคลมุ ตลอดจนการสรา้ งความ
ใชถ้ นนอย่างปลอดภยั และความเรว็ ท่ปี ลอดภยั เขม้ แขง็ ของครอบครัวและชุมชน


รายงานการตดิ ตามความก้าวหนา้ การสรา้ งความเป็นธรรม
และลดความเหลื่อมล�้ำในสังคมไทย ภายใตย้ ุทธศาสตร์

การสรา้ งความเป็นธรรมและลดความเหลือ่ มล�ำ้ ในสังคม แผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 12

ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหล่ือมล�้ำในสังคม ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564 มเี ป้าประสงคเ์ พอ่ื ให้คนไทยไดร้ บั ความเปน็ ธรรมในการเข้าถงึ ทรัพยากร
และบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่�ำสุดได้รับการพัฒนาศักยภาพ
รวมทั้งชมุ ชนมีความเข้มแข็งพ่ึงพาตนเองได้
สถานการณ์ความเหลื่อมล�้ำในสังคมไทยในปี ของกลุ่มประชากรที่มีฐานะยากจนเพ่ิมขึ้น เช่นเดียวกับ
2561 พบว่า ปัญหาความเหลอื่ มลำ�้ ดา้ นรายได้และแก้ไข การกระจายตัวของบุคลากรทางการแพทย์ในปี 2560
ปญั หาความยากจนยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามแผนพฒั นาฯ กลา่ วคอื ที่ดีข้นึ เม่อื เทยี บกบั ปี 2559 ในดา้ นการศึกษา อตั ราการ
รายไดเ้ ฉลี่ยต่อหวั ของกล่มุ เปา้ หมายประชากรร้อยละ 40 เข้าเรียนสุทธิในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพิ่มขึ้นใน
ทมี่ ีรายไดต้ ่�ำสุด (Bottom 40) เพ่มิ ขึ้นเพียงรอ้ ยละ 0.8 ทกุ ระดบั ชนั้ แตย่ งั ไมผ่ า่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 90 สดั สว่ นนกั เรยี น
ต่อปี ต่�ำกว่าอัตราการขยายตัวของรายได้เฉลี่ยของกลุ่ม ทม่ี ีผลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษาผ่านเกณฑค์ ะแนนรอ้ ยละ 50
ประชากรร้อยละ 60 ที่มีรายได้สูง (Top 60) สัดส่วน เพม่ิ ขนึ้ ในทกุ ระดบั ชนั้ แตย่ งั มคี วามแตกตา่ งระหวา่ งพน้ื ที่
ประชากรทอี่ ยใู่ ตเ้ สน้ ความยากจนเพมิ่ ขน้ึ จากรอ้ ยละ 7.87 ในดา้ นการเพม่ิ ศกั ยภาพชมุ ชนและเศรษฐกจิ ฐานรากใหม้ ี
ในปี 2560 เปน็ ร้อยละ 9.85 ในปี 2561 ในขณะเดยี วกัน ความเข้มแข็ง เพื่อให้ชุมชนพ่ึงพาตนเองและได้รับ
ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini Coefficient) สว่ นแบง่ ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ โดยสะทอ้ นเศรษฐกจิ
ด้านรายได้เพ่ิมขึ้นเล็กน้อยจาก 0.445 ในปี 2558 เป็น ชุมชนจากรายได้จากการจ�ำหน่ายสินค้าหนึ่งต�ำบล
0.453 ในปี 2560 สะท้อนให้เห็นวา่ รายไดข้ องประชากร หนง่ึ ผลติ ภณั ฑ์ (OTOP) ทม่ี มี ลู คา่ เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งจาก
มคี วามแตกตา่ งกนั มากขนึ้ ในดา้ นการเพมิ่ โอกาสการเขา้ ถงึ 125,208 ล้านบาทในปี 2559 เป็น 190,320 ล้านบาท
บริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ สามารถบรรลุ ในปี 2561 อย่างไรก็ดี สัดส่วนครัวเรือนที่เข้าถึงแหล่ง
เปา้ หมายไดเ้ ปน็ สว่ นใหญ่ โดยการเขา้ ถงึ ประกนั สงั คมของ เงนิ ทนุ กลบั ลดลงจากรอ้ ยละ 86.6 ในปี 2558 เปน็ รอ้ ยละ
แรงงานนอกระบบเพมิ่ ขน้ึ จากรอ้ ยละ 7.78 ในปี 2560 เปน็ 83.9 ในปี 2560
รอ้ ยละ 9.0 ในปี 2561 การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม

82 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ความก้าวหน้าในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ เปลี่ยนแปลงในชุมชน การให้ความร้ใู นการบริหารจดั การ
การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหลอื่ มลำ้� ในสงั คม ทางการเงนิ แกช่ มุ ชน และการสนบั สนนุ ชมุ ชนใหม้ สี ว่ นรว่ ม
มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก ได้จัดสรรงบประมาณ ในการจัดสวัสดิการ บริการ และการจัดการทรัพยากร
รายจ่ายวงเงิน 332,584.8 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 11.5 ในชมุ ชน
ของวงเงนิ งบประมาณ เพอ่ื สนบั สนนุ การพฒั นาเศรษฐกจิ
ฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง พัฒนาระบบประกันสุขภาพ ข้อเสนอแนะ
สร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ ส่งเสริม การด�ำเนินงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ 2
การด�ำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้�ำในสังคม
และเสรมิ สร้างสวสั ดิการสังคมและยกระดบั คณุ ภาพชวี ิต ในช่วง 2 ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 มีความ
การแปลงยุทธศาสตร์ฯ ไปสู่การปฏิบัติของ คืบหน้าเป็นอย่างมาก สะท้อนจากตัวช้ีวัดที่ส่วนใหญ่
หนว่ ยงานภาครฐั ดา้ นการเพมิ่ โอกาสใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมาย มีแนวโน้มเป็นไปในทิศทางเดียวกับเป้าหมายของ
ประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต�่ำสุดให้สามารถเข้าถึง ยุทธศาสตร์ฯ โดยมีการด�ำเนินนโยบาย มาตรการและ
บริการท่ีมีคุณภาพของรัฐและมีอาชีพ ประกอบด้วย โครงการของภาครัฐท่ีสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาท่ี
การขยายโอกาสการเขา้ ถงึ การศกึ ษาใหแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชน ระบุไว้ในแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ได้อย่างครอบคลุม
ดอ้ ยโอกาส การปฏริ ปู ระบบการแพทยป์ ฐมภมู ิ ชว่ ยลดการ แต่ยังคงมีช่องว่างทางนโยบาย (Policy Gaps) ซึ่งหาก
รอคอยในการไปพบแพทยท์ โี่ รงพยาบาลใหญแ่ ละลดคา่ ใช้ ต้องการให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีก�ำหนดไว้ ภาครัฐจำ� เป็น
จ่ายในการเดินทาง การสร้างโอกาสการมีท่ีดินท�ำกินของ ต้องเร่งด�ำเนินมาตรการต่าง ๆ เพิ่มเติม เช่น เร่งด�ำเนิน
ตนเองและยกระดบั รายได้ การกำ� หนดนโยบายภาษที ช่ี ว่ ย มาตรการยกระดับรายได้ เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและ
ให้เกิดการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมมากขึ้น การจัด อัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาของนักเรียน ปรับปรุง
สวัสดิการสังคมเพิ่มเติมให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากร ปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจ รวมทั้งกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ร้อยละ 40 ท่มี ีรายได้ตำ่� สดุ ผ่านโครงการไทยนิยมย่ังยนื ใหเ้ กดิ การแขง่ ขนั ท่เี ปน็ ธรรม เปน็ ต้น
มาตรการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผมู้ บี ตั รสวสั ดกิ ารแหง่ รฐั และ
โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดส�ำหรับ รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจน
ครวั เรอื นทมี่ รี ายไดน้ อ้ ย ในดา้ นการกระจายบรกิ ารภาครฐั และความเหล่อื มล�้ำ ในประเทศไทยปี 2561
และสวสั ดกิ ารทีม่ ีคณุ ภาพครอบคลุมและท่ัวถงึ ตลอดจน
ปรับปรุงปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจ รวมท้ังกฎหมาย สศช. ไดจ้ ดั ทำ� รายงานการวเิ คราะหส์ ถานการณ์
กฎ ระเบียบให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรม ประกอบด้วย ความยากจนและความเหล่ือมล�้ำในประเทศไทย เป็น
การยกระดบั การศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพใหเ้ ทา่ เทยี มกนั มากขนึ้ ประจ�ำทุกปี ตง้ั แตป่ ี 2553 เป็นต้นมา โดยมีวัตถปุ ระสงค์
การบริหารจัดการบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพให้ เพ่ือน�ำเสนอสถานการณ์ และชี้ให้เห็นถึงประเด็นปัญหา
ครอบคลุม การรณรงค์ให้แรงงานนอกระบบตระหนักถึง ความยากจนและความเหลื่อมล้�ำที่เป็นสถานการณ์ล่าสุด
ประโยชน์ของการสร้างหลักประกันในวัยเกษียณและ รวมทั้งการวิเคราะห์ลักษณะของปัญหาความยากจนและ
ระบบประกันสังคม รวมถึงการจัดหาท่ีอยู่อาศัยเพื่อผู้มี ความเหลื่อมล้�ำในสังคมไทย นอกจากนี้ มีการรวบรวม
รายได้น้อยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมกับ นโยบายและมาตรการ/โครงการส�ำคญั ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การ
ประชากรทุกกลุม่ รวมถงึ การปรับปรุงปจั จัยแวดล้อมทาง แก้ปัญหาความยากจนและลดความเหล่ือมล้�ำของรัฐบาล
ธุรกจิ ให้เกิดการแขง่ ขันท่เี ปน็ ธรรม ในดา้ นการเสริมสรา้ ง ที่ด�ำเนินการอยู่ในปัจจุบัน รวมท้ังน�ำเสนอแนวทาง
ศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการสร้าง ในการแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้�ำ
ความเข้มแข็งการเงินฐานรากตามปรัชญาของเศรษฐกิจ ในสงั คมไทย
พอเพียง ประกอบด้วย การสร้างและพัฒนาผู้น�ำการ

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 83

สถานการณค์ วามยากจนในประเทศไทย ปี 2561 สดั ส่วนคนจนเทา่ กบั ร้อยละ 9.85 เพ่มิ ข้ึนเมื่อเทียบกบั
ร้อยละ 7.87 ในปี 2560 หรอื มีคนจนจำ� นวน 6.7 ล้านคน เพิ่มขน้ึ จาก 5.3 ล้านคนในปกี ่อน สว่ นหนง่ึ เปน็ ผลจากกลุ่ม
คนจนไดร้ บั ผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจทีล่ ดลง โดยคนยากจนส่วนใหญท่ ำ� งานในภาคเกษตรกรรม ซ่งึ ในปี 2561 ไดร้ บั
ผลกระทบจากราคาสินคา้ เกษตรปรบั ตัวลดลงรอ้ ยละ 5.7 ทำ� ให้รายไดเ้ กษตรกรลดลง
เส้นความยากจน สัดสว่ นคนจน และจ�ำนวนคนจน ตง้ั แต่ ปี 2531 - 2561

ทม่ี า : ขอ้ มลู จากการสำ� รวจภาวะเศรษฐกจิ และสังคมของครวั เรือน สำ� นักงานสถิตแิ ห่งชาติ ประมวลผลโดยกองพัฒนา
ข้อมูลและตวั ชีว้ ดั สังคม สศช.
สถานการณ์ความเหล่ือมลำ�้ ในประเทศไทยปี 2561 ค่าสัมประสิทธ์ิจินีด้านรายจ่ายเพ่ือการอุปโภคบริโภค
มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง ในปี 2561 ค่าสัมประสิทธ์ิจินีของรายจ่ายเพื่ออุปโภคบริโภคเท่ากับ 0.362 ลดลงจาก
0.364 ในปี 2560 และเปน็ แนวโน้มลดลงต่อเน่อื งตงั้ แต่ปี 2531 สดั สว่ นรายจา่ ยเพือ่ การอปุ โภคบรโิ ภคจำ� แนกตามกลมุ่
ประชากรร้อยละ 10 ตามระดบั รายจา่ ย (Decile) เปลีย่ นแปลงไปจากปีกอ่ นไม่มากนกั โดยรายจา่ ยของกล่มุ ประชากร
ทม่ี รี ายจา่ ยนอ้ ยทสี่ ดุ มสี ดั สว่ นเทา่ กบั รอ้ ยละ 3.02 ของรายจา่ ยทง้ั หมด ในขณะทรี่ ายจา่ ยของกลมุ่ ประชากรทม่ี รี ายจา่ ย
มากทส่ี ดุ เทา่ กบั รอ้ ยละ 27.90 ลดลงจากปกี อ่ นทรี่ อ้ ยละ 28.18 ทำ� ใหส้ ดั สว่ นรายจา่ ยของกลมุ่ Decile ที่ 10 ตอ่ Decile
ท่ี 1 คิดเปน็ 9.32 เท่า ลดลงเมือ่ เทียบกบั 9.32 เท่าในปี 2560 ความเหล่ือมล�้ำจากความม่ังค่งั โดยในปี 2560 มีค่า
สัมประสิทธิจินีของความม่ังค่ังท่ี 0.665 สูงกว่าความเหลื่อมล้�ำด้านรายได้ที่มีค่าเพียง 0.453 ในด้านการศึกษา เด็กมี
โอกาสเข้าถงึ การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานในระดับสงู แตเ่ รม่ิ มคี วามแตกตา่ งในระดบั การศึกษาทีส่ ูงข้ึน และในดา้ นสาธารณสุข
คนไทยมีหลักประกันด้านสุขภาพที่ครอบคลุม แต่ยังคงมีประเด็นด้านคุณภาพของการบริการที่มีความแตกต่างกัน
ในระดับพื้นที่
ความท้าทายต่อการขจัดความยากจนและลดความเหล่ือมล้�ำ ปัจจุบันประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมสูงวัย ซ่ึงส่งผลกระทบต่อการแก้ปัญหาความยากจนและความเหล่ือมล้�ำของประเทศ
เน่ืองจากวัยแรงงานจะต้องรับภาระค่าใช้จ่ายส�ำหรับการดูแลเด็กและผู้สูงอายุ ขณะท่ีต้องเก็บออมไว้ใช้ในยามเกษียณ
ท�ำให้วัยแรงงานรับภาระเพ่ิมขึ้นมากกว่าวัยแรงงานในรุ่นก่อนหน้ามาก ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ทำ� ใหแ้ รงงานจำ� เปน็ จะตอ้ งเพมิ่ ทกั ษะหรอื มที กั ษะใหมท่ เ่ี พยี งพอเพอ่ื ทำ� งานรว่ มกบั เทคโนโลยี โดยแรงงานไทยมขี อ้ จำ� กดั

84 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

คอื แรงงานสว่ นใหญก่ วา่ รอ้ ยละ 50 มกี ารศกึ ษาตำ�่ (ตำ�่ กวา่ รายงานความยากจนหลายมิติของประเทศไทย
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น) และแรงงานรอ้ ยละ 31 มอี ายุ 50 ปี
ข้ึนไป ซึ่งอาจจะไม่สามารถปรับตัวได้ทันต่อการ การจัดท�ำดัชนีความยากจนหลายมิติของ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ในด้านการศึกษา ครัวเรือน ประเทศไทย เป็นการพัฒนาตัวชี้วัดขึ้นเพ่ือใช้ในการน�ำ
ยากจนมคี า่ ใชจ้ า่ ยกวา่ รอ้ ยละ 40.84 เกยี่ วกบั การเดนิ ทาง เสนอสถานการณค์ วามยากจนใหค้ รอบคลมุ ทกุ มติ ิ รวมทง้ั
ไปเรียน ขณะที่ครัวเรือนร�่ำรวยสามารถจัดสรรค่าใช้จ่าย เปน็ ตวั ชว้ี ดั ในการตดิ ตามสถานการณค์ วามยากจนภายใต้
ส่วนใหญ่ไปเพ่ือการเข้าถึงการศึกษา ส่งผลให้โอกาสท่ี เปา้ หมายการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ในเปา้ หมายที่ 1 การขจดั ความ
ครัวเรือนยากจนจะยกระดับรายได้ของตนเองเป็นไปได้ ยากจนทุกรูปแบบในทุกพื้นที่ และช่วยสนับสนุน
ยาก ในขณะท่ีการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐให้มี การด�ำเนินงานของส�ำนักงานฯ ท้ังในด้านการติดตาม
ประสิทธิภาพจ�ำเป็นต้องอาศัยนโยบายการคลังที่มี การพัฒนาภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ประสิทธิภาพ เนื่องจากปัจจุบันการจัดสรรงบประมาณ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 ในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 เรอื่ งการสรา้ งความ
จังหวัดและกลุ่มจังหวัดกระจุกตัวอยู่ในจังหวัดท่ีมีระดับ เป็นธรรมและลดความเหล่ือมล้�ำในสงั คม
การพฒั นาสงู โครงสรา้ งงบประมาณมากกวา่ ครงึ่ หนง่ึ ของ
ประเทศเป็นค่าใช้จ่ายประจ�ำ ขณะที่ค่าใช้จ่ายลงทุน ผลการศึกษาดชั นคี วามยากจนหลายมิติ
มีสัดสว่ นไม่ถึง 1 ใน 5 ของงบประมาณทัง้ หมด
ข้อเสนอแนะ พบวา่ ในปี 2560 คา่ ดชั นคี วามยากจนหลายมติ ิ
การด�ำเนินนโยบายควรมีการบูรณาการฐาน
ข้อมูลด้านความยากจนและน�ำมาใช้ในการช่วยเหลือ หรอื MPI มคี า่ เทา่ กบั 0.068 โดยมสี ดั ส่วนคนจนหลาย
ประชากรกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจงอย่างเป็นรูปธรรม มิตเิ ท่ากับรอ้ ยละ 17.6 หรอื มีคนยากจนหลายมิตจิ �ำนวน
มุ่งเน้นการลดความเหล่ือมล�้ำ โดยเฉพาะการปรับปรุง 11.9 ลา้ นคน และมคี า่ ความขดั สนเฉลย่ี ในกลมุ่ คนยากจน
ปจั จยั แวดลอ้ มทางธรุ กจิ รวมทั้งกฎหมาย กฎ ระเบยี บให้ หรือความรุนแรงของปัญหาความยากจนที่ร้อยละ 38.7
เกิดการแข่งขันท่ีเป็นธรรม รวมถึงบูรณาการโครงการ หรอื คนยากจนมีระดบั ความขัดสนเฉลย่ี ท่ี 38.7 จาก 100
สวัสดิการของภาครัฐให้เป็นองค์รวมเพื่อไม่ให้เกิดความ โดยมติ ทิ ส่ี ง่ ผลตอ่ ความยากจนหลายมติ มิ ากทสี่ ดุ ไดแ้ ก่ มติ ิ
ซำ้� ซอ้ นของการใหส้ วสั ดกิ ารกบั ประชากรในแตล่ ะกลมุ่ และ ด้านความเป็นอยู่ รองลงมาได้แก่ มิติด้านการใช้ชีวิต
คำ� นงึ ถงึ ความยงั่ ยนื ทางการคลงั (Fiscal Sustainability) ในแบบทด่ี ตี อ่ สขุ ภาพ และมติ ดิ า้ นความมน่ั คงทางการเงนิ
ในการด�ำเนนิ โครงการตา่ ง ๆ ซ่ึงแนวโน้มความยากจนหลายมิติของประเทศไทยลดลง
อยา่ งต่อเน่อื ง



ท่มี า : การสำ� รวจภาวะเศรษฐกจิ และสงั คมของครัวเรือน ประมวลผลโดยกองพัฒนาขอ้ มลู และตวั ชีว้ ดั สงั คม, สศช.

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 85

อัตราส่วนการส่งผลตอ่ ความยากจนของแตล่ ะตวั ช้วี ัดและมติ ิ (รอ้ ยละ)

มิติ ตัวชี้วดั อัตราสว่ นการสง่ ผลต่อความยากจน (%)
การศึกษา (Education)
จำ� นวนปีทีไ่ ด้รบั การศึกษา 12.1
การเขา้ เรียนลา่ ชา้ 1.7
การใช้ชีวิตในแบบทด่ี ี การอย่อู าศัยร่วมกับพ่อแม ่ 3.5
ต่อสุขภาพ (Healthy Living)
น�้ำดมื่ 10.6
ความเปน็ อยู่ การดแู ลตวั เอง 1.5
(Living Conditions) ความขดั สนด้านอาหาร 10.8

ความมั่นคงทาง การกำ� จัดขยะ 13.9
การเงิน (Financial Security) การใช้อนิ เทอร์เนต็ 13.9
การถอื ครองสินทรัพย ์ 9.5

การออม 2.9
ภาระทางการเงนิ 4.9
บ�ำเหน็จ/บ�ำนาญ 14.7

ความมัน่ คง การศึกษา
ทางการเงิน 17.3
การใชช้ วี ติ
22.5 ในแบบทดี่ ี
ความเปน็ อยู่ ต่อสุขภาพ
22.9
37.2

ทม่ี า : การสำ� รวจภาวะเศรษฐกจิ และสงั คมของครวั เรือน ประมวลผลโดยกองพัฒนาข้อมูลและตวั ชีว้ ดั สังคม, สศช.

86 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

เมื่อพจิ ารณาตวั ช้ีวัดท่สี ่งผลต่อคนยากจนหลายมติ ิ พบว่า การไม่มบี �ำเหน็จ/บ�ำนาญเป็นปัจจัยสำ� คญั ทส่ี ง่ ผล
ใหค้ รวั เรือนเปน็ ครวั เรอื นยากจน ซง่ึ เชื่อมโยงกับระบบบ�ำเหน็จ/บำ� นาญของไทย ที่ปัจจบุ นั มีเพยี งกลุ่มขา้ ราชการ และ
ลกู จา้ งในระบบประกนั สงั คมเทา่ นนั้ ทจ่ี ะไดร้ บั สทิ ธิ ขณะทปี่ จั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความยากจนเปน็ อนั ดบั สองคอื การกำ� จดั ขยะ
และการเขา้ ถงึ อนิ เตอรเ์ นต็ ซง่ึ การกำ� จดั ขยะสง่ ผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ในดา้ นความเปน็ อยขู่ องครวั เรอื น ขณะทก่ี ารเขา้ ไมถ่ งึ
อินเตอรเ์ นต็ สะท้อนให้เห็นวา่ ครวั เรอื นยากจนขาดโอกาสในการเข้าถงึ ข้อมลู และและการพัฒนาในดา้ นต่างๆ ท่ีจ�ำเป็น
ในปจั จบุ นั ขณะทป่ี จั จยั ตอ่ มาคอื ดา้ นการศกึ ษา ซง่ึ สง่ ผลตอ่ คนยากจนหลายมติ ริ อ้ ยละ 12.1 สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ คนยากจน
ยงั มรี ะดบั การศกึ ษาท่ไี ม่เพยี งพอต่อการท�ำงานในปัจจุบนั
หากเปรยี บเทยี บครวั เรอื นในเขตเทศบาลกบั นอกเทศบาล พบวา่ สดั สว่ นคนยากจนหลายมติ นิ อกเขตเทศบาล
มีค่าเท่ากับร้อยละ 26.4 ซ่ึงสูงกว่าในเขตเทศบาลที่มีสัดส่วนคนยากจนหลายมิติเพียงร้อยละ 9.4 ในขณะท่ีระดับ
ความรุนแรงของปัญหาความยากจนหลายมิติมีค่าใกล้เคียงกัน โดยในเขตเทศบาลมีระดับความรุนแรงของปัญหา
ทีร่ อ้ ยละ 37.8 และนอกเขตเทศบาลอย่ทู ี่ร้อยละ 39.1
การเปรียบเทียบระดับภาคแสดงให้เห็นว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีค่าดัชนีความยากจนหลายมิติสูงที่สุด
รองลงมาได้แก่ ภาคใต้ ภาคเหนือ และภาคกลาง ในขณะท่ีกรุงเทพมหานครมีค่าดัชนีความยากจนหลายมิติต่�ำท่ีสุด
ความแตกตา่ งขา้ งตน้ ยงั สามารถชวี้ า่ หากตอ้ งการลดจำ� นวนคนยากจนหลายมติ ิ ควรเนน้ ไปในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
และภาคใต้ และควรใหค้ วามสำ� คญั กบั มติ ดิ า้ นความเปน็ อยู่ ซง่ึ เปน็ สาเหตหุ ลกั ของความยากจนทตี่ อ้ งไดร้ บั การยกระดบั
ใหด้ ีขึ้น


รายงานดชั นคี วามก้าวหน้าของคน (HAI)

สศช.ได้จัดท�ำรายงานดัชนีความก้าวหน้าของคน (HAI) ประจ�ำปี 2562 เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือประเมิน
ความก้าวหน้าของคนในระดับจังหวัด ที่จะน�ำไปสู่การก�ำหนดแผน/ยุทธศาสตร์ระดับจังหวัดในการแก้ไขปัญหาและ
พฒั นาคนในระดับจังหวัดใหม้ ีคุณภาพชวี ติ ที่ดียง่ิ ขนึ้ ตอ่ ไป โดยมีผลการประเมินการพฒั นาคุณภาพชีวิต ดงั นี้
1. ความกา้ วหนา้ การพฒั นาคนของประเทศ ในปี 2562 มคี า่ ดชั นคี วามกา้ วหนา้ การพฒั นาคน เทา่ กบั 0.6219
ใกล้เคียงกับปี 2558 ท่ีมีค่าเท่ากับ 0.6220 โดยด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมมีความก้าวหน้ามากที่สุด ส่วน
ด้านการศึกษามีความก้าวหน้าน้อยที่สุด ด้านที่มีการพัฒนาเพ่ิมขึ้น ได้แก่ ด้านการคมนาคมและสื่อสาร ด้านชีวิต
การงาน ดา้ นการศกึ ษา และด้านทีอ่ ยอู่ าศยั และสภาพแวดล้อม สว่ นดา้ นทมี่ ีการพฒั นาลดลง ได้แก่ ด้านการมีส่วนรว่ ม
ดา้ นสุขภาพ ดา้ นรายได้ และดา้ นชีวติ ครอบครวั และชมุ ชน
2. การพัฒนาความก้าวหน้าของคนในระดับภาคและระดับจังหวัด ภาคกลาง (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร)
มคี วามกา้ วหนา้ การพฒั นาคนมากทสี่ ดุ รองลงมาคอื ภาคตะวนั ออก ภาคใต้ 11 จงั หวดั ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
และภาคใต้ 3 จังหวัดชายแดน ตามล�ำดับ ส่วน 5 จังหวัดท่ีมีความก้าวหน้าในการพัฒนาคนมากท่ีสุด ได้แก่
จังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี ภูเก็ต และระยอง ขณะท่ี 5 จังหวัดที่มีความก้าวหน้าในการพัฒนาคน
นอ้ ยท่ีสุด ไดแ้ ก่ จงั หวัดนราธวิ าส ปตั ตานี แมฮ่ อ่ งสอน สรุ ินทร์ และบรุ รี มั ย ์ สว่ นจงั หวดั ท่มี คี วามกา้ วหน้าเพม่ิ ขน้ึ มาก
ที่สุด คือ พังงา สมุทรสาคร ก�ำแพงเพชร และประจวบคีรีขันธ์ ส่วนยโสธร บุรีรัมย์ สุรินทร์และสิงห์บุรี เป็นจังหวัด
ทีม่ คี วามก้าวหนา้ ลดลงมากที่สดุ
3. แนวทางการพัฒนาความก้าวหน้าของคน โดยสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อ
การมสี ขุ ภาพดี ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและลดชอ่ งวา่ งการพัฒนาระหวา่ งพนื้ ท่ี ยกระดับรายได้ ขยายประกันสงั คม
และส่งเสริมการออมเพื่อการเกษียณอายุ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชนให้สามารถดูแลสมาชิก
ท้ังเดก็ ปฐมวยั และผู้สูงอายไุ ดอ้ ย่างเขม้ แขง็

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 87

โครงการศกึ ษาวจิ ยั

โครงการศกึ ษาวิจยั ทเ่ี สรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้

โครงการศกึ ษาเพอื่ ปรบั ปรงุ แนวทางและหลกั เกณฑ์ ประเด็นที่สามารถพัฒนาให้ดีย่ิงข้ึนได้ ได้แก่ การขยาย
การวเิ คราะหโ์ ครงการลงทนุ ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ขอบเขตของโครงการให้ครอบคลุมถึงการให้บริการของ
โครงสร้างพื้นฐาน การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่ครอบคลุม
ความเป็นมา สศช. มีภารกิจในการวิเคราะห์ หลายปัจจัยความเส่ียงมากขึ้น และการก�ำหนดตัวช้ีวัดท่ี
ความเหมาะสมของโครงการลงทุนของภาครัฐ เพื่อ เฉพาะเจาะจงและการวดั ผลความสำ� เรจ็ ของวตั ถปุ ระสงค์
ประกอบการตัดสินใจลงทุนพัฒนาแผนงานและโครงการ โครงการ
ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานตา่ ง ๆ ของประเทศ ดงั นนั้ จงึ มคี วาม ส�ำหรับการค�ำนวณอัตราคิดลดทางสังคม
จ�ำเปน็ ต้องปรับปรงุ แนวทางและหลักเกณฑก์ ารวเิ คราะห์ (Social Discount Rate: SDR) และตวั ปรบั ค่ามาตรฐาน
โครงการฯ ให้มีความสอดคล้องกับสภาวะแวดล้อมทาง (Standard Conversion Factor: SCF) ที่เหมาะสมกบั
เศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันมากยิ่งข้ึน และในขณะ บรบิ ทของประเทศไทยจากขอ้ มลู และวธิ กี ารตา่ ง ๆ ทม่ี อี ยู่
เดยี วกนั เพอื่ ใหบ้ ุคลากร สศช. ไดม้ โี อกาสพัฒนาความรู้ พบว่า ค่า SDR ที่เหมาะสมในโครงการแต่ละประเภทมี
และทักษะให้มีความเช่ียวชาญและเป็นมืออาชีพในการ ความแตกตา่ งกนั ตามบรบิ ทของโครงการนน้ั ๆ อยา่ งไรกด็ ี
วิเคราะห์โครงการฯ โดยด�ำเนินการว่าจ้างธนาคารโลก ในทางปฏิบัติการก�ำหนดอัตราคิดลดทางสังคม ผู้ก�ำหนด
ดำ� เนนิ การศกึ ษา นโยบายภาครัฐควรด�ำเนินการวิเคราะห์ความอ่อนไหว
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแนวทางและ (Sensitivity Analysis) สำ� หรบั การคำ� นวณมูลคา่ ปจั จบุ นั
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์โครงการลงทุนด้านโครงสร้าง สุทธิ (Net Present Value: NPV) ของโครงการภาครัฐ
พ้ืนฐาน โดยเฉพาะเคร่ืองมือและหลักเกณฑ์ท่ีใช้ใน ดว้ ยอัตราคดิ ลดต่าง ๆ ที่หลากหลาย ขณะทก่ี ารค�ำนวณ
การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินและเศรษฐกิจของ SCF เป็นการศึกษาโดยใชต้ าราง Input-Output Table
โครงการฯของประเทศในแต่ละสาขา ให้สอดคล้องกับ ปี 2010 และใชก้ ารคำ� นวณเมทรกิ ซ์ (Matrix Operations)
สถานการณ์ปัจจุบันของประเทศไทย และเป็นไปตาม ซ่ึงมคี วามซบั ซอ้ นและออ่ นไหวต่อขอ้ มลู การน�ำไปใช้จริง
มาตรฐานสากล รวมทง้ั เพอื่ พฒั นาทกั ษะดา้ นการวเิ คราะห์ จะตอ้ งพจิ ารณาถงึ บรบิ ททเ่ี กย่ี วขอ้ ง ณ ปจั จบุ นั ของแตล่ ะ
โครงการฯของบคุ ลากร สศช. ใหม้ คี วามเชย่ี วชาญและเปน็ โครงการประกอบดว้ ย
มืออาชีพระดับสากลโดยการฝึกอบรมระหว่างการปฏิบัติ
งาน (On-the-job Training) โครงการติดตามและประเมินผลการพัฒนาตาม
ผลการศึกษา จากการศึกษาเปรียบเทียบฐาน แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12
ข้อมูลการวิเคราะห์โครงการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานในช่วงระยะครึ่งแผน
ของธนาคารโลกในชว่ งปี พ.ศ. 2527-2561 ซ่ึงมีโครงการ
ประมาณ 2,214 โครงการ ครอบคลมุ ทง้ั ดา้ นการขนสง่ ทาง ความเปน็ มา การดำ� เนนิ การเพอื่ ขบั เคลอ่ื นตาม
ถนน ทางราง ทางอากาศ และทางนำ้� ด้านพลงั งานสาขา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12
การผลติ ไฟฟา้ และระบบสง่ ไฟฟา้ ดา้ นการสอ่ื สาร ดา้ นนำ�้ (พ.ศ. 2560-2565) มีระยะเวลาล่วงเลยมาครึ่งแผนแล้ว
ประปา และดา้ นทีอ่ ยูอ่ าศยั พบว่า การวเิ คราะห์โครงการ ประกอบกับในสว่ นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 7 การพัฒนาโครงสร้าง
ลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน สศช. ท�ำได้ในระดับเทียบ พื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ซึ่งเป็นหน่ึงในยุทธศาสตร์ที่
เท่ากับมาตรฐานสากลในด้านเทคนิคการวิเคราะห์ผล ส�ำคัญภายใต้แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 ได้กำ� หนดแนวทาง
ตอบแทนทางเศรษฐกิจและการเงิน อย่างไรก็ตาม ยังมี การพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานของประเทศในชว่ งปี 2560-

88 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

2564 ไว้หลายประการ เพื่อช่วยสนับสนุนการพัฒนา นครหลวงและภูมิภาค แต่การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน
เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ การกระจายความเจรญิ ด้านระบบประปายังมีปัญหาส�ำคัญที่มีแนวโน้มว่าจะไม่
และการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน จึงมีความ สามารถดำ� เนนิ การไดต้ ามแผน คอื การลดอตั รานำ้� สญู เสยี
จ�ำเป็นต้องติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานของ ซ่ึงตอ้ งหาแนวทางในการขับเคลอื่ นในเร่อื งนี้ตอ่ ไป
ภาคสว่ นตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน
และระบบโลจิสติกส์ เพื่อให้ทราบสถานการณ์พัฒนา โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
โครงสรา้ งพืน้ ฐานในปจั จุบนั และเปน็ ข้อมูลหรอื แนวทาง ดจิ ิทลั เพอื่ การพฒั นาประเทศ
ส�ำคัญส�ำหรับผลักดันการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานของ
ภาคส่วนตา่ ง ๆ ใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ สอดคล้อง ความเป็นมา การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลของ
ตลอดจนใชเ้ ปน็ ฐานขอ้ มลู ในการวางแผนพฒั นาโครงสรา้ ง ประเทศไทยไดก้ ำ� หนดใหม้ กี ารผลกั ดนั ใหภ้ าคธรุ กจิ ไทยใช้
พน้ื ฐานในระยะครง่ึ หลงั ของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 ตอ่ ไป เทคโนโลยีดิจิทัลในการลดต้นทุน การผลิตสินค้าและ
วัตถุประสงค์ เพ่ือติดตามและประเมินผล บรกิ าร การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ และการ
การดำ� เนนิ งานพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นตา่ ง ๆ ในชว่ ง พัฒนาไปสู่การแข่งขันเชิงธุรกิจรูปแบบใหม่ในระยะยาว
ระยะครึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมทั้งการสร้างระบบนิเวศส�ำหรับธุรกิจดิจิทัล เพ่ือเพ่ิม
ฉบบั ท่ี 12 พ.ศ. 2560-2565 ขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคธุรกิจไทยที่จะส่ง
ผลการศึกษา จากการศึกษาความสามารถใน ผลต่อการขยายฐานเศรษฐกิจและอัตราการจ้างงานของ
การแข่งขันของประเทศในมิติโครงสร้างพ้ืนฐานทั่วไป ประเทศไทยอย่างย่ังยืนในอนาคต จึงมีความจ�ำเป็นท่ีจะ
(Basic Infrastructure) ซ่ึงประกอบด้วย โครงสร้าง ต้องด�ำเนินการศึกษาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
พนื้ ฐานด้านคมนาคม พลังงาน ดิจิทลั และสาธารณปู การ เพ่ือการพัฒนาประเทศเพื่อจะเป็นการส่งเสริมให้การ
(น้�ำประปา) ของ IMD ทป่ี ระกาศในปี 2562 ประเทศไทย พัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลสามารถด�ำเนินการได้อย่างเป็น
มอี นั ดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน รปู ธรรมและเกดิ ผลสัมฤทธิ์ทช่ี ัดเจน
ทวั่ ไปดีขนึ้ 4 อันดับ คือ จากอนั ดับท่ี 31 ในปี 2561 เปน็ วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ศกึ ษาผลกระทบเชงิ เศรษฐกจิ
อันดับท่ี 27 ในปี 2562 และจากการติดตามประเมินผล และสงั คมจากการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทง้ั ในดา้ นผลกระทบ
การพัฒนาตามแนวทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ใน ตอ่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ (GDP) การลดตน้ ทนุ หรอื
รายละเอียดของโครงสร้างพ้ืนฐานหลัก 4 ด้าน ได้แก่ คา่ ใชจ้ า่ ย การเพม่ิ รายไดข้ องผปู้ ระกอบการเทคโนโลยี การ
ด้านคมนาคมขนส่ง พบว่าการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เกิดธุรกิจใหม่ และการสร้างงานด้านนวัตกรรมและการ
และส่ิงอ�ำนวยความสะดวกด้านคมนาคมขนส่งส่วนใหญ่ ผลติ รวมทงั้ เสนอแนะแนวทางการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั
ยังขับเคล่ือนไปได้ค่อนข้างช้า ในขณะที่ด้านพลังงาน และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการ
ในภาพรวมสามารถดำ� เนนิ การไดต้ ามแผนทงั้ ในดา้ นความ สรา้ งมลู คา่ เพมิ่ และเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของ
พอเพยี งและดา้ นคณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร สำ� หรบั ดา้ นดจิ ทิ ลั ประเทศ
รัฐบาลได้ลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลในทุกมิติ ผลการศกึ ษา จากการศกึ ษาแนวทางการพฒั นา
โดยการปรับปรุงเทคโนโลยีให้มีความทันสมัย พัฒนา เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั เพอ่ื การพฒั นาประเทศ ทป่ี รกึ ษาโครงการฯ
โครงข่ายครอบคลุมโครงข่ายการติดต่อสื่อสารในทุก ได้ศึกษาและก�ำหนดตัวแปรส�ำหรับการค�ำนวณหามูลค่า
รปู แบบทงั้ ในภาคพ้ืนดนิ พื้นน้�ำ อากาศหรอื อวกาศ เพ่ิม เศรษฐกิจดิจิทัลผ่านต้นแบบตารางปัจจัยการผลิตและ
โอกาสในการเขา้ ถงึ โครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นดจิ ทิ ลั ในทกุ พน้ื ที่ ผลผลิตส�ำหรับเศรษฐกิจดิจิทัล (Input-Output
อย่างเท่าเทยี ม และการพฒั นาดา้ นสาธารณปู โภค (ระบบ Table for Digital Economy) ขนาด 184x184 สาขา
น้�ำประปา) สามารถขยายเขตการให้บริการน้�ำประปาได้ โดยได้เพิ่มสาขาท่ีเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจดิจิทัล จ�ำนวน
ครอบคลุมเกือบทุกหมู่บ้านและครัวเรือน ทั้งในเขต 4 สาขา ได้แก่ สาขาการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(e-Commerce) สาขาการให้บริการอินเทอร์เน็ต

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 89

(Internet Service) สาขาซอฟท์แวร์ (Software) และ ผลการศึกษา ซึ่งเป็นการปรับปรุงผลการคาด
สาขาดจิ ทิ ลั คอนเทนต์ (Digital Content) พรอ้ มทง้ั ศกึ ษา ประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583
กรณีตัวอย่างเพิ่มเติมและน�ำมาก�ำหนดข้อเสนอแนะ โดยการทบทวนประชากรฐาน และข้อสมมตุ ิต่าง ๆ ท่ใี ช้
เชงิ นโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ลั เช่น การพัฒนา ในการคาดประมาณ ไดแ้ ก่ ภาวะเจรญิ พนั ธ์ุ ภาวะการตาย
โครงสร้างพ้ืนฐาน การเข้าถึง และการพัฒนาทักษะ ICT การย้ายถิ่น และความเป็นเมือง และจัดท�ำการคาด
และการสง่ เสรมิ ดา้ นนวตั กรรมและการคา้ เปน็ ตน้ รวมถงึ ประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583
ข้อเสนอแนะในการพัฒนาตารางและแบบจ�ำลองปัจจัย (ฉบับปรับปรุง) ครอบคลุมประชากรระดับประเทศ
การผลติ และผลผลติ สำ� หรบั เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ในระยะตอ่ ไป ภาค จงั หวดั ในและนอกเขตเทศบาล รวมถงึ การวเิ คราะห์
ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งประชากรในมติ ิ
โครงการการปรบั ปรงุ การคาดประมาณประชากร ต่าง ๆ ที่ส�ำคัญ และจัดท�ำข้อเสนอเชิงนโยบายต่อ
ของประเทศไทย พ.ศ. 2553 – 2583 การพัฒนาประเทศ
ผลการการคาดประมาณประชากรของ
ความเปน็ มา สศช. ได้จดั ท�ำการคาดประมาณ ประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583 (ฉบับปรับปรุง) พบว่า
ประชากรของประเทศไทยมาอย่างต่อเน่ือง คร้ังล่าสุด ประชากรของประเทศไทยจะเพมิ่ ขึ้นจาก 63.79 ล้านคน
เป็นการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. ในปี 2553 เปน็ 66.79 ลา้ นคนในปี 2562 และจะมจี ำ� นวน
2553 - 2583 โดยใช้ข้อมูลส�ำมะโนประชากรและเคหะ สูงสุดท่ี 67.19 ล้านคน ในปี 2571 หลังจากน้ันจ�ำนวน
พ.ศ. 2553 ของสำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาตเิ ปน็ ฐานในการคาด ประชากรจะลดลง เหลือ 65.37 ล้านคน ในปี 2583
ประมาณ ซึ่งได้มีการเผยแพร่เมื่อปี 2556 อย่างไรก็ตาม ซึ่งในปี 2562 เป็นปีแรกที่ประชากรวัยเด็ก (0-14 ปี)
เนอื่ งจากเปน็ การคาดประมาณประชากรในอนาคต ทำ� ให้ เทา่ กบั ประชากรผสู้ งู อายุ (60 ปขี น้ึ ไป) ทป่ี ระมาณ 11 ลา้ น
จ�ำนวนประชากรจากการคาดประมาณฯ แตกต่างจาก คน และหลังจากน้ันประชากรวยั เด็กจะมจี ำ� นวนน้อยกวา่
ข้อมูลจริงในระบบทะเบียนราษฎร ของส�ำนักบริหาร ผู้สูงอายุโดยตลอด โดยในปี 2563 มีประชากรวัยเด็ก
การทะเบยี น กรมการปกครอง ประกอบกบั มขี อ้ มลู ใหม่ ๆ จำ� นวน 11.23 ล้านคน (รอ้ ยละ 16.87) ลดลงเป็น 8.36
ในองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร ทั้ง ลา้ นคน (รอ้ ยละ 12.79) ในปี 2583 เปน็ ผลมาจากอตั รา
การเกิด การตาย การย้ายถนิ่ จึงต้องน�ำขอ้ มูลดังกล่าวมา เจรญิ พนั ธร์ุ วมลดลงจาก 1.53 เหลอื 1.30 ขณะทอ่ี ายคุ าด
วิเคราะห์และปรับปรุงการคาดประมาณประชากรให้เป็น เฉลย่ี เมอื่ แรกเกดิ ของประชากรเพม่ิ สงู ขนึ้ ทำ� ใหผ้ สู้ งู อายจุ ะ
ปัจจุบันมากข้ึน ดังนั้น สศช. จึงได้จัดท�ำโครงการการ เพ่มิ ขน้ึ จาก 12.04 ล้านคน (รอ้ ยละ 18.10) เป็น 20.51
ปรบั ปรงุ การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. ล้านคน (รอ้ ยละ 31.37) ในช่วงเวลาเดยี วกัน ส�ำหรับวัย
2553 - 2583 ข้ึน โดยว่าจ้างสถาบันวิจัยประชากรและ แรงงานจะลดลงจาก 43.27 ลา้ นคน (รอ้ ยละ 65.03) เปน็
สังคม มหาวิทยาลัยมหดิ ล เปน็ ทีป่ รึกษาโครงการฯ 36.50 ล้านคน (ร้อยละ 55.83) ทั้งนี้ คาดการณ์ว่า
วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ปรบั ปรงุ ผลการคาดประมาณ ประเทศไทยจะเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ที่มีผู้สูงอายุ
ประชากรให้มีความใกล้เคียงกับสถานการณ์ข้อมูลจริง 60 ปีข้ึนไปมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมดใน
ส�ำหรับน�ำมาใช้ในการวางแผนการพัฒนาท้ังในระดับ พ.ศ. 2566 และสังคมสงู วยั ระดับสุดยอดท่มี ีผูส้ ูงอายุ 60
ประเทศและระดับพื้นที่ให้มีความถูกต้องมากข้ึน รวมทั้ง ปีข้ึนไปมากกว่าร้อยละ 28 ของประชากรท้ังหมดในปี
ศกึ ษาผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากร 2576 นอกจากนี้ ในปี 2563 ประเทศไทยจะมีประชากร
จากผลการคาดประมาณประชากรได้ปรับปรุงให้เป็น ที่อาศยั อยู่ในเขตเมืองประมาณ 38.0 ลา้ นคน คดิ เป็นร้อย
ปจั จบุ นั และจดั ทำ� ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายตอ่ การพฒั นา ละ 57.2 ของประชากรท้ังประเทศ เพม่ิ ขึ้นเปน็ 46.2 ลา้ น
ประเทศจากผลการคาดประมาณประชากรที่ครอบคลุม คน หรอื รอ้ ยละ 74.3 ของประชากรทงั้ ประเทศในปี 2583
มิติด้านสังคม เศรษฐกิจและก�ำลังแรงงาน การศึกษา
สขุ ภาพอนามยั และสิง่ แวดลอ้ ม

90 รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ

การศกึ ษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางโครงสรา้ งประชากรฯ สรปุ ไดด้ ังนี้

มติ ิ ผลกระทบ/ขอ้ เสนอแนะ

ดา้ นสังคม • จากการตายของประชากรที่ลดลง อายุคาดเฉล่ียที่ยืนยาวข้ึนและการเกิดที่ลดลง ส่งผล
ใหก้ ารเพม่ิ ประชากรชา้ ลง และโครงสรา้ งอายขุ องประชากรไทยเปลย่ี นแปลงจากประชากร
ที่เคยมีอายุน้อย เป็นประชากรสูงวัยท่ีมีอายุสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นความท้าทาย
อยา่ งยิ่งทง้ั ในระดบั บคุ คล ครอบครัว ชุมชน และรัฐ
• ข้อเสนอแนะ 1) ควรมีมาตรการในการท�ำให้คนไทย “เจริญวัยข้ึนอย่างมีพลัง” และให้
ผสู้ งู อายยุ ังคงอาศัยอยู่ในครอบครัวและชมุ ชนเดิมของตนใหน้ านที่สดุ โดย อปท. เข้ามา
มสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งระบบการดแู ลทเ่ี ขา้ ถงึ ตวั บคุ คลและครอบครวั ในชมุ ชน 2) เรง่ พฒั นา
ระบบบ�ำนาญ ระบบการออม และระบบสวัสดิการสังคมท่ีมีประสิทธิภาพและตรงเป้า
3) ปรับทัศนคติเพื่อให้คนต่างวัยอยู่ด้วยกันได้ โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวัย
ทั้งการท�ำงาน การเข้ารว่ มกิจกรรมทางสังคมต่าง ๆ 4) มมี าตรการในการพทิ ักษ์สิทธแิ ละ
ปกปอ้ งผสู้ งู อายทุ อ่ี ยใู่ นกลมุ่ เปราะบาง เสย่ี งตอ่ การถกู กระทำ� ความรนุ แรง และถกู ละเมดิ สทิ ธิ

ด้านเศรษฐกิจ • การขยายตวั ของเศรษฐกจิ ทว่ั ประเทศทำ� ใหเ้ กดิ การจา้ งงานมากขนึ้ โดยคาดการณว์ า่ ในอกี
และกำ� ลังแรงงาน 20 ปขี า้ งหนา้ ภาคบรกิ ารและภาคอตุ สาหกรรมยงั มแี นวโนม้ ความตอ้ งการแรงงานเพม่ิ สงู
ขน้ึ จาก GDP ทเ่ี พิ่มขึน้ และบางส่วนเปน็ แรงงานท่ีเข้ามาทดแทนแรงงานทีเ่ ขา้ ส่วู ัยสงู อายุ

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ 91

ขณะทค่ี วามตอ้ งการแรงงานในภาคเกษตรกลบั มแี นวโนม้ ลดลง เปน็ ผลจาก GDPภาคเกษตร
ท่ีลดลง และมีแรงงานบางส่วนเคลื่อนย้ายไปท�ำงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการ
ในขณะที่อุปทานแรงงานมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น จากการเพิ่มข้ึนของจ�ำนวนประชากรอายุ
15 ปีขึ้นไป แต่ก็ยังน้อยกว่าความต้องการแรงงานของประเทศ ท้ังน้ี หากก�ำหนดให้มี
ผลติ ภาพแรงงานเพม่ิ ขนึ้ เฉลยี่ รอ้ ยละ 10 ความตอ้ งการแรงงานจะใกลเ้ คยี งกบั จำ� นวนกำ� ลงั
แรงงานไทย
• ข้อเสนอแนะ 1) ควรเน้นเพ่ิมผลิตภาพแรงงานมากกว่าการหาแรงงานมาทดแทน
สว่ นทขี่ าดแคลน โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั การเพม่ิ คณุ ภาพของประชากร วยั เรยี นตง้ั แตร่ ะดบั
พ้ืนฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา อาทิ พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนบนฐานสมรรถนะ
การเรยี นการสอนแบบ STEM Education 2) เรง่ ยกระดบั ทกั ษะฝมี อื แรงงานใหไ้ ดม้ าตรฐาน
สากล เพ่ือเป็นการรับรองว่าแรงงานมีมาตรฐานและได้รับค่าตอบแทนตามสมรรถนะ
ท่ีสูงขึ้น ตามแนวทางจ่ายค่าตอบแทนตามความสามารถ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีเข้ามา
ทดแทนแรงงานทกั ษะต่�ำ

ดา้ นการศกึ ษา • ในปี 2563 จำ� นวนประชากรวยั เรยี นอายุ 3 – 21 ปี มจี ำ� นวน 15.2 ล้านคน หรอื รอ้ ยละ
12.0 ของประชากรท้ังหมด ลดลงเหลือเพยี ง 11.6 ลา้ นคน (รอ้ ยละ 9.2) ในปี 2583 และ
มีแนวโน้มลดลงในทุกกลุ่มอายุ สัดส่วนนักเรียนต่อประชากรวัยเรียนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ซ่งึ คาดการณว์ ่าในปี 2583 มีนักเรยี นจ�ำนวน 10.8 ลา้ นคน หรือ 93.6 คนตอ่ ประชากร
วยั เรียน 100 คน โดยคาดวา่ จ�ำนวนนกั เรยี นท่ีจะศกึ ษาตอ่ เกอื บทกุ ระดบั ลดลง ยกเวน้
ปวช. ปวส. และอนุปริญญา คาดว่าจะเพิ่มมากข้ึน เน่ืองจากนโยบายของรัฐบาลในการ
สนับสนนุ การเรยี นในสายอาชีพ และการกำ� หนดสัดส่วนนักเรียนในสายอาชีพเพิม่ สงู ข้นึ
• ข้อเสนอแนะ 1) ควรพิจารณาควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก โดยค�ำนึงถึงความเสมอภาค
ทางการศึกษาและประสิทธิภาพในการจัดการการศึกษา และเปิดโอกาสให้ประชากร
ทุกช่วงวัยเข้าเรียนเพื่อเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2) การใช้เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมมาช่วยในการจัดการเรยี นการสอน 3) พิจารณาจดั สรรงบประมาณสำ� หรับการ
ศึกษาในสายอาชีพท่ีมากขึ้น ส�ำหรับการจัดซ้ือเทคโนโลยีและอุปกรณ์การเรียนท่ีมี
ราคาสูง เน้นการท�ำงานร่วมกับภาคเอกชน และการเพิ่มค่าแรงของแรงงานมีฝีมือ
ระดบั อาชีวศึกษา

ดา้ นสุขภาพอนามัย • ในระยะ 10 ปีท่ีผ่านมา แบบแผนการตายจากโรคไม่ติดต่อ 4 กลุ่มโรค (หัวใจและ
หลอดเลือด มะเรง็ เบาหวาน และระบบทางเดนิ หายใจเรอ้ื รงั ) เพมิ่ ขึน้ หากพจิ ารณาตาม
กลุม่ วัย พบว่า อัตราการตายในทารกจะลดลง ขณะทีก่ ารตายในวัยแรงงานและผสู้ งู อายุ
มแี นวโนม้ เพมิ่ สงู ขนึ้ โดยวยั แรงงานมอี ตั ราการตายดว้ ยโรคไมต่ ดิ ตอ่ เพมิ่ ขนึ้ อาทิ โรคมะเรง็
อุบัติเหตุ ส�ำหรับกลุ่มผู้สูงอายุอัตราการตายมีมากที่สุดเม่ือเปรียบเทียบกับกลุ่มวัยอื่น
เนื่องจากจ�ำนวนผู้สูงอายุที่มีมากข้ึน และเม่ือคาดการณ์ตามปัจจัยเสี่ยงท่ีมีผลกระทบ
ตอ่ สขุ ภาพ พบวา่ ในช่วง พ.ศ. 2553 – 2583 ประชากรวัยเด็กอายุ 13 – 15 ปี ทีม่ ีปัจจยั
เส่ียงด้านสุขภาพมีแนวโน้มลดลง และเด็กที่มีพฤติกรรมเนือยน่ิงยังคงมีจ�ำนวนมากที่สุด
ขณะที่แนวโน้มประชากรในวัยแรงงาน (15 - 60 ปี) ที่มีปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพกลับ

92 รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

เพิ่มมากขึ้น เช่นเดียวกับวัยสูงอายุท่ีมีการเพ่ิมขึ้นของจ�ำนวนประชากรที่มีปัจจัยเส่ียง
ดา้ นสุขภาพโดยตลอดช่วงระยะเวลา 30 ปี โดยเฉพาะการเพิม่ ข้ึนของประชากรที่มภี าวะ
สมองเสือ่ ม ซ่ึงผหู้ ญงิ มีแนวโนม้ การเพม่ิ ขึน้ ของภาวะสมองเสื่อมสูงกวา่ ผ้ชู ายค่อนขา้ งมาก
• ข้อเสนอแนะ ผลจากการเปล่ียนผ่านทางประชากรและการเพ่ิมข้ึนของการตายก่อนวัย
อันควร การด�ำเนนิ นโยบายดา้ นสขุ ภาพอนามัยจึงต้องคำ� นงึ ถึงความครอบคลมุ ประชากร
ทุกช่วงวัย การกระจายบริการสุขภาพอย่างท่ัวถึงและเท่าเทียม และมุ่งสร้างวิถีสุขภาพ
ตงั้ แตเ่ กดิ จนสงู อายุ โดยในวยั เดก็ เนน้ การไดร้ บั วคั ซนี อยา่ งครบถว้ นตามกำ� หนด การตรวจ
คดั กรองพฒั นาการ วยั แรงงานเนน้ การคัดกรองความเสี่ยง และวัยสงู อายุ ให้ความสำ� คัญ
กับการให้วคั ซนี การคดั กรองปัจจัยเส่ียงต่อโรคสำ� คญั 4 กลมุ่ โรค รวมถงึ โรคทางจติ
ด้านส่งิ แวดลอ้ ม • คาดการณ์ว่าใน พ.ศ. 2583 จะมีประชากรอาศยั ในเขตเมืองประมาณ 48.6 ลา้ นคน และ
มกี ารเตบิ โตเพมิ่ ขน้ึ ในทกุ ภมู ภิ าค ซงึ่ การเพม่ิ ขน้ึ ของประชากรเมอื งจะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบ
ต่อส่ิงแวดล้อมภายในเมือง อาทิ การเกิดชุมชนแออัดจ�ำนวนมาก การเพ่ิมข้ึนของระดับ
ฝุ่น PM 2.5 ปัญหาขยะมูลฝอยและขยะอิเล็กทรอนิกส์ และการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ โดยองค์การอนามัยโลกจัดให้ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศท่ีมีความเส่ียง
ตอ่ โรคทเี่ กดิ จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ นอกจากนี้ ยงั ทำ� ใหเ้ กิดเกาะความรอ้ น
ในทุกพืน้ ทเ่ี มืองของประเทศไทย
• ขอ้ เสนอแนะ 1) ไม่ควรม่งุ ไปท่ีการลดประชากรเมือง เนือ่ งจากเป็นสทิ ธสิ ่วนบคุ คลในการ
ยา้ ยถนิ่ แตค่ วรใหค้ วามสำ� คญั กบั การบรหิ ารจดั การสงิ่ แวดลอ้ มทดี่ แี ทน 2) มกี จิ กรรมรณรงค์
ที่เหมาะสมกับประชากรแต่ละกลุ่มอายุ เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนทัศนคติและวิถีการ
ด�ำรงชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยเน้นประชากรวัยแรงงานเป็นลำ� ดับแรก ส�ำหรับ
กลมุ่ ผสู้ งู อายแุ ละเดก็ ควรใหค้ วามสำ� คญั กบั การรณรงคเ์ กยี่ วกบั การปอ้ งกนั การเกดิ ปญั หา
สขุ ภาพจากสง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชน 3) ควรบรรจหุ ลกั สตู รทมี่ งุ่ สรา้ งความตระหนกั และจติ สำ� นกึ
ด้านสง่ิ แวดลอ้ มในการเรยี นการสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลและประถมศึกษา

โครงการพัฒนาแบบจำ� ลองการจดั ทำ� ขอ้ มูล คลงั สนิ คา้ และ (3) ตน้ ทนุ การบรหิ ารจดั การดา้ นโลจสิ ตกิ ส์
ต้นทุนโลจสิ ตกิ ส์ของประเทศไทย ท้ังน้เี พือ่ ให้การค�ำนวณต้นทนุ โลจิสตกิ ส์ตอ่ GDP มีความ
ถูกต้อง ทันสมัย และสะท้อนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์
หลกั การและเหตผุ ล สศช. โดยกองยทุ ธศาสตร์ ของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องด�ำเนินการ
การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ (กลจ.) ได้มีการจัดท�ำ ศึกษาและเก็บข้อมูลเพ่ิมเติมเพื่อให้การค�ำนวณ มีความ
รายงานโลจิสติกส์เป็นประจ�ำทุกปีอย่างต่อเนื่อง เพ่ือ ถูกต้อง สอดคล้องกบั บริบทการเปล่ียนแปลงสภาวการณ์
รายงานสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมใน การพัฒนาที่มีผลกระทบกับสมมติฐานการค�ำนวณหรือ
ประเทศ (GDP) ซงึ่ เปน็ ตวั ชวี้ ดั ทไี่ ดร้ บั การยอมรบั อยา่ งแพร่ ตวั แปรทใี่ ชใ้ นการคำ� นวณ และเพมิ่ การคาดการณท์ แ่ี มน่ ยำ�
หลาย โดยมีวิธีการค�ำนวณที่เป็นมาตรฐานสากล อ้างอิง สอดคล้องกับข้อเท็จจริงของการพัฒนาระบบโลจิสติกส์
วธิ กี ารคำ� นวณตน้ ทนุ โลจสิ ตกิ สข์ องสหรฐั อเมรกิ าเปน็ หลกั ของประเทศย่ิงขึ้น สามารถเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน
โดยองคป์ ระกอบหลกั ของตน้ ทนุ มี 3 สว่ น ไดแ้ ก่ (1) ตน้ ทนุ ทเี่ กยี่ วขอ้ งทกุ ภาคสว่ นใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ในการตดิ ตามและ
การขนส่งสินค้า (2) ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ประเมินผลการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ในภาพรวม เป็น
ประกอบด้วย ต้นทุนการถือครองสินค้าและการบริหาร

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 93

ข้อมูลประกอบการวางแผน การพัฒนาและการก�ำหนด โครงการศึกษาธุรกรรมเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital
ยุทธศาสตร์ที่สามารถสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถ Economy)
ในการแข่งขันของประเทศ
วัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงเกณฑ์การวัด หลักการและเหตุผล ปัจจุบันเทคโนโลยีและ
และเปรียบเทียบข้อมูลค่าคงที่ท่ีใช้ในการค�ำนวณแบบ นวัตกรรมทางการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์มีบทบาทต่อ
จ�ำลองการค�ำนวณต้นทุนโลจิสติกส์ที่มีการอ้างอิงจาก ระบบเศรษฐกจิ มากขึ้น ผู้ประกอบการในหลายกลมุ่ ธุรกจิ
ต่างประเทศให้มีความสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลง มีการน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมดังกล่าวมาปรับปรุง
สภาวการณ์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย กระบวนการผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารของตนเอง ใชก้ ารเพิม่
รวมถึงส�ำรวจและจัดท�ำข้อมูลท่ีเก่ียวข้องส�ำหรับการ ช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้าและบริการ ปรับปรุงภาพ
ค�ำนวณต้นทุนโลจิสติกส์ให้ครบถ้วนเป็นปัจจุบันและ ลักษณ์ของธุรกิจตนเองให้ทันสมัย เพ่ือตอบสนองต่อ
สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาวการณ์การพัฒนา ความต้องการของผู้บริโภคที่เปล่ียนแปลงตลอดเวลา
ระบบโลจิสติกส์ของประเทศตามวิธีการในการจัดเก็บ กิจกรรมดังกล่าว เรียกโดยรวมได้ว่า “เศรษฐกิจดิจิทัล
ขอ้ มลู เชงิ สถิตอิ ยา่ งเป็นระบบ (Digital Economy)” ซึ่งปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น
ผลการศึกษา จากผลการส�ำรวจและจัดเก็บ การซื้อขายสินค้าออนไลน์ หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ข้อมูลสามารถประมาณการสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ (E-Commerce) ซ่ึงสง่ิ ดงั กล่าวมีบทบาทมากขน้ึ ในระบบ
GDP ในปี 2560 อยูใ่ นช่วงระหว่างรอ้ ยละ 13.2–14.0 ต่อ เศรษฐกิจของประเทศ ท้ังในด้านผู้ผลิตสินค้าและบริการ
GDP ซง่ึ มคี า่ ใกลเ้ คยี งกบั สศช. ทไ่ี ดจ้ ดั ทำ� รายงานโลจสิ ตกิ ส์ และผู้บริโภค ส่งผลให้ความสะดวกสบายและประหยัด
ของประเทศไทยประจ�ำปี 2560 เท่ากับร้อยละ 13.8 ตอ่ เวลา สามารถตอบสนองรูปแบบการด�ำรงชีวิตในยุค
GDP ส�ำหรับตวั แปรและสมมติฐานท่ีเกีย่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ (1) อนิ เทอรเ์ นต็ (Internet of Things) ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ตน้ ทนุ การขนส่งสินค้า (Transportation Cost) ในส่วนท่ี และใหอ้ รรถประโยชน์ต่อทุกภาคส่วน
เกี่ยวข้องกบั รถยนตบ์ รรทุกสว่ นบคุ คล (รย.3) และข้อมลู ดงั น้ัน สศช. โดยกองบญั ชปี ระชาชาติ (กบป.)
ทา่ เรอื เอกชน (2) ขอ้ มลู ตน้ ทนุ การถอื ครองสนิ คา้ (Inven- มคี วามจ�ำเป็นต้องศึกษากิจกรรมดังกลา่ ว เพ่ือใช้เปน็ ฐาน
tory Carrying Cost) ในส่วนของค่า ß หรือ ขอ้ มลู การจดั ทำ� ผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ เพอ่ื ใหก้ าร
คา่ เฉลย่ี ค่าใชจ้ า่ ยต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การถือครองสินค้า รายงานสถิติรายได้ประชาชาติครอบคลุมกิจกรรมทาง
คงคลงั อาทิ คา่ ภาษี คา่ เสยี หาย คา่ เสอื่ มราคา และคา่ ประกนั เศรษฐกิจทีค่ รบถว้ นสมบูรณแ์ ละเปน็ ระบบมากยิ่งขนึ้
(3) ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (Warehousing Cost) วัตถุประสงค์ โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์
ในสว่ นทผี่ ปู้ ระกอบการมกี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมในคลงั สนิ คา้ หลัก 3 ประการ ได้แก่ (1) เพ่ือก�ำหนดค�ำนิยาม
ของตนเอง (In-house) และใช้ผู้ให้บริการคลังสินค้า ความหมาย ขอบเขตเกี่ยวกับเศรษฐกิจดิจิทัล แนวคิด
(Outsource) และ (4) ต้นทุนการบริหารจัดการด้าน ข้อมูลพื้นฐาน รวมถึงศึกษารูปแบบการด�ำเนินงาน และ
โลจสิ ตกิ ส(์ Administration Cost) ซง่ึ ปจั จบุ นั ใชส้ มมตฐิ าน ข้ันตอนในการด�ำเนินกิจกรรมเศรษฐกิจดิจิทัลท่ีส�ำคัญ
การค�ำนวณเท่ากับรอ้ ยละ 10 ของผลรวมตน้ ทุนค่าขนสง่ (2) เพ่ือศึกษาแนวทางการจัดจ�ำแนกกิจกรรมท่ีเป็น
สินค้าและต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง นั้น สศช. เศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศไทย ให้สอดคล้องกับการ
อยรู่ ะหวา่ งนำ� ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากผลการศกึ ษามาประมวลผลและ ประมวลผลสถิติรายได้ประชาชาติของประเทศ ตามการ
ปรบั ปรงุ สมมตฐิ านการคำ� นวณหรอื ตวั แปรทใี่ ชเ้ พอ่ื พฒั นา จดั จำ� แนกมาตรฐานอตุ สาหกรรมประเทศไทย พ.ศ. 2552
แบบจ�ำลองการค�ำนวณต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศไทย (TSIC 2009) และ (3) เพื่อศึกษาวิธีการวัดมูลค่าเพิ่ม
ให้มีความเหมาะสม ทันสมัย สอดคล้องกับบริบทการ เศรษฐกิจดิจิทัล รวมถึงแนวทางในการประมวลผล
เปลยี่ นแปลง และสะทอ้ นรปู แบบการพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์ เศรษฐกิจดิจิทัลส�ำหรับใช้ประกอบการประมวลผลสถิติ
ของประเทศไทยในปัจจุบันไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพต่อไป รายไดป้ ระชาชาติของประเทศไทย

94 รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

ผลการศกึ ษา สามารถสรปุ ได้ ดงั น้ี การบรกิ ารขอ้ มลู การบรกิ ารประมวลผลขอ้ มลู การบรกิ าร
1) ก�ำหนดนิยามของเศรษฐกิจดิจิทัล ได้ดังนี้ ฝากขอ้ มลู รวมทง้ั การจดั ทำ� สอ่ื ดจิ ทิ ลั เชน่ ภาพยนตร์ เพลง
“ระบบเศรษฐกิจสังคมที่เก่ียวเน่ืองกับการน�ำเทคโนโลยี หนงั สอื ขอ้ มลู เกมสอ์ อนไลน์ และการโฆษณา (3) SMART
ดิจิทัลไปประยุกต์ใช้ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการด�ำเนิน Devices ได้แก่ เคร่ืองมอื และอปุ กรณท์ ี่สามารถเชือ่ มต่อ
กิจกรรมการผลิตสินค้าและการบริการ และการอ�ำนวย และส่ังงานผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เช่น กล้องวงจรปิด
ความสะดวกในการดำ� รงชวี ติ ของประชาชน โดยครอบคลมุ เครื่องปรับอากาศ (4) Digital Services ประกอบด้วย
ถงึ เคร่อื งอุปกรณ์ โครงข่ายเชอื่ มต่อ การกระจายสญั ญาณ การให้บริการนันทนาการ อาทิ ภาพยนตร์ เพลง และ
การติดต่อส่ือสาร การให้บริการที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี ส่ือดจิ ทิ ัลอื่น ๆ ผ่านการให้บรกิ ารออนไลนท์ ี่อยใู่ นรูปแบบ
สารสนเทศ ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ส�ำหรับประมวลผล “Sharing Economy” (5) E-Commerce ได้แก่ การให้
ด้วยคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารดิจิทัล บริการสื่อ บรกิ ารตลาดกลาง (Market Place) และการซอ้ื ขายสนิ คา้
ดิจิทัล ข้อมูล ความรู้ และนันทนาการที่เป็นส่ือดิจิทัล ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ผ่าน Platform-Enabled Services
รวมท้ังธุรกรรมการซื้อขายแลกเปล่ียนสินค้าและบริการ 4) การก�ำหนดแนวทางการวัดค่าเศรษฐกิจ
การเงินและประกันภัย และโลจิสติกส์ ท่ีด�ำเนินการผ่าน ดจิ ิทลั ไดน้ ำ� กรอบแนวคิดการจดั ท�ำสถิติบญั ชีประชาชาติ
ระบบอนิ เทอร์เนต็ ” สากล หรอื SNA 2008 มาอ้างอิงและประยุกตใ์ ช้ พบวา่ มี
2) แนวทางในการพิจารณาขอบเขตเศรษฐกิจ กจิ กรรมการผลติ ทอ่ี ยใู่ นขอบเขตเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั กระจาย
ดจิ ทิ ลั ของประเทศไทย โดยพจิ ารณาจาก 3 เงอื่ นไข คือ อยใู่ น 7 สาขาการผลติ ไดแ้ ก่ สาขาการผลติ (อตุ สาหกรรม)
(1) พิจารณาจากผลิตภัณฑ์ (Products) โดยเป็นสินค้า สาขาการขายส่งและการขายปลีก สาขาการขนส่งและ
และบริการที่เป็นปัจจัยหลักของกิจกรรมการดิจิทัล สถานท่ีเก็บสินค้า สาขาข้อมูลข่าวสารและการส่ือสาร
(Digital Enabler) เช่น คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เชื่อมต่อ สาขากิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย สาขา
อปุ กรณส์ อ่ื สาร ซอฟทแ์ วรแ์ ละระบบปฎบิ ตั กิ ารตา่ ง ๆ หรอื กจิ กรรมทางวิชาชพี วิทยาศาสตร์ และเทคนคิ และสาขา
เปน็ สนิ คา้ และบรกิ ารทป่ี ฏบิ ตั กิ ารในระบบดจิ ทิ ลั ในตวั เอง กจิ กรรมการบรหิ ารและการบรกิ ารสนบั สนนุ
(Digital Content) เช่น เกมส์ ภาพยนตร์ เพลงเปน็ ตน้ 5) ผลการค�ำนวณเศรษฐกิจดิจิทัลในโครงการ
(2) พิจารณาจากวิธีการ (How to) โดยพิจารณาจาก ศึกษาธุรกรรมเศรษฐกิจดิจิทัลในคร้ังน้ี สรุปได้ดังน้ี
ช่องทางการให้บริการ (Services Delivered) หมายถึง (1) มลู คา่ เพมิ่ ของเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ในปี พ.ศ. 2558 มมี ลู คา่
การทำ� ธรุ กรรมระหวา่ งผใู้ หบ้ รกิ ารและผรู้ บั บรกิ าร ดำ� เนนิ ทั้งสิ้น 1,077 ล้านบาท ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็น 1,194
การในช่องอินเทอร์เน็ตผ่านแพลตฟอร์มต่าง ๆ เช่น ล้านบาท และ 1,300 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2559 และ
e-commerce e-booking e-banking เป็นต้น พ.ศ. 2560 ตามลำ� ดบั (2) สดั สว่ นตอ่ GDP ณ ราคาประจำ�
(3) พิจารณาจากผู้ด�ำเนินกิจกรรม (Who) ซ่ึงตามนิยาม ปี เพิม่ ขึ้นจากรอ้ ยละ 7.84 ในปี พ.ศ. 2558 เป็นร้อยละ
สากลได้แยกธรุ กรรมออกเปน็ B2B B2C B2G และ C2C 8.21 ในปี พ.ศ. 2559 และเพมิ่ ขน้ึ เปน็ ร้อยละ 8.42 ในปี
(ในการศกึ ษาครง้ั นี้ยงั ไมน่ บั รวม กรณี C2C แมว้ า่ จะอยใู่ น พ.ศ. 2560 ท้งั นี้ สัดส่วนตอ่ GDP เฉลย่ี 3 ปี (ระหว่าง
เงื่อนไข 1 และ 2 แล้วก็ตาม) ปี พ.ศ. 2558-2560) อย่ทู ่ีร้อยละ 8.15
3) การก�ำหนดขอบเขตกิจกรรมเศรษฐกิจที่มี
ความเป็นไปได้ในการวัดค่าในกรอบบัญชีประชาชาติ
สรุปได้ดังนี้ (1) ICT Sector ประกอบด้วย ICT
Equipment Semiconductors, Software Computer
Telecommunication, Internet Access Services,
Information & Data Processing Services (2) Content
and Media Sector ประกอบดว้ ย Digital Content ไดแ้ ก่

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ 95

โครงการการวิเคราะห์ผลส�ำเร็จของการ ความมนั่ คงไดใ้ กลเ้ คยี งกบั ความเปน็ จรงิ ประกอบกบั มกี าร
ด�ำเนินโครงการพัฒนาเพ่ือเสริมความม่ันคงของ โยกย้ายบุคลากรท่ีรับผิดชอบงานด้านความม่ันคงอยู่เป็น
ชาตใิ นบรบิ ททางเศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม ประจ�ำ ท�ำให้ขาดความต่อเน่ืองในการด�ำเนินงานด้าน
ความมั่นคงท่ีมีการปรับเปล่ียนประเด็นปัญหาอยู่ตลอด
วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามผลการด�ำเนินงาน เวลา การขาดความรคู้ วามเขา้ ใจของผนู้ ำ� ชมุ ชนและราษฎร
พัฒนาที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างความม่ันคงของชาติ เกี่ยวกับปัญหาความม่ันคงรูปแบบใหม่ ตลอดจน
ในบริบทตา่ ง ๆ 4 พนื้ ที่ ไดแ้ ก่ (1) การศึกษาแนวทางแกไ้ ข กระบวนการจัดท�ำแผนงาน/ โครงการท่ีไม่ได้สะท้อนถึง
ปญั หาดา้ นยาเสพตดิ ต.โพธไิ พศาล อ.กสุ มุ าลย์ จ.สกลนคร สถานการณแ์ ละความตอ้ งการทแ่ี ทจ้ รงิ ของชุมชน
(2) การศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาเขตพื้นที่อนุรักษ์และ ข้อเสนอแนะเพ่ือให้การด�ำเนินงานโครงการ
แรงงานต่างด้าว บ้านห้วยปลาหลด ต.ด่านแม่ละเมา พัฒนาเพ่ือเสริมความมั่นคงในบริบททางเศรษฐกิจ
อ.แม่สอด จ.ตาก (3) การศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหา สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถด�ำเนินการได้บรรลุตาม
ชา้ งป่า ต.พวา อ.แกง่ หางแมว จ.จนั ทบรุ แี ละตราด และ วัตถุประสงค์ บุคลากรท่ีเก่ียวข้องในแต่ละระดับควรให้
(4) การศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาโพงพางขวางทางน�้ำ ความสำ� คญั กบั การสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในมติ ดิ า้ นความ
ต.หัวเขา อ.สิงหนคร จ.สงขลา พร้อมท้ังขยายผลการ ม่ันคงรูปแบบใหม่ การเสริมสร้างศักยภาพของผู้น�ำใน
วิเคราะห์ระดับความรุนแรงของสถานการณ์ด้านความ แต่ละระดบั ใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจในมติ ิตา่ ง ๆ ด้านความ
มั่นคงท่ีเกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างในพื้นที่ใกล้เคียง มนั่ คง รวมถงึ แนวทางในการแก้ไขปญั หาด้านความมั่นคง
เพ่ิมเติม ถอดบทเรียนแนวทางในการแก้ไขปัญหาความ แบบบรู ณาการ ควรมกี ารจดั ทำ� ระบบฐานขอ้ มลู ในรปู แบบ
มนั่ คงในพนื้ ทตี่ วั อยา่ ง ตลอดจนวเิ คราะหค์ วามสำ� เรจ็ และ ของ Big Data ทม่ี ีขอ้ มลู เป็นปัจจุบนั เพื่อให้แผนงานด้าน
ขอ้ จำ� กดั ของการดำ� เนนิ งานโครงการพฒั นาทางเศรษฐกจิ ความมั่นคงถูกบรรจุอย่างเป็นเอกภาพในแผนพัฒนา
สังคมท่ีเก่ียวข้องกับการเสริมสร้างความม่ันคงของชาติ จังหวัด กรอบการประเมินจังหวัดตามมาตรฐานการ
เพ่ือน�ำมาขยายผลการขับเคล่ือนและปรับปรุงการด�ำเนิน ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของจังหวัด
งาน ทใ่ี ชก้ ระบวนการนำ� ระบบการพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม ในส่วนของ Agenda Base จ�ำเป็นต้องมีงานด้านความ
และสงิ่ แวดลอ้ มมาเปน็ กลไกในการแกไ้ ขปญั หาความมน่ั คง ม่นั คงเปน็ ตวั ชวี้ ดั และสว่ นของ Area Base ควรมีการจดั
ของชาติทมี่ ีประสทิ ธภิ าพในระยะตอ่ ไป ท�ำฐานขอ้ มูล Big Data ด้านความม่ันคงในแตล่ ะจงั หวัด
ผลการศกึ ษา พบวา่ การดำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หา
ท่ีมีผลกระทบต่อความม่ันคงในแต่ละพื้นที่จะแตกต่างกัน
ไปตามบรบิ ทของปัญหา ความรนุ แรงของปญั หา นโยบาย โครงการศกึ ษาวจิ ยั ทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งดำ� เนนิ การ

และยทุ ธศาสตรก์ ารแกป้ ญั หาของพนื้ ท่ี การมสี ว่ นรว่ มของ โครงการพฒั นาระบบขอ้ มลู โลจสิ ตกิ สเ์ พอ่ื ประเมนิ
ประชาชนของแต่ละพื้นที่ และความเข้าใจในประเด็น ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นโลจสิ ตกิ สข์ อง
ปัญหาของบุคลากร โดยจากการวิเคราะห์ระดับความ ประเทศไทย
รุนแรงของสถานการณ์ความมั่นคง พบว่าในหลายพ้ืนท่ี
ระดับความรุนแรงของสถานการณ์ความมั่นคงระหว่าง หลกั การและเหตผุ ล การตดิ ตามประเมนิ ผลการ
เจา้ หนา้ ทก่ี ับประชาชนมีความแตกต่างกนั โดยขอ้ จ�ำกดั ที่ พัฒนาระบบโลจิสติกส์ในระยะที่ผ่านมา พบว่าระบบ
เป็นอุปสรรคของความส�ำเร็จในการด�ำเนินงาน อาทิ ข้อมูลโลจิสติกส์ของประเทศไทยมีรูปแบบการจัดเก็บ
การขาดความรู้ความเข้าใจในปัญหาความมั่นคงรูปแบบ ข้อมูลท่ีมีความหลากหลาย ไม่ต่อเนื่อง และมีหน่วยงาน
ใหม่ของบุคลากร การก�ำหนดระดับความรุนแรงของ ท่ีเกี่ยวข้องจ�ำนวนมาก ตัวช้ีวัดที่ส�ำคัญบางตัวยังไม่มี
สถานการณ์ดา้ นความม่นั คงท่ใี ช้ดุลยพนิ จิ ของบคุ ลากรไม่ หน่วยงานเจ้าภาพหลักท�ำหน้าท่ีในการพัฒนาและเก็บ
สามารถสะท้อนระดับความรุนแรงของสถานการณ์ด้าน ข้อมูลให้ได้มาตรฐานและเป็นระบบ ท�ำให้ไม่สามารถ

96 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

ประเมินผลการพัฒนาที่ครอบคลุมและตรงกับความ ผลการศึกษาเบื้องต้น อยรู่ ะหว่างการนำ� เสนอ
ต้องการใช้ประโยชน์ ดังน้ัน จึงจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนา รายงานความกา้ วหนา้ ครั้งท่ี 2 (Progress Report II) โดย
ระบบข้อมูลดัชนีชี้วัด (KPIs) ด้านโลจิสติกส์ เพื่อใช้เป็น ศึกษาสถานภาพการพัฒนาข้อมูลดัชนีชี้วัดด้านโลจิสติกส์
เครื่องมือประกอบในการวิเคราะห์ข้อมูลส�ำหรับติดตาม ของประเทศไทยจากหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง รวบรวมขอ้ มลู
ประเมินผลและวางแผนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของ ดัชนีชี้วัดที่มีการจัดเก็บและมีฐานข้อมูลแล้ว ส�ำรวจและ
ประเทศไทยไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ จดั ทำ� ขอ้ มลู ดชั นชี วี้ ดั ทส่ี ำ� คญั เพม่ิ เตมิ จดั ทำ� ขอ้ เสนอแนะ
วัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาสถานภาพข้อมูลด้าน แนวทางการจัดเก็บข้อมูลให้มีความสมบูรณ์และมี
โลจิสติกส์ของประเทศไทยท้ังในระดับจุลภาคและระดับ ความตอ่ เนอ่ื งอยา่ งเปน็ ระบบ พรอ้ มทงั้ จดั ทำ� แนวทางการ
มหภาค พฒั นาแนวทางการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ทใี่ ชใ้ นการจดั ทำ� เช่ือมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ออกแบบ
ดัชนีชี้วัดให้มีมาตรฐานและสามารถเทียบเคียงดัชนีชี้วัด หนา้ ตา่ งการแสดงผล และจดั ทำ� รา่ งตน้ แบบสถาปตั ยกรรม
ของในระดับสากล รวมท้ังการเช่ือมโยงและพัฒนาระบบ ของระบบข้อมูลในเบื้องต้น เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนา
ขอ้ มลู และดชั นชี วี้ ดั ดา้ นโลจสิ ตกิ สข์ องประเทศไทยสำ� หรบั และจัดท�ำระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ด้าน
ใชเ้ ป็นเคร่ืองมอื ในการประเมินสถานภาพ ความกา้ วหน้า โลจสิ ตกิ ส์ของประเทศไทยต่อไป
ระดับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศได้อย่าง
ตอ่ เน่ือง

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ 97

โครงการประเมินผลแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา บทสัมภาษณ์ จดั เวทีเสวนา (Talk) ทีก่ รงุ เทพฯ เชียงใหม่
ระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย ฉบับที่ 3 และชลบุรี จัดท�ำแผนภาพอินโฟกราฟิก วีดีโออนิเมชัน
(พ.ศ.2560-2564) ในชว่ งระยะคร่ึงแผน ภาพยนตรส์ นั้ ซง่ึ ภายหลงั สนิ้ สดุ โครงการการประชาสมั พนั ธ์
เชิงรุกฯ ได้มกี ารนำ� ส่ือรูปแบบต่างๆ มาเผยแพร่ทางหนา้
หลักการและเหตุผล แผนยุทธศาสตร์ เว็บไซต์และหน้า Facebook ของ สศช. และช่องทาง
การพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ สข์ องประเทศไทย ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. อ่ืน ๆ เช่น หน้าเว็บไซต์ FuturisingThailand รวมท้ัง
2560-2564) จัดท�ำขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการ การผลติ คมู่ อื ตวั ชวี้ ดั ความสามารถในการแขง่ ขนั ของ IMD
พฒั นาระบบโลจิสตกิ ส์ของประเทศ ซง่ึ คณะรฐั มนตรีมมี ติ และ WEF เพ่ือเผยแพร่แก่หน่วยงานที่เก่ียวข้องในการ
เหน็ ชอบเม่อื วนั ท่ี 15 สงิ หาคม 2560 และมอบหมายให้ ยกอนั ดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องใช้เป็นกลไกการด�ำเนินงานให้ส�ำเร็จ
และใชป้ ระโยชนต์ ามระยะเวลาท่กี ำ� หนด ในปี 2562 อยู่ โครงการพฒั นาและวางระบบเชอื่ มโยงการตดิ ตาม
ในช่วงระยะเวลาครึ่งแรกของแผนฯ จึงมีความจ�ำเป็นใน ประเมินผลยุทธศาสตรช์ าตแิ ละแผนพฒั นาฯ
การประเมินผลการด�ำเนินงานและติดตามความก้าวหน้า ฉบบั ท่ี 12 เชงิ พนื้ ที่ (AREA BASED) ระยะท่ี 2
การด�ำเนินงานของภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพ่ือใช้เป็น
ข้อมูลประกอบการขับเคล่ือนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ความเป็นมา : สศช. ได้จัดท�ำแผนพัฒนา
ในระยะครงึ่ หลงั ของแผนฯ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 2564)
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินผลการด�ำเนินการ เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศระยะ 5 ปี
พฒั นาระบบโลจสิ ตกิ สข์ องประเทศไทยของภาคสว่ นตา่ งๆ และประกาศใชน้ บั ตัง้ แต่วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2559 การดำ� เนิน
ท่ีเก่ียวข้อง วิเคราะห์ประเด็นปัญหาอุปสรรค ข้อจ�ำกัด การขับเคล่ือนตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้ล่วงเลย
ศึกษาและวิเคราะห์บริบทการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ครึ่งแผนแล้ว จึงจ�ำเป็นต้องติดตามประเมินผลเพื่อให้
การคา้ แนวทางการขบั เคลอื่ นนโยบายการพฒั นาเชงิ พน้ื ท่ี สามารถอธบิ ายปจั จยั ความสำ� เรจ็ และความลม้ เหลวทเี่ กดิ
ตามนโยบายรฐั บาลเพอื่ ใหก้ ารขบั เคลอ่ื นการพฒั นาระบบ ขึ้นจากการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ
โลจิสติกสข์ องประเทศไทยในช่วงครง่ึ หลงั ของแผนฯ เปน็ ฉบบั ที่ 12 ไดอ้ ยา่ งชดั เจน โดยเฉพาะประเดน็ พฒั นาสำ� คญั
ไปอย่างมีประสิทธิภาพสามารถบรรลุเป้าหมายและ ทเี่ ปน็ Cross Cutting Issue ทเี่ ชอื่ มโยงกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ
วตั ถปุ ระสงค์ทกี่ �ำหนดไว้ และแผนการปฏริ ปู ประเทศในระดับพื้นท่ี (Area Based)
ผลการศึกษา อย่รู ะหว่างการจัดทำ� รายงานผล อาทิ การสนับสนุนและส่งเสริม SMEs การส่งเสริม
การศึกษาฉบับสมบูรณ์และจะน�ำเสนอรายงานต่อคณะ เศรษฐกิจชีวภาพ การสนับสนุนและส่งเสริมพลังงาน
กรรมการพิจารณาผลการศึกษาภายในเดือนพฤศจิกายน ทดแทน และการสนบั สนุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
2562 วตั ถปุ ระสงค์ : เพอื่ ตดิ ตามและประเมนิ สมั ฤทธิ
ผลประเดน็ พฒั นาส�ำคัญในแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 ที่ไดม้ ี
โครงการประชาสมั พันธ์เชงิ รกุ ในการพฒั นา การด�ำเนินการในระดับพื้นที่ ท้ังในมิติความเช่ือมโยงกับ
ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละแผนการปฏริ ปู ประเทศ ถอดบทเรยี น
กระบวนการแปลงนโยบาย ยุทธศาสตร์ชาติ และ
สศช. ได้วา่ จ้าง บรษิ ัท ดิ วันโอวัน เปอร์เซน็ ต์ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ไปสู่การปฏิบัติ และน�ำผล
เป็นท่ีปรึกษาโครงการ ระหว่างเดือนตุลาคม 2561 – การศึกษาและองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการ
กรกฎาคม 2562 เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ ยกระดับระบบการติดตาม และประเมินผลการพัฒนา
ประชาชนทุกกลุ่ม และสรา้ งภาพลกั ษณ์ทดี่ ตี อ่ การพฒั นา ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ท้ังในระดับประเทศและ
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ผ่านสื่อ ระดับหนว่ ยงานท่ดี ำ� เนนิ การอยู่ในปจั จบุ นั
ประชาสัมพันธ์เชิงรุกผสมผสานในทุกมิติ เช่น บทความ

98 รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ

ผลการศกึ ษาเบอื้ งตน้ /ความกา้ วหนา้ ของการ วิธีการศึกษาและผลการด�ำเนินงาน จ้าง
ด�ำเนินโครงการ : สศช. ได้ว่าจ้างมูลนิธิสถาบันวิจัย ที่ปรึกษาเพ่ือด�ำเนินการส�ำรวจความคิดเห็นและทัศนคติ
นโยบายเศรษฐกิจการคลังเปน็ ที่ปรึกษาด�ำเนนิ โครงการฯ ทางสงั คมเกยี่ วกบั ประเดน็ ทางสงั คมทสี่ ำ� คญั และนำ� เสนอ
ซึ่งได้น�ำเสนอรายงานการศึกษาข้ันกลาง (Interim เป็นบทความในรายงานภาวะสังคมไทย จ�ำนวน 2 เร่ือง
Report) แลว้ และจะดำ� เนินการโครงการฯ แล้วเสรจ็ ใน ขณะน้ไี ดส้ ำ� รวจและศึกษาแลว้ เสรจ็ 1 เรอ่ื ง คอื “พลวตั
เดือนมีนาคม 2563 ความเปลี่ยนแปลงรูปแบบการท�ำงานของไทยและการ
เปลย่ี นผา่ นสกู่ ารทำ� งานของคนรนุ่ ใหม่ (NextGen Work)”
โครงการส�ำรวจและศึกษาเพ่ือการเฝา้ ระวงั ผลการส�ำรวจพบว่าปัจจุบันมีแรงงานที่ท�ำงานในแบบ
และเตือนภยั ทางสังคม NextGen Work ประมาณร้อยละ 30 โดยกลุ่มแรงงาน
รุ่นใหม่ท่ีอายุน้อย มีแนวโน้มการท�ำงานแบบ NextGen
สศช. มีภารกจิ ในการจดั ท�ำรายงานภาวะสงั คม Work สูงกว่าแรงงานท่ีมีอายุมากกว่า ปัจจัยส�ำคัญท่ีส่ง
เผยแพร่สู่สาธารณะเพื่อรายงานสถานการณ์ทางสังคมใน ผลกระทบต่อรูปแบบและลักษณะการท�ำงานของคนรุ่น
มติ ติ ่างๆ ทสี่ ะทอ้ นถึงคุณภาพชวี ติ อยา่ งรอบดา้ น รวมท้ัง ใหม่ มาจากเทคโนโลยเี ปลย่ี นโลก กระแสโลกาภวิ ตั น์ การ
จดั ทำ� บทความประจำ� ฉบบั เพอื่ ศกึ ษาในเชงิ ลกึ ในประเดน็ โยกย้ายถ่ินฐานของประชากร และการก้าวเข้าสู่สังคม
ท่ีอยู่ในความสนใจหรือมีความเร่งด่วนที่ต้องเตือนภัย ผสู้ ูงอายุ โดยขณะนอี้ ยรู่ ะหวา่ งการด�ำเนินการสำ� รวจเรือ่ ง
เฝ้าระวังในช่วงเวลาที่ทันต่อเหตุการณ์ อย่างไรก็ตาม ท่ี 2 คือ “สาเหตุที่คนไทยก่อหน้ีเพื่ออุปโภคบริโภค
ประเดน็ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมมพี ลวตั ทร่ี วดเรว็ ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล” คาดว่าการศึกษาจะแลว้ เสร็จสมบรู ณ์ภายใน
ทจี่ ดั เกบ็ เปน็ รายไตรมาสหรอื จดั เกบ็ ตามกรอบการบรหิ าร เดือนมกราคม 2563
ราชการแผน่ ดนิ นน้ั ไมส่ ามารถสะทอ้ นประเดน็ ในเชงิ ลกึ ได้
อย่างทันเหตุการณ์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในส่วนท่ีเก่ียวกับ โครงการเสริมสร้างความย่ังยืนของการพัฒนา
ความคิดเห็นและทัศนคติของผู้มีส่วนได้เสียในสังคม เมอื งในอนาคต ระยะท่ี 2 (Project for Promoting
การจัดเก็บข้อมูลจากฐานการส�ำรวจประกอบกับการ Sustainability in Future Cities of Thailand
วเิ คราะหจ์ งึ เปน็ แนวทางทจ่ี ำ� เปน็ ในการสนบั สนนุ งานการ Phase 2)
วเิ คราะหป์ ระเดน็ และภาวะทางสงั คมทม่ี คี วามเปน็ ปจั จบุ นั
และมีความลึกซ้ึงมากพอท่ีจะใช้เป็นฐานในการจัดท�ำ ความเป็นมา โครงการเสริมสร้างความยั่งยืน
ข้อเสนอเชิงนโยบายและการผลักดันการขับเคล่ือนไปสู่ ของการพัฒนาเมืองในอนาคต เป็นความร่วมมือระหว่าง
การปฏิบัติรวมท้ังการสร้างความตระหนักร่วมกันของ สศช. และองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของญ่ีปุ่น
ทกุ ภาคสว่ นในสังคม (JICA) เพื่อขับเคล่ือนการพัฒนาเมืองตามแนวทางของ
วัตถุประสงค์ (1) เพ่ือศึกษาสถานการณ์การ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมท่ีมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและ สังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 ภายใต้แนวคิดการพัฒนา 5
สภาพแวดล้อมของคนท่ีเป็นประเด็นเร่งด่วนเพ่ือเป็นการ องคป์ ระกอบส�ำคญั ไดแ้ ก่ (1) การพ่ึงพาตนเองและเพิ่ม
เฝ้าระวังและส่งสัญญาณเตือนภัยให้สังคมได้รับทราบ ศักยภาพการแข่งขัน (2) การมีอัตลักษณ์ของตนเอง
(2) เพ่ือส�ำรวจข้อมลู ภาคสนาม ความคิดเหน็ และทัศนคติ (3) การเป็นเมืองน่าอยู่และเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม
ทางสังคม เกี่ยวกับประเด็นทางสังคมที่ส�ำคัญ เพื่อน�ำ (4) การสร้างสังคมท่ีปลอดภัย และ (5) การสร้างความ
ผลส�ำรวจมาใช้ประกอบการวิเคราะห์สถานการณ์ ภูมใิ จไวใ้ หค้ นร่นุ ตอ่ ไป โดยโครงการฯ ในระยะท่ี 1 (พ.ศ.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและ 2557-2561) มเี มอื งนำ� ร่องจำ� นวน 6 แหง่ ได้แก่ เทศบาล
สภาพแวดล้อมของคนที่อยู่ในความสนใจในขณะนั้น นครเชียงราย เทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนคร
น�ำเสนอเป็นบทความในรายงานภาวะสังคมไทย และ ขอนแกน่ เทศบาลเมอื งกระบ่ี เทศบาลเมอื งพนสั นคิ ม และ
จัดทำ� ประเด็น/ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายในระดบั ประเทศ เทศบาลเมืองน่าน ปัจจุบันอยู่ระหว่างการด�ำเนินงาน

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 99


Click to View FlipBook Version