The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NESDC, 2020-03-03 03:16:19

รายงานประจำปี 2562 ของ สศช.

NESDC

2562รายงานประจำ�ปี

ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ

Office of the National Economic and Social Development Council

พระบพาทรสะบมรเดม็จรพาโรชะวเาจทา้ อยู่หัว

เนอ่ื งในโอกาสวันข้าราชการพลเรอื น 2562

รายงานประจำ�ปี 2562
ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

พิมพ์ครั้งท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 จำ�นวน 500 เลม่
ISBN 978-974-9769-49-2

กลมุ่ งานประชาสัมพนั ธ์
ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
โทร. 0 2628 2847
โทรสาร 0 2628 2846
www.nesdc.go.th

พิมพท์ ่ี : บริษัทอมรนิ ทร์พร้นิ ติง้ แอนดพ์ บั ลิชช่งิ จำ�กดั (มหาชน)
376 ถนนชยั พฤกษ์ (บรมราชชนน)ี เขตตลง่ิ ชัน กรงุ เทพฯ 10170

2562รายงานประจำ�ปี

สำ�นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

Office of the National Economic and Social Development Council



สาร

ประธานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

ปี 2562 เป็นอีกปีหน่ึงที่มีความส�ำคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) สู่ความม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืนในระยะยาว โดยได้จัดท�ำแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญในการถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็นการพัฒนาในยุทธศาสตร์ชาติ
ลงสู่แผนระดับต่าง ๆ ท่ีเน้นประสานเช่ือมโยงเป้าหมายของแผนแม่บทแต่ละแผนให้มีความสอดคล้อง
ไปในทิศทางเดยี วกัน เกิดผลสัมฤทธ์ิบรรลตุ ามเป้าหมายยุทธศาสตรช์ าติ
ในช่วงปีที่ผ่านมาสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้พิจารณาก�ำหนดแนวนโยบาย
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่ส�ำคัญในหลายเร่ือง อาทิ ร่างแผนการให้ความรู้พื้นฐาน
ทางการเงิน พ.ศ. 2561-2565 การขับเคล่ือนการบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ระดับพื้นท่ีการขบั เคลอ่ื นประเด็นการพฒั นาท่ีสำ� คญั ในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 (ร่าง) แผนประชากรเพ่อื
การพัฒนาประเทศระยะยาว (พ.ศ. 2563-2580) แนวทางการท�ำงานของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สงั คมแหง่ ชาติ และการแตง่ ตงั้ คณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการ ภายใตพ้ ระราชบญั ญตั สิ ภาพฒั นาการ
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 10 คณะ
นอกจากนี้ ไดพ้ จิ ารณาใหค้ วามเหน็ เกยี่ วกบั แผนงาน/โครงการของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ เพอื่ ประกอบ
การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีในหลากหลายสาขา โดยคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบแล้วหลายเร่ือง
อาทิ แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561-2580 โครงการก่อสร้างทางว่ิงเส้นที่ 3
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) โครงการก่อสร้างทางรถไฟ
สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม ของการรถไฟแห่งประเทศไทย และกรอบและ
งบลงทุนของรัฐวิสาหกจิ ประจำ� ปงี บประมาณ 2563
ในรอบปีท่ีผ่านมา ผลการด�ำเนินงานนับว่าประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีได้เป็นอย่างดี ผมในนามของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ต้องขอขอบคุณทา่ นเลขาธิการฯ คณะผ้บู ริหาร รวมทัง้ ขา้ ราชการและเจา้ หนา้ ที่ สศช. ทุกคน ท่ไี ด้เสียสละ
ทุ่มเทแรงกายแรงใจในการปฏิบัติงานอย่างไม่ย่อท้อ และสุดท้ายนี้ ขอให้ทุกท่านจงร่วมแรงร่วมใจ
พฒั นาประเทศของเราใหเ้ จริญกา้ วหนา้ เพื่อการด�ำรงชวี ติ อยา่ งมคี ณุ ภาพของคนไทยทุกคนตลอดไป

(นายสนทิ อกั ษรแก้ว )
ประธานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ



สาร

เลขาธกิ ารสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.) ในฐานะสำ� นกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการ
ยุทธศาสตร์ชาติและคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ตามพระราชบัญญัติการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 และ
พระราชบญั ญตั ิแผนและขน้ั ตอนการดำ� เนนิ การปฏริ ปู ประเทศ พ.ศ. 2560 ไดด้ ำ� เนนิ การเพอื่ ขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ชาติ
และการปฏริ ปู ประเทศ พรอ้ มสรา้ งการรบั รแู้ ละขยายผลการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรช์ าตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิ์
บรรลุตามเป้าหมาย
ในช่วงปีท่ีผ่านมา สศช. ได้สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ภาคส่วนต่าง ๆ ในการขับเคล่ือนแผนแม่บทภายใต้
ยทุ ธศาสตรช์ าติ รวมทงั้ ตดิ ตามการตรวจสอบ และการประเมนิ ผลการดำ� เนนิ การตามยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ว้ ยระบบรายงาน
การติดตามและประเมินผลของยุทธศาสตร์ชาติ หรือ eMENSCR เพื่อบูรณาการการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล
นโยบาย แผนงาน โครงการภาครฐั ชว่ ยใหเ้ หน็ ภาพรวมการพฒั นาและผลการขบั เคลอ่ื นตามยทุ ธศาสตรช์ าตติ งั้ แตร่ ะดบั
พืน้ ท่ี จนถึงระดบั นโยบาย
นอกจากนี้ สศช. ได้ติดตามประเมินผลการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ในระยะ 2 ปีแรก ซ่ึงให้ความส�ำคัญกับการติดตามประเมินผล
การดำ� เนนิ งานตามยทุ ธศาสตรข์ องแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 และการประเมนิ ผลกระทบการพฒั นาดว้ ยดชั นคี วามอยเู่ ยน็
เป็นสุขร่วมกันในสังคมไทย ซ่ึงพบว่าสังคมไทยมีความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในระดับปานกลางและมีแนวโน้มดีขึ้น
รวมทง้ั เศรษฐกจิ ไทยมคี วามเขม้ แขง็ และเปน็ ธรรมเพิม่ ข้ึน
ทั้งนี้ ได้มีการน�ำระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบช้ีเป้า (Thai People Map and Analytics
Platform: TPMAP) มาใช้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เป็นการจัดท�ำโครงการการบริหารจัดการและการพัฒนา
การน�ำข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินในประเด็นการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต และน�ำข้อมูล
จากระบบ TPMAP ไปใช้ในการพฒั นาต่อยอดงานวิจัยและนวตั กรรม ท่จี ะชว่ ยแกไ้ ขปญั หาความยากจน และพฒั นาคน
ตลอดช่วงชีวิตได้อย่างสอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริงของแต่ละพ้ืนท่ีในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
อยา่ งยัง่ ยืน รวมทัง้ ดำ� เนนิ การขบั เคลอ่ื นแผนแมบ่ ทฯ ในประเดน็ การบรกิ ารประชาชน และประสิทธิภาพภาครัฐด้วย
ผลการด�ำเนินงานของ สศช. ที่ผ่านมา ประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี ด้วยความร่วมแรงร่วมใจของ
สภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ผบู้ รหิ าร และเจา้ หนา้ ที่ สศช. ซง่ึ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ ความสำ� เรจ็ ในการทำ� งานน้ี
จะเป็นพลังหนึ่งในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปสู่ความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันของคนไทยอย่างม่ันคง มั่งคั่ง
และยั่งยืนในอนาคต

(นายทศพร ศริ ิสมั พันธ์)
เลขาธกิ ารสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

สารบญั หน้า

5
7
สารประธานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต ิ 9
สารเลขาธกิ ารสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 12
สภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 17
คณะผู้บริหาร สศช. 21
วิสัยทศั น์ คา่ นิยม วฒั นธรรมองค์กร พันธกิจ เป้าหมาย บทบาทหนา้ ท่ ี 22
กลยทุ ธ์ในการด�ำเนินงาน
โครงสร้างองคก์ ร 23

ผลการปฏิบัติราชการของ สศช. 24
26
• ผลการดำ� เนนิ งานของสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 32
• ผลการด�ำเนนิ งานของคณะกรรมการนโยบายระดบั ชาติ ที่ สศช. เป็นฝา่ ยเลขานุการ 34
• ผลการด�ำเนนิ งานของคณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการอ่นื ๆ 40
• การขบั เคล่อื นยุทธศาสตรช์ าติ และการปฏิรูปประเทศ 45
• การวเิ คราะห์แผนงาน/โครงการ และงบลงทุนรัฐวิสาหกจิ 74
• การขับเคล่อื นแผนฯ 12 สู่การปฏบิ ตั ิ 88
• การตดิ ตามประเมินผลและการพัฒนาตัวช้ีวัด 101
• โครงการศึกษาวิจยั
• ภารกจิ พิเศษ 105

การบริหารจดั การภายในองค์กร 106
110
• การประเมนิ สว่ นราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติราชการ 111
• การพฒั นาระบบบริหารจดั การภายในองค์กรใหม้ ธี รรมาภบิ าล 114
• การเพิ่มศกั ยภาพและขีดความสามารถบุคลากร 118
• การใช้ทรัพยากรของหน่วยงาน 120
• การพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทลั และสารสนเทศ สศช.
• การสอื่ สารเพื่อการพัฒนา 127
137
รายงานการเงนิ 156
ประมวลภาพกจิ กรรม สศช.
ทีป่ รึกษาและคณะทำ� งานจดั ท�ำรายงานประจ�ำปี 2562

สภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

1 2 3

นายสนิท อกั ษรแกว้ คณุ หญิง กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา นายคณศิ แสงสพุ รรณ

ประธานฯ กรรมการฯ กรรมการฯ

4 5

นายณัฐพร จาตุศรีพทิ กั ษ์ นายทวศี ักดิ์ กออนนั ตกลู

กรรมการฯ กรรมการฯ

5 31 24

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 9

1 23

นายเทวนิ ทร์ วงศว์ านชิ นายนนิ นาท ไชยธีรภิญโญ นายรชั ตะ รชั ตะนาวิน

กรรมการฯ กรรมการฯ กรรมการฯ

45

นายวรากรณ์ สามโกเศศ นายศกั รินทร์ ภูมริ ัตน

กรรมการฯ กรรมการฯ

6 7

นางเสาวณีย์ ไทยร่งุ โรจน์ นายเอน็ นู ซือ่ สวุ รรณ

กรรมการฯ กรรมการฯ

75 43 12 6

10 รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

1 23

นายประสงค์ พนู ธเนศ นายปกรณ์ นิลประพันธ์ ม.ล. พัชรภากร เทวกุล

ปลัดกระทรวงการคลงั เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎกี า เลขาธกิ าร กพ.
กรรมการฯ 4 กรรมการฯ 5 กรรมการฯ

พลเอก สมศักด์ิ ร่งุ สิตา นายเดชาภวิ ัฒน์ ณ สงขลา

เลขาธิการสภาความมน่ั คงแหง่ ชาติ ผู้อำ�นวยการส�ำ นกั งบประมาณ
กรรมการฯ กรรมการฯ

6 7

นายวิรไท สนั ตปิ ระภพ นายทศพร ศริ ิสัมพันธ์

ผวู้ า่ การธนาคารแหง่ ประเทศไทย เลขาธิการ สศช.
กรรมการฯ กรรมการสภาและเลขานุการ

75 3 1 2 4 6

หมายเหตุ : ตำ�แหน่งเลขาธกิ าร ก.พร. อย่รู ะหว่างนำ�ความกราบบังคมทลู พระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม แต่งตงั้
รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 11

คณะผู้บรหิ าร

ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ

1 23

นายทศพร ศิรสิ ัมพนั ธ์ นางปัทมา เธียรวศิ ิษฎส์ กุล นายดนชุ า พชิ ยนันท์
4 รองเลขาธกิ ารฯ 5 รองเลขาธิการฯ
เลขาธกิ ารฯ

นายวชิ ญายทุ ธ บญุ ชติ นายวิโรจน์ นรารกั ษ์

รองเลขาธกิ ารฯ รองเลขาธิการฯ

6 7

นายอเนก มมี งคล นางสาวจนิ างคก์ ูร โรจนนันต์

รองเลขาธิการฯ รองเลขาธิการฯ

65 3 1 2 4 7

12 รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

1 2 3

นางธดิ า พัทธธรรม นางสาววรวรรณ พลคิ ามิน นางนภสั ชล ทองสมจติ ร

ท่ปี รึกษาด้านนโยบายและแผนงาน ทปี่ รึกษาดา้ นนโยบายและแผนงาน ท่ีปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน

4 5

นายวันฉตั ร สวุ รรณกิตติ นายสรุ ยิ นต์ ธัญกจิ จานุกจิ

ทีป่ รกึ ษาด้านนโยบายและแผนงาน ท่ปี รกึ ษาดา้ นนโยบายและแผนงาน

6 7 8

นางสาวนุชจรี วงษส์ นั ต์ นางสาวกัญญารกั ษ์ ศรที องรุ่ง นางเสาวณีย์ แสงสพุ รรณ

ที่ปรกึ ษาด้านนโยบายและแผนงาน ทป่ี รกึ ษาด้านนโยบายและแผนงาน ผู้อำ�นวยการส�ำ นักงานเลขาธิการ
รักษาการในต�ำ แหน่ง

ทป่ี รกึ ษาด้านนโยบายและแผนงาน

8 65 31 24 7

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 13

1 23

นายสมหมาย ภักดชี าติ นายมนตรี ดมี านพ นายโสภณ แทง่ เพช็ ร์

ผู้อ�ำ นวยการ ผู้อำ�นวยการ ผอู้ �ำ นวยการ
สำ�นักงานพัฒนาเศรษฐกจิ สำ�นักงานพฒั นาเศรษฐกิจ สำ�นกั งานพัฒนาเศรษฐกิจ
และสงั คมภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
และสงั คมภาคกลาง และสงั คมภาคเหนือ

45

นางสาวสนุ ทราลกั ษณ์ เพช็ รกูล นายอภิชัย ธรรมเสริมสขุ

ผ้อู �ำ นวยการกองยุทธศาสตร์ ผอู้ ำ�นวยการกองบญั ชปี ระชาชาติ
การพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานและ
ผ้อู �ำ นวยการกองวิเคราะหง์ บลงทุนรฐั วสิ าหกจิ

6 7

นางสาวมนต์ทิพย์ สมั พันธวงศ์ นายสุรพล ศรีเฮือง

ผ้อู ำ�นวยการกองพัฒนาข้อมลู ผอู้ ำ�นวยการกองยทุ ธศาสตร์
และตัวชี้วัดสงั คม และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

75 3 1 2 46

14 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

1 2 3

นายสรุ รฐั เนยี มกลาง นายเตมิ ทรพั ย์ เตละกลุ นางวนี สั นาคสุวรรณ

ผูอ้ ำ�นวยการกองยทุ ธศาสตร์ ผอู้ �ำ นวยการกองยทุ ธศาสตร์ ผูอ้ �ำ นวยการส�ำ นกั งานพัฒนาเศรษฐกิจ
การพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์ การพัฒนาพนื้ ที่ และสังคมภาคใต้ และผอู้ ำ�นวยการกองยุทธศาสตร์

และประสานการพฒั นาภาค

4 5 6

นายกอ่ เกยี รติ สมประสงค์ นางสาวกานดา ชเู ชดิ นางสาวศศธิ ร พลัตถเดช

ผ้อู �ำ นวยการกองยทุ ธศาสตร์ ผู้อำ�นวยการกองยทุ ธศาสตร์ ผ้อู �ำ นวยการกองยทุ ธศาสตร์
การพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติ การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์และสงั คม และประสานการพฒั นา

และสง่ิ แวดลอ้ ม ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน

78

นายวชิ ญพ์ ิพล ตวิ ะตนั สกุล นางสาวปยิ ะนิตย์ โอนพรัตน์วิบูล

ผูอ้ ำ�นวยการกองยทุ ธศาสตร์ ผ้อู ำ�นวยการกองขบั เคลื่อน
การพัฒนาความเสมอภาค และประเมินผลการพัฒนา
และความเท่าเทยี มทางสงั คม

7 6 4 21 3 58

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 15



วสิ ยั ทศั น์

โครงสรา้ งองคก์ ร

ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

Vision หนว่ ยงานหลักในการวางแผน
และจดั ท�ำ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศส่คู วามสมดลุ และย่งั ยืน
ท่ยี ึดประโยชนส์ ว่ นรวม ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงและมปี ระสทิ ธิภาพสูง

1 2 3

Mission หน่วยงานยุทธศาสตร์ หนว่ ยงานขอ้ มูล หน่วยงานความรู้
(Strategic Unit) เศรษฐกจิ เชิงลึก สมยั ใหม่
(Intelligence Unit)
(Knowledge Organization)

Strategy การจดั ทำ�แผนยทุ ธศาสตร์ การวิเคราะห์แผนงาน/ การขบั เคลื่อนแผนพัฒนา
การพัฒนาประเทศ โครงการด้วยความเปน็ กลาง สกู่ ารปฏบิ ัติ

1 ใหม้ ีความย่ังยนื ทางวชิ าการและการรกั ษา 3 อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

การตดิ ตามการประเมนิ ผล 2 ผลประโยชน์ของประเทศ
และการพฒั นาดชั นีช้ีวดั
ด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาฐานข้อมลู ด้านเศรษฐกจิ การบริหารจดั การองค์กร
สงั คมและส่ิงแวดล้อมของประเทศ ใหม้ ธี รรมาภิบาล
4 และสังคม ให้ทนั สมยั เปน็ ทยี่ อมรับ
6 และประสทิ ธภิ าพสูง
5 และนา่ เช่ือถอื

Value มุ่งมั่น ทุ่มเท พฒั นาประเทศ เพอ่ื ประโยชน์สขุ แกส่ งั คม
ด้วยคุณธรรมตามหลกั วชิ าการ อย่างมอื อาชีพ

Culture เปน็ องคก์ รที่มุ่งส่คู วามเปน็ เลิศ เป็นองคก์ รทม่ี คี วามรบั ผดิ ชอบ
ทางดา้ นวิชาการ ตอ่ สาธารณะและสงั คม

มรี ะบบธรรมาภิบาล บุคลากรของสำ�นกั งานฯ เป็นทรัพยากร
อนั มีคา่ ท่ีสดุ ขององค์กร

วสิ ัยทศั น์

เปน็ หนว่ ยงานหลักในการวางแผน และจดั ทำ�ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
สคู่ วามสมดุลและย่งั ยนื ที่ยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวม ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลง และมีประสทิ ธิภาพสงู

ค่านิยมองคก์ ร

มุ่งมน่ั ทมุ่ เท พฒั นาประเทศเพ่อื ประโยชนส์ ขุ แก่สังคม ร่วมคิด
ดว้ ยคณุ ธรรม ตามหลักวิชาการอย่างมอื อาชีพ ร่วมสรา้ ง

วัฒนธรรมองคก์ าร รว่ มวาง

เปน็ องค์กรที่มงุ่ สู่ความเป็นเลศิ ทางดา้ นวิชาการ อนาคตไทย

มีความรับผิดชอบตอ่ สาธารณะและสงั คม

มีระบบธรรมาภบิ าล

บคุ ลากรของสำ�นกั งานฯ เปน็ ทรพั ยากรอันมคี ่าท่ีสุดขององค์กร

18 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

พนั ธกิจ

เพอ่ื ให้สามารถบรรลุวสิ ัยทัศน์ วตั ถุประสงค์ และเป้าหมายของส�ำนกั งานฯ และสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่
ตามพระราชบัญญตั สิ ภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2561 และกฎหมายสำ� คญั ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง สศช.
จงึ ได้ก�ำหนดพันธกิจหลักไว้ 3 ประการ ดังน้ี

พันธกิจที่ หน่วยงานยุทธศาสตร์ (Strategic Unit) จัดท�ำยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับชาติ และ
การพัฒนาในระดับต่าง ๆ ที่มีคุณภาพและรวดเร็ว รวมท้ังให้ค�ำปรึกษารัฐบาล ประสาน
1 การแปลงนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนติดตาม
ประเมินผลนโยบายของรฐั บาลและประเด็นการพัฒนาส�ำคญั ของประเทศ

พันธกิจที่ หนว่ ยงานขอ้ มลู เศรษฐกจิ และสงั คมเชงิ ลกึ (Intelligence Unit) โดยเปน็ หนว่ ยงานวเิ คราะห์
ขอ้ มลู และเฝา้ ระวงั ภยั เศรษฐกจิ และสงั คมของรฐั บาล (Warning Center) ทถ่ี กู ตอ้ งแมน่ ยำ�
2 และเช่ือถือได้ ตลอดจนเป็นหน่วยเจาะข้อมูลเชิงลึกต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
และสงั คมไทย เพอ่ื ใชใ้ นการวางแผนเชงิ ยทุ ธศาสตร์ บรหิ ารเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ

พนั ธกิจที่ หน่วยงานความรู้สมยั ใหม่(Knowledge Organization) ทีแ่ สวงหาและพฒั นาองค์ความรู้
ใหม่ๆ ส�ำหรับการพัฒนาประเทศ ซึ่งเพียบพร้อมด้วยบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถ
3 ทห่ี ลากหลาย เปน็ สหวทิ ยาการ (Multi-Disciplinary) เพอื่ ใชใ้ นการวางแผนและยทุ ธศาสตร์
การวิเคราะห์เชิงลึก และการประสานงานเพ่ือผลักดันขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศอย่างมี
ประสิทธผิ ลและประสิทธภิ าพ

เป้าหมาย

1. วางแผนพัฒนาและจัดท�ำยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเทศที่น�ำไปสคู่ วามสมดุลและย่ังยืนในระยะยาว รวมทัง้ ผลกั ดัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศให้เกิดผลในทางปฏิบัติ และมีระบบ
การตดิ ตามประเมนิ ผลท่มี ีประสิทธภิ าพ
2. พฒั นาองค์กรให้มีประสทิ ธิภาพสูง และนำ� ไปสู่องคก์ ร
แห่งการเรียนรู้ พร้อมทั้งสามารถให้บริการข้อมูลข่าวสารและสร้าง
ความรคู้ วามเขา้ ใจแกส่ าธารณชนเกยี่ วกบั การพฒั นาประเทศ รวมทงั้
มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพรองรับภารกิจของ
สำ� นักงานฯ
3. เพ่ิมพูนสมรรถนะของบุคลากรให้สูงขึ้นบนพื้นฐาน
คุณธรรม มีความสามัคคี รับผิดชอบต่อสังคม และมีผลงานเป็นที่
ยอมรับของสังคม พร้อมทั้งเสริมสร้างบุคลากรให้มีสุขภาพกาย
และใจท่สี มบรู ณ์และมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 19

4. เสริมสร้างวัฒนธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลขององค์กร ท่ีจะน�ำไปสู่ภาพลักษณ์ที่ดี
เพื่อเป็นเคร่ืองก�ำหนดมาตรฐานพฤติกรรมที่มีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในองค์กร อีกท้ัง
ยงั เปน็ การสรา้ งความเชอ่ื มน่ั ใหแ้ กส่ าธารณชนในวถิ ที างทขี่ า้ ราชการทด่ี พี งึ ปฏบิ ตั ิ โดยมกี ารสรา้ งกระบวนการ
เสรมิ สร้างวัฒนธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภิบาลขององคก์ ร เพื่อน�ำไปสู่ภาพลักษณท์ ี่ดีขององค์กร
5. พัฒนาสภาพแวดล้อมองค์กรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน เพ่ือให้การปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมาย
อันรวมถึงงานสนับสนุนด้านการอ�ำนวยการและการบริหารจัดการท่ีสามารถตอบสนองการปฏิบัติภารกิจ
ของสำ� นกั งานที่เหมาะสม คลอ่ งตัว และมปี ระสทิ ธภิ าพในการดำ� เนนิ งานมากยง่ิ ขนึ้

บทบาทหนา้ ทขี่ อง สศช.

จากความท้าทายของภารกิจใหม่ที่ สศช. ได้รับมอบหมายในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติและ
แผนการปฏริ ปู ประเทศ ประกอบกบั การเปลย่ี นแปลงทที่ วคี วามรนุ แรงและรวดเรว็ ขนึ้ ของบรบิ ทการพฒั นา
ประเทศดา้ นต่าง ๆ ท้ังของโลกและภายในประเทศทม่ี คี วามซบั ซ้อนและเชือ่ มโยงระหวา่ งกนั มากข้นึ สศช.
จึงต้องมีการปรับบทบาท เพ่ือให้เป็นหน่วยงานท่ีมีศักยภาพทางวิชาการท่ีเข้มแข็งสามารถเป็นคลังสมอง
ของประเทศ (Policy Think Tank) ท่ีให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำแก่รัฐบาลในทิศทางนโยบาย และยุทธศาสตร์
การพฒั นาประเทศ ทง้ั ในระยะสน้ั ระยะปานกลาง และระยะยาว เปน็ หนว่ ยงานทท่ี ำ� หนา้ ทขี่ บั เคลอ่ื นประเดน็
การพัฒนาทส่ี �ำคญั ของประเทศทีต่ ้องอาศยั การบูรณาการความรว่ มมอื ของภาคีทุกภาคส่วน รวมทงั้ ตดิ ตาม

และประเมินผลความก้าวหน้าและ
ผลสมั ฤทธขิ์ องแผนงานและโครงการ
พัฒนาส�ำคัญต่าง ๆ ท่ีมีผลกระทบ
ในวงกว้างต่อการพัฒนาประเทศ
เพอื่ นำ� พาประเทศไปสกู่ ารเปน็ ประเทศ
ทพ่ี ฒั นาแลว้ บนฐานของความสมดลุ
และยัง่ ยนื
สศช. ได้เริ่มด�ำเนินการปรับโครงสร้างหน่วยงาน ต้ังแต่กลางปี 2560 โดยได้ปรับปรุง
พระราชบญั ญตั พิ ฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2521 เพอ่ื ใหม้ คี วามทนั สมยั และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ท
และบทบาทภารกิจที่เปลี่ยนแปลงไป โดยได้ยกร่างเป็นพระราชบัญญัติฉบับใหม่ เรียกว่า พระราชบัญญัติ
สภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2561 ซง่ึ ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เมอื่ วนั ที่ 25 ธนั วาคม
2561 สง่ ผลให้มีการเปลย่ี นช่ือสำ� นกั งานจากเดมิ คอื “สำ� นกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ” เป็น “ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ” รวมทั้งปรับรูปแบบ
การบรหิ ารจาก “คณะกรรมการ” เปน็ “สภา” ซ่ึงมีองคป์ ระกอบกรรมการจ�ำนวนมากขึ้น ประกอบดว้ ย
ประธานสภา 1 คน และผทู้ รงคุณวฒุ อิ ีกไม่เกิน 15 คน (จากเดมิ ไมเ่ กิน 9 คน) ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
แต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญตามที่คณะรัฐมนตรีเสนอ และมีกรรมการสภาโดยต�ำแหน่ง 8 คน
(จากเดิม 5 คน) รวมท้ังปรับหน้าท่ีและอ�ำนาจของสภาฯ ให้ชัดเจนและรองรับภารกิจใหม่ ๆ มากข้ึน
โดยให้คณะกรรมการชุดเดิมปฏิบัติหน้าท่ีไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการสรรหาและแต่งต้ังประธานสภาและ
กรรมการสภาภายใต้พระราชบญั ญัติน้ี ท้ังนี้ สศช. ไดแ้ ตง่ ต้ัง “สภา” ชุดแรกภายใต้พระราชบญั ญัตดิ ังกลา่ ว
เมอ่ื วันที่ 9 มิถุนายน 2562

20 รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

กลยทุ ธ์ในการดำ� เนินงาน

สศช. ไดก้ �ำหนดกลยทุ ธแ์ ละแนวทางการปฏบิ ัตหิ น้าที่ตามพันธกิจและเปา้ หมายทสี่ �ำคญั ไว้ ดงั นี้

กลยุทธ์ที่ 1: การจัดทำ� แผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศให้มีความยง่ั ยืน
โดยการวางแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาใหม้ คี วามยง่ั ยนื และสมดลุ ระหวา่ งเศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ มและ
ธรรมาภบิ าลในระยะยาวการวางแผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาเฉพาะดา้ นในระดับตา่ ง ๆ เพมิ่ เติม เพอื่ เป็น
ยุทธศาสตร์หรือแนวทางการพัฒนาท่ีส�ำคัญ รวมทั้งการบูรณาการและประสานแผนงานที่เชื่อมโยง
หลายหน่วยงาน เพ่ือขับเคลอ่ื นแผนไปสกู่ ารปฏบิ ัติ
กลยุทธท์ ี่ 2: การวิเคราะหแ์ ผนงาน/โครงการด้วยความเป็นกลางทางวชิ าการและรักษาผลประโยชน์ของประเทศ
โดยการวเิ คราะหแ์ ผนการลงทนุ ของประเทศ และกรอบการลงทนุ ของรฐั วสิ าหกจิ รวมทงั้ การใหค้ ำ� ปรกึ ษา
และขอ้ เสนอแนะด้านการลงทุนแก่รฐั บาล สว่ นราชการ รฐั วิสาหกิจ และเอกชน เพือ่ สนับสนุนการลงทนุ
ของประเทศใหบ้ รรลผุ ลสำ� เร็จ
กลยทุ ธ์ที่ 3: การขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาสู่การปฏิบัตอิ ย่างมีประสิทธภิ าพ
โดยการพฒั นากระบวนการกำ� หนดนโยบายและระบบกำ� กบั การตดิ ตามประเมนิ ผล ตลอดจนการขบั เคลอ่ื น
การพัฒนาที่มุ่งให้เกิดการบูรณาการเช่ือมโยงกับนโยบายรัฐบาลและแผนระดับต่าง ๆ ภายใต้หลักการ
พฒั นาพ้ืนที่ ภารกิจ และการมีส่วนรว่ ม (Area Function Participation: AFP) โดยให้จังหวดั เป็นพน้ื ที่
ดำ� เนนิ การขบั เคลอ่ื นการพฒั นาและเปน็ จดุ เชอ่ื มโยงการพฒั นาจากชมุ ชนสปู่ ระเทศ และประเทศสชู่ มุ ชน
กลยทุ ธท์ ี่ 4: การตดิ ตามประเมินผลและการพฒั นาดัชนชี ีว้ ดั ด้านเศรษฐกจิ และสงั คม
โดยการก�ำหนดแนวทางการติดตามประเมินผลให้สอดคล้องกับการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาส�ำคัญ
ในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ การติดตามประเมินผลแผนงานโครงการอยา่ งเปน็ ระบบ และ
การพัฒนาดัชนชี วี้ ดั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม เพือ่ ใชเ้ ป็นเครือ่ งมอื ก�ำกบั
และติดตามการพฒั นาประเทศทม่ี งุ่ ไปสกู่ ารพฒั นาท่ียัง่ ยนื
กลยทุ ธ์ที่ 5: การพฒั นาฐานขอ้ มูลดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมของประเทศให้ทนั สมยั เป็นที่ยอมรบั
และนา่ เชื่อถอื
โดยการรายงานสถานการณเ์ ศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ และการพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ระบบตดิ ตาม
และระบบเตือนภยั ทง้ั ด้านเศรษฐกจิ สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รวมทั้งการพฒั นาระบบ
ข้อมูลเชิงพนื้ ทท่ี ่ถี ูกต้องและทันสมยั
กลยุทธ์ท่ี 6: การบรหิ ารจดั การองค์กรใหม้ ธี รรมาภิบาลและประสทิ ธิภาพสูง
โดยการปรับโครงสร้างและอัตราก�ำลัง และพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ สศช. ให้รองรับและ
เท่าทนั กบั การเปลยี่ นแปลงบริบทการพฒั นาของโลกและของประเทศและบทบาทภารกิจใหม่ขององค์กร
รวมทง้ั ความคาดหวงั ของภาคสว่ นตา่ ง ๆ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และความผาสกุ ในการทำ� งาน การปฏริ ปู
ระบบงานและกระบวนการท�ำงาน การพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ การพัฒนาการจัดการความรู้
(KM) ในองคก์ รใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนการเสรมิ สรา้ งและพฒั นาวฒั นธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าล
ให้เป็นสว่ นหนง่ึ ในการดำ� เนนิ ชีวติ ในองค์กร

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 21

โครงสร้างการแบง่ ส่วนราชการภายในส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

เลขาธกิ ารสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ าร
กล่มุ ตรวจสอบภายใน
ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการต่อต้านการทจุ รติ

รศช.ปทั มา รศช.ดนุชา รศช.วชิ ญายุทธ รศช.วิโรจน์ รศช.เอนก รศช.จินางค์กรู

ทปษ.นุชจรี ทปษ.ธดิ า ทปษ.วนั ฉตั ร ทปษ.สุรยิ นต์ ทปษ.นภัสชล ทปษ.วรวรรณ ทปษ.กัญญารกั ษ์

กอง กอง กอง กอง กอง กอง กอง กอง กอง กอง กอง สำ�นกั งาน ศนู ย์ สำ�นกั งาน สำ�นักงาน สำ�นักงาน สำ�นักงาน กอง กอง กองพฒั นา กอง กอง
ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ วิเคราะหง์ บ ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ บญั ชี ยทุ ธศาสตร์ ขับเคลื่อน เลขาธกิ าร เทคโนโลยี พฒั นา พัฒนา พฒั นา พฒั นา ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ขอ้ มลู ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
การพฒั นา การพัฒนา การพฒั นา การพฒั นา ลงทุน ชาติและ และ ประชาชาติ และ และ สารสนเทศ เศรษฐกิจ เศรษฐกจิ เศรษฐกิจ เศรษฐกจิ การพฒั นา และ และ การพัฒนา การพฒั นา
ทรัพยากร พน้ื ที่ โครงสร้าง ระบบโลจิ รัฐวสิ าหกิจ การปฏริ ูป ประสาน และ การวางแผน ประเมนิ ผล และการ และสงั คม และสังคม และสงั คม และสงั คม เมือง ประสาน ตัวช้วี ดั ความเสมอ ทรัพยากร
ธรรมชาติ พนื้ ฐาน สติกส์ ประเทศ ความรว่ ม ประสาน เศรษฐกิจ การพัฒนา ส่ือสาร ภาคกลาง ภาค ภาคใต้ ภาคเหนือ การพฒั นา สังคม ภาคและ มนษุ ย์
การพัฒนา มหภาค ตะวันออก ภาค ความเทา่ และสงั คม
และ มือระหวา่ ง ขดี ความ เฉยี งเหนอื เทียมทาง
ส่ิงแวดล้อม ประเทศ สามารถใน สงั คม
การแขง่ ขัน
ภารกิจพเกัฒี่ยนวากกับำ�กลางั รควนางแผน

กลมุ่ งานประสานนโยบายดา้ นความมั่นคง
ภารกิจที่เกย่ี วขอ้ งกบั การพัฒนากฎหมาย

ธันวาคม 2562

ผลการปสฏบิศตั ชริ า.ชการของ

ผลการด�ำเนนิ งานของ

สภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

สภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ มหี นา้ ทแี่ ละอำ� นาจตามพระราชบญั ญตั สิ ภาพฒั นาการเศรษฐกจิ
และสงั คมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2561 ประกอบด้วย
ศาสตราจารย์ สนทิ อกั ษรแกว้ เปน็ ประธาน และกรรมการ ไดแ้ ก่ คณุ หญงิ กษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา
นายคณิศ แสงสุพรรณ นายณัฐพร จาตุศรีพิทักษ์ นายทวีศักด์ิ กออนันตกูล นายเทวินทร์ วงศ์วานิช
นายนนิ นาท ไชยธรี ภญิ โญ ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ นายแพทยร์ ชั ตะ รชั ตะนาวนิ รองศาสตราจารย์ วรากรณ์ สามโกเศศ
รองศาสตราจารย์ ศกั รนิ ทร์ ภมู ริ ตั น รองศาสตราจารย์ เสาวณยี ์ ไทยรงุ่ โรจน์ นายเอน็ นู ซอ่ื สวุ รรณ ปลดั กระทรวงการคลงั
เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎกี า เลขาธกิ ารคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาระบบ
ราชการ เลขาธิการสภาความม่ันคงแห่งชาติ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
และเลขาธิการสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปน็ กรรมการสภาและเลขานกุ าร

ในช่วงตั้งแต่วันท่ี 1 ธันวาคม 2561 จนถึง และนวัตกรรมระดับพื้นที่-การขับเคลื่อนประเด็น
สนิ้ เดอื นตลุ าคม 2562 สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ การพฒั นาสำ� คญั ในแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 7) การแตง่ ตงั้
และสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ศึกษาวิเคราะห์โครงการ/ คณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการ ภายใตพ้ ระราชบญั ญตั ิ
แผนงาน และน�ำเสนอต่อสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2561
สังคมแห่งชาติ และคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ จำ� นวน 10 คณะ และ 8) (รา่ ง) แผนประชากรเพ่ือการ
และสงั คมแหง่ ชาติ (ชอื่ เดมิ ตามพระราชบญั ญตั พิ ฒั นาการ พฒั นาประเทศระยะยาว (พ.ศ.2563 – 2580)
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2521) เพื่อพิจารณา 2. การพจิ ารณาโครงการ/แผนงาน ทห่ี นว่ ยงาน
เพ่ือหารือ และเพื่อขอรับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่างๆ เสนอมาเพ่ือ สศช. ศึกษาวิเคราะห์ และน�ำเสนอ
รวมทั้งสน้ิ 22 เร่ือง จำ� แนกเป็น 3 ประเภท ดังน้ี ตอ่ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ พิจารณา
1. การพิจารณาก�ำหนดแนวนโยบาย เพ่ือน�ำความเห็นเสนอประกอบการพิจารณาของ
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จ�ำนวน คณะรัฐมนตรี ในสาขาต่าง ๆ ได้แก่ สาขาพลังงาน
8 เรอ่ื ง ประกอบดว้ ย 1) (รา่ ง) แผนแมบ่ ทอวกาศแหง่ ชาติ สาขาขนสง่ สาขาส่อื สาร สาขาสาธารณูปการ
20 ปี พ.ศ. 2560-2579 ของคณะกรรมการนโยบาย สาขาพลังงาน จ�ำนวน 3 เร่อื ง ประกอบด้วย
อวกาศแห่งชาติ 2) การปรับปรุงองค์ประกอบของ 1) แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย
คณะอนกุ รรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจ 3) ร่างแผนการ พ.ศ. 2561-2580 (Power Development Plan : PDP
ให้ความรู้พื้นฐานทางการเงิน พ.ศ. 2561-2565 2018) 2) แผนงานเปล่ียนระบบสายไฟฟ้าอากาศ
4) การปรับปรุงองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการ เป็นสายไฟฟา้ ใต้ดนิ ฉบบั ปฏบิ ัตกิ ารเรง่ รดั (Quick Win)
พจิ ารณางบลงทนุ ของรฐั วสิ าหกิจ 5) แนวทางการทำ� งาน ของการไฟฟ้านครหลวง และ 3) การศึกษา
ข อ ง ส ภ า พั ฒ น า ก า ร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห ่ ง ช า ติ ความเหมาะสมของการจดั ต้งั บรรษัทน�้ำมนั แห่งชาติ
6) การขับเคลื่อนการบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

24 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ

สาขาขนส่ง จ�ำนวน 6 เร่ือง ประกอบด้วย สาขาสาธารณปู การ จำ� นวน 3 เรอ่ื ง ประกอบดว้ ย
1) โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ของบริษัท 1) โครงการพัฒนาท่อี ย่อู าศยั ชดุ ท่ี 2 ระยะท่ี 2 โครงการ
ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) ได้แก่ (1) การขอ อาคารเช่าส�ำหรับแรงงานในเขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัด
เปลี่ยนแปลงรายละเอียดของรายการงานก่อสร้าง ตราดและจงั หวดั นราธวิ าส และโครงการอาคารเชา่ สำ� หรบั
ส่วนต่อขยายอาคารผู้โดยสารด้านทิศตะวันออก (East ผู้มีรายได้น้อย ระยะท่ี 2 ของการเคหะแห่งชาติ
Expansion) เป็นงานก่อสร้างส่วนต่อขยายอาคาร 2) โครงการเพ่ือการพัฒนาปี 2562 และปี 2563 ของ
ผู้โดยสารด้านทศิ ตะวนั ตก (West Expansion) โครงการ การประปาสว่ นภมู ภิ าค 3) โครงการพฒั นาโรงงานตน้ แบบ
พัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ปีงบประมาณ ไบโอรีไฟเนอรี (Biorefinery) ในเขตนวัตกรรมระเบียง
พ.ศ. 2554-2560) และ (2) โครงการก่อสร้างทางว่ิง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก : เมืองนวัตกรรมชีวภาพ
เส้นท่ี 3 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 2) ขออนุมัตปิ รบั เพ่มิ (BIOPOLIS)
กรอบวงเงนิ โครงการกอ่ สรา้ งทางหลวงพเิ ศษระหวา่ งเมอื ง 3. การพิจารณางบประมาณรัฐวิสาหกิจ
สายบางใหญ่-กาญจนบรุ ี ของกรมทางหลวง 3) โครงการ จ�ำนวน 1 เร่ือง คือ กรอบและงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ
ก่อสร้างทางรถไฟ สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด- ประจ�ำปีงบประมาณ 2563
มุกดาหาร-นครพนม ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ท้ังนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติแล้ว จ�ำนวน 4 เรื่อง
4) โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี ประกอบด้วย 1) เร่ือง แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของ
(สุวินทวงศ์) ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง ประเทศไทย พ.ศ. 2561-2580 (Power Development
ประเทศไทย 5) โครงการจัดซือ้ รถโดยสาร จำ� นวน 99 คนั Plan : PDP 2018) : วันท่ีมีมติ 30/4/2562 2) เรื่อง
ของบริษัท ขนส่ง จ�ำกดั และ 6) โครงการจดั หาเคร่ืองบนิ โครงการกอ่ สร้างทางวงิ่ เสน้ ท่ี 3 ท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิ
ปี 2562-2569 ของบริษทั การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) : วันท่ี
สาขาสื่อสาร จ�ำนวน 1 เร่ือง คือ โครงการ มีมติ 17/04/2562 3) เรอื่ งโครงการกอ่ สร้างทางรถไฟ
เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล (Digital สายบ้านไผ่-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-มุกดาหาร-นครพนม
Park Thailand) ของบริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด ของการรถไฟแห่งประเทศไทย : วันที่มีมติ 28/5/2562
(มหาชน) และ 4) เร่ือง กรอบและงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ
ประจำ� ปีงบประมาณ 2563 : วันที่มมี ติ 22/10/2562 

รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 25

ผลการด�ำเนนิ งานของ

คณะกรรมการนโยบายระดบั ชาตทิ ี่ สศช.

เปน็ ฝา่ ยเลขานุการ

คณะกรรมการร่วมภาครัฐ และเอกชนเพอื่ แก้ไขปัญหาทางเศรษฐกจิ (กรอ.)
ในช่วงปีงบประมาณ 2562 (ตุลาคม 2561 – กันยายน 2562) ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ หรือ สศช. ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพ่ือแก้ไขปัญหา
ทางเศรษฐกิจ (กรอ.) ไดด้ ำ� เนนิ การดงั นี้

• จดั การประชมุ หารอื ระหวา่ งนายกรฐั มนตรี • จัดการประชุมร่วมภาครัฐและเอกชน
กับผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้แทนภาคเอกชน ผู้บริหาร เพ่ือแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.) นัดพิเศษ
ท้องถิ่น และผู้แทนเกษตรกร ในคราวนายกรัฐมนตรี เม่ือวนั พุธท่ี 22 พฤษภาคม 2562 ณ ทำ� เนียบรัฐบาล
เดนิ ทางไปตรวจราชการและประชมุ คณะรฐั มนตรอี ยา่ ง โดยมนี ายกรฐั มนตรเี ปน็ ประธาน รฐั มนตรี ภาครฐั และเอกชน
เป็นทางการนอกสถานท่ี โดยจัดการประชุมฯ 3 คร้ัง ที่เก่ียวข้องเข้าร่วมประชุม สศช. ท�ำหน้าที่เลขานุการ
ได้แก่ เม่ือวันท่ี 30 ตุลาคม 2561 จังหวัดเชียงราย ที่ประชุม ซึ่งสรุปประเด็นการประชุมและข้อสั่งการของ
วันที่ 13 ธันวาคม 2561 จังหวดั หนองคาย และวันท่ี 15 นายกรฐั มนตรี ประกอบดว้ ย การขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรช์ าติ
มกราคม 2562 จังหวดั ล�ำปาง โดย สศช. ได้เสนอประเดน็ สู่การปฏิบัติ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
เพอื่ พจิ ารณาตอ่ ทปี่ ระชมุ ทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ (1) การพฒั นาระบบ โดยการเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และโอกาส
โลจิสติกส์ สนับสนุนด้านอุตสาหกรรม การค้าการลงทุน สร้างความเสมอภาคทางสังคม โดยการพัฒนาก�ำลังคน
และการคา้ ชายแดน เพอ่ื ขยายโอกาสดา้ นการคา้ การลงทนุ เพ่ือขับเคล่ือนโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ
ท้ังในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ (2) การยกระดับ ภาคตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ดงั นี้
การผลิตและการสร้างมูลค่าเพ่ิมผลผลิต (3) การพัฒนา (1) ให้สิทธิพิเศษทางภาษีส�ำหรับนิติบุคคลที่จัดต้ังศูนย์
แหล่งน้�ำเพ่ือการเกษตร การแก้ไขปัญหาอุทกภัย และ ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรทั้งภายในและภายนอก
การบริหารจดั การนำ�้ และ (4) การทอ่ งเที่ยวและพฒั นา องคก์ ร และสทิ ธลิ ดหยอ่ นภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดาสำ� หรบั
คุณภาพชีวิต เพื่อสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว ซ่ึงผล ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม (Self-training) (2) เปิดเสรี
การประชุมและข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรีต่อประเด็น กฎระเบียบทางการเรียนการสอนส�ำหรับผู้สอนและ
ข้อเสนอได้บรรจุวาระการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม. ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นตา่ ง ๆ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพคณะกรรมการรว่ ม
สัญจร) โดยคณะรัฐมนตรีได้รับทราบผลการประชุม ภาครฐั และเอกชนเพอื่ พฒั นากำ� ลงั คนอาชวี ศกึ ษา (กรอ.อศ.)
และขอ้ สง่ั การของนายกรฐั มนตรตี ามที่ สศช. เสนอ ในวนั ที่ เพอื่ ขบั เคลอ่ื นการปรบั โครงสรา้ งการผลติ กำ� ลงั คนของประเทศ
30 ตลุ าคม 2561 จงั หวดั เชยี งราย วนั ท่ี 13 ธนั วาคม 2561 (แผนพฒั นาคน การปรบั ปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน)
จงั หวดั หนองคาย และวนั ที่ 15 มกราคม 2562 จังหวดั โดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน และ (3) การมี
ล�ำปาง เป็นท่ีเรียบร้อย ตามล�ำดับ ท้ังน้ี สศช. ได้น�ำมติ และการเข้าถึงข้อมูลอุปสงค์และอุปทานก�ำลังคน
คณะรัฐมนตรเี ผยแพรใ่ น WEBSITE: www.nesdc.go.th ของภาคอุตสาหกรรม โดยความร่วมมือของภาครัฐและ
เพอื่ ใหผ้ เู้ กยี่ วข้องได้รบั ทราบและดำ� เนินการดว้ ย เอกชน รวมทั้งการพัฒนาความเข้มแข็งของเศรษฐกิจ

26 รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

ฐานราก (Local Economy) โดยไดส้ นับสนนุ ผลิตภณั ฑ์ เพือ่ บรหิ ารจดั การโรงงานต้นแบบ (Pilot Plants) การจดั
ชาวบ้านและชุมชน ดังน้ี (1) ผลักดันการใช้สินค้าท่ีได้ ทำ� แผนบรหิ ารจดั การนำ�้ โขง ชี มลู การปรบั ปรงุ ประตสู บู นำ�้
จดทะเบียนส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ (Geographical และระบายนำ�้ การบรหิ ารจัดการลมุ่ นำ�้ ยมและลมุ่ นำ้� นา่ น
Indications: GI) การพัฒนาท่องเทยี่ วชุมชน การพฒั นา (บึงสีไฟ) การฟื้นฟูแม่น้�ำพิจิตร การบริหารจัดการน�้ำ
กลมุ่ ทอ่ งเที่ยวและบริการ การพฒั นาวสิ าหกิจขนาดกลาง แบบชมุ ชนมีสว่ นรว่ ม : บางระกำ� โมเดล การพัฒนาพ้ืนที่
และขนาดย่อม (SMEs) และการส่งเสริมการใช้สินค้า ท่องเท่ียวชายฝั่งทะเลตะวันตก (Thailand Riviera)
Made in Thailand ท้ังนี้ ท่ีประชุมได้มอบหมายให้ การพัฒนาการท่องเท่ียวริมแม่น�้ำโขง (ทัวร์ริมโขง)
คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบนั (กกร.) ประสาน การพฒั นาเมอื งสมนุ ไพร (Herb City) และการแพทยแ์ ผนไทย
หน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น ส�ำนักงานสภาพัฒนาการ เพื่อความเป็นเลิศ (ได้แก่ เมืองสมุนไพรไทย – พนา)
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ส�ำนักงาน การยกระดบั พฒั นาแหลง่ สปาวารบี ำ� บดั นำ�้ พรุ อ้ น (คลองทอ่ ม
คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ส�ำนักงบประมาณ เมืองสปา) พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวสขุ ภาพ (น้ำ� พรุ อ้ น สปา)
กระทรวงแรงงาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงมหาดไทย และการสร้างศูนย์บริการสปาภายใต้แบรนด์เจ้าพระยา-
กระทรวงพาณิชย์ และหน่วยงานภาครัฐและเอกชน อภัยภูเบศร์ การตดิ ตามและขับเคล่ือนการพัฒนาในพนื้ ที่
ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ในการจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารในประเดน็ ขอ้ เสนอ เป็นต้น ซึ่ง สศช. ได้จัดท�ำเป็นเอกสาร “รายงานผล
ต่าง ๆ จัดส่งให้ สศช. เพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการร่วม การด�ำเนินงานการประชุมระหว่างนายกรัฐมนตรีกับ
ภาครัฐและเอกชนเพ่ือแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.) ผู้ว่าราชการจังหวดั ผู้แทนภาคเอกชน ผบู้ รหิ ารท้องถิน่
พจิ ารณา ก่อนนำ� เสนอคณะรฐั มนตรตี ามขน้ั ตอนตอ่ ไป และผู้แทนเกษตรกร (ระดับภาคและกลุ่มจังหวัด)
• ขณะเดียวกัน ได้ด�ำเนินการติดตามผล รัฐบาลนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
การด�ำเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรีและข้อส่ังการ (พ.ศ. 2560 – 2562)” และไดน้ ำ� กราบเรยี นนายกรฐั มนตรี
นายกรัฐมนตรีดังกล่าวข้างต้น โดยมีความคืบหน้าที่ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ภาครัฐและเอกชน ตลอดจน
ส�ำคัญ อาทิ การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ สนับสนุน ได้เผยแพรท่ าง WWW.nesdc.go.th เพือ่ ให้บุคคลทั่วไป
ด้านอตุ สาหกรรม การคา้ การลงทนุ และการคา้ ชายแดน ที่สนใจได้รับทราบถึงกระบวนการพัฒนาความร่วมมือ
เพอื่ ขยายโอกาสดา้ นการคา้ การลงทนุ ทงั้ ในระดบั ภมู ภิ าค ตามแนวทางประชารัฐภายใต้การน�ำของนายกรัฐมนตรี
และระดับประเทศ โดยการผลักดันให้เกิดโครงข่ายความ พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา สามารถนำ� ไปใช้ประโยชน์
เชื่อมโยงทางด้านโลจิสติกส์ที่ครอบคลุมทางบก ทางราง ในการศกึ ษา คน้ ควา้ และอา้ งองิ ไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเรว็
ทางนำ�้ ทางอากาศ ซึง่ สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายการพฒั นา ทั้งนี้ เพื่อให้ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ
ในชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ในดา้ นการสรา้ งความเขม้ แขง็ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และนโยบาย
ทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยัง่ ยืน และความร่วมมือ รัฐบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเน่ือง สศช.
ระหวา่ งประเทศเพอื่ การพฒั นา โดยผลการดำ� เนนิ งานของ ในฐานะฝ่ายเลขานุการ กรอ. จะใช้ กรอ.กลุ่มจังหวัด
รัฐบาลที่ส�ำคัญ เช่น การก่อสร้างเส้นทางมอเตอร์เวย์ และ กรอ.จงั หวดั (กระทรวงมหาดไทย) เปน็ กลไกขบั เคลอ่ื น
สายใหม่บางปะอิน-นครสวรรค์ การพัฒนาท่าเรือน้�ำลึก การพฒั นาตามข้อส่งั การของนายกรัฐมนตรี และเปน็ เวที
ท่าเรือครุยส์ และท่าเทียบเรือ (เช่น ระนอง และสตูล) จดั ทำ� ขอ้ เสนอการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมใหส้ อดคลอ้ ง
การพัฒนาสนามบินหลัก และสนามบินรองท่ีมีศักยภาพ กับความต้องการในพ้ืนท่ีและเช่ือมโยงแผนพัฒนา
ในการเชอ่ื มโยงโครงขา่ ยทางบกและทางราง (เชน่ เชยี งใหม่ เศรษฐกิจและสังคมภาค ตลอดจนได้ประสานกระทรวง
สุราษฏร์ธานี และตรัง) การพัฒนาจันทบุรีให้เป็น มหาดไทยพิจารณามอบหมายให้จังหวัดได้ใช้เวที กรอ.
นครอัญมณีศูนย์กลางการค้าอัญมณีและเครื่องประดับ จดั ทำ� /ตดิ ตามและขบั เคลอ่ื นการพฒั นาในพนื้ ทเี่ ปน็ ระยะ
ของโลก การยกระดบั เมอื งนวตั กรรมอาหารภาคตะวนั ออก และตอ่ เนอื่ งด้วย
เฉียงเหนือโครงการ Northeastern Food Innopolis

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 27


คณะกรรมการเพอื่ การพัฒนาทยี่ ่งั ยืน (กพย.)

1. งานขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ประชาสังคมจากทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมในการต้ังค่า
สศช. ด�ำเนินงานตามมติ กพย. คร้งั ท่ี 1/2561 เมือ่ วันที่ เปา้ หมายที่จะบรรลุในแต่ละช่วงเวลา โดยหาสถานะของ
19 กันยายน 2561 ท่ีให้ สศช. หารือร่วมกับกระทรวง คา่ เปา้ หมาย (Baseline) เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารวเิ คราะหช์ อ่ งวา่ ง
มหาดไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดท�ำข้อมูล (Gap analysis) เพื่อการออกแบบ แผนงาน โครงการ
ตวั ชว้ี ดั ทงั้ ระดบั ภาค ระดบั กลมุ่ จงั หวดั ระดบั จงั หวดั และ หรือมาตรการท่ีจะปิดช่องว่างดังกล่าวให้บรรลุภายในปี
ระดับพ้ืนที่ เพ่ือให้กระทรวงมหาดไทยรับไปด�ำเนินการ ค.ศ. 2030 รวมท้ังเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการ
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนา ขบั เคล่อื น SDGs แบบบรู ณาการ โดยเป็นการขับเคลือ่ น
ที่ย่ังยืน โดย สศช. ได้ด�ำเนนิ การจัดประชุมจ�ำนวน 2 ครง้ั งาน SDGs ซ่ึงมีความสัมพันธ์เชื่อมโยง (Interlinkages)
โดยครง้ั ท่ี 1 เชญิ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการจดั ทำ� และการเกือ้ หนุน (Interdependencies) กันระหว่างมิติ
ตวั ช้ีวดั SDGs ทีป่ ฏิบัติหนา้ ทีอ่ ยใู่ นส่วนกลาง ส่วนครง้ั ที่ 2 การพัฒนาในแต่ละเป้าหมาย (SDGs) เป้าประสงค์และ
เชญิ หน่วยงานตา่ ง ๆ ทป่ี ฏบิ ัตหิ น้าทีอ่ ยใู่ นสว่ นภมู ภิ าค คือ ตัวชี้วัดรวมทั้งร่วมกันในการขับเคล่ือนงานในแต่ละด้าน
เขตภาคกลางและภาคตะวนั ออก รวม 25 จงั หวดั มาเข้า ท้ังในระดับประเทศและระดับพื้นท่ี และเพ่ือให้มีระบบ
ร่วมประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ติดตามประเมินผล หรือการรายงานผลการขับเคล่ือน
เกย่ี วกบั ตวั ชวี้ ดั SDGs โดยรว่ มกนั พจิ ารณาวา่ เปา้ หมายใด ความกา้ วหน้าในรูปแบบที่เหมาะสมตอ่ ไป
มขี อ้ มลู ในระดบั จงั หวดั หรอื ไม่ หรอื บางตวั ยงั ไมเ่ หมาะสม 2. งานจัดท�ำรายงานการทบทวนผลการ
สามารถเปลยี่ นตวั ชว้ี ดั หรอื เสนอแนะตวั ชวี้ ดั ใหมเ่ พม่ิ เตมิ ด�ำเนินการของประเทศไทยตามวาระการพัฒนา
ท้ังน้ีเพ่ือให้เกิดการขับเคล่ือนการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่าง ทยี่ ง่ั ยืน ค.ศ. 2030 โดยสมัครใจ (Voluntary National
แท้จริง ในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับภาพรวม ระดับ Review: VNR) ร่วมกับกระทรวงการต่างประเทศ และ
กลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด และเพ่ือให้เกิดการจัดท�ำ หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง สศช. ในฐานะฝ่ายเลขานุการของ
นโยบายและจดั สรรงบประมาณอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป คณะกรรมการเพอื่ การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื และในฐานะหนว่ ยงาน
โดยผลการจัดระดมความคิดเห็นพบว่า ตัวชี้วัด SDGs เจ้าภาพหลักเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน เป้าหมายที่ 8
จำ� นวน 69 ตัวชีว้ ดั ทม่ี หาดไทยเสนอมามขี ้อมูลในระดับ และ 10 ซ่ึงในปนี ้ี เลขาธกิ ารฯ พรอ้ มคณะเจา้ หน้าที่ สศช.
จังหวัดจ�ำนวน 35 ตัวชี้วัด ส่วนท่ีเหลือยังต้องพัฒนา ได้เข้าร่วมประชุมเวทีหารือระดับสูงทางการเมืองว่าด้วย
ในการจัดเก็บ ซึ่ง สศช. จะน�ำผลการจดั ทำ� ตัวช้วี ัดระดับ การพัฒนาท่ีย่ังยืนภายใต้คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม
จงั หวดั เขา้ ท่ปี ระชมุ กพย. เพอ่ื พิจารณาให้ความเหน็ ชอบ แหง่ สหประชาชาติ ประจำ� ปี 2562 (High-level Political
ตอ่ ไป ซ่ึงคาดวา่ จะจดั ในเดอื นธนั วาคม 2562 Forum on Sustainable Development – HLPF 2019)
นอกจากน้ี สศช. ร่วมกับ UNDP จัดประชุม ระหวา่ งวนั ท่ี 7 - 15 กรกฎาคม 2562 ณ ส�ำนักงานใหญ่
ระหว่างประเทศ “ เร่ือง Upgrading Framework to สหประชาชาติ นครนิวยอร์ก สหรฐั อเมรกิ า โดยน�ำเสนอ
Accelerate the SDGs Implementation in Thailand ความก้าวหน้าและตัวอย่างที่ดีของการพัฒนาท่ีย่ังยืน
by NESDC and UNDP ” ในวันที่ 2 กนั ยายน 2562 ต่อท่ีประชุมสหประชาชาติใน 2 เป้าหมายหลักที่ สศช.
ณ โรงแรมเดอะเบอร์เคลีย์ ประตูน้�ำ โดยมีวัตถุประสงค์ เป็นเจา้ ภาพ คอื เป้าหมายท่ี 8 การสรา้ งการเตบิ โต และ
เพื่อให้หน่วยงานทบทวน Roadmap ในการขับเคล่ือน การมงี านทำ� อย่างมคี ณุ ค่า และเป้าหมายที่ 10 ลดความ
SDGs ใหส้ อดคล้องกับแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ไมเ่ สมอภาคทั้งภายในและภายนอกประเทศ
และนโยบายรัฐบาลชุดใหม่ รวมท้ังร่วมกันทบทวน
กรอบการดำ� เนนิ งาน และสรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกนั ระหวา่ ง
หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งทงั้ ภาครฐั ภาคเอกชน และเครอื ขา่ ย

28 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ

คณะกรรมการประสานงานร่วมระหวา่ งไทย - เมียนมา (JCC)

เม่ือวันท่ี 3 ตุลาคม 2562 นายศักดิ์สยาม เมียนมาแจ้งให้ท่ีประชุมทราบถึงแผนการเร่ิมพัฒนา
ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในฐานะ โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายระยะสมบูรณ์ (Full
ประธานร่วมฯ ฝ่ายไทย น�ำคณะผู้แทนไทยเข้าร่วม Phase) ควบคู่ไปกับการพัฒนาโครงการทวายระยะแรก
การประชุมคณะกรรมการประสานงานร่วมระหว่าง 3) รบั ทราบแผนการจา่ ยไฟฟา้ ในเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษทวาย
ไทย-เมียนมาเพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย ของฝ่ายเมียนมาซ่ึงอยู่ระหว่างด�ำเนินการศึกษาเบ้ืองต้น
และพ้ืนที่โครงการที่เกี่ยวข้อง (Joint Coordinating แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าในภาคตะนาวศรีและ
Committee for the Comprehensive Development เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษทวาย และ 4) มอบหมายให้ฝ่ายไทย
of the Dawei SEZ and Its Related Project Areas: คือ สศช. และฝ่ายเมียนมาคือ คณะกรรมการบริหาร
JCC) คร้ังที่ 9 ณ โรงแรมเคมปินสก้ี กรุงเนปยีดอ เขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (DSEZMC) ร่วมกันติดตาม
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา โดยเป็นประธาน การขับเคลื่อนโครงการทวายระยะแรก และหารือกับ
การประชุมฯ ร่วมกับ ดร.ตาน มินท์ รัฐมนตรีว่าการ ผไู้ ดร้ บั สมั ปทานคอื บ.อติ ลั ไทยดเี วลลอ็ ปเมนท์ เพอ่ื เดนิ หนา้
กระทรวงพาณิชย์ ในฐานะประธานร่วมฯ ฝ่ายเมียนมา โครงการทวายระยะแรกใหเ้ กดิ เปน็ รปู ธรรม ทงั้ นี้ ทปี่ ระชมุ ฯ
โดยทปี่ ระชมุ ฯ ไดเ้ หน็ พอ้ งในหลายประเดน็ ดงั นี้ 1) รบั ทราบ เหน็ ชอบใหจ้ ดั การประชมุ คณะกรรมการประสานงานรว่ มฯ
ความคืบหน้าของฝ่ายเมียนมาในการขับเคลื่อนโครงการ (JCC) คร้ังที่ 10 ในปี 2563 ณ ประเทศไทย และร่วมกนั
ทวายระยะแรก (Initial Phase Projects) 2) รบั ทราบ หารือเพ่ือเตรียมการจัดการประชุมคณะกรรมการร่วม
ความคืบหน้าของโครงการถนนสองช่องทางเชื่อมพื้นที่ ระดบั สงู ฯ (JHC) ภายในปี 2563 ตอ่ ไป
เขตเศรษฐกิจพเิ ศษทวายสู่ชายแดนไทย-เมยี นมา 3) ฝ่าย

คณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ (กนพ.)
สศช. ได้ร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการ ชายแดนเปา้ หมาย (ตาก มกุ ดาหาร สงขลา สระแกว้ ตราด
พัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) ใน 10 พ้ืนท่ี หนองคาย นราธิวาส เชยี งราย นครพนม และกาญจนบรุ )ี

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 29

เพื่อกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค ยกระดับรายได้ การประชุมคณะอนุกรรมการและคณะท�ำงานภายใต้
และคุณภาพชีวิตของประชาชนในพนื้ ที่ รวมท้งั แก้ปัญหา กนพ. รวม 4 ครง้ั ซง่ึ มกี ารขบั เคลอื่ นการดำ� เนนิ งานสำ� คญั
ความมนั่ คงบรเิ วณชายแดน โดยในปที ผ่ี า่ นมา กนพ. มกี าร สรปุ ไดด้ งั น้ี
ประชุม 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2562 และมี

คณะกรรมการรัฐมนตรฝี ่ายเศรษฐกิจ (รศก.)

คณะกรรมการรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจได้รับ เกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
การแต่งต้ังตามค�ำส่ังส�ำนักนายกรัฐมนตรี ท่ี 164/2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม
ลงวันที่ 30 กรกฎาคม 2562 แต่งตั้งคณะกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
รัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจ (ครศ.) เพื่อท�ำหน้าที่ในการ ส่ิงแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และมี
พิจารณากล่ันกรองเรื่องส�ำคัญในปัญหาเกี่ยวพันหรือ นายกอบศักด์ิ ภูตระกูล เป็นกรรมการและเลขานุการ
มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจในภาพรวม ตลอดจนประเมิน ซงึ่ มเี ลขาธกิ ารสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
วิเคราะห์ และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางตัดสินใจ เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ร่วมกับเลขาธิการ
เชิงรุกตอ่ คณะรัฐมนตรี (ครม.) นายกรฐั มนตรที ไี่ ดร้ บั มอบหมาย เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี
โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ ท่ีได้รับมอบหมาย และผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหาร
รองประธานกรรมการ ประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตร ี นโยบายของนายกรัฐมนตรี
(นายสมคดิ จาตศุ รพี ทิ กั ษ)์ รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรี
ว่าการกระทรวงพาณิชย์ (นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์)
รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ
(นายอนทุ ิน ชาญวีรกลู ) กรรมการประกอบดว้ ย รฐั มนตรี
ว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ
ทอ่ งเทย่ี วและกฬี า รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการอดุ มศกึ ษา
วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง

30 รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

ในชว่ งตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 สงิ หาคม – 31 ตลุ าคม 2562 การลงทุนจากการย้ายฐานการผลิตของนักลงทุนต่างชาติ
คณะกรรมการฯ ได้มีการประชุมจ�ำนวน 5 ครั้ง โดย มาประเทศไทย (Thailand Plus Package) ของสำ� นกั งาน
คณะกรรมการรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจและคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (3) ความคืบหน้า
ไดใ้ หค้ วามเหน็ ชอบหรอื รบั ทราบมาตรการภายใตแ้ นวทาง การด�ำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐานขนาดใหญ่
การบริหารเศรษฐกิจในช่วงท่ีเหลือของปี 2562 และ (Mega Projects) ของกระทรวงคมนาคม (4) มาตรการ
ปี 2563 และปัญหาท่ีเก่ียวพันและมีผลกระทบต่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวในระยะส้ันและ
เศรษฐกิจในภาพรวม ดังนี้ (1) มาตรการกระตนุ้ เศรษฐกิจ ระยะกลาง – ยาว ของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
ของกระทรวงการคลงั (2) กรอบและแนวทางการปรบั ปรงุ และ (5) แนวทางการด�ำเนินการเพื่อรองรับการตัดสิทธิ
สภาพแวดล้อมทางการลงทุนเพ่ือชักจูงและรองรับ พเิ ศษทางภาษศี ลุ กากรเปน็ การท่วั ไป (GSP)

คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.)

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้มีการประชุม ความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
ก.บ.ภ. จำ� นวน 1 ครัง้ และการประชุม อ.ก.บ.ภ. จำ� นวน พ.ศ. 2560-2565 ฉบับทบทวน เพ่ือเป็นกรอบก�ำหนด
6 คร้ัง โดยมีผลการดำ� เนนิ งานทส่ี ำ� คญั ดังน้ี ทศิ ทางและแนวทางในการพฒั นาพน้ื ทใี่ นชว่ ง 5 ปี รวมทงั้
1. การขับเคลือ่ นการพัฒนาภาค ไดเ้ ห็นชอบ ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีของจังหวัด
แผนพฒั นาภาค พ.ศ. 2561-2565 รวม 6 ภาค ฉบบั ทบทวน และกลุ่มจังหวดั ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 วงเงนิ
ทไี่ ดม้ กี ารปรบั ปรงุ ทบทวนใหส้ อดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ งบประมาณรวม 28,000 ล้านบาท เพื่อขับเคล่ือน
และแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ และกรอบแนวคิด การพฒั นาในระดบั พ้ืนที่ใหเ้ กดิ ผลอย่างเป็นรูปธรรม
การพัฒนาเศรษฐกิจหลักเชิงพ้ืนท่ีภาคเหนือและภาค 3. การขับเคลื่อนการพัฒนาในระดับพื้นท่ี
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เพอื่ เปน็ กรอบชนี้ ำ� การพฒั นาในภาพรวม อย่างเปน็ รปู ธรรม ไดแ้ ก่ (1) แม่ฮอ่ งสอนโมเดล ซึ่งเป็น
ของพื้นท่ี เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่สอดคล้องเช่ือมโยงกัน การด�ำเนินงานตามข้อส่ังการของนายกรัฐมนตรี (พลเอก
ในทุกระดับ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ประยุทธ์ จันทร์โอชา) และกรอบแนวคิดการพัฒนา
อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนได้อย่างทั่วถึง เศรษฐกจิ หลกั เชงิ พน้ื ทภ่ี าคเหนอื โดยมกี ารจดั ทำ� แนวทาง
รวมท้งั เห็นชอบแผนปฏิบตั ิการภาค ประจ�ำปีงบประมาณ แ ล ะ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร พั ฒ น า ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต
พ.ศ. 2563 ซ่ึงเป็นข้อเสนอแผนงานโครงการของ จังหวัดแม่ฮ่องสอนภายใต้แนวคิดแม่ฮ่องสอนมนต์เสน่ห์
สว่ นราชการทจ่ี ะขบั เคลอื่ นการพฒั นาภายใตแ้ ผนพฒั นาภาค แหง่ ขนุ เขา Mae Hong Son : The Valley of CHARM
โดยสว่ นหนง่ึ ของแผนปฏบิ ัตกิ ารภาคท่ีส่วนราชการขอรบั โดยหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาชน ร่วมมือแก้ไข
การจัดสรรภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ี ปญั หาเรง่ ดว่ น (Quick win) และสรา้ งสรรคเ์ ศรษฐกจิ ใหม่
ระดับภาค ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ท่ีมี สศช. เพ่ือวางรากฐานการพัฒนาในระยะยาว โดยการจัดตั้ง
เป็นเจ้าภาพ มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวม 17 กระทรวง ศูนย์กล้วยไม้แห่งชาติ แม่ฮ่องสอน และ (2) การพัฒนา
(72 หน่วยงาน 3 รัฐวิสาหกิจ และ 2 องค์กรปกครอง อุทยานธรณีโลกสตูล (Satun UNESCO GLOBAL
ส่วนท้องถิน่ ) ได้รบั การจัดสรรงบประมาณทง้ั ส้ิน 20,811 GEOPARK) ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนงานตามแผนพัฒนา
ล้านบาท ภาคใต้ในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากสร้างความเข้มแข็ง
2. การขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัดและ ในระดับชุมชนและจังหวัด ควบคู่ไปกับการฟื้นฟูอนุรักษ์
กลุ่มจังหวัด ได้ก�ำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการ ทรพั ยากรธรรมชาติ เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาพนื้ ทอ่ี ยา่ งยงั่ ยนื
ในการจัดท�ำแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปี และเป็นต้นแบบการพัฒนา (Geopark) ในพื้นที่อื่น
ของจงั หวดั และกลมุ่ จังหวดั (76 จังหวดั 18 กลุ่มจังหวดั ) ของประเทศตอ่ ไป
ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดย ก.บ.ภ. ได้ให้

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 31

ผลการด�ำเนินงานของ

คณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการอืน่ ๆ

คณะกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุน และวนั ที่ 4 ตลุ าคม 2562 เพื่อติดตาม เรง่ รดั มาตรการ
ในกจิ การของรัฐ ท่ีคณะกรรมการรฐั มนตรฝี า่ ยเศรษฐกจิ และคณะรฐั มนตรี
ได้ใหค้ วามเหน็ ชอบหรอื รับทราบ ไดแ้ ก่ มาตรการกระตุ้น
สศช. พิจารณาเสนอความเห็นเพ่ือประกอบ เศรษฐกิจของกระทรวงการคลงั และนโยบายการส่งเสริม
การพจิ ารณาของคณะกรรมการนโยบายการใหเ้ อกชนรว่ ม การลงทุน และมาตรการรองรับการย้ายฐานการผลติ ของ
ลงทนุ ในกจิ การของรฐั ตามมาตรา 27 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ นักลงทุนต่างชาติของส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 การลงทนุ
จ�ำนวน 1 โครงการ คือ โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม
ช่วงบางขุนนนท์-มีนบุรี (สุวินทวงศ์) ของการรถไฟฟ้า คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาค
ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ราชการกลมุ่ กระทรวง (อ.ค.ต.ป.) คณะท่ี 2

คณะกรรมการขับเคล่ือนมาตรการบรหิ าร สศช. ในฐานะฝ่ายเลขานุการ อ.ค.ต.ป.
เศรษฐกิจ ปี 2562 – 2563 กลุ่มกระทรวง คณะท่ี 2 ได้จัดการประชุมรวม 10 คร้ัง
เพ่ือพิจารณารายงานผลการตรวจสอบและประเมินผล
คณะกรรมการขับเคลื่อนมาตรการบริหาร ภาคราชการ ดงั นี้
เศรษฐกิจ ปี พ.ศ. 2562 – 2563 แต่งต้ังตามมติ 1. รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผล
คณะกรรมการรฐั มนตรีฝ่ายเศรษฐกจิ (ครศ.) เม่ือวนั ที่ 16 ภาคราชการ ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ครง้ั ที่ 2
สงิ หาคม 2562 และมตคิ ณะรฐั มนตรเี มอื่ วนั ที่ 20 สงิ หาคม “แผนงานบูรณาการการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าว
2562 โดยมี นายกอบศักด์ิ ภูตระกูล เป็นประธาน และการค้ามนุษย์ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560”
เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มขี อ้ เสนอแนะ อาทิ ควรมกี ารพฒั นาศนู ยข์ อ้ มลู (Central
เปน็ กรรมการ และมกี รรมการและเลขานกุ าร ประกอบดว้ ย Database) ของแรงงานต่างด้าว แยกประเภทตาม
รองเลขาธกิ ารสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ การอนุญาต การจับกุม และการส่งฟ้อง ควรเพิ่ม
ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย (นายวชิ ญายทุ ธ บญุ ชติ ) รองผอู้ ำ� นวยการ การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย มาตรการ
ส�ำนักงบประมาณที่ได้รับมอบหมาย และผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง เพ่ือท�ำหน้าที่ติดตามความ
คบื หนา้ การดำ� เนนิ การของมาตรการภายใตก้ รอบการบรหิ าร
เศรษฐกจิ ปี พ.ศ. 2562 – 2563 ของหนว่ ยงานต่าง ๆ ให้
เปน็ ไปตามเปา้ หมาย พรอ้ มทง้ั รายงานปญั หาและอปุ สรรค
และเสนอแนวทางแก้ไขต่อคณะกรรมการรัฐมนตรี
ฝา่ ยเศรษฐกิจ
ในชว่ งตงั้ แตว่ นั ที่ 1 กนั ยายน – 31 ตลุ าคม 2562
คณะกรรมการขับเคลื่อนมาตรการบริหารเศรษฐกิจ ได้มี
การประชมุ จ�ำนวน 2 ครัง้ เมอ่ื วนั ที่ 24 กนั ยายน 2562

32 รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

ขอภาพประกอบ

ข้ันตอนและแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย ท่ีสามารถ ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC)
เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและเข้าใจได้ง่าย รวมทั้งหน่วยงาน โดยได้เข้าร่วมการประชุมรวม 6 ครั้ง และได้ร่วมจัดท�ำ
ควรก�ำหนดเป้าหมาย แนวทาง และตัวชี้วัดท่ีชัดเจน รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
โดยเป็นตัวช้ีวัดที่สะท้อนผลลัพธ์มากกว่าการด�ำเนินงาน โดยรายงานได้น�ำเสนอผลการศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยง
ใหค้ รบตามกระบวนการ ทงั้ นไ้ี ดน้ ำ� เสนอคณะรฐั มนตรแี ลว้ และการบริหารความเส่ียงของการด�ำเนินโครงการพัฒนา
2. รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผล ในพ้นื ที่ EEC นอกจากนี้ อ.ค.ต.ป. เฉพาะกิจ คณะที่ 2
ภาคราชการ ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ประเด็น ได้น�ำเสนอข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 2 เรื่อง ได้แก่
การพัฒนาเด็กปฐมวัย ก�ำหนดเสนอรายงานต่อ 1) การดึงดูดการลงทุนจากภาคเอกชน และ 2) การมี
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ส่วนร่วมของประชาชนในพ้ืนท่ี และข้อเสนอแนะ
(ค.ต.ป.) ในเดือนพฤศจิกายน 2562 และน�ำเสนอ เชิงระบบงาน 4 เรื่อง ได้แก่ 1) กระบวนการบริหาร
คณะรฐั มนตรีภายในเดือนธันวาคม 2562 ความเสยี่ งทเ่ี ปน็ ระบบ 2) ระบบการบรหิ ารจดั การโครงการ
ท่ีมีประสิทธิภาพ 3) ระบบฐานข้อมูลในการด�ำเนินงาน
คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาค เพ่ือเชอ่ื มโยงกับผ้ทู ่ีเก่ยี วข้อง และ 4) การผลิตและพัฒนา
ราชการ (อ.ค.ต.ป.) เฉพาะกจิ คณะที่ 2 กำ� ลงั คนใน EEC
ท้ังนี้ อ.ค.ต.ป. เฉพาะกิจ คณะท่ี 2 ได้น�ำเสนอ
ในปีงบประมาณ 2561 สศช. ได้ร่วมเป็น รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลดังกล่าวต่อ
อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ อ.ค.ต.ป. เฉพาะกิจ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
คณะที่ 2 ประเมินความเสี่ยงหรือผลการด�ำเนินงาน (ค.ต.ป.) พจิ ารณาเหน็ ชอบแลว้ เมอ่ื วนั ที่ 16 ตลุ าคม 2562
ตามนโยบายส�ำคัญ เรื่อง การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษ

รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ 33

การขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์ชาติ

และการปฏริ ปู ประเทศ

ภายหลงั จากการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) เมื่อวันท่ี 13 ตลุ าคม 2561 และแผนการ
ปฏริ ปู ประเทศ 11 ดา้ น เมอื่ วนั ที่ 6 เมษายน 2561 สศช. ในฐานะสำ� นกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าติ
และคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ตามพระราชบัญญัติการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติ
แผนและขั้นตอนการด�ำเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 ได้มีการด�ำเนินการเพ่ือขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติและ
การปฏริ ปู ประเทศ เพอื่ ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธบิ์ รรลเุ ปา้ หมายตามยทุ ธศาสตรช์ าติ ในชว่ งปที ผ่ี า่ นมาในหลายมติ ิ ประกอบดว้ ย

1. ความก้าวหนา้ ของยทุ ธศาสตรช์ าติ และบริการแห่งอนาคต (5) การทอ่ งเทีย่ ว (6) พ้ืนทีแ่ ละ
เมอื งนา่ อยอู่ จั ฉรยิ ะ (7) โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ระบบโลจสิ ตกิ ส์
1.1 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และดจิ ทิ ลั (8) ผปู้ ระกอบการและวสิ าหกจิ ขนาดกลางและ
พระราชบัญญัติการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ขนาดยอ่ มยคุ ใหม่ (9)เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ (10)การปรบั เปลยี่ น
มาตรา 10 กำ� หนดใหค้ ณะกรรมการจดั ทำ� ยทุ ธศาสตรช์ าติ ค่านยิ ม และวฒั นธรรม (11) ศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ
แต่ละด้านเป็นผู้จัดท�ำแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (12) การพฒั นาการเรียนรู้ (13) การเสริมสรา้ งให้คนไทย
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ มีสขุ ภาวะทีด่ ี (14) ศักยภาพการกฬี า (15) พลังทางสงั คม
ดังน้ัน เมื่อยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้มี (16) เศรษฐกจิ ฐานราก (17) ความเสมอภาคและหลกั ประกนั
พระบรมราชโองการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติแล้ว ทางสังคม (18) การเติบโตอย่างย่ังยืน(19) การบริหาร
คณะกรรมการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติทั้ง 6 คณะ จึงได้ จัดการน�้ำทั้งระบบ (20) การบริการประชาชนและ
จดั ทำ� แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ซงึ่ เปน็ สว่ นสำ� คญั ประสิทธิภาพภาครัฐ (21) การต่อต้านการทุจริตและ
ในการถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็นยุทธศาสตร์ของ ประพฤติมชิ อบ (22) กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม
ยทุ ธศาสตร์ชาติลงสูแ่ ผนระดบั ตา่ ง ๆ ต่อไป ซ่งึ ได้คำ� นงึ ถึง และ (23) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ซ่งึ จะมีผลผูกพนั
ประเด็นร่วมหรือประเด็นตัดข้ามยุทธศาสตร์และการ ต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไป
ประสานเชื่อมโยงเป้าหมายของแต่ละแผนแม่บทภายใต้ ตามน้ัน รวมท้ังการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี
ยุทธศาสตร์ชาติให้มีความสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน งบประมาณต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทซ่ึงจะน�ำไปสู่
โดยแผนแม่บทประกอบด้วย สถานการณ์และแนวโน้ม การปฏบิ ตั ติ ่อไป
ที่เก่ียวข้องของแผนแม่บท เป้าหมายและตัวชี้วัดใน 1.2 การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่
การดำ� เนนิ การซง่ึ แบง่ ชว่ งเวลาออกเปน็ 4 ชว่ ง ชว่ งละ 5 ปี ภาคส่วนต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใต้
รวมทั้งก�ำหนดแนวทางการพัฒนาเพื่อเป็นกรอบในการ ยุทธศาสตร์ชาติ ภายหลังจากท่ีได้มีการประกาศใช้
ด�ำเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องให้บรรลุเป้าหมาย แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติท้ัง 23 ฉบับ สศช. ได้มี
การพัฒนาประเทศที่ก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ การด�ำเนนิ การ ดงั นี้
โดยแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ได้มีการประกาศ 1.2.1 เม่ือวนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2562 สศช.
ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันท่ี 18 เมษายน 2562 ได้จัดประชุมช้ีแจงการด�ำเนินการตามแผนแม่บทภายใต้
มจี ำ� นวนรวมทงั้ สน้ิ 23 ฉบบั ประกอบดว้ ย (1) ความมนั่ คง ยุทธศาสตร์ชาติ เพ่ือท�ำความเข้าใจและสร้างการรับรู้
(2) การต่างประเทศ (3) การเกษตร (4) อุตสาหกรรม เกี่ยวกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทฯ

34 รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ

ให้แก่หน่วยงานของรัฐ อันจะน�ำไปสู่การปฏิบัติอย่าง การพฒั นาคนแบบชเี้ ปา้ (Thai People Map and Analytics
บูรณาการและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ณ โรงแรม Platform:TPMAP) มาใชใ้ นการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรช์ าติ
เดอะ เบอรเ์ คลยี ์ ประตูน้�ำ กรุงเทพฯ โดยมีผู้แทนจาก เป็นการจัดท�ำโครงการการบริหารจัดการและการพัฒนา
หน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้องจากทุกภาคส่วนเข้าร่วม การนำ� ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ เพอื่ ใชใ้ นการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ
จำ� นวนประมาณ1,200คน และตอ่ มาเมอ่ื วนั ท่ี 23 กนั ยายน ในประเด็นการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต โดย สศช.
2562 สศช. ไดจ้ ดั การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการขบั เคลอ่ื น ไดร้ ว่ มกบั ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
แผนแมบ่ ทฯ เพอ่ื ชแี้ จงแนวทางการขบั เคลอ่ื นแผนแมบ่ ทฯ แหง่ ชาติ (สวทช.) พฒั นาระบบ TPMAP ทเี่ ปน็ แพลตฟอรม์
ผ่านการจัดท�ำแผนระดบั ที่ 3 และแผนงาน/โครงการของ การประมวลผลและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big Data)
หนว่ ยงาน และรว่ มกนั ระดมสมองในการจัดท�ำแผนงาน/ ดา้ นความยากจน สวสั ดกิ ารสงั คม การพฒั นาคนตลอดชว่ ง
โครงการที่มีความส�ำคัญขึ้นใหม่ เพ่ือน�ำไปสู่การบรรลุ ชีวิต ด้วยการใช้ข้อมูลเลขประจ�ำตัวประชาชน 13 หลัก
เปา้ หมายดังกลา่ ว และใชเ้ ป็นแนวทางประกอบการจดั ทำ� เชื่อมโยงกับข้อมูลความจ�ำเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ของ
คำ� เสนอขอรบั จดั สรรงบประมาณเพอื่ ดำ� เนนิ การในอนาคต กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย จ�ำนวน 36
ณ โรงแรม เดอะ เบอรเ์ คลีย์ ประตนู �ำ้ กรงุ เทพฯ โดยมี ล้านคน และน�ำมาวิเคราะห์หาคนจนเป้าหมายตาม
ผู้แทนจากหน่วยงานรัฐเข้าร่วม จ�ำนวน 311 หน่วยงาน หลักการของความยากจนหลายมติ ิ (Multidimensional
รวมประมาณ 1,260 คน Poverty Index - MPI) ใน 5 ดา้ น คอื สุขภาพ รายได้
1.2.2 การจัดท�ำเว็บไซต์ NSCR (http:// การศึกษา ความเป็นอยู่ และการเข้าถึงบริการภาครัฐ
nscr.nesdc.go.th) เพ่ือเป็นช่องทางการเผยแพร่ข้อมูล ข้อมูลที่ได้จึงเป็นข้อมูลความยากจนแบบหลายมิติระดับ
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และ ประเทศ (National MPI) นอกจากนี้ ยังได้ประสาน
แผนการปฏริ ปู ประเทศอยา่ งเปน็ สาธารณะ ซง่ึ ประกอบดว้ ย ความรว่ มมอื กบั สำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์
ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) เพ่ือให้เกิดการน�ำข้อมูล
แผนการปฏิรูปประเทศ ตลอดจนความก้าวหน้าและ จากระบบ TPMAP ไปใช้ในการพัฒนาต่อยอดงานวิจัย
ผลการด�ำเนินงานท่ีเกี่ยวข้อง รวมทั้งส่ือประชาสัมพันธ์ และนวัตกรรมที่จะช่วยแก้ไขปัญหาความยากจน และ
ตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งท้ังในรูปแบบวดี ิทัศน์ เอกสารต่าง ๆ พั ฒ น า ค น ต ล อ ด ช ่ ว ง ชี วิ ต ไ ด ้ อ ย ่ า ง ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ
1.3 การขับเคล่ือนแผนแม่บทภายใต้ ความต้องการที่แท้จริงของแต่ละพ้ืนท่ีในการยกระดับ
ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งเป็นกลไกส�ำคัญที่ช่วยสนับสนุนให้ คุณภาพชวี ิตของประชาชนอยา่ งยงั่ ยืน
ยทุ ธศาสตรช์ าตสิ ามารถบรรลไุ ดต้ ามเปา้ หมายทว่ี างไว้ โดย 1.3.2 การขับเคลื่อนแผนแม่บทฯ ใน
ในช่วงที่ผา่ นมา สศช. ไดม้ กี ารดำ� เนินการที่ส�ำคญั ดงั นี้ ประเด็นการบริการประชาชน และประสิทธิภาพภาครัฐ
1.3.1 การน�ำระบบบริหารจัดการข้อมูล สศช. ได้ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการ

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 35

พลเรอื น (ก.พ.) จดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารรว่ มกบั หนว่ ยงาน แลว้ ซงึ่ แผนปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษาไดม้ กี ารกำ� หนด
ภาครฐั ทเี่ ก่ียวข้องทง้ั หมด 35 หนว่ ยงาน อาทิ กระทรวง แผนงานเพอ่ื การปฏริ ปู ทง้ั สนิ้ จำ� นวน 7 เรอ่ื ง ประกอบดว้ ย
ยตุ ธิ รรม กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม กระทรวง 1) การปฏิรูประบบการศกึ ษาและการเรียนรโู้ ดยรวมของ
การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม กระทรวง ประเทศ 2) การปฏิรูปการพัฒนาเด็กเล็กและเด็ก
การพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ และกระทรวง ก่อนวัยเรียน 3) การปฏิรูปเพ่ือลดความเหล่ือมล�้ำทาง
สาธารณสุข เพ่ือช้ีแจงและท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับ การศกึ ษา 4) การปฏริ ปู กลไกและระบบการผลติ คดั กรอง
เป้าหมายหลักในการยกระดับการด�ำเนินการภาครัฐให้มี และพฒั นาผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครแู ละอาจารย์ 5) การปฏริ ปู
ประสิทธิภาพ ด้วยการน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยี การจัดการเรียนการสอนเพ่ือตอบสนองการเปล่ียนแปลง
มาประยกุ ตใ์ ช้ รวมทงั้ เพิ่มขดี สมรรถนะภาครฐั ให้สามารถ ในศตวรรษท่ี 21 6) การปรับโครงสร้างของหนว่ ยงานใน
บริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส ระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุง
โดยได้น�ำแบบส�ำรวจระดับความพร้อมและวุฒิภาวะของ การจัดการเรียนการสอน และ 7) การปฏิรูปการศึกษา
องคก์ รในการพฒั นาไปสรู่ ฐั บาลดจิ ทิ ลั (Digital Government และการเรียนรู้โดยการพลิกโฉมด้วยระบบดิจิทัล ท้ังน้ี
Maturity Domain and Area : MDA) มาใชใ้ นการประเมนิ มีกฎหมายที่เก่ียวข้องตามแผนปฏิรูปประเทศด้าน
เมือ่ ด�ำเนินการส�ำรวจครบถว้ นแลว้ จะมขี ้อค้นพบทส่ี ำ� คญั การศกึ ษาทปี่ ระกาศใชแ้ ลว้ อาทิ พ.ร.บ. กองทนุ เพอื่ ความ
คือ การพิจารณาสถานะรัฐบาลดิจิทัลของส่วนราชการ เสมอภาคทางการศกึ ษา พ.ศ. 2561 พ.ร.บ. การอดุ มศกึ ษา
ของประเทศในภาพรวม และข้อเสนอแนวคิดแผนงาน/ พ.ศ. 2562 พ.ร.บ. การพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562
โครงการส�ำคัญเพ่ือขับเคล่ือนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาล และ พ.ร.บ. พืน้ ทีน่ วตั กรรมการศึกษา พ.ศ. 2562
ดิจิทัล อีกท้ัง ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการด�ำเนินการ 2.2 การขบั เคลอ่ื นแผนการปฏริ ปู ประเทศ
ตามยทุ ธศาสตร์ชาติและแผนแมบ่ ทฯ ประเด็นการพฒั นา สศช. ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารแถลงขา่ วเมือ่ วันที่ 21 มีนาคม 2562
การปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ และประเดน็ เกี่ยวกับความก้าวหน้าของการด�ำเนินการตามแผนการ
การพัฒนากฎหมายและกระบวนการยุติธรรมโดยมี ปฏริ ปู ประเทศทส่ี ำ� คญั เรง่ ดว่ น (Quick Win) มกี ารรายงาน
วัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้องมีความรู้ กิจกรรมท่ีแล้วเสร็จเป็นรูปธรรม อาทิ ไม้มีค่า โดยการ
ความเข้าใจในประเด็นการพัฒนาที่ก�ำหนดในยทุ ธศาสตร์ ด�ำเนินการปลดล็อกกฎหมายป่าไม้ เพ่ือให้ประชาชน
ชาติและแผนแม่บทฯ สามารถจัดท�ำรายละเอียด สามารถตัดไม้มีค่าในท่ีดินของตนเองได้ สถาบันการเงิน
แผนปฏบิ ตั กิ าร แผนปฏบิ ตั ริ าชการ และโครงการ/แผนการ ประชาชน โดยการแกไ้ ขปญั หาเงินนอกระบบ ประชาชน
ด�ำเนินการทั้งในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงาน ไม่ถูกขูดรีด พ.ร.บ. ขายฝากฯ ที่ช่วยแก้ปัญหาท่ีดิน
ท่ีเก่ียวข้อง อันจะน�ำไปสู่การจัดท�ำค�ำของบประมาณ หลุดมือเกษตรกร การผลักดันกฎหมายเพื่อลด
ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทฯ ซึ่ง ความเหล่ือมล�้ำและความไม่เป็นธรรมในสังคม โครงการ
การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารครงั้ นม้ี ผี เู้ ขา้ รว่ มประมาณ 500 คน ทนายความอาสาประจ�ำสถานีต�ำรวจ เพ่ือให้ผู้ต้องหา
ผเู้ สยี หาย และประชาชนทว่ั ไปเขา้ ถงึ ความยตุ ธิ รรมไดอ้ ยา่ ง
2. ความกา้ วหนา้ ของแผนการปฏิรปู ประเทศ รวดเรว็ ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย ลดปรมิ าณคดขี น้ึ สศู่ าล รวมถงึ
ลดความเหลื่อมล้�ำทางสังคม การพัฒนาระบบการสอบ
2.1 แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เพอ่ื วดั ความรคู้ วามสามารถทว่ั ไปใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแผนปฏิรูปประเทศด้าน ส�ำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกประเภท และคลินิก
การศกึ ษาเมอื่ วนั ที่ 7 พฤษภาคม 2562 โดยฝา่ ยเลขานกุ าร หมอครอบครัว เพ่ือส่งเสริมการสร้างสุขภาวะที่ดีเป็น
คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) มิติใหมส่ ขุ ภาพของคนไทย
ไดด้ ำ� เนนิ การครบถว้ นตามมาตรา 12 ของพระราชบญั ญตั ิ 2.3 การเตรยี มการปรบั แผนการปฏริ ปู ประเทศ
แผนและขน้ั ตอนการดำ� เนนิ การปฏริ ปู ประเทศ พ.ศ. 2560 ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทฯ
ปัจจุบันแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษามีผลบังคับใช้

36 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ

เม่อื วันที่ 12 มีนาคม 2562 คณะรัฐมนตรไี ดม้ ีมติ ให้ สศช. 2.4 การรายงานความคบื หนา้ ในการดำ� เนนิ การ
ตรวจสอบรายละเอยี ดความสอดคลอ้ งของแผนการปฏริ ปู ตามแผนการปฏิรูปประเทศ ตามมาตรา 270 ของ
ประเทศ กับยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแผนแมบ่ ทฯ ก่อนเสนอ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยตอ่ รฐั สภา โดย สศช.
คณะรัฐมนตรีพิจารณาปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศ ได้รายงานความคืบหน้าในการด�ำเนินการตามแผนการ
ตามพระราชบญั ญตั แิ ผนและขั้นตอนฯ มาตรา 11 ตอ่ ไป ปฏิรูปประเทศ ตามมาตรา 270 ของรัฐธรรมนูญฯ ต่อ
ประกอบกับ มาตรา 13 ตาม พระราชบัญญัติแผนและ รัฐสภาแล้ว จ�ำนวน 2 ครั้ง ซ่ึงคร้ังที่ 1 คือ รอบเดือน
ข้ันตอนฯ ก�ำหนดไว้ว่า ในกรณีมีเหตุจ�ำเป็นต้องแก้ไข มกราคม – มีนาคม 2562 และครั้งท่ี 2 คือ รอบเดือน
ปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศด้านใดเพราะมีการแก้ไข เมษายน – มถิ นุ ายน 2562 โดยมปี ระเดน็ อภปิ รายทสี่ ำ� คญั
เพ่ิมเติมยุทธศาสตร์ชาติหรือแผนแม่บทหรือเพราะเหตุ ไดแ้ ก่ (1) การปรบั ปรงุ รปู แบบการรายงานและการตดิ ตาม
อน่ื ใด ใหค้ ณะรฐั มนตรแี จง้ ใหค้ ณะกรรมการปฏริ ปู ประเทศ ผลให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น อาทิ เป้าหมาย ตัวชี้วัด และ
ด�ำเนินการแก้ไขปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศด้านนั้น ขอบเขตการด�ำเนินการของหน่วยงานท่ีรับผิดชอบตาม
โดยเร็ว โดยให้น�ำความในมาตรา 11 มาใช้บังคั แผนการปฏิรูปประเทศ (2) การเร่งรัดกิจกรรมตาม
โดยอนุโลม ซ่ึงหลังจากได้มีการประกาศใช้แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศท่ีส�ำคัญ และ (3) ข้อเสนอแนะ
ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติแลว้ คณะกรรมการปฏริ ูปประเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพต่อการด�ำเนินการที่เก่ียวข้อง อาทิ
จึงต้องด�ำเนินการพิจารณาปรับปรุงแผนปฏิรูปแต่ละด้าน การแต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
ให้สอดคลอ้ งกับแผนแม่บทฯ ตอ่ มาเมอื่ วนั ที่ 2 กนั ยายน และการประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้และการมีส่วนร่วม
2562 ได้มีการประชุมร่วมประธานคณะกรรมการปฏิรูป จากทกุ ภาคสว่ นในการขบั เคล่ือนแผนการปฏริ ปู ประเทศ
ประเทศ เพื่อหารือแนวทางการปรับปรุงแผนการปฏิรูป
ประเทศร่วมกันก่อนเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา โดยมี 3. การตดิ ตาม การตรวจสอบ และการประเมนิ ผล
ประเด็นในการปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศ อาทิ การดำ� เนนิ การตามยทุ ธศาสตรช์ าติ
(1) การก�ำหนดเป้าหมาย ตัวช้ีวัด ระดับแผน ท่ีชัดเจน
(2) การปรับลดกิจกรรมท่ีมีลักษณะเป็นภารกิจปกติ 3.1 ระเบยี บวา่ ดว้ ยการตดิ ตาม ตรวจสอบ
ของหนว่ ยงาน (3) การตง้ั หนว่ ยงานใหม่ (4) ความทบั ซอ้ น และประเมนิ ผลการดำ� เนนิ การตามยทุ ธศาสตรช์ าติ และ
ระหวา่ งแผนการปฏริ ปู ประเทศแตล่ ะดา้ น และ (5) เคา้ โครง แผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 ได้ประกาศใน
ของแผนการปฏิรปู ประเทศ ราชกิจจานุเบกษาแล้ว เม่ือวันท่ี 13 พฤษภาคม 2562
กำ� หนดใหค้ ณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละคณะกรรมการ
ปฏิรูปประเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูป
ประเทศผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก หรือ
ใช้วิธีอ่ืนที่ไม่สร้างภาระแก่หน่วยงาน และระบบต้องมี
ช่องทางให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและ
ขอ้ เสนอแนะเพ่ือเปน็ ประโยชนต์ อ่ การติดตามประเมินผล
และใหห้ นว่ ยงานของรฐั ดำ� เนนิ การเชอื่ มโยงฐานขอ้ มลู ของ
หนว่ ยงานเขา้ กบั ระบบ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การบรู ณาการฐานขอ้ มลู
ท่ีเก่ียวข้องกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
อันจะส่งผลให้การพัฒนาประเทศมีความสอดคล้องกับ
ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการปฏริ ปู ประเทศ แผนแมบ่ ทฯ และ
แผนระดับที่ 2 อ่ืน ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 37

emenscr.nesdc.go.th โดย สศช. กำ� หนดใหห้ น่วยงาน
ของรัฐทุกหน่วยงานรายงานผลการด�ำเนินการเป็น
รายไตรมาส เขา้ สรู่ ะบบใหเ้ สรจ็ สนิ้ ภายใน 30 วนั หลงั จาก
ส้ินไตรมาส ในส่วนของการน�ำเข้าข้อมูลผ่านระบบ
ประกอบดว้ ย 7 ส่วนสำ� คัญ ไดแ้ ก่ 1) ความเชอื่ มโยงกับ
แผนระดบั ตา่ ง ๆ 2) ข้อมูลทั่วไป 3) รายละเอียดโครงการ
4) กิจกรรม 5) แผนการใช้งบประมาณ 6) การรายงาน
ความก้าวหนา้ และ 7) การอนุมัตขิ ้อมูล

3.2 ร ะ บ บ ร า ย ง า น ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ 4. การสร้างการตระหนักรู้ ความเข้าใจ และ
ประเมินผลของยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ การมีส่วนร่วมของภาคีต่าง ๆ ต่อการขับเคล่ือน
(Electronic Monitoring and Evaluation System of ยทุ ธศาสตร์ชาติ
National Strategy and Country Reform : eMENSCR)
สศช. ได้พฒั นาระบบ eMENSCR รว่ มกับศนู ยเ์ ทคโนโลยี 4.1 การจัดงานมหกรรมการสร้าง
อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC) เพอื่ ใช้ การตระหนกั รตู้ อ่ ยทุ ธศาสตรช์ าติ (Big Bang อนาคตไทย
ในการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการด�ำเนนิ การ อนาคตเรา) ระหวา่ งวันท่ี 30 มกราคม – 1 กมุ ภาพันธ์
ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศให้กับ 2562 ณ ห้างสรรพสนิ คา้ เซน็ ทรลั เวลิ ด์ กรงุ เทพมหานคร
คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ คณะกรรมการจัดท�ำ เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจในแนวคิดและสาระ
ยทุ ธศาสตร์ชาติ คณะกรรมการปฏริ ูปประเทศ หนว่ ยงาน ส�ำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ ให้กับทุกภาคีการพัฒนา
ภาครัฐต่าง ๆ และภาคประชาชน เพ่ือเป็นประโยชน์ มองภาพอนาคตและเห็นเป้าหมายระยะยาวของการ
ในการบูรณาการการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล พัฒนาประเทศร่วมกัน น�ำไปสู่ความร่วมมือในการ
นโยบาย แผนงาน โครงการภาครฐั (One Report) ระบบ ขับเคลื่อนประเทศให้บรรลุเป้าหมายระยะยาวได้อย่าง
สามารถทำ� ใหเ้ หน็ ภาพรวมการพฒั นาตามยทุ ธศาสตรช์ าติ บูรณาการและเป็นรูปธรรม ซ่ึงมีผู้เข้ารับการฟังปาฐกถา
ตงั้ แตร่ ะดบั พนื้ ที่ จนถึงระดับนโยบาย และเป็นเคร่ืองมือ พิเศษจากภาคส่วนต่าง ๆ อาทิ ข้าราชการ ภาคเอกชน
ในการบรหิ ารจดั การ นโยบาย (ทกุ ขนั้ ตอน Policy Cycle) ภาคประชาชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา จำ� นวนประมาณ 1,500 คน
และเป็นระบบฐานข้อมูลกลางท่ีสามารถเชื่อมโยงข้อมูล และมีผู้เข้าร่วมชมนิทรรศการรวมท้ังสามวัน ประมาณ
ทเี่ กยี่ วขอ้ งไดอ้ ยา่ งเปน็ บรู ณาการ ทำ� ใหส้ ามารถลดขน้ั ตอน 5,000 ราย โดยภายในงานมีการถ่ายทอดเนื้อหาของ
ระหว่างหน่วยงาน และลดการใช้กระดาษ มุ่งสู่ Digital ยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละแผนแมบ่ ทฯ ผา่ นหอ้ งนทิ รรศการตา่ ง ๆ
Government โดย สศช. ไดเ้ ปดิ ระบบรายงานการตดิ ตาม 4.2 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการ
และประเมินผลของยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูป ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติร่วมกับภาคีระหว่างประเทศ
ประเทศ (eMENSCR) ให้หน่วยงานน�ำเข้าข้อมูลรายงาน เม่ือวันท่ี 27 กันยายน 2562 ณ โรงแรมสยาม แอ็ท
ผลการด�ำเนินงานอย่างต่อเน่ืองแล้ว ผ่านทาง http:// สยามดีไซน์ เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจแก่ภาคี
ระหว่างประเทศ ต่อสาระส�ำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ
ซ่ึงเป็นกรอบแนวทางในการด�ำเนินงานของส่วนราชการ
ต่าง ๆ ของประเทศไทย นอกจากน้ี การด�ำเนินการ
ในอนาคตอาจจัดให้มีการหารือร่วมกันกับภาคีระหว่าง
ประเทศเป็นประจ�ำ เพื่อกระชับความสัมพันธ์และ
รายงานความก้าวหน้าในประเด็นต่าง ๆ เพื่อร่วมกัน
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติไปสู่เป้าหมายท่ีได้ตั้งไว้ โดยมี

38 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ

ผเู้ ขา้ รว่ ม จำ� นวนรวม 80 คน จากหนว่ ยงาน ประกอบดว้ ย 4.4.2 ส่ือวีดีทัศน์ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
องคก์ ารสหประชาชาติ ธนาคารโลก ธนาคารพฒั นาเอเชยี (พ.ศ. 2561 - 2580) ฉบับภาษาอังกฤษ เพือ่ เผยแพรใ่ ห้
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หอการค้าต่างประเทศ นานาประเทศไดท้ ราบถงึ ความสำ� คญั และสาระสำ� คญั ของ
กระทรวงการต่างประเทศ และผู้แทนคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติ รวมถึงประโยชน์ท่ีประเทศไทยจะได้รับ
จัดทำ� ยทุ ธศาสตรช์ าติ จากการมยี ทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี และสร้างการตระหนักรู้
4.3 การจดั ทำ� สอ่ื การเรยี นการสอนออนไลน์ เก่ียวกับวิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาของประเทศที่
เรื่องยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ การจัดท�ำ ต่อเนื่องในอนาคต ซ่ึงจะสามารถช่วยสร้างความเช่ือมั่น
แผนปฏิบัติการ และสาระอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องผ่านระบบ ของประเทศไทยในเวทโี ลกตอ่ ไป โดย สศช. ได้ด�ำเนินการ
การจัดการเรียนการสอนในระบบเปิด (Thai-MOOC) แล้วเสร็จและได้เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ http://nscr.
โดยจัดจ้างเอกชนท่ีมีความสามารถในการออกแบบ nesdb.go.th/
การผลิต และการจัดท�ำส่ือมัลติมีเดียและวีดิทัศน์ 4.4.3 โมชั่นกราฟฟิค (Motion Graphic)
เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับข้าราชการและ เพื่อเผยแพร่ประเด็นการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
บุคลากรของรัฐเก่ียวกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บท ท้ัง 6 ด้าน ส�ำหรับสร้างความรับรู้ให้แก่ประชาชน
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ท้ังในส่วนของความเป็นมา ทกุ ภาคสว่ นใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ
ความส�ำคัญ สาระส�ำคัญการแปลงไปสู่การปฏิบัติผ่าน เพื่อน�ำไปสู่การสร้างความตระหนักและพลังในการ
แผนระดับที่ 3 และโครงการท่ีเก่ียวข้องตามหลักการ ขบั เคลอื่ นประเทศ โดย สศช. ไดเ้ ผยแพรผ่ ่านทางเวบ็ ไซต์
ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (Causal Relation: XYZ) http://nscr.nesdc.go.th
มีเน้ือหาครอบคลุมท้ังในภาพรวมของยุทธศาสตร์ชาติ 4.4.4 ยุทธศาสตร์ชาติเป็นอักษรเบรลล์
รายละเอยี ดของยทุ ธศาสตรช์ าติ และแนวทางการขบั เคลอื่ น และจดั ทำ� ไฟลเ์ สยี งประกอบ สำ� หรบั สรา้ งการรบั รเู้ กย่ี วกบั
ยุทธศาสตร์ชาติท้ัง 6 ด้านท่ีจะเผยแพร่ผ่านช่องทาง ยุทธศาสตร์ชาติให้กับผู้บกพร่องทางการมองเห็น และ
NESDC MOOC (Massive Open Online Course) ใหแ้ ก่ จัดส่งให้แก่องค์กรท่ีเกี่ยวข้องกับผู้บกพร่องทางการ
กลมุ่ ขา้ ราชการและบคุ ลากรของรฐั ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจ มองเหน็ ทั่วประเทศ
ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติอย่างถ่องแท้ และ 4.4.5 ต้นแบบส�ำหรับผลิตเกมฝึกสมอง
สามารถนำ� ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ เพื่อสรา้ งทักษะท่สี อดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ พร้อมกับ
4.4 การจัดทำ� สือ่ สาธารณะต่าง ๆ ส�ำหรับ วีดโี อสอนการเล่นและค่มู ือเพ่อื เป็นสือ่ ในการสรา้ งความรู้
การสร้างการตระหนักรู้เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติและ ความเข้าใจให้กับกลุ่มนักเรียนระดับประถมศึกษาและ
การปฏิรูปประเทศ เพ่ือเผยแพร่ต่อสาธารณชนทุกกลุ่ม มัธยมศึกษา ให้กับกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงาน
และทกุ ช่วงวยั ดงั นี้ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือใช้ประกอบการเรียนการสอนและ
4.4.1 สื่อวีดิทัศน์เพื่อเผยแพร่การสร้าง สร้างการตระหนักรู้เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติให้กับกลุ่ม
การตระหนักรู้ในการร่วมกันขับเคล่ือนประเทศ สศช. เปา้ หมายผา่ นกิจกรรมนนั ทนาการทสี่ ามารถเข้าใจได้งา่ ย
ได้จัดท�ำสื่อวีดิทัศน์ ชุด “ไม่จ�ำเป็นต้องมีพลังพิเศษ
คุณกพ็ ัฒนาประเทศได้ – You can be a Hero” จำ� นวน
4 ตอนมีเน้อื หาชกั ชวนให้ทกุ คนมารว่ มกนั สร้างประโยชน์
จากความสามารถของตนเอง เพื่อให้เกิดการพัฒนา
ประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ให้ประเทศไทยเป็นประเทศ
ท่ีมั่นคง มงั่ คงั่ และย่งั ยนื เปน็ ประเทศท่ีพฒั นาแลว้ และ
ได้เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของส�ำนักงานฯ http://nscr.
nesdb.go.th และ Facebook “อนาคตไทย อนาคตเรา”

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 39

การวเิ คราะหแ์ ผนงาน/

โครงการและงบลงทุนรฐั วสิ าหกจิ

การวิเคราะห์และเสนอความเห็นต่อรฐั บาล

ดา้ นเศรษฐกิจ 499 ดา้ นทรพั ยาการธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม 132

การเกษตร 90 ทรพั ยากรธรรมชาต ิ 102

อตุ สาหกรรม 20 ส่งิ แวดล้อม 30

การคา้ การลงทุน 48 ด้านการพัฒนาพื้นที่ 50

การบรกิ ารและการทอ่ งเท่ยี ว 7 การผังเมือง 36

วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัยและนวัตกรรม 11 เขตเศรษฐกิจพิเศษ 14

ขนส่งและโลจสิ ติกส์ 118 ด้านความมน่ั คง 33

พลังงาน 23 การเสริมสร้างศกั ยภาพกองทัพ 26

การส่ือสาร 24 การแกป้ ญั หาความไมส่ งบในจงั หวดั ชายแดนภาคใต ้ 4

สาธารณูปการ 16 อื่นๆ 3

รัฐวสิ าหกจิ /องค์การมหาชน 21 ด้านการกระจายอำ� นาจ 6

การเงิน/การคลัง 112 ดา้ นความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ 78

อ่นื ๆ 9 ด้านการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ 8

ด้านสงั คม 64 ด้านการบริหารจดั การภาครฐั 8

การศึกษาและการเรียนร้ ู 48 รวม 878

สาธารณสุข 40

ผู้สงู อายุ แรงงาน และการคมุ้ ครองทางสังคม 25

ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม/กระบวนการยุตธิ รรม 34

การพฒั นาชมุ ชน/เศรษฐกิจฐานราก 1

อน่ื ๆ 4

40 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

การวิเคราะหแ์ ละพิจารณางบลงทนุ ของรฐั วสิ าหกจิ

การพจิ ารณางบลงทนุ ของรฐั วสิ าหกจิ ประจำ� ปี ชว่ งศนู ยว์ ฒั นธรรม - มนี บรุ ี (สวุ นิ ทวงศ)์ โครงการรถไฟฟา้
งบประมาณ 2563 สศช. ได้จัดท�ำแนวทางการพิจารณา สายสเี ขยี ว ชว่ งหมอชติ - สะพานใหม่ - คคู ต รวมถงึ การจดั
งบลงทุนและวิเคราะห์ข้อเสนอการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ กรรมสิทธ์ิที่ดินของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง
ประจ�ำปีงบประมาณ 2563 ในภาพรวม พร้อมทั้งจัดท�ำ ชว่ งลาดพรา้ ว - สำ� โรง และสายสชี มพู ชว่ งแคราย - มนี บรุ ี
ขอ้ วเิ คราะหง์ บประมาณประจำ� ปเี ปน็ ภาพรวมรายกระทรวง องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรงุ เทพ อนมุ ตั วิ งเงนิ เพม่ิ เตมิ สำ� หรบั
และรายรัฐวิสาหกิจภายใต้สังกัด 15 กระทรวง รวม 44 โครงการจัดซ้ือรถโดยสารใช้ก๊าซธรรมชาติเนื่องจาก
รัฐวิสาหกิจ ผ่านการกลั่นกรองของคณะอนุกรรมการ ได้ข้อยุติจากค�ำส่ังศาลปกครองสูงสุดในการรับมอบ
พิจารณางบลงทุนประจ�ำปีของรัฐวิสาหกิจ เพื่อเสนอ รถโดยสารระยะแรก จำ� นวน 489 คนั การไฟฟา้ นครหลวง
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพิจารณาให้ อนมุ ตั เิ พม่ิ เตมิ วงเงนิ ลงทนุ เพอื่ เรง่ งานกอ่ สรา้ งทอ่ รอ้ ยสาย
ความเห็นชอบก่อนเสนอ ครม. พิจารณาอนุมัติ ซงึ่ ครม. ไฟฟา้ ใตด้ นิ และน�ำสายไฟฟ้าอากาศลงใต้ดิน การไฟฟ้า
ได้มีมติเห็นชอบแล้วเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2562 โดยมี ส่วนภูมิภาค อนุมัติวงเงินลงทุนเพิ่มเติมเพ่ือเร่งรัดการ
กรอบวงเงินด�ำเนินการรวม 1,443.891 พนั ลา้ นบาท และ พฒั นาระบบสายสง่ และสถานไี ฟฟา้ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาไฟตก/
กรอบวงเงินเบิกจ่ายลงทุนรวม 346.262 พันล้านบาท ไฟดบั และเพมิ่ วงเงนิ ลงทุนโครงการท่ีผา่ นความเห็นชอบ
โดยทศิ ทางการลงทนุ สอดรบั กบั ยทุ ธศาสตรช์ าตทิ ง้ั 6 ดา้ น ของ ครม. อาทิ โครงการกอ่ สรา้ งสายเคเบล้ิ ใตน้ ำ�้ 115 เควี
โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถ เพ่ือทดแทนและเพ่ิมความสามารถในการจ่ายไฟไปยัง
ในการแขง่ ขนั ซงึ่ คดิ เปน็ สดั สว่ นรอ้ ยละ 87 ขณะทเี่ มอ่ื จำ� แนก เกาะสมุย จ.สรุ าษฎรธ์ านี โครงการติดต้งั มิเตอรอ์ ัจฉรยิ ะ
การลงทนุ รายสาขาจะเปน็ การลงทนุ ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน (AMI) ส�ำหรับผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหญ่ และโครงการขยายเขต
หลักร้อยละ 94 และด้านบริการสังคม/นโยบายพิเศษ ติดตั้งระบบไฟฟ้าให้เกาะต่าง ๆ (เกาะปันหยี จ.พังงา)
ของรัฐรอ้ ยละ 6 การประปานครหลวง อนมุ ตั ปิ รับเพ่มิ วงเงนิ ลงทนุ ส�ำหรบั
การวิเคราะห์การปรับปรุงงบลงทุนเพ่ิมเติม งานปรับปรุงท่อประธานเพ่ือเร่งการด�ำเนินการร่วมกับ
ปีงบประมาณ 2562 พิจารณาอนุมัติเปล่ียนแปลง/ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ในคราวเดียว อาทิ การก่อสร้าง
เพ่ิมเติมงบลงทุนในระหว่างปีงบประมาณ 2562 ของ รถไฟฟา้ สายสีสม้ (ชว่ งศูนย์วัฒนธรรม - สวุ นิ ทวงศ์) ของ
รฐั วสิ าหกจิ ตามที่ ครม. มอบหมายให้ สศช. เปน็ ผพู้ จิ ารณา การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และบริษัท
และน�ำเสนอสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วทิ ยกุ ารบนิ แหง่ ประเทศไทย จำ� กดั อนมุ ตั กิ ารจดั หาระบบ
พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ รวม 54 เรอื่ ง โดยผลกั ดันให้ AERODROME SIMULATOR ณ ทา่ อากาศยานดอนเมอื ง
เกิดการลงทุนเพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจตามนโยบายรัฐบาล สุวรรณภูมิ และศูนย์ควบคุมการบินในภูมิภาค เพ่ือเพิ่ม
ทีส่ ำ� คัญไดแ้ ก่ การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนแห่งประเทศไทย ประสิทธิภาพระบบฝกึ อบรมและยกระดบั ความปลอดภัย
อนุมัติเพ่ิมเติมวงเงินลงทุนของโครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ในการปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ทค่ี วบคมุ จราจรทางอากาศ 

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 41

การวเิ คราะหแ์ ผนระดับที่ 3

ตามท่ีคณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้มีมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 เห็นชอบการจ�ำแนกแผนออกเป็น
3 ระดับ ประกอบด้วย 1) แผนระดับท่ี 1 ได้แก่ ยุทธศาสตรช์ าติ 2) แผนระดับท่ี 2 ได้แก่ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ
และสังคมแห่งชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และแผนความมั่นคง และ
แผนระดับท่ี 3 ได้แก่ แผนทีจ่ ดั ท�ำขน้ึ เพ่อื สนบั สนุนการด�ำเนินงานของแผนระดบั ที่ 1 และแผนระดบั ท่ี 2 ให้บรรลุ
เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ หรือจัดท�ำขึ้นตามที่กฎหมายก�ำหนด หรือจัดท�ำข้ึนตามพันธกรณีหรืออนุสัญญาระหว่าง
ประเทศ เช่น แผนของสว่ นราชการและหนว่ ยงานของรัฐตา่ ง ๆ แผนบรู ณาการรวมถึงแผนปฏบิ ัตกิ ารทุกระดับ
ส�ำหรับแนวทางการเสนอแผนระดับท่ี 3 เพ่ือน�ำเข้าสู่การพิจารณาของ ครม. จะต้องให้ สศช.
ให้ความเห็นเพ่ือประกอบการพิจารณาของ ครม. โดยแผนระดับที่ 3 ท่ีจ�ำเป็นต้องเสนอ ครม. ประกอบด้วย
(1) แผนท่มี กี ฎหมายก�ำหนดให้เสนอต่อ ครม. และ (2) แผนทไี่ ม่มีกฎหมายกำ� หนดให้เสนอต่อ ครม. แตอ่ าจมี
ความจ�ำเป็นเสนอต่อ ครม. พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดย สศช. จะเป็นผู้พิจารณาเบ้ืองต้นว่าแผนดังกล่าว
มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งเสนอ ครม. พิจารณาหรือไม่
ทงั้ นี้ การวเิ คราะหแ์ ผนระดบั ที่ 3 ของการพฒั นาด้านต่าง ๆ มีความก้าวหน้า ดงั นี้

ดา้ นการพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐาน

สาขาขนสง่ และโลจสิ ติกส์ จำ� นวน 4 แผน คือ
1) แผนแม่บทการพัฒนาโครงข่ายทางรถไฟสนับสนุนเขตเศรษฐกิจพิเศษ
การทอ่ งเท่ียว และการพัฒนาพ้นื ที่ ของกระทรวงคมนาคม
2) แผนแมบ่ ทรวมในการพฒั นาศนู ยค์ มนาคมพหลโยธนิ (Integrated Master Plan
Development at Phahonyothin Transport Center) ของกระทรวงคมนาคม
3) แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นคมนาคมขนส่ง ระยะเร่งดว่ น พ.ศ. 2562 (Action Plan)
เพือ่ ขับเคล่อื นการลงทนุ ด้านโครงสรา้ งพื้นฐานของประเทศ ของกระทรวงคมนาคม
4) แผนแม่บทการจัดต้ังสนามบินพาณิชย์ของประเทศ (National Commercial
Airport Master Plan) ของสำ� นักงานการบนิ พลเรือนแห่งประเทศไทย
สาขาพลงั งาน จ�ำนวน 1 แผน คือ แผนพฒั นากำ� ลังการผลิตไฟฟา้ ของประเทศไทย
พ.ศ. 2561-2580 (PDP2018) ของกระทรวงพลังงาน
สาขาสอ่ื สาร จำ� นวน 1 แผน คอื แผนแมบ่ ทอวกาศแหง่ ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2560 - 2579
ของคณะกรรมการนโยบายอวกาศแหง่ ชาติ

42 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

ดา้ นการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์

แผนทผี่ า่ นการพจิ ารณาของสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ จำ� นวน 5 เรอ่ื ง
ดงั นี้
1) รา่ งแผนพฒั นาดา้ นการพฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2560 - 2564)
(กระทรวงวัฒนธรรม)
2) ร่างนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านวัคซีนแห่งชาติ พ.ศ. 2563 - 2565
(กระทรวงสาธารณสขุ )
3) ร่างแผนปฏิบตั กิ ารเฝา้ ระวัง ป้องกนั และควบคมุ โรคติดต่อหรือโรคระบาด พ.ศ. 2562
– 2564 ตาม พ.ร.บ. โรคติดตอ่ พ.ศ. 2558 (กระทรวงสาธารณสขุ )
4) ร่างแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2562 – 2565)
(คณะกรรมการพัฒนาการบรหิ ารงานยตุ ธิ รรมแห่งชาต)ิ
5) แผนปฏิบัติการด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรภาคประชาสังคม ระยะที่ 1
(พ.ศ. 2561 – 2564) (กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์)

แผนที่ผ่านการพิจารณาจากคณะอนุกรรมการด้านพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพทุนมนุษย์
และการสร้างโอกาสความเสมอภาคทางสังคมและอยู่ระหว่างการปรับปรุงแก้ไขของหน่วยงาน
จ�ำนวน 10 เร่อื ง
1) แผนแม่บทด้านการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีของประเทศ ปี พ.ศ. 2560 – 2579 แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาและส่งเสริม
ผู้มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ปี 2560 – 2564 และแผนปฏิบัติการ
โครงการสง่ เสรมิ การผลติ ครทู ม่ี คี วามพเิ ศษทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ระยะท่ี 3 พ.ศ. 2556 – 2561
ฉบับปรับปรุงและขยายระยะเวลาดำ� เนินงาน ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2562 – 2566) (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร)
2) แผนแม่บทพฒั นาแรงงานไทยในระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560 – 2564) (กระทรวงแรงงาน)
3) (ร่าง) นโยบายแห่งชาติด้านยา และแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ
พ.ศ. 2560 – 2564 (กระทรวงสาธารณสขุ )
4) (ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2561 – 2564 (กระทรวง
ศกึ ษาธกิ าร)
5) แผนผสู้ งู อายแุ ห่งชาติ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2545 – 2564) ฉบบั ปรบั ปรุง ครงั้ ท่ี 2 พ.ศ. 2561
(กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย)์
6) แผนการจัดการศึกษาส�ำหรับคนพิการ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) (กระทรวง
ศกึ ษาธกิ าร)
7) แผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการสร้างเสรมิ กิจการเพือ่ สงั คม ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2564)
(กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์)

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 43

8) ยุทธศาสตร์การจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ สถาบันทางการแพทย์ และ
สถาบนั การศึกษาตา่ ง ๆ ในภาพรวมของประเทศ ในระยะยาว (5 - 10 ปี) (กระทรวงสาธารณสุข)
9) ร่างแผนพัฒนางานสวัสดิการสังคมไทย ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2560 – 2565 (กระทรวง
การพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์)
10) แผนพัฒนาศักยภาพก�ำลงั คนภาครัฐให้พรอ้ มเขา้ สู่สงั คมสูงอายุ (สำ� นักงาน ก.พ.)

แผนที่ สศช. พจิ ารณาแลว้ และสง่ ใหห้ นว่ ยงานทราบ เนอ่ื งจากเปน็ แผนทไ่ี มเ่ ขา้ ตามเงอื่ นไข
ทตี่ ้องเสนอคณะรัฐมนตรพี จิ ารณา มจี ำ� นวน 7 เรอ่ื ง ได้แก่
1) ร่างแผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรี พ.ศ. 2560 – 2564 (กระทรวง
การพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย)์
2) รา่ งแผนยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ในพน้ื ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้
(พ.ศ. 2560 – 2564) (กระทรวงยุตธิ รรม)
3) รา่ งแผนปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2560 – 2564 (กระทรวงการพฒั นา
สงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย)์
4) ร่างแผนพัฒนานันทนาการแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) (กระทรวง
การทอ่ งเท่ียวและกฬี า)
5) รา่ งแผนแมบ่ ทการสง่ เสรมิ กจิ กรรมทางกาย (พ.ศ. 2561 – 2573) (กระทรวงสาธารณสขุ )
6) รา่ งแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ. 2560 – 2579) (กระทรวงสาธารณสขุ )
7) แผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการบรหิ ารจัดการแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2560 – 2564 (กระทรวง
แรงงาน)



ด้านการพฒั นาสังคม

มจี ำ� นวน 1 เรอื่ งคอื แผนปฏบิ ตั ดิ า้ นการสง่ เสรมิ และพฒั นาองคก์ รภาคประชาสงั คม ระยะที่ 1
(พ.ศ.2563-2565)

ด้านการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต

มจี ำ� นวน 1 เรือ่ งคือ แผนพฒั นาการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ พ.ศ. 2561-
2565

44 รายงานประจ�ำ ปี 2562 สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

การขับเคลื่อนแผนฯ 12 สกู่ ารปฏบิ ัติ

ยุทธศาสตร์ด้านการเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย์
และยุทธศาสตร์การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหล่ือมล้ำ� ในสงั คม

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ซ่ึงเป็นกลไกส�ำคัญในการแปลง
ยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ ได้ก�ำหนดให้มียุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์และยุทธศาสตร์
การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล�้ำในสังคม เป็นแนวทางการพัฒนาท่ีให้ความส�ำคัญกับการเสริมสร้าง
การเรยี นรู้ การจดั การความรู้ และการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพชมุ ชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผา่ นความรว่ มมอื
ระหว่างภาคีเครือข่ายในแต่ละพื้นท่ีเพื่อให้เป็นพลังทางสังคม โดยด�ำเนินการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ และการน�ำใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนา
ทย่ี ง่ั ยืน ดังนี้

1. การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการขับเคลื่อนงานของวุฒิอาสาฯ ภาคใต้ โดย
สู่การปฏิบตั ใิ นระดับพื้นท่ี จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “รวมพลังวุฒิอาสา
1.1 สนับสนุนการมีส่วนร่วมของวุฒิอาสา ธนาคารสมองภาคใต้ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ
ธนาคารสมองในการขับเคล่ือนงานตามยุทธศาสตร์ บนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ระหว่าง
โดยการเสริมสร้างบทบาทของผู้ทรงคุณวุฒิท่ีเกษียณอายุ วนั ท่ี 26 – 28 สิงหาคม 2562 ณ จังหวดั นครศรธี รรมราช
และผู้ทรงภูมิปัญญาท้องถ่ิน ที่มีความพร้อมและสมัครใจ มผี เู้ ขา้ รว่ มประชมุ จำ� นวน 500 คน ทำ� ใหเ้ กดิ การขยาย
มาช่วยพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติ ให้เป็น ภาคเี ครอื ข่ายการท�ำงานร่วมกับวฒุ ิอาสาฯ ใน 14 จงั หวดั
พลังส�ำคัญที่ทรงคุณค่าของสังคมในการขับเคลื่อน ภาคใตอ้ ยา่ งสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ และแผนพฒั นา
การพัฒนาประเทศ ไดด้ �ำเนินการ ดงั นี้ ระดบั ตา่ ง ๆ รวมทั้งการประชาสัมพนั ธผ์ ลการดำ� เนินงาน
1.1.1 สร้างความรู้ความเข้าใจในทิศทาง ของวุฒอิ าสาฯ สู่สาธารณะ
การพฒั นาประเทศตามกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นาฯ 1.1.3 ขับเคล่ือนการพัฒนาที่สอดคล้องกับ
ฉบบั ท่ี 12 การปฏริ ปู ประเทศทน่ี ำ� ไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมาย การบรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ระดบั พน้ื ท่ี โดยสง่ เสรมิ
การพัฒนาท่ียั่งยืน ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การขับเคล่ือนการน�ำใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ใหแ้ กว่ ฒุ อิ าสาธนาคารสมอง ภาคเี ครอื ขา่ ย โดยจดั ประชมุ ใหเ้ กดิ ผลเปน็ รปู ธรรมในระดับพ้ืนที่ ขยายผลและต่อยอด
เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “วฒุ อิ าสาธนาคารสมองรวมพลงั ขบั เคลอ่ื น การด�ำเนินงานของวุฒิอาสาฯ และภาคีเครือข่ายจังหวัด
ยทุ ธศาสตรช์ าติ และแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 12 ตามปรชั ญา ฉะเชงิ เทรา ใหส้ ามารถยกระดบั เปน็ เมอื งนา่ อยอู่ ยา่ งยงั่ ยนื
ของเศรษฐกจิ พอเพียง” เมื่อวันที่ 24-25 ธันวาคม 2561 เกิดภาคีความร่วมมือเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาท่ีเข้มแข็ง
ณ กรุงเทพมหานคร มผี ้เู ข้าร่วมประชุมประมาณ 753 คน ชมุ ชนสามารถแกไ้ ขปญั หาและจดั การตนเองไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื
ได้รับความรู้เพื่อน�ำไปเผยแพร่ ขยายผล และขับเคลื่อน มีผลการด�ำเนินงานตามมิติการพัฒนาท่ีย่ังยืน 5 มิติ
งานตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 9 โครงการ ประกอบดว้ ย มติ กิ ารพฒั นาคน มติ กิ ารพฒั นา
ตามภมู สิ งั คมในแต่ละพื้นท่ี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติความม่ังค่ัง
1.1.2 สร้างเครือข่ายการท�ำงานแบบ และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มิติความสงบสุข
บรู ณาการของวฒุ อิ าสาฯ กบั หนว่ ยงานต่างๆ และกำ� หนด และสันติภาพ และมติ หิ ุ้นสว่ นการพฒั นา

รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 45

1.1.4 ตดิ ตามความกา้ วหนา้ และปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ความสะดวกการจดั ประชมุ วฒุ อิ าสาฯ นนทบรุ ี เปน็ ประจำ�
ผลการด�ำเนินงานของวุฒิอาสาฯ รวมท้ังสนับสนุนการ ทกุ เดือน
ขับเคล่ือนงานของวุฒิอาสาฯ จังหวัดต่างๆ อาทิ ชุมชน 1.1.5 เผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์ องคค์ วามรู้
จดั การตนเองบ้านทุ่งโตะ๊ หย๊ะ พัทลงุ โครงการฝายมชี วี ติ ผลงาน และประสบการณ์วุฒิอาสาธนาคารสมอง
นครศรีธรรมราช โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและ สู่สาธารณชน โดยจัดท�ำจุลสารธนาคารสมองปี 2562
ผพู้ กิ าร อตุ รดติ ถ์ โครงการรณรงคไ์ มเ่ ผาฟางขา้ ว โครงการ รายไตรมาส และการรับทราบผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก ่
เติมน�้ำในดินจากน้�ำท้ิง นครสวรรค์ การประสานอ�ำนวย เว็บไซต์ สศช. (http://brainbank.nesdc.go.th) มลู นธิ ิ
พัฒนาไท (http://pattanathai.nesdc.go.th) และ
สือ่ สังคมออนไลน์ เช่น Facebook และ Line เปน็ ต้น
1.2 เชื่อมโยงกลไกและภาคีเครือข่าย
ความร่วมมือการท�ำงานในระดับพ้ืนที่ เพ่ือหนุนเสริม
การสร้างการเรียนรู้ และการจัดการความรู้ท่ีสอดคล้อง
กับศักยภาพและบริบทของพื้นท่ี รวมทั้งการติดตาม
การด�ำเนินงานของชุมชนท้องถิ่นอย่างสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 สู่เป้าหมาย
การพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน บนฐานปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ทน่ี ำ� ไปสกู่ ารลดความยากจนและความเหลอ่ื มลำ้� ของชมุ ชน
ทอ้ งถนิ่ ดำ� เนนิ การใน 5 พนื้ ที่ ไดแ้ ก่ 1) ต.ชมุ โค อ.ปะทิว
จ.ชมุ พร 2) ต.แมท่ า อ.แมอ่ อน จ.เชยี งใหม ่ 3) ต.เชยี งคาน
อ.เชียงคาน จ.เลย 4) ต.พิมาน อ.นาแก จ.นครพนม
5) ต.ท่าข้าม อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์

46 รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

2. การน�ำใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งท่สี นับสนนุ การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื
ในชว่ งระยะเวลา 3 ปีท่ีผา่ นมา (พ.ศ. 2559 - 2561) ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
(สศช.) ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการส่งเสริมความเข้าใจและประเมินผลการพัฒนาตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ได้จัดการความรู้เชิงลึกการน�ำใช้ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเผยแพรต่ วั อยา่ งทเ่ี ปน็ ตน้ แบบความสำ� เรจ็ สง่ เสรมิ และพฒั นาพนื้ ทตี่ น้ แบบการนำ� ใชป้ รชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงในการบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาท่ยี ่ังยืน โดยได้ด�ำเนินงาน ดงั นี้

2.1 การจัดการความรู้เชิงลึก โดยถอด ท่ามะนาว อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี โครงการพัฒนาระบบ
บทเรยี นกรณศี กึ ษา/ตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ชข้ องเศรษฐกจิ ขนสง่ มวลชน (รถไฟฟา้ รางเบา) แบบมสี ว่ นรว่ ม กรณศี กึ ษา
พอเพียงท่ีมีผลต่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ขอนแก่นพฒั นาเมือง จ.ขอนแก่น หมบู่ า้ นเกษตรอินทรีย์
ใน 5 มิติ ประกอบดว้ ย มิตกิ ารพัฒนาคน (People) มติ ิ บา้ นหวั อา่ ว อ.สามพราน จ.นครปฐม ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา
การพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ ม (Planet) มติ กิ ารพฒั นาความมง่ั คง่ั ห้วยฮ่องไคร้อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ อ.ดอยสะเก็ด
ทางเศรษฐกจิ (Prosperity) มติ กิ ารสรา้ งสงั คมสนั ตสิ ขุ และ จ.เชียงใหม่
ยตุ ิธรรม (Peace) มิติหนุ้ สว่ นการพฒั นา (Partnership) 2.2 จัดงานก้าวพอดี (A Bright Leap
จำ� นวน 35 พ้ืนท่ี 23 จังหวัด อาทิ ชุมชนตัวอยา่ งการใช้ Forward) Open House การขบั เคลอื่ นการนำ� ใชป้ รชั ญา
ข้อมูลสมุดบัญชีครัวเรือนแก้ไขปัญหาความยากจน ของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสนับสนุนการบรรลุเป้าหมาย
อ.พิมาย จ.นครราชสีมา โครงการเกษตรเพ่ืออาหาร การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ระหว่างวันที่ 9 - 11 กรกฎาคม 2562
กลางวันโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน จ.เชียงราย ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เขตปทุมวัน
การสง่ เสรมิ ศกั ยภาพ การสรา้ งโอกาส และสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั กรุงเทพฯ เผยแพร่แนวปฏิบัติสู่ความย่ังยืนตา
ให้กับผู้ต้องขังของเรือนจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับสาธารณชนได้
ศูนย์เรียนรู้พลังงานชุมชนองค์การบริหารส่วนต�ำบล เรียนรู้และน�ำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของ

รายงานประจำ�ปี 2562 ส�ำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 47

ตนเองเพื่อให้สาธารณชนเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่อง 2.2.1 การจัดนิทรรศการและกิจกรรม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาท่ียั่งยืนได้ สง่ เสรมิ ความรู้ SEP for SDGs (Sufficiency Economy
อยา่ งถอ่ งแทแ้ ละกระจายกลมุ่ เปา้ หมายในวงกวา้ งมากขนึ้ Philosophy for Sustainable Development Goals)
เกดิ การปรบั เปลย่ี นความคดิ ทศั นคติ ตลอดจนพฤตกิ รรม โดยมหี น่วยงานภาคีเครือข่ายร่วมจัดนิทรรศการ SEP for
มีผู้เข้าร่วมงาน ประมาณ 1,500 ราย โดยรูปแบบ SDGs เพอ่ื นำ� เสนอผลงานการขบั เคลอื่ นการนำ� ใชป้ รชั ญา
การจัดงาน ประกอบดว้ ย ของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสนับสนุนการบรรลุเป้าหมาย
การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ตลอดระยะเวลา 3 ปี จำ� นวน 33 หนว่ ยงาน
รวมท้ังกิจกรรมส่งเสริมความรู้การส�ำรวจความพอดีของ
ตนเองโดยจดั ท�ำแบบส�ำรวจตนเองออนไลน์ และเอกสาร
องค์ความรู้ SEP for SDGs ประกอบด้วย (1) สจู ิบัตรงาน
กา้ วพอดี (2) สรปุ ผลการจัดการความรู้เชิงลึกการพัฒนา
ที่ ย่ั ง ยื น ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง
รายเป้าหมาย 17 เป้าหมาย จ�ำนวน 36 กรณีตัวอย่าง
(3) “9 ยา่ ง สคู่ วามยง่ั ยนื ” ของภาคเอกชน วสิ าหกจิ ชมุ ชน
องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน และ “9 ยา่ ง สู่ความย่ังยืน”
รายประเด็นการพัฒนา จำ� นวน 27 แนวทาง (4) หนังสอื
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงฉบับพกพา และ
(5) ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580)

48 รายงานประจ�ำ ปี 2562 ส�ำ นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

2.2.2 การเสวนา SEP for SDGs Talk-Sharing เพื่อเผยแพร่แนวคิดและแนวทางการขับเคลื่อนงาน
การน�ำใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนใน 7 ประเด็น ได้แก่
(1) จากปรชั ญาฯ ส่คู วามยัง่ ยนื (2) Call for Collaboration & Action : “SDG 11 Nexus” (3) นวัตกรรมฐานราก
สกัดความยากจน (4) ปฏิบัติการพัฒนาเชิงพื้นท่ีอย่างยั่งยืน (5) The Right Pace Forward ธุรกิจกับการสร้าง
ความย่ังยนื (6) เรียนรู้ เรยี นคิด... ก้าวท่ีย่งั ยืนของการศกึ ษาไทย (7) ปลุกพลงั ความ D-พอ
2.3 สื่อสารสาธารณะ โดยจัดท�ำส่ือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ
รายงานบทเรียนการพัฒนาประเทศสู่ความย่ังยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หนังสือ “9 ย่าง สู่ความย่ังยืน
ของภาคเอกชน วสิ าหกิจชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และ 9 ยา่ ง คนดพี อ” ทั้งสื่อสง่ิ พมิ พ์ ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์
และสื่อสาธารณะอ่ืน ๆ อาทิ Facebook “D-พอ Design” คลิปวิดีโอส้ัน “D-พอ Design ออกแบบความพอดี
ด้วยตวั เอง” ของเยาวชนคนรุ่นใหม่

รายงานประจำ�ปี 2562 สำ�นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 49


Click to View FlipBook Version