คูมือmดa nูแuลa l
และชวยเหลือ
นักทองเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล
สํานักงานการทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดสุโขทัย
คูมอื mดa nูแuลa l
และชวยเหลือ
นักทองเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล
คูม ือดูแลและชวยเหลือนกั ทองเทย่ี ว
เพ่อื คนทงั้ มวล
เพ่อื เปน แนวทางปฏิบตั ิในการรองรบั การทอ งเทย่ี วเพื่อคนท้งั มวล
สารบญั หนา
เนื้อหา 01
03
ขอมลู ดา นกฎหมาย เพ่อื คนทงั้ มวล 08
ขอ ควรปฏบิ ตั ิ เพ่ือคนทง้ั มวล
มาตรการเก่ยี วกบั ความปลอดภัยทางนำ้ 14
เพ่อื คนทงั้ มวล
มาตรการเกย่ี วกับความปลอดภัยทางถนน 20
เพื่อคนทง้ั มวล
มาตรการเกี่ยวกับความปลอดภยั จากการ 24
ถูกหลอกลวงเอารัดเอาเปรยี บเพือ่ คนท้งั มวล
มาตรการเกี่ยวกบั ความปลอดภยั ในชีวิต 27
และทรพั ยส นิ เพ่ือคนทงั้ มวล
มาตรการเกย่ี วกับการใหความชว ยเหลือ 32
นักทอ งเท่ียวเพอื่ คนทง้ั มวล
มาตรการเกยี่ วกับการยกระดบั
ความปลอดภัยดา นการทอ งเทย่ี วเพอื่ คนท้ังมวล
1.ขอมลู ดานกฎหมาย
เพือ่ คนทัง้ มวล
1.1 รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
1.2 พระราชบญั ญัตินโยบายการทอ งเทย่ี วแหง ชาติ
01
1.3 พระราชกำหนดเกี่ยวกับการทองเท่ียว
1.4 พระราชกฤษฎีกาเกี่ยวกับการทอ งเทยี่ ว
1.5 กฎกระทรวงเก่ียวกบั การทอ งเท่ียว
02
2.ขอควรปฏบิ ัติ
เพือ่ คนท้ังมวล
ในดา นของขอ ปฏิบตั ิดานการใหบ ริการตาง ๆ ทช่ี ว ยสง เสริมการทองเท่ียวเพื่อคนท้งั มวล
ประกอบไปดว ย 5 หลกั การ ซ่งึ ถือเปนตัวชวี้ ัดหลกั ไดแ ก
2.1 การบริการ
นอกจากนี้การบรกิ ารของธุรกจิ นำเท่ียวและมคั คเุ ทศกกก็ ำหนดใหม ีคุณสมบตั ิ
อยางชัดเจน สำหรบั การยน่ื ขอข้นึ ทะเบยี นเปน ผนู ำเที่ยว ตามที่กฎกระทรวงระบไุ ว ไดแ ก
มอี ายไุ มต่ำกวา 20 ป บริบรู ณ (ยึดตามวันทีย่ ืน่ ขอขนึ้ ทะเบยี น)
มสี ัญชาติไทย
ไมเปนโรคพิษสรุ าเร้ือรังหรอื ยาเสพตดิ ใหโ ทษ
สำเรจ็ การศกึ ษาไมต่ำกวา มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทยี บเทา
03
2.2. บริการดา นขอมูลขา วสาร
ตองมบี ริการดา นขอมลู ขา วสารตา ง ๆ เพอ่ื ทำใหน กั ทอ งเทยี่ วเขาถึงขา วสาร
ในทอ งถน่ิ ไดท นั ที โดยเฉพาะกจิ กรรมตาง ๆ ท่ีนา สนใจ รวมถึงการใหข อมูลสำคญั ของ
สถานท่ที อ งเท่ยี วท่นี าสนใจ ชนิดทว่ี าเปน Highlight หลกั ของทองถิน่
นอกจากนี้ จดุ บริการขอ มูลขาวสารก็ตองต้งั อยูใ นตำแหนงทค่ี นทุกคนสามารถ
เขา ถงึ ไดอยางสะดวก สงั เกตไดงาย ๆ จุดตดิ ตอ หรือรับบรกิ ารตองอำนวยความสะดวก
ตอ คนท่วั ไป
และที่สำคัญคือตามราชกิจจานุเบกษาก็ไดมีการระบุอยางชัดเจนในเร่ืองของ
การประชาสมั พนั ธแ ละเผยแพรขอมูลขาวสารทเ่ี กีย่ วกบั อุตสาหกรรมการทอ งเที่ยว
ตอ สมาชิกและบุคคลทั่วไปทั้งภายในและภายนอกประเทศอยางเทา เทียม
สำนกั งานการทอ งเท่ยี วและกีฬาจงั หวดั อพท.
หรอื กระทรวงการทอ งเท่ียวและกฬี า ศนู ยบริการขา วสารทอ งเทย่ี ว
ททท.
(การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย)
ศนู ยช วยเหลือนักทองเทย่ี ว
04
2.3. บรกิ ารดานอปุ กรณ และอปุ กรณอ ำนวยความสะดวก
จดุ บรกิ าร
รถเข็นคนพกิ าร
จดุ นั่งพัก
05
2.4. บริการดา นการรักษาพยาบาล
ในแหลง ทอ งเทยี่ วตอ งมบี รกิ ารดา นการรกั ษา
พยาบาลเบ้อื งตน อาทิ ชดุ ปฐมพยาบาล โดยจะตอง
มเี จา หนา ทแ่ี ละหอ งพยาบาลทพ่ี รอ มใหบ รกิ ารอยา งเตม็
ประสิทธิภาพและรวดเรว็
ปวดหัวมากเลย!!
06
2.5. บรกิ ารดา นการเดินทาง
07
3.มาตรการเกี่ยวกบั ความปลอดภยั ทางนำ้
เพื่อคนทง้ั มวล
08
อุบตั ภิ ัยทางน้ำทเี่ กิดข้นึ กับนกั ทองเท่ยี วและสง ผลใหน ักทองเทย่ี วไดรับบาดเจ็บหรือเสียชวี ติ
มากเปน อันดบั หน่ึง คอื การจมนำ้ สาเหตุอ่ืนๆ เชน เรือลม เรือนำเทยี่ วชนกนั
ขอควรปฏิบตั ิของ
นักทอ งเที่ยว
เมอ่ื เกิดเหตกุ ารณมคี นจมน้ำ
การตะโกน
01เพือ่ ขอความชว ยเหลือเมอื่ มคี นตกน้ำ
02 การโยนอุปกรณ
ทล่ี อยน้ำไดใหค นที่ตกนำ้ เชน หวงชชู ีพ
การยนื่ อปุ กรณใหค นทจี่ มน้ำ
03เชน เชือก เสือ้ เข็มขดั
04 การชวยดึงคนตกนำ้
ใหเ ขาหาฝงอยางรวดเรว็ ทส่ี ุด
09
ขอควรปฏบิ ตั ขิ อง
นกั ทอ งเท่ยี ว
เมือ่ ตอ งการจะดำน้ำ เลนนำ้ หรือ เดินทาง
01 สวมเส้ือชชู พี ท่ีเหมาะสมกบั
ขนาดนำ้ หนกั ของตัวเองทกุ ครงั้ ทเี่ ดินทางทางน้ำ
วา ยนำ้ ในบริเวณทีจ่ ดั ไวให 02
หรือมเี จา หนาท่ชี ีวพทิ ักษค อยดแู ล
03 ไมค วรวา ยนำ้ ในเวลาทฝ่ี นตก
ใหรีบวง่ิ หนีขึน้ ที่สูงทนั ทีเม่ือเหน็ น้ำลดลง
04จากชายหาดอยางรวดเรว็
สำคัญ
- ตองผานการอบรมหลักสูตรการดำนำ้ จากโรงเรยี นที่ไดมาตรฐาน
- ใชชดุ อปุ กรณด ำนำ้ ท่ีปลอดภัยตามมาตรฐาน
- อปุ กรณดำน้ำตองไดร บั การบำรุงรกั ษาเปน อยางดี
10
05 ไมว า ยน้ำคนเดยี ว
ควรวายน้ำกับเพ่ือนหรือเปนกลมุ
ไมวายนำ้ ออกไปไกลจากฝง
06ควรวา ยนำ้ ขนานกบั ฝง
07 ไมว า ยน้ำในเวลากลางคนื
ไมค วรดำนำ้ จนเกินขีดจำกดั 08
และควรเลิกดำนำ้ กอนหมดแรง
11
ขอ ควรปฏิบตั ขิ อง
ผูใหบริการ
ตอ งมีใบประกอบการข้นึ ทะเบียน
01เปนผูนำเท่ยี วทถ่ี ูกตอ งตามกฎกระทรวง
การใหค วามรูแ ละความเขา ใจแก
02นักทอ งเท่ยี ว เชน การใสเ สอ้ื ชูชพี ทถี่ กู ตอ ง
การจำกัดจำนวนเรอื แพ 03
บรรทุกผูโดยสาร
การเตรยี มอปุ กรณ 04
สำหรบั ชว ยชวี ิตไวเสมอ
05ตอ งมีความรูในดา นการชว ยเหลอื
นกั ทองเท่ียวเมือ่ ประสบอทุ กภัย
มีความพรอ มและมคี วามรู
06ในการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน
12
07การใชอ ปุ กรณที่มมี าตรฐาน
และตรวจเช็คความเรยี บรอยเสมอ
ไมควรปลอยใหน กั ทอ งเทย่ี วทำกจิ กรรรม
08โดยไมใหค วามรูกอ นทำกจิ กรรม
09ไมค วรใหนกั ทอ งเท่ียวทำกจิ กรรมท่ี
อาจกอใหเกิดอันตรายเพียงลำพัง
ตอ งใสเสอ้ื ชชู ีพ
กอนนะ
ไมค วรปลอยปละละเลยเมื่อเหน็ 10
นักทองเทย่ี วไมปฏิบัตติ ามกฏ
11หลีกเลีย่ งใหนกั ทองเท่ยี ว
ทำกจิ กรรมในชวงฝนตกหรือมีพายุ
13
4.มาตรการเก่ียวกับความปลอดภยั ทางถนน
เพือ่ คนทั้งมวล
ในปจ จบุ นั นปี้ ญ หาดา นความปลอดภยั จากการใชร ถใชถ นนนนั้ ยงั คงเปน ปญ หาทต่ี อ ง
แกไขอยางตอ เน่อื ง ซง่ึ อตั ราการเกดิ อบุ ัตเิ หตบุ นทองถนนนนั้ พบวามปี ระชาชนท่ีเสยี ชีวิตจาก
เหตตุ า ง ๆ บนทองถนนสงู ถึง 25 คนตอ วัน หรือเฉลยี่ ชัว่ โมงละ 1 คน
ท้ังน้ี หากดูปจจยั ทสี่ ง ผลใหเ กิดอบุ ตั ิเหตบุ นทอ งถนนแลว พบวา สาเหตหุ ลกั คอื
• การใชค วามเรว็ เกนิ ที่กฎหมายกำหนด
• ดมื่ แลวขบั
• ไมคาดเข็มขัดนริ ภัยในการขบั ขี่
• ไมส วมหมวกนริ ภยั
• ใชโ ทรศพั ทมือถือขณะขับรถ
14
ขอควรปฏิบตั ิของ
นักทองเท่ียว
การใชค วามเร็วอยางเหมาะสม และไมเกนิ ที่กฎหมายจราจรกำหนด
กรณที ม่ี ี 4 ชองจราจรไป-กลับ มเี กาะกลางถนนแบบกำแพงกั้น และจำกัดบางเสน ทาง
ตามกฎกระทรวงกำหนดอตั ราความเร็วสำหรบั การขบั รถในทางเดนิ รถ
ในราชกจิ จานเุ บกษา ไวด ังน้ี
• การใชความเร็วรถยนตไมเ กิน 120 กม./ชม.
• ความเร็วเลนขวาสดุ หามตำ่ กวา 100 กม./ชม.
• รถจักรยานยนตใชความเร็วไมเกิน 80 กม./ชม.
• รถจักรยานยนตท ม่ี ี 400cc. ข้นึ ไป ตอ งไมเกนิ 100 กม./ชม.
15
ขอ ควรปฏบิ ัตขิ อง
นักทอ งเทีย่ ว
การใชค วามเรว็ อยา งเหมาะสม และไมเ กินท่ีกฎหมายจราจรกำหนด
สำหรบั ความเรว็ รถยนตในเขตทางหลวงชนบท หรอื ทางหลวงระหวางจงั หวดั
ตามกฎกระทรวงกำหนดอัตราความเรว็ สำหรับการขับรถในทางเดินรถ
ในราชกจิ จานุเบกษา ดงั นี้
• รถยนต หรือรถจกั รยานยนต ตองไมเกนิ 90 กม./ชม.
• สำหรบั เขตกรุงเทพมหานคร, เมอื งพัทยา และเขตเทศบาล
ทุกจังหวดั รถยนตแ ละรถจกั รยานยนตใหใชความเรว็ ไมเ กิน 80 กม./ชม.
ทงั้ นี้ หากขับรถเกินท่กี ฎหมายกำหนด มีโทษปรับ
ไมเกิน 1,000 บาท โดยขึน้ อยูกบั ดลุ ยพนิ ิจของเจาหนา ที่
90
80
80
16
หลีกเล่ียงการดื่มแลว ขบั เกนิ 50
มิลลกิ รมั เปอรเ ซ็นต
คาดเข็มขดั นริ ภยั ทุกคร้ัง
• ปรบั ระดับความตงึ ใหกระชับ ไมค าดจนพาดชิดลำคอและใตว งแขน
• หากเปนเด็กตอ งใชทีน่ ่งั สำหรบั เด็กหรือคารซีทโดยมีการยึดไวบริเวณกง่ึ กลางของ
เบาะหลังพรอ มกบั คาดสายใหกระชบั
• สตรมี คี รรภ ควรคาดเขม็ ขัดนิรภัยผานรองอกลงมาดา นขา ง และปรับเบาะใหห าง
จากพวงมาลยั ประมาณ 15 น้วิ
หากไมคาดเข็มขดั นิรภยั มีโทษปรบั 2,000 บาท แตหากเปนการโดยสารสาธารณะ
มีโทษปรบั 500 บาท/คน
การสวมหมวกนิรภัยทุกครัง้
17
การไมใ ชโ ทรศพั ทขณะขบั รถ
นอกจากการปฏิบัติตามกฎ
จราจรอยา งเครง ครดั แลว การใชร ถใชถ นน
ใหปลอดภัย ตอ งไมใชโทรศพั ทข ณะขับขี่
ดว ยหากตอ งการใชก ค็ วรมอี ปุ กรณเ สรมิ
สำหรบั การสนทนาทางโทรศพั ทหรอื จอด
รถคุยในบริเวณท่ปี ลอดภยั
ขอ ควรปฏบิ ตั ิของ
นกั ทองเที่ยว
01 การขับขห่ี รือโดยสารผูใชบ ริการ
ตองปฏิบตั ติ ามกฎหมายอยางเครงครัด
02 ควรศึกษาเสน ทางในการเดนิ ทางใหดี
03 ไมข ับกระช้ันชิดคันขางหนา จนเกนิ ไป
และไมเปลี่ยนชองจราจรอยางกะทันหนั
18
ขอควรปฏิบัตขิ อง
ผูใหบรกิ าร
• การใหบริการอยา งมีมาตรฐาน เชน รถผา นการตรวจสภาพ จดุ ตรวจรถฟรี
และไดรับการรับรองจาก กรมการขนสง ทางบก
พรอ มมใี บอนุญาตขับข่ีอยา งถูกตอ ง
• การใหข อมูลในดา นการบรกิ ารอยางครบถว น
• จดั ทำแผนการเดินทางอยา งชดั เจนตอนกั ทอ งเทย่ี ว
• มพี นกั งานขับรถอยา งนอย 2 คน และตองมีใบอนุญาตขับข่ี
• การตรวจสอบความพรอมของรถกอนใหบ รกิ าร
• การขบั ขี่อยางเหมาะสมและปลอดภัย ใชค วามเร็วตามทีก่ ฎหมายกำหนด
การใชค วามเรว็ หากเปนรถโดยสาร7-15คนใชค วามเรว็ ไมเกนิ 100กม./ชม.ในกรณี
ท่เี ปนถนน 4 เลน ไป-กลับ มเี กาะกลางถนนและหากเปน รถชักจูง รถยนตสีล่ อเล็ก และสามลอ
ควรใชความเรว็ ไมเกนิ 60 กม./ชม.
ขอควรปฏบิ ตั ิของ
ผูใหบรกิ าร
• โดยสารในจำนวนทเี่ หมาะสม ผโู ดยสารตอ ง
ไมม ากเกินไป
• ผูใหบรกิ ารตอ งมีความพรอมในการขบั ขี่
ไมเมาแลว ขบั หรอื เสพสารเสพติดเดด็ ขาด
• ตอ งตรวจเชก็ ความพรอ มของอปุ กรณ
ตา ง ๆ อยา งละเอยี ด เชน ทนี่ งั่ ผโู ดยสารมี
เขม็ ขัดนริ ภัย
19
5. มาตรการเกยี่ วกบั ความปลอดภัยจากการ
ถูกหลอกลวงเอารัดเอาเปรียบ
เพอ่ื คนทงั้ มวล
ขอควรปฏบิ ัตขิ อง
นักทอ งเทย่ี ว
รถรบั จา ง
01 สอบถามราคากอนใชบ ริการ
02 ประเมินสภาพรถวามคี วามพรอ มในการใชบ รกิ าร
03 ตรวจเชค็ วามีการกดมเิ ตอรคา โดยสาร
04 ประเมนิ พนักงานวาพดู จาสุภาพ แตง กาย
เรยี บรอ ย นาไวว างใจ
03
20
ธรุ กิจนำเทย่ี วและมัคคุเทศก
01 ตรวจสอบคา บริการกอ นทุกคร้งั
02 เชค็ รายการนำเท่ียววามกี ารเปลี่ยนแปลงหรอื ไม
03 เลือกใชธุรกจิ นำเทย่ี วและมัคคุเทศกทม่ี ี
ความเชย่ี วชาญ
04 ตรวจสอบวา มเี ครอ่ื งหมายหรอื การรบั รองจาก
กรมการทองเท่ยี ว
อญั มณแี ละเคร่อื งประดบั
01 ศึกษาวธิ ีการสงั เกตของแทของปลอม
02 สอบถามราคาใหช ดั เจนกอนการ
ตดั สนิ ใจซื้อ
03 เลือกรา นทมี่ ีความนา เชอ่ื ถือ
ธรุ กจิ รา นเส้อื ผา
01 สอบถามราคาใหช ัดเจนกอนการ
ตัดสนิ ใจซอ้ื
02 เช็คคุณภาพของสนิ คา เชน เนื้อผา การตดั เย็บ สีตก
03 เลือกรานที่มีความนา เชื่อถือ ไมข ายราคาเกินจริง
21
ขอ ควรปฏิบัตขิ อง
ผูใหบ รกิ าร
รถรับจา ง
01 รถทใี่ หบ รกิ ารรบั จา งตอ งมมี าตรฐานตามทก่ี รมการขนสง ทางบกกำหนดมมี าตรฐาน
ทั้งคุณภาพและความปลอดภัย
02 ผขู ับรถตอ งมใี บอนญุ าตขับรถสาธารณะ
03 ผูใหบ ริการตอ งผา นการตรวจสอบประวตั ิอาชญากรรม
04 รถทุกคนั ตอ งทำประกนั ภยั รถยนตสาธารณะ
05 ตดิ เครื่องหมายแสดงการเปน รถยนตรับจา ง
06 รถท่ใี ชบ ริการตองไมผานการดดั แปลงรถจนไมมีมาตรฐาน
07 ตองมกี ารกดมเิ ตอรคาโดยสาร และเรียกเกบ็ คาโดยสารท่ีไมส งู เกินความเปน จรงิ
08 ผบู รกิ ารตองมคี วามสุภาพ
หากนกั ทอ งเทย่ี วพบเจอปญ หาจาก
การบรกิ ารที่ไมเ ปน ธรรมหรอื ไดร บั
ความเดือดรอนจากรถรับจาง
สามารถรอ งเรยี นไดท ก่ี รมการขนสง
ทางบก สายดวน 1584
22
ธรุ กจิ นำเท่ยี วและมัคคุเทศก
01 การเรียกเกบ็ คา บริการในราคาท่ีไมส งู เกินความเปนจริง
02 การใหบริการและไมเปล่ยี นแปลงรายการนำเท่ียวโดยพลการ
03 ผูใหบ ริการตอ งใหบริการนักทอ งเทย่ี วตามมาตรฐาน
04 ประชาสมั พนั ธใหน กั ทอ งเทยี่ วรายการนำเทย่ี วจากบรษิ ทั ทมี่ ี
เครอ่ื งหมายหรอื การรับรองจากกรมการทองเทีย่ ว
05 การจับกุมผูประกอบธุรกิจนำเท่ียวท่ีขายรายการนำเท่ียวใน
ราคาแพงเกินจรงิ และลงโทษตามกฎหมาย
อัญมณแี ละเครือ่ งประดบั
ธุรกจิ รา นเส้ือผา รอ งเรียนเมอ่ื ถูกเอารดั เอาเปรยี บไดท่ี
สายดวน กองบัญชาการตำรวจทองเท่ียว 1155
01 ตดิ ปายราคาท่ชี ดั เจนและไมขายราคาแพงเกินจริง
02 หากมีการสง ของ ควรสง ใหตามเวลานดั หมาย
03 ตรวจสอบคุณภาพของสินคากอ นนำมาจำหนา ย
23
6. มาตรการเก่ียวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยสนิ
เพ่ิือคนท้งั มวล
การปองกันการถกู ทำรายรา งกาย หรือประทษุ ราย
การถกู โจรกรรมตอทรัพยสินและของมคี า
ขอควรปฏิบตั ิของ
นักทอ งเที่ยว
ไมควรใส่ ห ูฟง ควรหยุดคุย
ขณะเดนิ กอนเดิน
การปฏบิ ตั ติ ัวใหพรอ ม ไมไวใจใครมากเกินไป
และระมัดระวงั ตัวเองเสมอ
อยาทำตัวเปน เปาสายตา อยูในจดุ ทีม่ ีคนพลกุ พลา น
เชน การใชของมีคา
24
ไมควรอยใู นที่เปลีย่ วคนเดยี ว
หลกี เลย่ี งการนำของ
มคี า ออกมาโชว
ควรใสใจคนรอบขา งทเ่ี ดิน ไมค วรเดินกม หนา เลน แตโทรศพั ท
ผา นไปเสมอ
25
ขอควรปฏบิ ัตขิ อง
ผูใหบริการ
01 การหม่นั สังเกตคนแปลกหนา หรือผูท่ีเขา มา
ใชบ ริการ
02 มกี ารจัดการระบบความปลอดภยั ทม่ี มี าตรฐาน
03 มเี จา หนา ทีร่ ักษาความปลอดภัย ใหช ว ยดูแล
และสอดสองความเรียบรอยอยา งเหมาะสม
04 ควรตดิ ตง้ั กลอ งวงจรปด ไวท กุ จดุ ทเ่ี ปน มมุ อบั ของรา น
05 ควรสงั เกตพฤตกิ รรมลกู คา กอ นเขารา น
06 หลกี เลยี่ งการเขา รา นของลกู คา ท่ีไมท ำตามกฏของรา น
07 ไมค วรเลน โทรศพั ทโดยไมส นใจลกู คา ทเี่ ดนิ ผา นไปมา
26
7. มาตรการเกยี่ วกับการใหความชว ยเหลอื นกั ทอ งเทีย่ ว
เพอื่ คนทง้ั มวล
การจัดตัง้ ศนู ยชวยเหลือนกั ทอ งเท่ยี ว
(Tourist Assistance Center: TAC)
ขอควรปฏิบตั ิของ
นักทอ งเท่ยี ว
01 คน หาขอ มูลศูนยบรกิ ารนกั ทอ งเทยี่ ว ณ สถานทท่ี ่ีจะไป
02 ประสานงานกบั สถานที่ทองเท่ียวกอ นจะเขาไป
เพอ่ื เชค็ วา เปด ใหบรกิ ารหรอื ไม
03 คนหาและกำหนดเสน ทางท่ีชัดเจนและถูกตอง
เพื่อปอ งกันการหลงทาง
04 ศึกษาขอมลู เกีย่ วกบั แหลงทอ งเที่ยว เพอ่ื เขาใจ
ในกฏระเบยี บของสถานที่ จะไดเ ตรยี มพรอ มไดถ กู ตอง
05 คน หาเบอรโทรสายดวนเกบ็ ไว หากเกดิ มเี หตฉุ ุกเฉิน
27
ขอ ควรปฏบิ ัตขิ อง
นกั ทองเที่ยว
01 ไมค วรเขา ไปยังแหลง ทอ งเท่ยี วโดยไมศึกษาหาขอมูลกอน
02 หลีกเลย่ี งการไปในแหลงทองเทย่ี วที่ไมม ีคน
หรือสถานทเี่ ปลย่ี ว
03 ควรสำรวจสภาพสิง่ กอสรา งของแหลง ทอ งเท่ยี วกอ นวามี
ความแข็งแรงหรือชำรดุ หรอื ไม เพอื่ ไมใ หเกิดอันตราย
04 ควรเลือกใชบ รกิ ารธุรกจิ นำเทยี่ วหรือมคั คุเทศก
ที่มบี ัตรมัคคุเทศก
ขอควรปฏิบัติของ
ผูใหบ รกิ าร
01 มีการประชาสัมพันธตามชองทาง
ตา งๆเกยี่ วกบั แหลง ทอ งเทย่ี วเพอ่ื ให
นกั ทอ งเทย่ี วทราบถงึ สงิ่ ทจี่ ะตอ งเจอ
02
28
ควรอพั เดทขอ มลู ขา วสารเกย่ี วกบั แหลง ทอ งเทย่ี ว
03 อยเู สมอเพอื่ ลดความผดิ พลาดในการสอ่ื สารความ
เขา ใจผดิ ระหวางนกั ทองเทีย่ วและผูใหบริการ
04 ควรตดิ ปา ยเบอรโ ทรสายดว นไวต ามสถานทตี่ า งๆ
เพอ่ื อำนวยความสะดวกใหก บั นกั ทอ งเทยี่ วเมอ่ื เกดิ
อุบัติเหตุ
05 หลีกเล่ียงการใหนักทองเท่ียวที่สุขภาพไมแข็งแรง
หรอื มอี าการบาดเจบ็ เบอ้ื งตน อยแู ลว เขา ยงั สถานท่ี
เพ่ือไมใ หเกิดอบุ ัติเหตอุ กี ครง้ั
สำหรับชอ งทางการตดิ ตอ
เมอื่ ไดร ับความเดอื ดรอน คือ
• สำนกั งานตำรวจแหง ชาติ แจง เหตดุ วน เหตุราย 191
• ตำรวจทอ งเท่ียว 1155
• สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหง ชาติ เจบ็ ปว ยฉุกเฉิน 1669
• สำนักงานการทองเทีย่ วและกฬี าจังหวัดสุโขทยั
055-610502 และ 055-610222
29
การจดั ตงั้ กองทุนชวยเหลือ
เยยี วยานกั ทองเทีย่ วชาวตา งชาติ
ประสบเหตุจากการจลาจล การกอ การรา ย หลักเกณฑก ารชวยเหลอ�
ประสบเหตจุ ากภัยธรรมชาติ
การถูกทำรายรา งกาย
การถกู ขม ขนื
การประสบอบุ ัติเหตุ
การหยุดชะงักของการเดนิ ทาง
การตกทกุ ขไดยากเนอื่ งจากการ
ประทษุ รายตอทรัพยสนิ
อาชญากรรมหรอื ภัยดานอื่น ๆ
ตามท่ีคณะกรรมการกำหนด
การชว ยเหลือและเยยี วยา
รายละเอียดการชวยเหลือ คา เยียวยานักทอ งเทยี่ ว
และเยยี วยานกั ทองเที่ยว
1. เสยี ชีวิต สูญเสยี อวัยวะ สายตา ทพุ พลภาพถาวรสิน้ เชงิ
หรอื ไดร บั อันตรายสาหสั การปลงศพนอกประเทศภมู ลิ ำเนา ไมเ กิน 1,000,000 บาท/คน
และการสงศพหรอื กระดกู กลับภมู ิลำเนา
2. คา รกั ษาพยาบาลทางการแพทย ตลอดจนการเคล่อื นยา ย ไมเ กนิ 500,000 บาท/คน
ในประเทศ
3. ความสูญเสียหรอื ความเสยี หายท่ีเกิดจากการหยดุ ชะงัก ไมเ กนิ 2,000 บาท/คน
ของการเดินทาง
4. การฟน ฟสู ภาพจติ ใจหลังเผชิญกบั สถานการณตา ง ๆ ไมเ กิน 20,000 บาท/คน
5.ความสูญเสียหรือเสียหายจากการประทุษรายตอ เหมาจา ย 6,000 บาท/คน
ทรพั ยส ิน ท่สี ง ผลใหข าดปจ จยั ในการดำรงชีวิต
30
การจัดตง้ั ศาลแผนกคดนี ักทอ งเท่ยี ว
ในศาลสถติ ยตุ ธิ รรม
ปจ จบุ ันไดมกี ารจัดตงั้ ศาลแผนกคดนี ักทองเท่ยี ว
รวมแลว จำนวน 11 แหง คือ
ศาลจงั หวดั สุโขทัย คือ 1 ใน 11 แหง
ของการจดั ตง้ั ศาลแผนกคดี
นักทองเทยี่ วในศาลสถิตยตุ ิธรรม
• ศาลจงั หวดั พทั ยา • ศาลจังหวัดกระบี่
• ศาลจงั หวดั ภเู ก็ต • ศาลแขวงพระนครเหนอื
• ศาลแขวงปทุมวัน • ศาลแขวงพระนครใต
• ศาลแขวงดสุ ิต • ศาลจงั หวัดหัวหิน
• ศาลจังหวัดเกาะสมุย (จังหวัดสุราษฎรธ าน)ี
• ศาลแขวงเชียงใหม (จังหวดั เชยี งใหม) (จงั หวัดประจวบคีรีขันธ)
301
8. มาตรการเกย่ี วกบั การยกระดบั ความปลอดภัยดา นการทองเทีย่ ว
เพอ่ื คนท้ังมวล
(1) การบริการดานการทองเท่ยี วอยางครอบคลมุ ในจังหวัดสุโขทัย
การบรกิ ารขนสง และอำนวยความสะดวกในการเขา เมอื งสโุ ขทยั ทงั้ ทางบกทางนำ้ และ
ทางอากาศเพอ่ื ใหน กั ทอ งเทย่ี วสามารถเดนิ ทางดว ยบรกิ ารสาธารณะไดอ ยา งปลอดภยั ไมโ ดน
ขูดรีดหรือเกบ็ คาบริการท่เี กนิ จรงิ จากผูใหบรกิ าร
นอกจากนี้ ยังครอบคลมุ ไปถงึ การดแู ลบริการนำเที่ยวและมคั คเุ ทศก พรอมบริการ
สารสนเทศเพอ่ื การทองเท่ียวอยา งเหมาะสมตลอดจนจุดบริการFreeWi-Fiและการใหความ
ชว ยเหลอื นกั ทอ งเทย่ี วดว ยการจดั ตงั้ ศาลแผนกคดนี กั ทอ งเทยี่ วในศาลสถติ ยตุ ธิ รรมเพอ่ื ความ
ปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยส ินของนกั ทองเทยี่ ว
32
สรุป
คูม ือดูแลและชวยเหลือนกั ทองเที่ยวสำหรับกลุมคนทง้ั มวล
เพื่อเปน แนวทางปฏบิ ัติในการรองรับการทองเท่ียว
เพอื่ คนทั้งมวล
33
เบอรโทรศัพทติดตอสำหรับนักทองเที่ยว
หากเจอปญ หาตาง ๆ จากการทองเทย่ี วหรือการใหบ ริการ
สามารถติดตอ ศนู ยบ ริการชว ยเหลือนกั ทองเท่ยี ว
และหนว ยงานอ่นื ๆ ท่ีเกยี่ วขอ งไดต ามเบอรโทรศัพทดงั ตอไปนี้
1. เบอรโทรศพั ทดา นการทอ งเทย่ี ว 0 5569 7241
- เบอรโทรศัพทในจงั หวดั สโุ ขทยั 0 5569 7527,
ศนู ยบ ริการขอมลู นกั ทองเทย่ี ว อุทยานประวตั ศิ าสตรสโุ ขทัย 0 5569 7310
สำนกั งานอุทยานประวัตศิ าสตร 0 5561 0502,
0 5561 0222
สำนักงานการทองเทีย่ วและกฬี าจงั หวัดสุโขทยั 0 5561 6228-9
0 5561 0481-2
ททท. สำนกั งานสโุ ขทยั
สำนักงานพนื้ ทพี่ ิเศษ 4
- เบอรโทรศพั ทส ายดวน 1155
1193
ตำรวจทอ งเท่ยี ว 1672
ตำรวจทางหลวง 1586
ศนู ยบ ริการขา วสารทอ งเที่ยว 1197
สายดว นกรมทางหลวง
สอบถามขอมลู การจราจร
2. เบอรโทรศัพทฉกุ เฉินเมือ่ เกดิ เหตไุ มค าดฝน 0 5561 3375,
0 5561 0903
- เบอรโทรศพั ทในจังหวัดสุโขทยั 0 5561 6417,
0 5561 1234
สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสโุ ขทยั
โรงพยาบาลสุโขทัย
สนง.พฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจงั หวดั สโุ ขทยั
34
- เบอรโทรศพั ทส ายดว น
แจงเหตเุ พลิงไหม 199
สำนักงานตำรวจแหง ชาติ แจง เหตดุ ว น เหตรุ า ย 191
สถาบนั การแพทยฉ กุ เฉนิ แหง ชาติ เจบ็ ปวยฉุกเฉนิ 1669
กระทรวงพาณชิ ย แจง ราคาเขา ขา ยคากำไรเกินควร 1569
จส.100 1137
ศนู ยช ว ยเหลือสังคม 1300
กรมสงเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ 0 2354 3388
3. เบอรโทรศัพทต ดิ ตอ ศนู ยบ ริการขาวสารและชว ยเหลือนักทองเทย่ี วแตล ะภาค
ศนู ยประสานงานชว ยเหลอื นกั ทองเทย่ี ว
ศนู ยช ว ยเหลอื นกั ทอ งเที่ยว
(1) ภาคเหนือ
ททท. สำนักงานเชยี งใหม 0 5324 8604-5
ททท. สำนักงานแมฮ องสอน 0 5361 2982-3
ททท. สำนกั งานเชยี งราย 0 5371 7433
ททท. สำนักงานแพร 0 5452 1127
ททท. สำนักงานนาน 0 5471 1217-8
ททท. สำนักงานพษิ ณุโลก 0 5525 2742-3
ททท. สำนกั งานตาก 0 5551 4341-3
ททท. สำนกั งานอทุ ัยธานี 0 5651 4651-2
ททท. สำนักงานลำปาง 0 5422 2214-5
ททท. สำนกั งานนครสวรรค 0 5622 1811-2
(2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 35 0 4421 3030
0 4524 3770
ททท. สำนกั งานนครราชสมี า 04322 7714-5
ททท. สำนักงานอบุ ลราชธานี 0 4251 3490-1
ททท. สำนกั งานขอนแกน 0 4232 5406-7
ททท. สำนักงานนครพนม 0 4281 2812
ททท. สำนักงานอุดรธานี 0 4463 4722-3
ททท. สำนักงานเลย 0 4451 4447-8
ททท. สำนกั งานบุรรี มั ย
ททท. สำนกั งานสรุ นิ ทร
(3) ภาคตะวนั ออก 0 3842 7667
ททท. สำนกั งานพัทยา 0 3865 5420-1
ททท. สำนกั งานระยอง 0 3948 0220
ททท. สำนักงานจนั ทบรุ ี 0 3959 7259-60
ททท. สำนักงานตราด 0 3731 2282
ททท. สำนักงานนครนายก 0 3851 4009
ททท. สำนกั งานฉะเชงิ เทรา
0 2276 2720-1
(4) ภาคกลาง 0 3475 2847-8
0 3247 1005-6
ททท. สำนักงานกรงุ เทพฯ 0 3251 3885
ททท. สำนักงานสมุทรสงคราม 0 3451 1200
ททท. สำนกั งานเพชรบุรี 0 3291 9176-8
ททท. สำนกั งานประจวบครี ขี ันธ 0 3524 6076-7
ททท. สำนกั งานกาญจนบุรี 0 3552 5867
ททท. สำนกั งานราชบรุ ี 0 3677 0096-7
ททท. สำนักงานพระนครศรีอยุธยา
ททท. สำนักงานสพุ รรณบุรี 0 7423 1055,
ททท. สำนกั งานลพบรุ ี 06 2595 7748
0 7534 6515-6
(5) ภาคใต 0 7354 2345-6
0 7621 1036
ททท. สำนักงานหาดใหญ 0 7641 3400-2
ททท. สำนกั งานสตูล 0 7728 8817-9
ททท. สำนกั งานนครศรีธรรมราช 0 7742 0504
ททท. สำนักงานนราธวิ าส 0 7521 5867,
ททท. สำนักงานภเู กต็ 0 7562 2163
ททท. สำนกั งานพังงา 0 7750 2775-6
ททท. สำนักงานสุราษฎรธ านี
ททท. สำนกั งานเกาะสมยุ
ททท. สำนกั งานตรงั
ททท. สำนกั งานกระบี่
ททท. สำนักงานชมุ พร
36
อางองิ ขอ มลู
คูม ือเรอื่ ง มาตรการความปลอดภยั ทางการทองเทย่ี ว
โดยกองมาตรฐานและกำกบั ความปลอดภยั นกั ทองเท่ียว
กระทรวงการทอ งเที่ยวและกีฬา
กฎหมายที่ควรรดู า นความปลอดภยั ทางถนน โดยศูนยอำนวยการความ
ปลอดภยั ทางถนน
37
สำนกั งานการทอ งเท่ียวและกีฬาจงั หวัดสุโขทยั
เลขท่ี 100 ม.10 ต.บา นกลว ย อ.เมอื ง จ.สโุ ขทยั 64000
โทร 055-610502 และ 055-610222