ภาวะผนู ําทางวิชาการ
รายวิชาปฏบิ ัตกิ ารวิชาชพี บริหารการศึกษาในสถานศึกษา
Professional Practicum in Educational Administration in Schools รหสั 176731
นางสาวกฤษณา แซเ ลา
รหสั 63204151
หลักสูตรการศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา
วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา
1
ความหมายของผนู้ าและภาวะผู้นา
ผ้นู า หมายถึง บุคคลทีม่ ีความร้คู วามสามารถ ใช้ปัญญาชี้นาและเป็นต้นแบบทีด่ ีแก่ผ้อู ื่นหรือ
สงั คม
ผู้นา คือ "บคุ คลที่มีความร้คู วามสามารถในการใชป้ ัญญาชี้นา เพือ่ ปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์
บรรลตุ ามเป้าหมายและวตั ถุประสงค์ ต่อองค์กรและตอ่ ตนเอง โดยอาศยั เทคโนโลยี หรือนวัตกรรมให้
เกิดการเปลีย่ นแปลงไปส่ใู นทิศทางทีพ่ ึงประสงค์"
ผ้นู า ได้มาโดยศักยภาพ ความสามารถเฉพาะตัว ไม่จาเป็นต้องอาศยั ตาแหน่ง กฎระเบียบ
อาศยั ความคิดสร้างสรรค์เปน็ แบบอย่างให้ผู้อืน่ ได้ หรอื กล่าวได้ว่า "ผ้นู าไมจ่ าเปน็ ต้องเป็นผ้บู รหิ าร"
ภาวะผูน้ า หมายถึง สภาพหรือลักษณะที่แสดงออกของผ้นู า ซึง่ เป็นผลรวมของบคุ ลิกภาพ
เช่น ลกั ษณะทางกาย ทางอารมณ์ ทางสงั คมและมนษุ ย์สัมพนั ธ์ เป็นต้น
ผ้นู าทางวิชาการ
บหุ งา วชิระศกั ดิม์ งคล (ออนไลน์) ได้กล่าวไว้ว่า ผ้นู า คือ "บุคคลทมี่ ีความรู้ความสามารถใน
การใช้ปัญญาชี้นา เพือ่ ปฏิบัติงานใหเ้ กิดประโยชน์ บรรลตุ ามเป้าหมายและวตั ถปุ ระสงค์ ต่อองค์กร
และต่อตนเอง โดยอาศัยเทคโนโลยี หรือนวตั กรรมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปส่ใู นทิศทางทีพ่ ึงประสงค์"
ผ้นู า ได้มาโดยศักยภาพ ความสามารถเฉพาะตวั ไม่จาเป็นต้องอาศยั ตาแหน่ง กฎระเบียบอาศัย
ความคิดสร้างสรรค์เปน็ แบบอย่างให้ผู้อื่นได้ หรือกล่าวได้ว่า "ผ้นู าไม่จาเป็นต้องเปน็ ผ้บู รหิ าร" ภาวะ
ผ้นู า หมายถงึ สภาพหรือลกั ษณะทีแ่ สดงออกของผ้นู า ซึ่งเป็นผลรวมของบคุ ลิกภาพ เช่น ลักษณะทาง
กาย ทางอารมณ์ ทางสงั คมและมนษุ ยสมั พันธ์ เปน็ ตน้ ผ้นู าทางการศึกษา หมายถึง บุคคลทมี่ ีความรู้
ความสามารถใช้ปัญญาชนี้ า และเป็นตน้ แบบทีด่ ้านการศึกษาองค์ประกอบของภาวะผ้นู าทางวิชาการ
บหุ งา วชิระศกั ดิม์ งคล (ออนไลน์) ได้กล่าวไว้ว่า องค์ประกอบของภาวะผ้นู าทางวิชาการน้นั
จะต้องประกอบด้วย
1. คุณลักษณะ เปน็ ผ้มู ีความรู้ ความสามารถ มีทกั ษะการพดู มีบุคลิกลกั ษณะทดี่ ี
2. พฤติกรรม มีลกั ษณะเดน่ ชดั ทางพฤติกรรม เช่น พูดดี, มีมนษุ ยสัมพนั ธ์ดี เป็นตน้
2
3. สถานการณ์ ทาให้เกิดภาวะผ้นู าได้ เช่น เรือ่ งปญั หาพลังงาน, ปญั หาสงคราม, จะส่งผล
ก่อให้เกิด การเปลีย่ นแปลง
4. ความสอดคล้องระหว่างพฤติกรรมผ้นู ากับสถานการณ์
จากความหมายของภาวะผ้นู าทางวิชาการสรปุ ได้ว่าภาวะผ้นู าทางวิชาการ หมายถึง
ความสามารถของผ้บู รหิ ารโรงเรียนในการเข้าใจเรือ่ งมาตรฐานและหลักสูตร ซึง่ เปน็ หวั ใจของการ
พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา เพือ่ ให้สามารถช่วยเหลือให้คาแนะนาแกค่ รู และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนการตดั สินใจในทิศทางทีถ่ กู ต้อง เพือ่ การจดั ทา หลักสูตรสถานศกึ ษาเป็นไปอย่างมีคุณภาพ
และเหมาะสมกับบรบิ ทความต้องการของ โรงเรียน นอกจากน้นั ผ้บู ริหารโรงเรียนจะต้องมีความร้คู วาม
เข้าใจเรื่องระบบ ตรวจสอบและประกนั คุณภาพเปน็ ข้อมูลในการตัดสินใจและปรบั ปรงุ การจดั
การศึกษาเพื่อให้บรรลุผลตามทีค่ าดหวงั
ข้นั ตอนการพัฒนาภาวะผ้นู าทางวิชาการ
1. ศึกษาสารวจตนเอง เพื่อให้เข้าใจตนเองอย่างลึกซึ้ง ใช้วิธีการสารวจ วิเคราะห์ตนเอง และ
การรบั ฟังความคิดเห็นจากผ้ใู กล้ชิดทีห่ วังดี สรปุ ให้เห็น จดุ แขง็ จดุ อ่อนทีค่ วรพฒั นาภายใต้นบริบทของ
การจดั การศกึ ษา และอดุ มคติ อดุ มการณ์ของตน
2. เลือกคณุ สมบตั ิ พฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่ง เพียงพฤติกรรมเดยี วในการพฒั นาแต่ละครั้ง
ควรเลือกจากพฤติกรรมคณุ ลักษณะทีส่ ามารถเปลีย่ นแปลงได้ง่าย และเห็นผลอย่างเปน็ รูปธรรมก่อน
เพื่อเป็นกาลังใจในการพัฒนาในเวลาต่อไป 39
3. กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ อนสุ นธิจากข้อ 2 ตอบคาถามให้ได้ว่า พฤติกรรม/คณุ ลกั ษณะทตี่ น
ต้องการเปลีย่ นแปลงนน้ั จะทาให้ชีวติ มีจดุ ด้อยอย่างไร และถ้าพฒั นาแล้วจะส่งผลดีอย่างไร ต่อภาวะผู้
นาทางวิชาการของเรา แล้วนามาเขียนเปน็ วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลง จะได้ยึดเปน็ เป้าหมายใน
การพฒั นาตน และใช้เปน็ พลงั ภายใน ทจี่ ะผลักดันใหบ้ รรลเุ ป้าหมายได้ต่อไป
4. หาความรู้ในการพัฒนาพฤติกรรม/คณุ ลกั ษณะเหล่าน้ัน ด้วยการค้นคว้าตาราปรึกษาผ้รู ู้
เลือกใช้เทคนคิ วิธี ทีเ่ หมาะสมกับตัวเรา ทั้งความเข้มแขง็ ของจิตใจ บริบทแวดล้อม และจดั ทา
แผนปฏิบตั ิการทีส่ ามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนือ่ ง ให้ระบุวนั เวลาที่จะปฏิบตั ิ ช่วงเวลาทีจ่ ะใช้ท้งั หมด
3
วิธีการทีก่ าหนดข้นั ตอนไว้ชดั เจน กาหนดผลที่คาดว่าจะได้รับ กาหนดการสงั เกตผลทีเ่ กิดขึ้น เพื่อใช้ใน
การประเมินเปน็ ระยะ
5. ปฏิบัติการตามแผนทกี่ าหนดไว้บนั ทึกผลทีเ่ กิดขึ้นทกุ ครั้งทีป่ ฏิบตั ิ หากพบผลการ
เปลีย่ นแปลงในทางที่ดี ย่อมเปน็ กาลงั ใจให้ทาอย่างต่อเนื่องต่อไป หากมีผลไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นให้ปรบั
แผนทีช่ ่วยให้บรรลุผลได้ดีขึ้น
6. เมือ่ ประสบผลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์หาทางเผยแพร่นวตั กรรมที่ค้นพบได้ด้วยตนเองเพื่อ
เปน็ ตวั อย่างแก่ผ้สู นใจต่อไป ในส่วนตวั กค็ วรเลือกพฒั นาตนในด้านอืน่ ๆด้วยหลักการกระบวนการ
ดังกล่าวอย่างต่อเนือ่ ง เพราะงานพฒั นาไม่มีวนั จบ