The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สาระความรู้พื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thatchakorn.yulin, 2020-06-13 06:11:52

วัสดุศาสตร์ 1 (พว12011)

สาระความรู้พื้นฐาน

ชดุ วิชา วสั ดศุ าสตร์ 1

รายวชิ าเลอื กบังคับ

ระดับประถมศึกษา
รหสั พว12011
หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร



คำนำ

ชุดวิชาวัสดุศาสตร์ 1 รหัสวิชา พว12011 ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษานี้ ประกอบด้วยเนื้อหา
วัสดุในชีวิตประจาวัน สมบัติของวัสดุ การเลือกใช้และผลกระทบจากการใช้วัสดุและการจัดการ
และกาจัดวัสดุที่ใช้แล้ว เน้ือหาความรู้ดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้
ความเข้าใจเก่ียวกับวัสดุและการเลือกใช้วัสดุในชีวิตประจาวัน ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิด
จากการใช้วัสดุ ตลอดจนสามารถนาความรู้ไปใช้ในการจัดการและกาจัดวัสดุที่ใช้แล้ว
ในชีวิตประจาวันของตนเอง และชมุ ชน

สานักงาน กศน. ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ที่ให้การ
สนับสนุนองค์ความรู้ประกอบการนาเสนอเนื้อหา รวมทั้งผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดทา
ชุดวิชา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดวิชาน้ี จะเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียน กศน. และสร้างความ
ตระหนักในการจดั การวสั ดุทใ่ี ชแ้ ล้วอย่างรูค้ ุณค่าตอ่ ไป

สานกั งาน กศน.



คำแนะนำกำรใช้ชดุ วชิ ำ

ชุดวชิ าวัสดุศาสตร์ 1 รหสั วิชา พว12011 ใช้สาหรับนกั ศกึ ษาหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา แบง่ ออกเปน็
2 สว่ น คอื

ส่วนที่ 1 โครงสร้างของชดุ วชิ า แบบทดสอบกอ่ นเรียน โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้
เน้ือหาสาระ กิจกรรมเรยี งลาดับตามหนว่ ยการเรียนรู้ และแบบทดสอบหลงั เรียน

สว่ นท่ี 2 เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม ประกอบด้วย เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและ
หลงั เรยี น เฉลยและแนวตอบกิจกรรมท้ายหนว่ ยการเรยี น เรยี งลาดับตามหน่วยการเรียนรู้

วธิ ีกำรใชช้ ดุ วชิ ำ

ใหผ้ ู้เรียนดาเนนิ การตามข้ันตอน ดังนี้
1. ศึกษารายละเอยี ดโครงสร้างชุดวชิ าโดยละเอียด เพ่อื ให้ทราบว่าผเู้ รยี นตอ้ งเรยี นรู้
เน้ือหาในเรอื่ งใดบา้ งในรายวิชาน้ี
2. วางแผนเพอ่ื กาหนดระยะเวลาและจดั เวลาท่ีผู้เรยี นมีความพรอ้ มทจี่ ะศึกษาชุดวิชา
เพื่อให้สามารถศึกษารายละเอยี ดของเนอื้ หาไดค้ รบทุกหนว่ ยการเรียนรู้ พร้อมทากิจกรรมตามท่ี
กาหนดใหท้ ันก่อนสอบปลายภาค
3. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนของชดุ วิชาตามทกี่ าหนด เพอ่ื ทราบพนื้ ฐานความรู้เดิมของ
ผู้เรียน โดยให้ทาลงในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้และตรวจสอบคาตอบจากเฉลย
แบบทดสอบ เฉลยและแนวตอบกจิ กรรมท้ายหนว่ ยการเรยี น
4. ศึกษาเนอ้ื หาในชุดวชิ าในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรอู้ ย่างละเอียดให้เข้าใจ ท้ังในชุดวชิ า
และส่อื ประกอบ (ถ้ามี) และทากจิ กรรมทก่ี าหนดไวใ้ หค้ รบถว้ น
5. เมื่อทากิจกรรมเสร็จแต่ละกิจกรรมแล้ว ผู้เรียนสามารถตรวจสอบคาตอบได้จาก
เฉลยและแนวตอบกิจกรรมท้ายหน่วยการเรียน หากผู้เรียนตรวจสอบแล้วมีผลการเรียนรู้
ไม่เป็นไปตามท่ีคาดหวัง ให้ผู้เรียนกลับไปทบทวนเน้ือหาสาระในเร่ืองนั้นซ้าจนกว่าจะเข้าใจ
แลว้ กลบั มาทากจิ กรรมน้นั ใหม่



6. เม่ือศึกษาเนื้อหาสาระครบทุกหน่วยแล้ว ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนและ
ตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบหลังเรียนท่ีให้ไว้ในท้ายเล่ม เพื่อประเมินความรู้หลังเรียน
หากผลไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ให้ผู้เรียนกลับไปทบทวนเน้ือหาสาระในเรื่องน้ันให้เข้าใจอีก
ครั้งหนึ่ง แล้วกลับมาทาแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจให้คะแนนตนเองอีกคร้ัง ผู้เรียนควร
ทาแบบทดสอบหลังเรียนให้ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของแบบทดสอบท้ังหมด
(หรือ 24 ข้อ) เพื่อให้ม่ันใจว่าจะสามารถสอบปลายภาคผา่ น

7. หากผเู้ รียนไดท้ าการศกึ ษาเน้ือหาและทากจิ กรรมแลว้ ยังไม่เขา้ ใจ ผ้เู รยี นสามารถ
สอบถามและขอคาแนะนาได้จากครู ผรู้ ู้ หรือแหลง่ คน้ ควา้ อื่น ๆ เพ่ิมเติม

กำรศึกษำคน้ ควำ้ เพ่มิ เตมิ

ผู้เรียนอาจศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือเรียนรายวิชา
พ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 คมู่ ือการจดั การขยะมลู ฝอยชมุ ชนอย่างครบวงจร คมู่ ือการคัดแยกขยะ
มลู ฝอยและนากลบั มาใช้ใหม่ วารสาร แผน่ พับประชาสมั พันธ์ อินเทอร์เนต็ ผ้รู ู้ และ
แหล่งเรยี นรู้ในชมุ ชน เป็นต้น

กำรวัดผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียน

การวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หลักสูตรรายวชิ าเลือกบังคับ “วสั ดุศาสตร์ 1” เปน็ ดังน้ี
1. ระหว่างภาค วัดผลจากการทากิจกรรมหรอื งานทไี่ ด้รับมอบหมายระหว่างเรียน
2. ปลายภาค วัดผลจากการทาขอ้ สอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาค



โครงสรา้ งชดุ วชิ า พว12011 วัสดศุ าสตร์ 1
ระดับประถมศึกษา

สาระการเรยี นรู้
สาระความรพู้ ้นื ฐาน

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ 2.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะพ้ืนฐานเกยี่ วกบั คณติ ศาสตร์

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
มคี วามรู้ความเข้าใจ ทักษะและเห็นคุณคา่ เก่ียวกบั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยี ส่ิงมีชีวติ ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในทอ้ งถ่นิ สาร แรง
พลงั งาน กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลกและดาราศาสตร์ มีจิตวทิ ยาศาสตรแ์ ละนาความรไู้ ป
ใช้ประโยชนใ์ นการดาเนินชวี ิต

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั

1. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับวัสดุในชีวิตประจาวัน สมบัติของวัสดุ การเลือกใช้
และผลกระทบจากการใช้วสั ดุ และการกาจดั วัสดุทใ่ี ชแ้ ล้ว

2. ทดลองสมบตั ิของวัสดุชนิดต่าง ๆ ได้
3. ตระหนักถึงผลกระทบท่เี กิดจากการใช้วสั ดใุ นชวี ิตประจาวัน



สรปุ สาระสาคญั

1. วัสดุศาสตร์ เป็นการศึกษาองค์ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับวัสดุ ที่นามาใช้ประกอบ
กันเป็นช้ินงาน ตามการออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผัสได้ โดยวัสดุแต่ละชนิดจะมีสมบัติ
เฉพาะตัว ได้แก่ สมบัติทางฟิสิกส์ สมบัติทางเคมี สมบัติทางไฟฟ้า และสมบัติเชิงกล ท้ังนี้ วัสดุ
ที่เราใชห้ รือพบเห็นในชีวิตประจาวัน สามารถจาแนกประเภทตามแหล่งที่มาของวัสดุ คือ วัสดุ-
ธรรมชาติ และวัสดุสงั เคราะห์

2. วัสดุแต่ละชนิดท่ีนามาทาเป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ บางอย่างทาจากวัสดุชนิด
เดียวกัน บางอย่างทาจากวัสดุต่างชนิดกัน ซ่ึงวัสดุแต่ละชนิดจะมีสมบัติบางอย่างคล้ายคลึงกัน
และมีสมบตั บิ างอยา่ งที่แตกต่างกัน การศกึ ษาสมบัติของวัสดุแต่ละชนิด ประกอบด้วย ความแข็ง
ความเหนียว ความยืดหยุ่น การนาความร้อน การนาไฟฟ้าและความหนาแน่นของวัสดุ
การศึกษาสมบัติของวัสดุ ดังกล่าวทาให้สามารถนาวัสดุไปใช้ประโยชน์ได้ตามความเหมาะสม
กับการใชง้ าน

3. ผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่อ
ส่ิงแวดล้อมน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ โดยมี ฉลากส่ิงแวดล้อมเป็นเคร่ืองมือ
แยกผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมออกจากผลิตภัณฑ์ทั่วไปในท้องตลาด ปัจจุบัน
เทคโ นโ ลยีได้ เข้ ามามีบทบาทและ ความจาเป็นต่ อก า รด ารงชีวิต ข องมนุษ ย์เป็นอย่างมาก
ทง้ั ภายในบ้านและภายนอกบ้าน เพ่ืออานวยความสะดวกสบายในชีวิตประจาวัน แต่เทคโนโลยี
เหล่านั้นก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ หากละเลยและไม่คานึงถึงการใช้
วสั ดุหรอื ผลติ ภณั ฑ์อยา่ งรคู้ ุณค่า

4. การจดั การวสั ดทุ ่ีใช้แลว้ ด้วยหลกั 3R เป็นแนวทางปฏิบตั ิในการลดปรมิ าณวสั ดุ
ที่ใชแ้ ลว้ ในครัวเรือน โรงเรียน และชุมชน โดยใช้หลกั การ การใชน้ ้อยหรือลดการใช้ (Reduce)
การใช้ซ้า (Reuse) และการผลติ ใชใ้ หม่ (Recycle) เพื่อลดปญั หาท่ีเกิดขึน้ จากการใชว้ ัสดุ
ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้มีปริมาณวัสดุท่ีใช้แล้วเพ่ิมมากข้ึน ทั้งน้ีเนื่องจากความ
เจรญิ เตบิ โตทางด้านเศรษฐกิจ การเพ่มิ ขน้ึ ของจานวนประชากร ตลอดจนพฤติกรรมการอุปโภค
บริโภคของคนที่เร่ิมเปลี่ยนไป ส่งผลให้ต้องศึกษาวิธีการกาจัดวัสดุท่ีใช้แล้วให้ถูกต้องตามหลัก
สขุ าภิบาล เพอ่ื ลดปัญหาและผลกระทบทีเ่ กดิ ขน้ึ ต่อชมุ ชนและสงั คม



ขอบข่ายเน้ือหา จานวน 10 ชั่วโมง
จานวน 30 ชว่ั โมง
หนว่ ยที่ 1 วสั ดุในชวี ิตประจาวัน จานวน 20 ช่ัวโมง
หน่วยท่ี 2 สมบัติของวสั ดุ จานวน 20 ชั่วโมง
หนว่ ยที่ 3 การเลือกใชแ้ ละผลกระทบจากการใช้วัสดุ
หนว่ ยท่ี 4 การจัดการและกาจัดวสั ดุที่ใชแ้ ล้ว

การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้

1. บรรยาย
2. ศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเองจากส่ือที่เกยี่ วข้อง
3. พบกลุ่ม ทาการทดลอง อภปิ ราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ และสรปุ การเรียนรู้
ทไี่ ดล้ งในเอกสารการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง (กรต.)

สอ่ื ประกอบการเรียนรู้

1. ส่ือเอกสาร ได้แก่
1.1 ชดุ วิชา วสั ดศุ าสตร์ 1 รหสั วิชา พว12011
1.2. สมดุ บันทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ า วัสดุศาสตร์ 1

2. สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่
2.1 เวป็ ไซต์
2.2 หนงั สอื เรียนอิเล็กทรอนกิ ส์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
2.3 CD,DVD ท่เี ก่ียวขอ้ ง

3. แหล่งเรียนรูใ้ นชุมชน ได้แก่
3.1 มมุ หนงั สือ กศน.ตาบล
3.2 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอ
3.3 ห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั
3.4 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา
3.5 เทศบาลและสานกั งานสิ่งแวดล้อม



จานวนหนว่ ยกิต

ระยะเวลาเรยี นตลอดหลักสตู ร จานวน 80 ช่วั โมง รวม 2 หนว่ ยกติ

กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเลม่ รายวชิ า
วสั ดุศาสตร์ 1

2. ศึกษาเน้ือหาสาระในหนว่ ยการเรียนรู้ทกุ หน่วย
3. ทากจิ กรรมตามทก่ี าหนดและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยและแนวตอบในท้าย
เลม่ รายวชิ าวัสดศุ าสตร์ 1
4. ทาแบบทดสอบหลงั เรียนและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายรายวิชา
วสั ดุศาสตร์ 1

การวดั และประเมินผล

1. ประเมินความกา้ วหน้าผเู้ รียน จานวน 60 คะแนน ไดแ้ ก่
1.1 แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
1.2 การสังเกต การซักถาม ตอบคาถาม
1.3 ตรวจกจิ กรรมในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้ (กรต.)

2. ประเมนิ ผลรวมผู้เรยี น จานวน 40 คะแนน โดยการทดสอบปลายภาคเรยี น
จานวน 40 คะแนน

สารบญั ซ

คาํ นาํ หนา้
คําแนะนาํ การใช้ชดุ วิชา ก
โครงสร้างชดุ วิชา ข
สารบญั ง
หนว่ ยที่ 1 วัสดุในชีวิตประจาํ วัน ซ
1
เร่อื งที่ 1 ความหมายของวสั ดุศาสตร์ 2
เรอ่ื งท่ี 2 ประเภทของวสั ดุ 4
เรอื่ งท่ี 3 ประโยชนข์ องวัสดุ 5
หน่วยท่ี 2 สมบตั ิของวสั ดุ 12
เรื่องที่ 1 ความแข็ง 14
เรอ่ื งท่ี 2 ความเหนยี ว 15
เร่อื งท่ี 3 ความยดื หยุ่น 18
เรอื่ งท่ี 4 การนําความร้อน 20
เรอื่ งท่ี 5 การนําไฟฟา้ 21
เร่ืองที่ 6 ความหนาแนน่ 22
หน่วยท่ี 3 การเลือกใชแ้ ละผลกระทบจากการใชว้ สั ดุ 25
เรื่องที่ 1 การเลือกใชว้ ัสดทุ ี่เป็นมติ รต่อสงิ่ แวดลอ้ ม 26
เรือ่ งท่ี 2 ผลกระทบจากการใชว้ สั ดุในชีวิตประจําวนั 31
หน่วยที่ 4 การจดั การและกําจัดวัสดทุ ใี่ ชแ้ ลว้ 40
เรื่องท่ี 1 การจดั การวสั ดทุ ี่ใชแ้ ล้วดว้ ยหลกั 3R 41
เรือ่ งท่ี 2 การกําจดั และการทําลาย 46
บรรณานุกรม 58
คณะผจู้ ัดทาํ 67



หน่วยที่ 1 วสั ดุในชวี ิตประจําวนั

สาระสําคญั

วัสดุศาสตร์ เป็นการศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุ ที่นํามาใช้ประกอบกัน
เป็นชิ้นงาน ตามการออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผัสได้ โดยวัสดุแต่ละชนิดจะมีสมบัติ
เฉพาะตัว ได้แก่ สมบัติทางฟิสิกส์ สมบัติทางเคมี สมบัติทางไฟฟ้า และสมบัติเชิงกล ท้ังน้ี วัสดุ
ที่เราใช้หรือพบเห็นในชีวิตประจําวัน สามารถจําแนกประเภทตามแหล่งที่มาของวัสดุ ได้แก่
วสั ดธุ รรมชาติ และวสั ดุสังเคราะห์

ตัวชวี้ ดั

1. อธิบายความหมายของวัสดุศาสตรไ์ ด้
2. จําแนกประเภทของวสั ดไุ ด้
3. บอกประโยชน์ของวสั ดุท่ีใชใ้ นชีวติ ประจําวนั ได้

ขอบขา่ ยเนอ้ื หา
1. ความหมายของวสั ดศุ าสตร์
2. ประเภทของวสั ดุ
3. ประโยชน์ของวสั ดุ

เวลาท่ใี ช้ในการศกึ ษา
ใชเ้ วลาเรยี น โดยศึกษาจากเอกสารและสอื่ ต่าง ๆ ฝึกปฏิบตั กิ จิ กรรม และรวมกลุ่ม

เพอื่ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ จาํ นวน 10 ช่ัวโมง

ส่อื การเรยี นรู้
1. ชดุ วชิ าวสั ดุศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา
2. ศึกษาคน้ คว้าจากอนิ เตอร์เนต็
3. ศึกษาคน้ ควา้ จากหนังสือในหอ้ งสมุดประชาชน



หน่วยที่ 1
วัสดุในชีวิตประจาํ วนั

เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของวสั ดศุ าสตร์

วัสดุศาสตร์ เป็นการศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุ ที่นํามาใช้ประกอบกัน
เป็นช้ินงาน ตามการออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผัสได้ โดยวัสดุแต่ละชนิดจะมีสมบัติ
เฉพาะตวั ไดแ้ ก่ สมบัติทางฟสิ ิกส์ สมบตั ทิ างเคมี สมบตั ิทางไฟฟา้ และสมบัติเชงิ กล

ท้ังนี้ วัสดุ ท่ีเราใช้หรือพบเห็นในชีวิตประจําวัน สามารถจําแนกตามแหล่งท่ีมาของ
วัสดุ ได้แก่ วัสดุธรรมชาติ แบ่งออกเป็น วัสดุธรรมชาติที่ได้จากส่ิงมีชีวิต เช่น ไม้ เปลือกหอย
ขนสตั ว์ ใยไหม ใยฝา้ ย หนังสตั ว์ ยางธรรมชาติ วัสดุธรรมชาตทิ ี่ได้จากสิ่งไมม่ ชี ีวิต เชน่
ดินเหนียว หินปูน ศิลาแลง กรวด ทราย เหล็ก และ วัสดุสังเคราะห์ ซ่ึงเป็นวัสดุท่ีเกิดจาก
กระบวนการทางเคมี เชน่ พลาสติก เสน้ ใยสังเคราะห์ ยางสงั เคราะห์ โฟม กระเบ้ือง เป็นตน้

 

 

ตวั อย่างวัสดุศาสตร์ท่ี  

  ใชใ้ นชีวติ ประจําวัน

 
 

ภาพที่ 1.1 ตวั อย่างวสั ดุทใี่ ช้ในชวี ติ ประจําวัน



กล่าวโดยสรุป วัสดุศาสตร์มีความผูกพันกับการดําเนินชีวิตของมนุษย์มาเป็นเวลา
ช้านาน หรืออาจกล่าวได้ว่า “วัสดุศาสตร์อยู่รอบตัวเรา” ซ่ึงวัตถุต่าง ๆ ล้วนประกอบขึ้นจาก
วัสดุทั้งสิ้น และวัสดุแต่ละประเภทจะมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกันออกไป ข้ึนอยู่กับการ
นําไปใช้ประโยชน์ในแต่ละประเภทงาน ซึ่งปัจจุบันมีการพัฒนาสมบัติของวัสดุให้สามารถ
นําไปใชง้ านได้อยา่ งหลากหลาย เพ่อื อํานวยความสะดวกต่อการดาํ เนนิ ชวี ิตของมนุษยม์ ากขึ้น



เรอ่ื งที่ 2 ประเภทของวสั ดุ

ในชีวิตประจําวันมีการนําวัสดุมาทําส่ิงของเคร่ืองใช้มากหมาย เช่น ผ้า ทําเป็นเสื้อ
กระโปรง ผ้าพนั คอ ตุก๊ ตา หนัง นาํ มาทาํ เป็นกระเป๋า โซฟา เหล็ก สามารถทํารั้ว สแตนเลส
ใช้ทําเป็นหม้อ ช้อมส้อม พลาสติก ใช้ทําดอกไม้ เก้าอี้ กล่องใส่ของ กล่องดินสอ กล่องสบู่
สิ่งของเคร่ืองใช้อยู่ในชีวิตประจําวัน อาจทํามาจากวัสดุชนิดเดียว เช่น ยางลบทําจากยาง
บางอย่างทาํ มาจากวัสดุหลายชนิด เช่น กระทะทํามาจากวัสดุ 2 ชนิด คือ สแตนเลสกับพลาสติก
หรือเหล็กกบั ไม้ เป็นต้น

ประเภทของวสั ดุ
วสั ดุรอบ ๆ ตัวเราทใี่ ช้ในชวี ิตประจําวัน แบง่ ออกตามลกั ษณะที่มาของวัสดุ ดังน้ี
วัสดุธรรมชาติ ไดม้ าจากสิ่งท่ีมีอยู่ในธรรมชาติทั้งจากส่ิงมีชีวิต เช่น ไม้ เปลือกหอย
ขนสตั ว์ ใยไหม ใยฝา้ ย หนังสัตว์ ยางธรรมชาติ และจากส่ิงไมม่ ีชีวติ เช่น ดนิ เหนียว หนิ ปนู
ศิลาแลง กรวด ทราย เหลก็ ซงึ่ อาจนํา มาใชโ้ ดยตรงหรือนาํ มาแปรรูป เพื่อใหเ้ หมาะกับ
การใช้งาน

ภาพที่ 1.2 ตัวอย่างวัสดธุ รรมชาติ
วัสดุสังเคราะห์ เป็นวัสดุท่ีเกิดจากกระบวนการทางเคมี เช่น พลาสติก เส้นใย
สังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ โฟม วัสดุท้ังหลายเหล่าน้ีนํามาใช้ทดแทนวัสดุธรรมชาติ ซึ่งอาจมี
ปริมาณไม่เพยี งพอหรือคุณภาพไม่เหมาะสม

ภาพท่ี 1.3 ตัวอยา่ งวสั ดุสงั เคราะห์

ท่ีมา : http://118.174.133.140



เร่ืองท่ี 3 ประโยชน์ของวสั ดุ

ในชีวิตประจําวันมีการนําวัสดุ มาทําเป็นส่ิงของเคร่ืองใช้ต่าง ๆ มากมาย เพื่อ
อํานวยความสะดวกในการใช้สอย ซึ่งวัสดุเหล่านั้น ล้วนมีลักษณะท่ีแตกต่างกันออกไป วัสดุมี
ทั้งที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ไม้ หิน ดิน ทราย เหล็ก ขนสัตว์ และเส้นใยพืช และวัสดุท่ีมนุษย์
สร้างขึ้นเรียกว่า วัสดุสังเคราะห์ ซ่ึงสร้างข้ึนด้วยกระบวนการทางเคมี เพ่ือใช้ทดแทนวัสดุจาก
ธรรมชาติท่ีขาดแคลน เช่น พลาสติก โฟม เส้นใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ เป็นต้น การนําวัสดุ
ต่าง ๆ เหลา่ น้ัน มาใชป้ ระโยชนจ์ งึ จาํ เป็นต้องเลือกใช้วัสดทุ ่มี ีสมบตั ิเหมาะสมกับการใชส้ อยดว้ ย

3.1 การเลือกใช้วสั ดใุ นชวี ติ ประจาํ วนั
การนาํ วสั ดไุ ปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจําวันจาํ เปน็ ตอ้ งเลือกใช้วัสดทุ มี่ สี มบัติ

เหมาะสมกับการใชง้ าน ดงั น้ี

1. วัสดทุ ี่มคี วามยืดหยุ่น
เชน่ ยาง นยิ มนํามาใช้ทาํ ของเล่นต่าง ๆ เช่น

ต๊กุ ตา ลูกบอล นอกจากนยี้ ังนํามาทําของใช้ต่าง ๆ เช่น ทาํ ยาง
รถยนต์ ยางวงสาํ หรับใชร้ ัดสง่ิ ของ สายยาง ยางยืด เปน็ ต้น

2. วสั ดุที่มีความแขง็
เชน่ โลหะชนดิ ต่าง ๆ นํามาทาํ โครงสรา้ ง

อาคาร เครือ่ งบนิ รถยนต์ อาวธุ ตา่ ง ๆ เครื่องมอื ชา่ ง เชน่ ประแจ
ไขควง นอต เปน็ ตน้

3. วัสดทุ มี่ ีความเหนยี ว
เชน่ โลหะชนิดต่าง ๆ ใชท้ าํ โซ่ รอก เส้นลวด

มุ้งลวด เสน้ เอ็น นํามาทําสายเบด็ ตกปลา เอน็ ไม้เทนนสิ
เอน็ ไม้แบดมินตัน เปน็ ตน้

4. วสั ดทุ ี่มสี มบัตนิ าํ ความรอ้ น
ไดแ้ ก่ โลหะต่าง ๆ ใช้ทาํ ภาชนะหุงตม้ เชน่

หมอ้ กระทะ กาตม้ นํ้า เปน็ ตน้ ส่วนวัสดทุ เ่ี ปน็ ฉนวนความร้อน
เช่น พลาสติก ไม้ ใช้ทําสว่ นประกอบของภาชนะหงุ ต้ม
ในสว่ นทีเ่ ปน็ ดา้ มจบั



5. วสั ดทุ ม่ี สี มบัตนิ าํ ไฟฟ้า
ไดแ้ ก่ โลหะต่าง ๆ เช่น ทองแดง

ทองคาํ อะลมู เิ นยี ม ใชท้ าํ สายไฟ ปลั๊กไฟ ส่วนวสั ดทุ เ่ี ปน็
ฉนวนไฟฟ้า เชน่ ไม้ ยาง พลาสติก ใช้ทาํ อปุ กรณเ์ พอ่ื ป้องกัน
ไฟฟ้ารัว่ หรอื ไฟฟ้าดูด

ภาพที่ 1.4 การเลอื กใชว้ ัสดุที่มีสมบัติเหมาะสมกบั
การใชง้ าน

3.2 วัสดใุ นชีวติ ประจําวนั

ไม้

เปน็ วัสดทุ ไ่ี ด้จากไมย้ ืนตน้ ซงึ่ เจรญิ เติบโตสงู กวา่ 6 เมตร อาจไดจ้ าก

ลาํ ตน้ หรือกิ่งกา้ นสาขาของลาํ ตน้ ก็ได้ เราสามารถ

แบง่ ได้เปน็ 2 กลมุ่ คือ ไม้เน้อื แขง็ และ

ไมเ้ น้อื ออ่ น

1. ไมเ้ น้ือแข็ง คอื ไม้ทม่ี คี วาม

แขง็ แรงทนทาน ทําการตดั หรือเล่ือยไดย้ าก เช่น

ไม้สกั ไมม้ ะขาม ไมช้ ิงชัน ไมม้ ะม่วง นยิ มนํามา

ใชท้ าํ เคร่อื งเรอื น เครือ่ งมอื และเสาบา้ น

2. ไมเ้ นอื้ อ่อน คือ ไมท้ ม่ี ี ภาพท่ี 1.5 บา้ นเรอื นไทย
ความหนาแนน่ ตาํ่ น้ําหนกั เบา รบั นา้ํ หนัก
ไดไ้ มค่ อ่ ยดี ทาํ การตดั เลอ่ื ย ไสกบ หรอื ที่มา : http://www.bloggang.com

แกะสลกั ตกแตง่ ไดง้ ่าย เช่น ไม้ฉําฉา ไมก้ ะบาก ไมย้ คู าลิปตสั ไมย้ างพารา นยิ มนาํ มาใชท้ าํ

เฟอรน์ เิ จอร์ ของเด็กเล่น ของใชใ้ นครัวเรอื น กรอบรปู ลังใสผ่ ลไม้ เป็นต้น


กระดาษ
เปน็ วสั ดทุ ท่ี าํ ขึ้นจากไม้เนอ้ื ออ่ นใชท้ าํ ของใช้ตา่ ง ๆ มากมาย เชน่ สมุด หนงั สอื
กระดาษชําระ ถุงใส่ของ กลอ่ งใส่ของ เป็นต้น

ภาพที่ 1.6 ผลิตภัณฑท์ ไ่ี ด้จากการแปรรปู ไมเ้ ป็นกระดาษ
ยาง
เป็นวัสดุท่ีมนุษย์ค้นพบประโยชน์จากน้ํายางที่ได้จากต้นยางพารา โดยต้นยางพารา
จะผลติ นํ้ายางเรียกว่า “ลาเทกซ์” โดยยางพารา 1 ตน้ จะใหน้ ้ํายาง นาน 25 – 30 ปี ขนาดของ
ตน้ ยางพาราที่พร้อมจะกรีดเอานํ้ายางน้ันต้องมีความยาวรอบต้นไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตรและ
วัดความสูงจากพื้นดิน 150 เซนติเมตร น้ํายางท่ีกรีดได้จะต้องนํามาทําเป็นแผ่นโดยผสมกับ
กรดนํา้ ส้มผสมกับนํ้าใหเ้ จอื จาง เทลงในนาํ้ ยางตามอัตราส่วนท่ีกําหนดเพ่อื ใหน้ ้ํายางแขง็ ตวั
จบั กนั เปน็ ก้อนจากนน้ั นาํ ไปรดี เป็นแผน่ ผ่ึงให้แห้งแลว้ นําไปรมควนั เก็บไว้ ของใช้หลายอยา่ ง
ทําขน้ึ จากยาง เชน่ ยางรัดของ ยางลบ ถุงมอื ยาง สายยาง พนื้ รองเท้า

ภาพที่ 1.7 แผน่ ยางทไ่ี ดจ้ ากต้นยางพาราและตวั อย่างผลติ ภณั ฑท์ ี่ทาํ จากยาง

ทม่ี า : http://118.174.133.140/



ผ้าทอหรือส่ิงทอ

เปน็ วสั ดทุ ่ีมนุษย์ทําขึ้นจากการป่ันเส้นใยให้เป็นเสน้ และถกั ทอเป็นผา้ เพ่อื นาํ ไป

ตัดเย็บทาํ เป็นเสื้อผ้าและของใชต้ ่าง ๆ เชน่ ผา้ หม่ ผ้าคลมุ เตยี ง ผ้าเช็ดหนา้ ผ้ามา่ น ถุงใส่ของ

กระเป๋า หมุ้ เบาะรองนัง่ เปน็ ตน้

ตวั อย่างเส้นใยทไ่ี ด้จากพชื เช่น ฝ้าย ลนิ นิ ปอ

ปา่ นนุน่ และเสน้ ใยที่ได้จากสตั ว์ เชน่ ขนแกะ ใยไหม

1. เส้นใยฝา้ ย ไดจ้ ากดอกของต้นฝ้าย เม่อื นํามา

ถกั ทอเปน็ ผา้ จะได้ผ้าทมี่ ีเนอื้ นมุ่ ผวิ ของผา้ จะเรียบเนยี น

ทนทาน ซับน้าํ และเหง่ือไดด้ ี

2. เสน้ ใยลนิ ิน ไดจ้ ากเปลือกของตน้ ลินนิ ภาพท่ี 1.8 ดอกของต้นฝ้าย

เม่อื นาํ มาถักทอทําเป็นผา้ จะไดผ้ ้าทีม่ ี ทีม่ า : http://puechkaset.com

ความมันเงา มีผวิ เรียบแข็ง ดดู ซับน้ําได้ดี แตย่ ับงา่ ยและรดี ให้เรยี บยาก

3. เสน้ ใยไหม ไดจ้ ากรงั ไหมทีต่ วั อ่อนของผเี สอ้ื ไหมสรา้ งขนึ้ เมอ่ื นาํ มากรอและ

ถักทอจะได้ผ้าทมี่ คี วามมันเงา ออ่ นนุม่ คงรปู รา่ งไดด้ ไี มย่ บั ง่าย ดดู ความชน้ื ได้ดี

4. เส้นใยจากขนสตั ว์ ได้จากสตั ว์ เช่น แกะ แพะ กระตา่ ย แตท่ ผ่ี ลติ ไดม้ ากท่ีสดุ คือ

ขนแกะ ผา้ ท่ถี ักทอจากขนสัตวจ์ ะดดู ซบั ความช้นื ไดด้ แี ละใหค้ วามอบอุ่น มกั ใชต้ ดั เย็บทาํ เป็น

เส้อื กันหนาว ผา้ พันคอ

เสน้ ใยสังเคราะห์
ผลิตดว้ ยกระบวนการทางเคมี เช่น โพลเี อสเตอร์ ไนลอน เรยอน มสี มบตั คิ ล้ายกนั
คือ เนอื้ ผ้าโปรง่ ซกั รีดง่าย แห้งเร็ว ไมค่ อ่ ยยบั

ภาพที่ 1.9 ผลติ ภัณฑ์จากผ้าใยสังเคราะหโ์ พลเี อสเตอร์

ที่มา : http://www.ideasquareshop.com



ดนิ เผา
เป็นวัสดุท่ีทําขึ้นจากดินเหนียวเม่ือผสมเข้ากันกับน้ําจะทําให้ดินมีความเหนียว และ
สามารถปั้นเป็นของใช้ต่าง ๆ เช่น จาน ชาม แจกัน ไห โอ่ง กระถาง เรียกว่า เครื่องป้ันดินเผา
จากนั้นนําดินท่ีปั้นเสร็จไปตากแดดให้แห้งแล้วนําเข้าเตาเผาจะได้เคร่ืองปั้นดินเผาที่มีความแข็ง
และทนทาน

ภาพที่ 1.10 เคร่ืองปัน้ ดินเผา

แกว้

เป็นวัสดุท่ผี ลิตขึ้นจากกระบวนการอตุ สาหกรรมจากสว่ นผสมของทราย 63%

หินปูน 15% และสารโซดาแอช 20% นาํ เขา้ เตาหลอมที่อุณหภูมิ 1,500 องศาเซลเซยี ส

ส่วนผสมจะหลอมรวมกนั เป็นแกว้ เหลว จากนนั้ ส่งไปยังเคร่อื งข้ึนรปู เพ่ือทําเปน็ ผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ

ตอ่ ไป เชน่

1. ทาํ ภาชนะตา่ ง ๆ เชน่ แกว้ น้ํา ขวดโหล จาน

ชาม ถ้วย

2. ทาํ เปน็ แผ่นกระจกใส กระจกฝา้ หรอื กระจกเงา

นาํ ไปติดทบ่ี านหน้าต่าง ผนังกัน้ หอ้ ง ใชเ้ ปน็ สว่ นประกอบของ

เครื่องเรือน เช่น โตะ๊ ตู้ ช้นั วางกระจกส่องหนา้ กระจกรถยนต์

3. ทําเปน็ เคร่อื งประดบั ตกแตง่ เชน่

โคมไฟระย้า พวงกุญแจ ของท่รี ะลกึ

4. ใช้เปน็ ส่วนประกอบของหลอดไฟ

จอโทรทัศน์ จอคอมพิวเตอร์ แวน่ ตา แวน่ ขยาย

เลนสก์ ล้องถ่ายรปู หน้าปดั นาฬิกา ภาพท่ี 1.11 ตัวอย่างผลติ ภัณฑจ์ ากแกว้  

10 

โลหะ
เปน็ วัสดุทีเ่ ป็นชิน้ สว่ นประกอบอยู่ในหนิ และแร่ โลหะมีหลายชนดิ เช่น เหลก็
ทองแดง ทองคํา เงิน เปน็ ต้น
ตวั อยา่ งการใชป้ ระโยชน์จากโลหะ
1. เหลก็ อะลูมเิ นียม ใชท้ ําภาชนะหุงต้ม เชน่ หมอ้ กระทะ มดี
2. เหลก็ เม่อื นําไปผสมกบั คาร์บอนจะไดเ้ หล็กกลา้ ท่ีมคี วามแขง็ แรงมากกวา่ เหลก็
บรสิ ุทธิ์ใชท้ ําวสั ดกุ ่อสร้าง ใบเลอ่ื ย ตะไบเหลก็ ดอกสว่าน
3. ทองแดง ใชท้ าํ สายไฟ และสว่ นประกอบของอปุ กรณไ์ ฟฟา้ เชน่ สายไฟ
เนือ่ งจากนาํ ไฟฟ้าไดด้ ี
4. เงนิ ทองคาํ ทองคาํ ขาว ใช้ทําเครอ่ื งประดบั เชน่ แหวน กาํ ไล ตา่ งหู สรอ้ ยคอ

ภาพที่ 1.12 ประโยชน์จากโลหะ

ทมี่ า : http://118.174.133.140/

11 

พลาสติก
เป็นวัสดุทีส่ งั เคราะห์ขนึ้ จากนํ้ามันดบิ และแกส๊ ธรรมชาติ เม่ือพลาสติกไดร้ บั
ความร้อนจะออ่ นตวั และเมื่อเย็นจะแขง็ ตวั และคงรปู ร่างได้ ทําให้สามารถหลอ่ พลาสติกใหเ้ ปน็
รูปรา่ งตา่ ง ๆ ได้ และถูกใช้ทาํ ส่งิ ของต่าง ๆ มากมาย เชน่ ขวดนาํ้ ถงั นาํ้ ขันน้ํา กลอ่ งใสข่ อง
ถุงใส่อาหาร เสอื้ กันฝน ของเล่น ปากกา ไมบ้ รรทดั ฯลฯ

ภาพที่ 1.13 ผลิตภัณฑจ์ ากพลาสติก
กล่าวโดยสรปุ วสั ดคุ อื สง่ิ ท่อี ยรู่ อบ ๆ ตวั เรา เกดิ ข้ึนได้เองตามธรรมชาติและมนุษย์
สังเคราะหข์ ึ้น วสั ดุแตล่ ะชนดิ มลี ักษณะและสมบัติทแ่ี ตกตา่ งกัน การศกึ ษาทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั
สมบตั ิของวสั ดุแต่ละชนดิ ทาํ ใหส้ ามารถเลือกวัสดแุ ละนําวัสดุเหลา่ นั้นมาพัฒนาเป็นเครอื่ งใช้
ต่าง ๆ ท่ีเหมาะสมกบั การใช้งานไดอ้ ยา่ งหลากหลาย

กิจกรรมท้ายหน่วยท่ี 1 
หลงั จากทผี่ ู้เรียนศึกษาเอกสารชดุ การเรยี นหน่วยที่ 1 จบแล้ว ใหศ้ กึ ษาค้นคว้า
เพิ่มเตมิ จากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ แล้วทาํ กิจกรรมการเรียนหนว่ ยที่ 1 ในสมุดบันทกึ กจิ กรรม
การเรยี นรู้ แลว้ จดั สง่ ตามทีค่ รูผ้สู อนกําหนด

12 

หน่วยท่ี 2 สมบัตขิ องวสั ดุ

สาระสําคญั
วัสดุแต่ละชนิดท่ีนํามาทําเป็นส่ิงของเคร่ืองใช้ต่าง ๆ บางอย่างทําจากวัสดุชนิด

เดียวกัน บางอย่างทําจากวัสดุต่างชนิดกัน ซ่ึงวัสดุแต่ละชนิดจะมีสมบัติบางอย่างคล้ายคลึงกัน
และมีสมบัติบางอย่างท่ีแตกต่างกัน การศึกษาสมบัติของวัสดุแต่ละชนิดประกอบด้วย ความแข็ง
ความเหนียว ความยืดหยุ่น การนําความร้อน การนําไฟฟ้าและความหนาแน่นของวัสดุ
การศึกษาสมบัติของวัสดุ ดังกล่าวทําให้สามารถนําวัสดุไปใช้ประโยชน์ได้ตามความเหมาะสม
กับการใชง้ าน

ตัวชวี้ ัด
1. อธบิ ายสมบตั ิของวสั ดุชนดิ ต่าง ๆ ได้
2. ทดลองสมบตั ิของวสั ดุชนิดตา่ ง ๆ ได้

ขอบขา่ ยเน้ือหา
1. ความแขง็
2. ความเหนยี ว
3. ความยืดหยนุ่
4. การนําความรอ้ น
5. การนาํ ไฟฟ้า
6. ความหนาแนน่

เวลาที่ใช้ในการศึกษา
ใชเ้ วลาเรยี น โดยศึกษาจากเอกสารและสื่อตา่ ง ๆ ฝกึ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม และรวมกลุ่ม

เพอ่ื แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ จาํ นวน 30 ช่ัวโมง

13 

สอ่ื การเรยี นรู้
1. ชดุ วชิ าวสั ดุศาสตร์ระดับประถมศึกษา
2. วดี ีทศั นท์ เี่ กี่ยวขอ้ ง
3. ศึกษาค้นคว้าจากอินเตอรเ์ น็ต
4. ศึกษาคน้ คว้าจากหนงั สือในห้องสมุดประชาชน
5. ชุดวัสดอุ ปุ กรณก์ ารทดลองวทิ ยาศาสตร์

14 

หน่วยที่ 2
สมบตั ขิ องวัสดุ
เรื่องที่ 1 ความแข็ง

ความแขง็ หมายถงึ ความทนทานตอ่ การตดั และการขดู ขีดของวัสดุ
ความแขง็ เป็นสมบตั ิที่แสดงถึงความทนทานของวัสดุต่อการถูกกระทําหรือถูกขูดขีด
เม่ือนําวัสดุชนิดหน่ึงขูดบนวัสดุอีกชนิดหน่ึง ถ้าวัสดุมีความแข็งต่างกันจะทําให้เกิดรอย วัสดุที่มี
ความแขง็ มาก จะสามารถทนทานต่อการขดี ขว่ นไดม้ าก และเมือ่ ถูกขดี ขว่ นจะไม่เกิดรอย
บนวัสดุชนิดน้ัน เช่น ตะปูกับไม้ เม่ือเราเอาตะปูไปขูดกับไม้ จะพบว่า ไม้เกิดรอย นั้นแสดงว่า
วัสดใุ ดทเ่ี กิดรอยจะมีความแข็งน้อยกวา่ วสั ดทุ ไ่ี ม่เกิดรอย แสดงวา่ ตะปูมีความแข็งมากกวา่ ไม้
กล่าวโดยสรปุ เมื่อนําวสั ดชุ นิดหนง่ึ ขีดบนวัสดุอกี ชนดิ หน่งึ ถา้
1. วัสดุที่ถกู ขดู เกดิ รอย แสดงวา่ ความแขง็ นอ้ ยกว่าวัสดุท่ีใชข้ ดู
2. วัสดุทีถ่ กู ขดู ไม่เกดิ รอย แสดงวา่ ความแขง็ มากกวา่ วัสดทุ ่ใี ชข้ ดู

ภาพที่ 2.1 ไม้มีความแข็งนอ้ ยกว่าเหรยี ญ เมือ่ ถกู ขดู จงึ เกิดรอย

15 

เรือ่ งที่ 2 ความเหนยี ว

ความเหนยี ว หมายถึง ความสามารถในการรับนาํ้ หนักมากระทาํ ตอ่ 1 หน่วย
พ้ืนทห่ี น้าตดั ของวสั ดทุ ่ีทาํ ใหว้ สั ดขุ าดไดพ้ อดี

วัสดุเส้นใหญ่มีพื้นท่ีหน้าตัดมาก จะทนต่อแรงดึงสูงสุดได้มากกว่า วัสดุเส้นเล็กท่ีมี
พ้ืนที่หน้าตัดน้อย วัสดุเส้นใหญ่จะมีความเหนียวมากกว่าเส้นเล็ก วัสดุท่ีรับน้ําหนักได้มากจะมี
ความเหนียวมากกว่าวัสดุท่ีรับนํ้าหนักได้น้อย หรือกล่าวได้ว่า ความเหนียวเป็นลักษณะของวัสดุ
ท่ีดึงขาดยาก ไม่ขาดง่ายเม่ือต้องรับแรง หรือนํ้าหนักมาก ๆ หรือไม่ขาดเมื่อถูก ดึง ยืด ทุบ ตี
เพ่อื ให้เปลี่ยนรปู รา่ งไปจากเดมิ

ความเหนียว จึงเป็นสมบัติประการหนึ่งของวัสดุท่ีสามารถรับแรงหรือน้ําหนักที่มา
กระทําได้มากและสามารถนํามาเปล่ียนรูปร่างต่าง ๆ ได้ตามความต้องการของการนํามาใช้
ประโยชน์ เช่น การใช้เส้นเอ็นทําสายเบ็ดตกปลา เพราะมีความเหนียวมากสามารถทนแรงดึง
หรอื รับนา้ํ หนักของปลาได้

ดินน้ํามันและดินเหนียวสามารถนํามาเปลี่ยนรูปร่างโดยการนํามาป้ันเป็นก้อนกลม
ทุบให้เป็นแผ่นแบน ๆ และดึงยืดให้เป็นเส้นยาว ๆ ได้ แต่ดินทรายไม่สามารถนํามาปั้น
เปน็ รปู ร่างตา่ ง ๆ ได้ แสดงวา่ ดินนาํ้ มนั และดินเหนยี วมสี มบัติด้านความเหนยี ว แต่ดินทรายไม่มี
ความเหนียว และเน่ืองจากดินเหนียวเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายในบางท้องถ่ิน จึงนิยมนํามาปั้น
เป็นผลิตภณั ฑ์ตา่ ง ๆ เช่น โอ่ง กระถาง กอ้ นอฐิ

ภาพที่ 2.2 ผลิตภัณฑจ์ ากดินเหนยี ว

การนําดินเหนียวมาปน้ั เป็นผลติ ภณั ฑ์ต่าง ๆ เมอ่ื ขนึ้ รปู ดินเหนียวเป็นผลิตภัณฑ์ตาม
ต้องการแล้ว จึงนํามาตกแต่งรายละเอียดอีกครั้งหน่ึง จากน้ันก็นําเข้าเตาเผา เพ่ือให้ผลิตภัณฑ์
คงรปู

16 

นอกจากดนิ เหนยี วแลว้ วัสดอุ กี ชนิดหนง่ึ ท่ีมีสมบัตคิ วามเหนยี ว กค็ อื โลหะตา่ ง ๆ
เช่น ทองคํา เงิน เหล็ก ดีบุก การเปลี่ยนรูปโลหะต้องใช้ความร้อน เม่ือโลหะร้อน จึงสามารถ
นํามาตีแผ่ให้เปน็ แผ่นหรอื รดี ให้เป็นเส้นได้ โดยไม่แตกเปน็ ผงหรอื หกั ทองคํา และเงินเป็นโลหะ
ท่นี ยิ มนํามาทาํ เป็นเครือ่ งประดบั ชนดิ ตา่ ง ๆ เชน่ สรอ้ ย แหวน กาํ ไล ต่างหู

ภาพท่ี 2.3 สิง่ ของเครื่องใช้และเคร่อื งประดับท่ีทํามาจากเงิน และทองคํา

ทมี่ า : http://raanmon.com

ส่วนอลูมิเนียม และสแตนเลส เป็นโลหะท่ีนิยมนํามาผลิตเป็นอุปกรณ์ในครัวเรือน
เช่น กระทะ หม้อ กะละมัง มีด ช้อน ส้อม เคร่ืองครัวที่ทําจากอลูมิเนียมและสแตนเลสจะมี
ความทนทาน และไม่เป็นสนมิ

ภาพท่ี 2.4 เครอ่ื งครวั ทที่ าํ จากอลูมเิ นยี มและสแตนเลส

ท่ีมา : http://118.174.133.140/

17 

นอกจากนี้เรายังใช้เชือกลากสิ่งของแต่ในการยกของท่ีมีมวลมาก ๆ นิยมใช้โซ่ดึงยก
สง่ิ ของ เนอ่ื งจากโซ่มีความเหนยี วมากกวา่ เชือกจึงใชย้ กของทม่ี มี วลมากได้ดีกวา่ เชอื ก

ภาพที่ 2.5 วสั ดทุ ใ่ี ชป้ ระโยชนจ์ ากสมบัติความเหนียว

ท่ีมา : http://118.174.133.140/

กล่าวโดยสรุป วัสดุแต่ละชนิดมีความเหนียวไม่เท่ากัน วัสดุที่รับน้ําหนักได้มากแล้ว
จงึ ขาด จะมีความเหนยี วมากกวา่ วสั ดุท่ีรบั นา้ํ หนักไดน้ อ้ ยแล้วขาด

18 

เรื่องที่ 3 ความยืดหยนุ่

ความยืดหยุ่น หมายถึง ลักษณะท่ีวัตถุนั้นสามารถกลับคืนรูปร่างทรงเดิมได้
หลังจากแรงท่มี ากระทาํ ตอ่ วัตถุหยดุ กระทําต่อวตั ถนุ นั้

ความยืดหยุ่นเป็นสมบัติของวัสดุที่สามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ หลังจากหยุดแรง
กระทําที่ทําให้เปล่ียนรูปร่างไป เช่น การดึง บีบหรือกระแทก วัสดุแต่ละชนิดมีความยืดหยุ่น
ไม่เท่ากัน บางชนิดออกแรงมาก ๆ แต่สภาพยืดหยุ่นยังคงอยู่ แต่บางชนิดเม่ือออกแรงมาก
เกินไปกห็ มดสภาพยดื หย่นุ ได้

วัสดุท่ีถูกแรงกระทําแล้วสามารถเปลี่ยนรูปร่างหรือขนาดของวัสดุ และเม่ือเราหยุด
ออกแรง วัสดุน้ันจะกลับคืนสู่สภาพเดิม เรียกว่า วัสดุนั้นมีสภาพความยืดหยุ่น เช่น ถุงมือยาง
ยางยืด ฟองนํ้า และวัสดุที่เราออกแรงกระทําแล้ว วัสดุเกิดการเปล่ียนรูปร่างหรือขนาด แต่เม่ือ
หยุดออกแรง วัสดุไม่คืนสภาพเดิม เราเรียกวัสดุน้ันว่า วัสดุไม่มีความยืดหยุ่น เช่น ดินนํ้ามัน ไม้
แผน่ พลาสติก กระดาษ

(ก) (ค)

(ข) (ง)

ภาพท่ี 2.6 แสดงการเปรยี บเทยี บการออกแรงกระทําต่อวัสดุ

จากภาพ 2.6 ขณะออกแรงกระทําต่อฟองนํ้า และดินนํ้ามัน จะพบว่า วัสดุทั้งสอง
เกดิ การยุบตวั แต่เมื่อหยุดออกแรงกระทํา ฟองน้ําจะเปล่ียนรูปร่างและเม่ือหยุดออกแรงกระทํา
วัสดุกลับสู่สภาพเดิม แสดงว่า วัสดุนั้นมีสภาพยืดหยุ่น ดินนํ้ามันเม่ือหยุดออกแรงกระทําจะไม่
กลับสู่สภาพเดิม แสดงว่า วสั ดุน้ันไมม่ ีสภาพยดื หยนุ่

19 

การนําความรู้เก่ียวกับสมบัติของวัสดุ ด้านความยืดหยุ่น มาใช้ในชีวิตประจําวัน
ไดแ้ ก่

ยาง นํามาทาํ ยางรถยนต์ ช่วยลดแรงสั่นสะเทอื นขณะรถยนต์ถกู ขบั เคลื่อนไป
ฟองน้ํา นํามาทาํ เบาะเก้าอี้ ชุดรบั แขก หรอื ทีน่ อน ทาํ ให้น่งั นอน รสู้ ึกนุม่ สบาย
ลวดสปรงิ ถกู ประดษิ ฐใ์ หย้ ดื หยุ่น ใชป้ ระกอบของใช้ได้หลายอย่าง เช่น
ทน่ี อนสปริง เกา้ อเี้ บาะสปริง ปากกาลกู ล่นื ทเี่ ย็บกระดาษ ไฟฉาย เปน็ ตน้

ภาพที่ 2.7 ตัวอยา่ งวสั ดทุ ี่มสี มบตั ิด้านความยดื หยนุ่ ในชีวิตประจําวนั

20 

เรื่องที่ 4 การนาํ ความร้อน

การนําความร้อน หมายถึง การถ่ายเทพลังงานความร้อนจากอนุภาคหน่ึงสู่อนุภาค
หนง่ึ และถ่ายทอดกนั ไปเร่อื ย ๆ ภายในเนอ้ื ของวตั ถุ

การนาํ ความร้อน เป็นสมบัติของวสั ดทุ ่ีพลังงานความร้อนสามารถ ถ่ายโอนผ่านวัสดุ
นน้ั ได้ ซ่งึ วัสดแุ ตล่ ะชนิดสามารถนําความร้อนได้แตกต่างกันและบางชนิดไม่นําความร้อน วัสดุ
ท่ีนําความร้อนได้ดีจะถ่ายเทพลังงานความร้อนได้เร็ว และมาก เม่ือวัสดุชนิดน้ันได้รับความร้อน
ท่ีบริเวณใดบรเิ วณหนึ่ง จะถา่ ยโอนความร้อนไปสูบ่ รเิ วณอืน่ ด้วย

การจาํ แนกสมบตั กิ ารนําความรอ้ นของวัสดุ แบง่ เปน็ 2 ประเภท คอื
ตัวนาํ ความร้อน และฉนวนความร้อน

1. ตัวนําความร้อน หมายถึง วัสดุท่ีความร้อนผ่านได้ดี ส่วนใหญ่เป็นโลหะ เช่น
เหล็ก อะลูมิเนียม เงิน ทอง ทองแดง นิยมนํามาใช้ทําภาชนะหุงข้าว เช่น หม้อ กาต้มน้ํา
กระทะ

2. ฉนวนความร้อน หมายถงึ วสั ดทุ ไี่ ม่นาํ ความรอ้ นหรอื นาํ ความร้อนนอ้ ย สว่ นใหญ่
เป็นอโลหะ เช่น ผ้า ไม้ ยาง พลาสติก กระเบ้ือง นิยมนํามาทํา ด้ามตะหลิว ด้ามหม้อ หูหม้อ
ท่ีจบั หมอ้ เพือ่ ป้องกนั ความรอ้ น

ฉนวนความรอ้ น

ภาพท่ี 2.8 กลไกการถ่ายเทความร้อน ตัวนําความร้อน

ทม่ี า : http://www.lesa.biz/ ภาพที่ 2.9 การใช้ประโยชนจ์ ากสมบตั ิ
การนาํ ความร้อนของวัสด ุ

21 

เร่อื งท่ี 5 การนําไฟฟา้

การนาํ ไฟฟา้ หมายถึง สมบตั ใิ นการยอมให้ประจุไฟฟา้ หรอื กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นได้
วัสดุบางชนิดมีสมบัติในการนําไฟฟ้า คือ ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี แต่วัสดุ
บางชนิดไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ เราจึงสามารถนําสมบัติการนําไฟฟ้าของวัสดุมาใช้
ในการผลิตอปุ กรณ์ต่าง ๆ ได้
สมบัติการนําไฟฟ้าของวสั ดุ แบ่งออกเปน็
1. วัสดุท่ีนําไฟฟ้า คือ วัสดุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ เรียกว่า ตัวนําไฟฟ้า
ได้แก่ วัสดุประเภทโลหะต่าง ๆ เช่น ทองแดง เงิน เหล็ก อะลูมิเนียม จึงมีการนําโลหะต่าง ๆ
มาทําอุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เช่น ทองแดงนําไฟฟ้าได้ดี จึงนํามาใช้ทําสายไฟฟ้า ไส้หลอดไฟ
เป็นตน้

ทมี่ า : http://www.atom.rmutphysics.com ท่ีมา : http://www.sci-mfgr.com

ภาพท่ี 2.10 การนาํ ความรู้เร่อื งสมบัตกิ ารนาํ ไฟฟา้ ของวสั ดมุ าใชใ้ นการผลติ อุปกรณ์
ต่าง ๆ เพื่อใช้ในชวี ิตประจาํ วัน

2. วัสดุท่ีไม่นําไฟฟ้า คือ วัสดุที่ไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ เรียกว่า
ฉนวนไฟฟ้า ได้แก่ วัสดทุ ่ไี มใ่ ช่โลหะ เชน่ พลาสตกิ ไม้ แกว้ จงึ มกี ารนําวัสดเุ หลา่ นี้มาทาํ อุปกรณ์
ที่ป้องกันไฟฟ้าดูด หรือไฟฟ้ารั่ว เช่น พลาสติก นํามาทําท่ีหุ้มปล๊ักไฟฟ้า สวิตซ์ไฟฟ้า เป็นต้น
เน่อื งจากไม่นําไฟฟ้าจึงปลอดภัย ในการใชง้ าน

กล่าวโดยสรุป การเลือกวัสดุท่ีใช้ในการผลิตอุปกรณ์ต่าง ๆ หรือทําอุปกรณ์ไฟฟ้า
ต้องอาศัยความรู้ด้านสมบัติการนําไฟฟ้าของวัสดุมาใช้ เน่ืองจากวัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติการนํา
ไฟฟ้าที่แตกตา่ งกัน เพอ่ื ความสะดวกและความปลอดภัยในการใชง้ าน

22 

เรอ่ื งท่ี 6 ความหนาแนน่

ความหนาแน่นของวัสดุ คือ ค่าท่ีบอกมวลของวัตถุ 1 หน่วยปริมาตร หรืออาจ
กล่าวได้ว่า ถ้าวัสดุมีปริมาตรเท่ากัน วัสดุท่ีมีมวลมากจะมีความหนาแน่นมากกว่าวัสดุที่มีมวล
นอ้ ย ความหนาแนน่ เป็นสมบัตเิ ฉพาะของสารหรอื วัสดแุ ต่ละชนิด แม้วัสดุนั้น จะมีขนาดเท่ากัน
แตท่ าํ จากวัสดแุ ตกตา่ งกัน ก็จะมีความหนาแน่นแตกต่างกัน

สามารถเขยี นความสัมพนั ธ์ทางคณิตศาสตร์ ไดด้ ังน้ี

ความหนาแนน่ = มวล คา่ มวลมีหน่วย เช่น กรัม
ปริมาตร
ปรมิ าตรมหี น่วย เช่น ลูกบาศก์
เซนติเมตร

(ความหนาแนน่ มหี น่วยทีอ่ ยู่ในรปู ของมวลต่อปริมาตร เชน่
กรัมตอ่ ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร กโิ ลกรมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร )

การหาปริมาตรของวัตถทุ ี่มที รงสเ่ี หลย่ี มมุมฉากสามารถใชส้ ตู รการคาํ นวณ ดงั นี้
ปรมิ าตรทรงสีเ่ หล่ียม = กว้าง x ยาว x สงู

 

กว้าง สูง กว้าง x ยาว x สงู = ปรมิ าตรของวตั ถุ

ยาว

ภาพที่ 2.11 แสดงการหาปรมิ าตรทรงส่เี หลย่ี ม

23 

การหาความหนาแน่นของวตั ถทุ ่ีไมเ่ ป็นทรงเรขาคณิต
สามารถหาค่าความหนาแน่น โดยใช้วิธีการแทนท่ีนํ้าในถ้วยยูรีกา แล้ววัดปริมาตร
ของนํ้าท่ีล้นออกมา โดยปริมาตรของน้ําที่ล้นออกมาจะเท่ากับปริมาตรของวัตถุน้ัน แล้วนํา
ปริมาตรท่หี าได้นี้ไปหามวลของวตั ถุ

ภาพที่ 2.12 วธิ กี ารหาปรมิ าตรของวตั ถทุ ี่ไม่เป็นทรงเรขาคณติ

ทม่ี า : หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เรอื่ งสมบัติของวสั ดุ หนา้ ท่ี 61

สรปุ การหาความหนาแนน่ ของวสั ดทุ แี่ น่นอน จากความสัมพนั ธ์ ดงั นี้
ความหนาแนน่ = มวล

ปรมิ าตร
จากสมการความสมั พันธ์
มวล คอื ปรมิ าณเนื้อของวตั ถุ มีหน่วยเปน็ กิโลกรัม มวลจะมีคา่ คงที่เสมอ
นาํ้ หนัก คอื แรงดงึ ดูดของโลกท่กี ระทาํ ต่อมวลของวตั ถุ มหี น่วยเปน็ นวิ ตนั
**นํา้ หนัก (นวิ ตัน) = มวล (กโิ ลกรัม) x แรงโนม้ ถว่ งโลก (นิวตนั /กโิ ลกรมั )
ปรมิ าตร หาได้ดังนี้
- ถ้าหาปริมาตรของแข็ง จะหาโดยการแทนที่น้ํา หรือ ถ้าเป็นรูปทรงส่ีเหลี่ยมมุม
ฉากใช้สูตรนี้

ปริมาตร = กวา้ ง X ยาว X สูง
- ถ้าเปน็ ของเหลว โดยใชก้ ระบอกตวงวดั ปรมิ าตรแล้วอ่านคา่ ทไ่ี ด้

24 

ตวั อยา่ งการหาความหนาแนน่
โจทย์ แทง่ ไม้ มีมวล 30 กรมั และมปี รมิ าตร 15 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร
วธิ คี ดิ
ความหนาแนน่ ของแท่งไม้ = มวลของแทง่ ไม้ (กรมั )

ปรมิ าตรของแทง่ ไม้ (ลกู บาศก์เซนติเมตร)
= 30 กรัม

15 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร
= 2 กรมั / ลูกบาศก์เซนตเิ มตร
ดังนน้ั ความหนาแน่นของแท่งไม้ = 2 กรมั / ลกู บาศก์เซนตเิ มตร
หมายความว่า แทง่ ไม้ทม่ี ีปริมาตร 1 ลกู บาศก์เซนติเมตร มมี วล เท่ากับ 2 กรมั

กิจกรรมท้ายหน่วยท่ี 2 

หลงั จากทผี่ ูเ้ รยี นศึกษาเอกสารชดุ การเรียนหน่วยที่ 2 จบแล้ว ขอใหศ้ กึ ษาคน้ คว้า
เพิ่มเตมิ จากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ แลว้ ทาํ กิจกรรมการเรยี นหนว่ ยท่ี 2 ในสมุดบันทึกกจิ กรรม
การเรยี นรู้ แลว้ จัดสง่ ตามทีผ่ ู้สอนกําหนด

แนะนาํ แหลง่ เรยี นรู้บนอนิ เตอร์เน็ต
วสั ดุและสมบัตวิ ัสดุ
http://krootonwich.com/data-3801.html
นาํ ไฟฟา้ ของวัสดุ วิทยาศาสตร์ ป. 5
https://www.youtube.com/watch?v=xUI5Dxwk1xM

25

หนว่ ยท่ี 3 การเลือกใช้และผลกระทบจาการใชว้ ัสดุ

สาระสาํ คญั
ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ีส่งผลกระทบต่อ

ส่ิงแวดล้อมน้อยกว่าเม่ือเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์อ่ืน ๆ โดยมี ฉลากสิ่งแวดล้อมเป็นเครื่องมือ
แยกผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมออกจากผลิตภัณฑ์ท่ัวไปในท้องตลาด ปัจจุบัน
เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทและความจําเป็นต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก ทั้ง
ภายในบ้านและภายนอกบ้าน เพ่ืออํานวยความสะดวกสบายในชีวิตประจําวัน แต่เทคโนโลยี
เหล่านั้นก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ หากละเลยและไม่คํานึงถึงการใช้
วัสดหุ รือผลติ ภัณฑ์อย่างรู้คณุ ค่า

ตัวชว้ี ัด

1. อธบิ ายความหมายผลิตภณั ฑ์ทเี่ ปน็ มติ รต่อสิง่ แวดล้อมได้
2. อธิบายแนวทางการเลือกใชว้ ัสดุในชีวติ ประจําวนั ได้
3. อธบิ ายความหมายของสญั ลกั ษณ์ผลิตภณั ฑ์ทเ่ี ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อมได้
4. อธบิ ายผลกระทบท่ีเกดิ จากการใชว้ ัสดใุ นชีวิตประจาํ วันได้
5. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบที่เกดิ จากการใชว้ สั ดุในชวี ิตประจาํ วนั

ขอบขา่ ยเนื้อหา
1. การเลือกใชว้ สั ดุท่ีเปน็ มติ รตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม
2. ผลกระทบจากการใชว้ สั ดุในชีวิตประจําวนั

เวลาทีใ่ ช้ในการศกึ ษา
ใช้เวลาเรยี น โดยศกึ ษาจากเอกสารและส่อื ตา่ ง ๆ ฝึกปฏบิ ัติกจิ กรรม และรวมกลุ่ม

เพื่อแลกเปล่ียนเรยี นรู้ จาํ นวน 20 ชวั่ โมง

สอ่ื การเรียนรู้
1. ชุดวิชาวสั ดุศาสตรร์ ะดับประถมศึกษา
2. ศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต
3. ศึกษาค้นควา้ จากหนังสือในหอ้ งสมุดประชาชน

26

หน่วยท่ี 3
การเลือกใช้และผลกระทบจาการใชว้ สั ดุ

เรือ่ งที่ 1 การเลอื กใชว้ ัสดทุ ี่เป็นมิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม

ปจั จุบันเทคโนโลยมี ีผลต่อการพฒั นาผลติ ภณั ฑห์ รือส่ิงของเคร่ืองใชม้ ากมาย
หลายชนิด ทําให้มนุษย์มีชีวิตท่ีสะดวกสบายมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีก็มีผลกระทบ
ต่อมนุษย์หลายด้าน เช่น ทําให้เกิดมลภาวะ ทําลายสภาพแวดล้อม ปัญหาทางสังคมและ
เศรษฐกิจ การใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นอันตรายต่อส่ิงแวดล้อม ส่งผลให้เกิดโทษมากกว่าประโยชน์
ซ่ึงการแกป้ ัญหานอกจากจะใชก้ ระบวนการเทคโนโลยี โดยการหาวธิ ีใหม่ ๆ แลว้ ทกุ คนควร
มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์พลังงาน รวมท้ังคํานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าประโยชน์
สว่ นตวั เลือกใช้ผลติ ภณั ฑอ์ ย่างรู้คุณคา่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยท่สี ดุ เป็นตน้

สิ่งของเครื่องใช้ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หมายถึง ส่ิงของเคร่ืองใช้ท่ีผลิตจาก
กระบวนการทางเทคโนโลยีที่ใส่ใจกับผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นกับส่ิงแวดล้อม โดยเร่ิมตั้งแต่
กระบวนการออกแบบจนกระทง่ั กระบวนการผลติ ได้แก่

1) วธิ ีการผลิตโดยการใชว้ สั ดทุ ีส่ ิ้นเปลอื งให้นอ้ ยทส่ี ุด
2) วิธีการผลิตโดยใช้วัสดุต่าง ๆ ที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้อ่ืน เช่น ลดการใช้
ถงุ พลาสตกิ โฟม เปน็ ตน้ หรือหลกี เลีย่ งวัสดทุ ่ีก่อให้เกิดมลพิษตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม
3) ก่อนการผลิตจะต้องศึกษาว่าผู้ใช้งานหรือผู้บริโภคจะนําไปใช้ในสถานการณ์ใด
หรือภาวะการณ์ใด เพอ่ื จะนําไปเปน็ ข้อมลู ในการผลติ
4) การออกแบบการผลิตจะต้องคํานึงถึงความปลอดภัย และคํานึงถึงผลเสียที่จะ
กระทบต่อ ส่ิงแวดลอ้ มมากที่สุด

27

1.1 ความหมายของผลติ ภัณฑ์ทเ่ี ป็นมิตรต่อสงิ่ แวดล้อม
ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่อ

สิ่งแวดล้อมน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ โดยมี ฉลากสิ่งแวดล้อมเป็นเคร่ืองมือ
แยกผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมออกจากผลิตภัณฑ์ทั่วไปในท้องตลาด และให้ข้อมูล
ทางดา้ นส่งิ แวดลอ้ มท่ถี ูกตอ้ งของผลิตภัณฑ์แก่ผบู้ ริโภค สาํ หรบั ประเทศไทยไดใ้ ชค้ ําว่า “ฉลาก
สเี ขยี ว” แทน “ฉลากสิ่งแวดล้อม” Green label หรือ Eco-label) เปน็ ฉลากที่ให้กับผลิตภัณฑ์
ที่มีคุณภาพและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าเมื่อนํามาเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่ทํา
หนา้ ที่อย่างเดยี วกนั

1.2 สัญลักษณ์ผลิตภณั ฑท์ ี่เปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม

ในปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีฉลากทางด้านส่ิงแวดล้อมที่ริเร่ิมโดยหน่วยงาน

ต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)

และกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) สํานักงานพิทักษ์ส่ิงแวดล้อม (EPA)

เป็นตน้ ดังน้ี

1. ฉลากสีเขียว (Green Label) “ฉลากเขียว” คือ

ฉ ล า ก ที่ ใ ห้ กั บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ

ส่ิงแวดล้อมน้อยกว่า เมื่อนํามาเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ท่ีทํา

หน้าที่อย่างเดียวกัน ฉลากเขียว เร่ิมใช้เป็นคร้ังแรกในประเทศ

เยอรมนีต้ังแต่ปี พ .ศ. 2520 ปัจจุบันมีการใช้ในประเทศต่าง ๆ

มากกวา่ 30 ประเทศทั่วโลก ได้มีการจัดทําโครงการฉลากเขียว ภาพที่ 3.1 สญั ลกั ษณ์ฉลาก
สําหรับประเทศไทย ริเริ่มขึ้นโดยคณะกรรมการนักธุรกิจ สีเขียว
เพ่อื สง่ิ แวดลอ้ มไทย (Thailand Business Council for
Sustainable Development, TBCSD) ในปี พ.ศ. 2536 ที่มา : คู่มอื การประเมินสาํ นักงาน
สีเขียว กรมส่งเสรมิ คุณภาพ

ส่งิ แวดลอ้ ม หนา้ 115

ฉลากเขียว สนับสนุนสินค้าทุกประเภท ยกเว้น ยารักษาโรค เคร่ืองดื่มและอาหาร
เน่ืองจากท้ังสามประเภทที่กล่าวจะเกี่ยวข้องกับสุขภาพความปลอดภัยในการบริโภคมากกว่า
ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม

28

2. ฉลากประหยดั ไฟเบอร์ 5

คอื ฉลากแสดงประสิทธิภาพอปุ กรณ์

ไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่น เครื่องปรับอากาศท่ีมีปริมาณ

กําลังไฟฟ้า 1 หน่วยของอุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีได้รับฉลาก

ประหยดั ไฟฟ้าเบอร์ 5 จะได้ความเย็นไม่น้อยกว่า 10,600

บีทียู เปรียบเทียบกับเคร่ืองปรับอากาศปกติโดยท่ัวไป

ที่ค่าไฟฟ้า 1 หน่วยจะได้ความเย็น ประมาณ 7,000 -

8,000 บีทียู เทา่ นัน้ แสดงวา่ ถ้าใชเ้ ครอ่ื งปรับอากาศ ภาพท่ี 3.2 สญั ลกั ษณฉ์ ลาก
เบอร์ 5 ประหยัดไฟฟ้าประมาณ 35% ประหยัดไฟเบอร์ 5

ท่มี า : คูม่ อื การประเมนิ สาํ นกั งานสีเขยี ว

กรมสง่ เสรมิ คุณภาพ สง่ิ แวดลอ้ ม

ปัจจุบนั การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตได้ดําเนนิ การ หนา้ 116

ออกฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 ใหแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑต์ า่ ง ๆ 17 ชนดิ ดงั น้ี

1. เครื่องรับโทรทศั น์ 10. จอคอมพิวเตอร์
2. กระติกนํา้ รอ้ นไฟฟา้ 11. ต้เู ยน็
3. เครอ่ื งปรบั อากาศ 12. บัลลาสต์นริ ภัย
4. บัลลาสตอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ T5 13. หลอดผอม
5. พดั ลมชนดิ ตั้งโตะ๊ ต้ังพ้นื ติดผนงั 14. พดั ลมชนดิ สา่ ยรอบตวั
6. หลอดคอมแพคตะเกยี บ 15. หมอ้ หุงขา้ วไฟฟ้า
7. โคมไฟประสิทธิภาพสงู 16. ข้าวกล้อง
8. โคมไฟฟา้ สาํ หรับหลอดผอม 17. พัดลมระบายอากาศ
9. เครอ่ื งทําน้ําอุ่นไฟฟา้

29

3. ฉลากประสิทธิภาพสงู ภาพท่ี 3.3 ฉลากประสทิ ธิภาพสูง
การเกิดข้ึนของฉลากประสทิ ธิภาพสงู
ทม่ี า : คมู่ อื การประเมนิ สํานกั งานสีเขยี ว
เปน็ ไปตาม พระราชบญั ญัตกิ ารส่งเสริมการอนรุ ักษ์ กรมสง่ เสรมิ คุณภาพ สิง่ แวดลอ้ ม
พลงั งาน โดยได้เริ่มดําเนินการมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 หนา้ 116
เป็นโครงการนําร่องของกรมพฒั นาพลงั งานทดแทน
และอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน สาํ หรบั อุปกรณไ์ มใ่ ช้ไฟฟา้ 4
ผลิตภณั ฑ์ ได้แก่

1. เตาหงุ ต้มในครวั เรือนหรอื เตาแกส๊
2. อุปกรณ์ปรบั ความเรว็ รอบมอเตอร์
3. ฉนวนกันความร้อน
4. กระจกอนรุ กั ษพ์ ลังงาน

1.3 แนวทางการเลอื กซือ้ สนิ ค้าที่เป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดล้อม
ผู้บริโภค มีแนวทางการเลือกผลิตภัณฑ์หรือสินค้าท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม

โดยพิจารณาคุณสมบัติของผลิตภัณฑห์ รอื สนิ คา้ ไดด้ งั นี้
1) ใชว้ สั ดทุ ีม่ ีผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มนอ้ ย เช่น วสั ดไุ มม่ ีพิษ วัสดหุ มนุ เวยี น

ทดแทนได้ วสั ดรุ ไี ซเคลิ และวัสดทุ ี่ใชพ้ ลงั งานตาํ่ ในการจัดหามา
2) ใชว้ สั ดุนอ้ ย เชน่ นํ้าหนกั เบา ขนาดเลก็ มจี ํานวนประเภทของวสั ดนุ ้อย
3) มเี ทคโนโลยกี ารผลิตทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพสูงสดุ เช่น ใชพ้ ลังงานสะอาด

ลดการเกดิ ของเสยี จากกระบวนการผลติ และลดขัน้ ตอนของกระบวนการผลิต
4) มรี ะบบขนสง่ และจดั จาํ หน่ายทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพสงู สดุ เชน่ ลดการใช้

หีบห่อบรรจุภัณฑ์ท่ีฟุ่มเฟือย ใช้บรรจุภัณฑ์ท่ีทําจากวัสดุที่ใช้ซํ้าหรือหมุนเวียนใช้ได้ใหม่ได้ และ
เลอื กใชเ้ ส้นทางการขนสง่ ท่ีประหยัดพลงั งานทสี่ ุด

5) ลดผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มท่เี กดิ ในช่วงการใชง้ าน เชน่ ใช้พลงั งานตํ่า
มกี ารปล่อยมลพิษต่าํ ในระหว่างการใชง้ าน ลดการใชว้ ัสดสุ นิ้ เปลอื ง และลดการใชช้ ิ้นสว่ นที่
ไม่จําเป็น

6) มีความคุม้ ค่าตลอดชวี ิตการใชง้ าน เชน่ ทนทาน ซอ่ มแซมและดแู ล
รกั ษางา่ ย ปรบั ปรงุ ตอ่ เติมได้ ไมต่ อ้ งเปลยี่ นบอ่ ย

30

7) มีระบบการจัดการระบบหลังหมดอายุการใช้งานท่ีมีประสิทธิภาพสูง เช่น
การเก็บรวบรวมที่ก่อผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมน้อย มีการออกแบบให้สามารถนําสินค้าหรือ
ชิ้นส่วนกลับมาใช้ซ้ํา หรือหมุนเวียนใช้ใหม่ได้ง่าย หรือหากต้องกําจัดท้ิงสามารถนําพลังงาน
กลับคืนมาใช้ได้และมคี วามปลอดภัยสําหรบั การฝังกลบ

กล่าวโดยสรุป การพิจารณาว่าสินค้าใดเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมควรพิจารณาว่า
สินค้าน้ันส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมมากในช่วงใดของวัฏจักรชีวิต เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า จะก่อ
ผลกระทบมากในช่วงใช้งานมากกว่าในช่วงการผลิต และหากมีการลดผลกระทบในช่วงดังกล่าว
ให้นอ้ ยกวา่ สินค้าอ่นื ที่มีลักษณะการทาํ งานเหมอื นกนั รวมท้ังประเดน็ ดา้ นส่ิงแวดลอ้ มอนื่ ๆ
ซึ่งจะถอื ไดว้ า่ เปน็ สนิ ค้าทเ่ี ปน็ มติ รต่อส่ิงแวดล้อม

31

เรื่องท่ี 2 ผลกระทบจากการใชว้ สั ดุในชีวิตประจาํ วนั

ในปัจจุบนั เทคโนโลยไี ดเ้ ขา้ มามีบทบาทและความจําเปน็ ตอ่ การดํารงชีวติ ของมนุษย์
เป็นอย่างมาก ทั้งภายในบ้านและภายนอกบ้าน เพื่ออํานวยความสะดวกสบายในชีวิตประจําวัน
เช่น การทํางานบ้าน การคมนาคม การส่ือสาร การแพทย์ การเกษตร และการอุตสาหกรรม
เป็นตน้ ซ่งึ ความเจริญกา้ วหน้าอย่างตอ่ เนอ่ื งของเทคโนโลยชี ่วยพฒั นาใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุดแก่
มนุษย์ อย่างไรก็ตาม แม้เทคโนโลยีจะเข้ามามีบทบาทต่อมนุษย์ แต่หลายครั้งเทคโนโลยี
เหล่านั้นก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อมในด้านต่าง ๆ ผลกระทบท่ีจะตามมามีทั้ง
ความสูญเสียทางด้านส่ิงแวดล้อม ก่อให้เกิดมลพิษทางน้ํา ดินเส่ือมสภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน
รวมถึงเป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยของสัตว์พาหะนําโรค เสียหายต่ออุตสาหกรรมการท่องเท่ียว ความ
สูญเสียทางดา้ นเศรษฐกจิ และส้นิ เปลอื งงบประมาณของรัฐท่ีใช้ในการแกไ้ ขปญั หาวสั ดุทใี่ ชแ้ ล้ว

การท้ิงวัสดุที่ใช้แล้วท่ีเป็นอันตรายปะปนกับวัสดุมูลฝอยทั่วไปอาจเกิดอันตรายหรือ
ทําให้สารอนั ตรายปนเปื้อนสิ่งแวดล้อมไดท้ งั้ ในระหว่างขน้ั ตอนการเกบ็ ขนและการกําจัด
การจดั การวสั ดุอนั ตรายไม่ถูกวธิ จี ะสง่ ผลกระทบหลายดา้ น เช่น กอ่ ใหเ้ กิดโรค ระบบนเิ วศ
ถูกทาํ ลาย เกิดความเสยี หายตอ่ ทรพั ย์สินและสังคม

กลับคนื สู่มนษุ ย์ แพรไ่ ปในอากาศ

ของเสียอันตรายท่ีท้งิ รวมกบั
ขยะมลฝอยท่วั ไป

ปนเป้อื นในดนิ

สตั ว์ และแหล่งนาํ้

ต้นไม้และพชื

ภาพที่ 3.4 ผลกระทบจากการทง้ิ วัสดอุ นั ตรายปะปนกบั วสั ดมุ ูลฝอยในชีวติ ประจําวนั

ทม่ี า : http://www.wangitok.com

32

ผลกระทบจากความเส่ียงต่อการเกิดโรค การได้รับสารอันตรายบางชนิดเข้าไปใน
ร่างกาย อาจทําให้เจบ็ ปว่ ยเปน็ โรคต่าง ๆ จนอาจถงึ ตายได้

ผลกระทบต่อระบบนิเวศ หากสารอันตรายซึมหรือไหลลงสู่พ้ืนดิน หรือแหล่งน้ํา
จะไปสะสมในห่วงโซ่อาหาร เป็นอันตรายต่อสัตว์น้ําและพืชผัก เม่ือเรานําไปบริโภคจะได้รับสาร
นัน้ เข้าสูร่ ่างกายเหมอื นเรากนิ ยาพษิ เข้าไปอยา่ งช้า ๆ

ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม สารอันตรายบางชนิดนอกจากทําให้เกิดโรค
ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลแล้ว อาจทําให้เกิดไฟไหม้ เกิดการกัดกร่อนเสียหายของ
วัสดุ เกิดความเส่ือมโทรมของสิ่งแวดล้อม ทําให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบํารุงรักษา
สภาพแวดลอ้ มและทรัพย์สิน

จากวงจรดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าการไม่คัดแยกวัสดุที่ใช้แล้วประเภทอันตรายออก
จากวัสดุทั่วไป แล้วนําไปท้ิงรวมกัน จะส่งผลกระทบต่อหลายด้านและท้ายท่ีสุดก็จะกลับคืน
สู่มนุษย์

2.1 ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ
2.1.1 ความเส่ียงตอ่ การเกิดโรค การไดร้ บั สารอันตรายบางชนิดเข้าไปใน

ร่างกาย อาจทาํ ให้เจบ็ ป่วยเป็นโรคต่าง ๆ จนอาจถึงตายได้ พษิ ของขยะอันตรายสามารถเข้าสู่
รา่ งกายของเราจาก 3 ทาง คอื

1) ทางการหายใจ โดยการสูดดมเอาไอ ผง หรือละอองสารพิษเข้าสู่
รา่ งกาย เช่น สี สารระเหย ไอนํา้ มันรถยนต์

2) ทางปาก โดยการรับประทานเข้าไปโดยตรง ท้ังต้ังใจและไม่ต้ังใจ
เช่น สารพิษที่ปนเปื้อนจากภาชนะใส่อาหาร หรือจากมือ รวมถึงสารพิษท่ีสะสมอยู่ในผักและ
เนอ้ื สัตว์

3) ทางผวิ หนงั โดยการสมั ผัสหรือจับตอ้ งสารพิษ ซึง่ สามารถซมึ
เข้าสู่ผิวหนังและจะดดู ซึมได้มากยิ่งข้นึ หากมีบาดแผลทผี่ ิวหนัง หรือเป็นโรคผิวหนังอยูก่ อ่ นแล้ว

33

ตารางท่ี 3.1 ตัวอยา่ งวัสดุอันตรายและอาการเจบ็ ปว่ ยเมือ่ สารพิษเข้าสู่รา่ งกาย

ผลิตภณั ฑใ์ นชวี ิตประจาํ วนั สารพิษ/สาร อาการ/ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ
อนั ตราย

ถา่ ยไฟฉาย กระป๋องสี สารแมงกานสี เม่ือสารพิษเข้าสู่ร่างกายทําให้ปวดศีรษะ
ง่วงนอน อ่อนเพลีย ซึมเศร้าประสาทหลอน
เกดิ ตะคริวกินทแ่ี ขน ขา

หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ สารปรอท เม่ือสารพิษเข้าสรู่ า่ งกายเกิดการระคาย
สารฆ่าแมลง ถ่านกระดุม เคอื งตอ่ ผวิ หนงั เหงือกบวม อกั เสบ
เลอื ดออกงา่ ย กล้ามเนอ้ื กระตกุ หงุดหงิด
โมโหง่าย

แบตเตอร่ีรถยนต์ สารตะกวั่ เมื่อสารพษิ เข้าสูร่ า่ งกาย ทาํ ใหป้ วดศรี ษะ
สารฆา่ แมลง กระป๋อง ออ่ นเพลีย ตวั ซีด ปวดเม่ือยกล้ามเนอ้ื
ความจาํ เสือ่ ม

สเปรย์ นํา้ ยายอ้ มผม สารระเหย เม่ือสารพษิ เข้าสรู่ า่ งกายเกิดการระคาย
นา้ํ ยาทาเล็บ นํา้ ยาล้างเลบ็ แอลกอฮอล์ เคอื งต่อผิวหนังคัน หรอื เห่อ บวมปวดศีรษะ
เครือ่ งสาํ อางหมดอายุ หายใจขดั เป็นลม

34

ตัวอยา่ งผลกระทบของสารพิษอนั ตรายทีม่ ตี ่อร่างกายมนษุ ย์

เบรลิ เลียม
เปน็ สารก่อมะเร็งชนดิ หนึ่งหาก
หายใจเข้าไปอย่างตอ่ เนื่องจะเป็น
โรคทมี่ ผี ลกับปอด หากสมั ผัสจะ  ทาํ
ใหเ้ กดิ แผลท่ผี ิวหนงั อย่างรนแรง

ภาพท่ี 3.5 แสดงผลกระทบของสารพิษอนั ตรายที่มตี ่อร่างกายมนษุ ย์

ที่มา : คู่มือการคัดแยกขยะอนั ตราย สําหรบั เยาวชน หนา้ 47

35

2.1.2 เป็นแหลง่ เพาะพันธ์ุของแมลง และพาหะของโรค
วัสดุท่ีใช้แล้วและของเสีย มีปริมาณเพิ่มมากข้ึนทุกขณะ เน่ืองจากการ

ขยายตัวของเมือง การพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ืออํานวยความสะดวกสบาย การอยู่อาศัยอย่าง
หนาแน่น หากใช้วิธีกําจัดที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมา นอกจากน้ันวัสดุ
ที่ใช้แล้วที่ถูกปล่อยท้ิงไว้นาน ๆ จะเป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์พาหะที่จะเข้ามาทํารัง ขยายพันธุ์
เพราะมีท้ังอาหารและที่หลบซ่อน ดังน้ันวัสดุท่ีใช้แล้วท่ีขาดการเก็บรวบรวม และการกําจัด
จึงทําให้เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ที่สําคัญของเชื้อโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซ่ึงเป็นหาหะนํา
โรคมาส่คู น

2.1.3 ก่อใหเ้ กดิ ความรําคาญ
การเก็บรวบรวมวัสดุที่ใช้แล้วไม่หมดก่อให้เกิดกล่ินรบกวน กระจายอยู่

ทัว่ ไปในชุมชน นอกจากน้นั ฝนุ่ ละอองท่เี กดิ จากการเก็บรวบรวม การขนถ่าย และการกําจัดแล้ว
ยังคงเป็นสาเหตุสาํ คัญท่ีกอ่ ให้เกิดปญั หาเรอ่ื งกลน่ิ รบกวน สัตวพ์ าหะนําเช้ือโรค ทัศนวิสัยในการ
ใช้ที่ดนิ และนา้ํ เสียจากน้ําชะขยะ

2.2 ผลกระทบต่อระบบนเิ วศและสิ่งแวดลอ้ ม
วัสดุที่ใช้แล้วเป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้เกิดมลพิษของนํ้า มลพิษของดิน และ

มลพษิ ของอากาศ เน่อื งจากวัสดสุ ่วนทีข่ าดการเก็บรวบรวมหรือไมน่ าํ มากาํ จดั ให้ถูกวิธี ปล่อยท้ิง
ค้างไว้ในพื้นที่ของชุมชน เม่ือมีฝนตกลงมาจะไหลชะนําความสกปรก เชื้อโรค สารพิษจากวัสดุ
ท่ใี ช้แลว้ ไหลลงสู่แหลง่ นํา้ ทําให้แหล่งนํ้าเกดิ เนา่ เสียได้ หากสารอันตรายซึมหรือไหลลงสู่พ้ืนดิน
หรือแหล่งน้ํา จะไปสะสมในห่วงโซ่อาหาร เป็นอันตรายต่อสัตว์นํ้าและพืชผัก เม่ือเรานําไป
บรโิ ภคจะไดร้ ับสารนั้นเข้าสรู่ ่างกายเหมอื นเรากนิ ยาพษิ เข้าไปอย่างชา้ ๆ

2.2.1 มลพษิ ทางดิน
วัสดุที่ใช้แล้วและของเสียต่าง ๆ ถ้าเราท้ิงลงในดินขยะส่วนใหญ่จะ

สลายตัวให้สารประกอบ อินทรีย์และอนินทรีย์มากมายหลายชนิดด้วยกัน แต่ก็มีวัสดุบางชนิด
ท่ีสลายตัวได้ยาก เช่น ผ้าฝ้าย หนัง พลาสติก โดยเฉพาะเกลือไนเตรตสะสมอยู่เป็นจํานวนมาก
แล้วละลายไปตามน้ํา สะสมอยู่ในบริเวณใกล้เคียง การทิ้งของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
ตา่ ง ๆ เป็นแหลง่ ผลิตของเสียทส่ี าํ คญั ยิ่ง โดยเฉพาะของเสยี จากโรงงานท่มี ีโลหะหนักปะปน
ทําให้ดินบริเวณน้ันมีโลหะหนักสะสมอยู่มาก โลหะหนักท่ีสําคัญ ได้แก่ ตะก่ัว ปรอท และ
แคดเมยี ม ซึ่งจะมผี ลกระทบมากหรอื น้อยขึน้ อยูก่ บั คุณลกั ษณะของขยะ ถา้ ขยะมี

36

ซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอร่ี ซากหลอดฟลูออเรสเซนต์มาก ก็จะส่งผลต่อปริมาณโลหะหนัก
พวกปรอท แคดเมียม ตะก่ัว ในดินมาก ซึ่งจะส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ในดิน และสารอินทรีย์
ในขยะ เม่ือมีการย่อยสลาย จะทําให้เกิดสภาพความเป็นกรดในดิน และเม่ือฝนตกมาชะ
กองขยะ จะทําให้น้ําเสียจากกองขยะไหลปนเป้ือนดินบริเวณรอบ ๆ ทําให้เกิดมลพิษของดินได้
การปนเป้ือนของดิน ยังเกิดจากการนําวัสดุที่ใช้แล้วไปฝังกลบ หรือการลักลอบนําไปทิ้ง ทําให้
ของเสียอนั ตรายปนเป้ือนในดนิ นอกจากน้นั การเลย้ี งสตั ว์เปน็ จาํ นวนมาก ก็ส่งผลต่อสภาพ
ของดิน เพราะสิ่งขับถ่ายของสัตว์ท่ีนํามากองทับถมไว้ ทําให้เกิดจุลินทรีย์ย่อยสลายได้ อนุมูล
ของไนเตรตและอนุมลู ไนไตรต์ ถ้าอนมุ ลู ดังกล่าวนี้สะสมอยู่จํานวนมากในดิน บริเวณนั้นจะเกิด
เปน็ พิษได้ ซึ่งเป็นอันตรายต่อมนุษย์โดยทางอ้อม โดยได้รับเข้าไปในรูปของน้ําดื่มท่ีมีสารพิษเจือ
ปน โดยการรับประทานอาหาร พืชผักท่ีปลูกในดินท่ีมีสารพิษสะสมอยู่ และยังส่งผลกระทบต่อ
คุณภาพดิน

ภาพที่ 3.6 ปญั หามลพิษทางดิน

ท่มี า : https://www.sites.google.com

2.2.2 มลพิษทางน้าํ
วัสดุที่ใช้แล้วจําพวกสารอินทรีย์(คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน) เช่น

ส่ิงปฏิกูลจากคน เศษอาหาร นํ้ายาทําความสะอาด เป็นต้น หากถูกท้ิงลงสู่แม่นํ้าลําคลอง จะ
ส่งผลให้แม่น้ําลําคลองเกิดการเน่าเสียซึ่งสารอินทรีย์ในน้ําเสียมีท้ังที่อยู่ในรูปสารแขวนลอยและ
สารละลาย สามารถถกู ยอ่ ยสลายได้ โดยจุลินทรีย์ท่ีใช้ออกซิเจน ทําให้เกิดสภาพขาดออกซิเจน
ส่งผลให้แม่นํ้าเกิดการเน่าเสียมีกลิ่นเหม็นเน่า เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุของสัตว์นําโรค ต่าง ๆ เกิด
การแพร่ระบาดของเช้ือโรค และทําให้เกิดการสูญเสียทัศนียภาพ เกิดภาพท่ีไม่น่าดู เช่น สภาพ
นํ้ามสี ดี าํ มีขยะและส่งิ ปฏกิ ูลลอยนาํ้

37

ปริมาณของสารอินทรีย์นิยมวัดด้วยค่าปริมาณออกซิเจนท่ีจุลินทรีย์
ต้องการใช้ในการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ (BOD) เม่ือ ค่าบีโอดีในน้ําสูง แสดงว่า มีสารอินทรีย์
ปะปนอยู่มาก สง่ ผลใหส้ ภาพเหม็นเน่าเกิดข้ึนได้ง่าย นอกจากนี้ ในน้ําเสียยังมีจุลินทรียบ์ างชนิด
อาจเปน็ เช้ือโรคทเ่ี ป็นอนั ตรายต่อมนษุ ยไ์ ด้

ภาพท่ี 3.7 ผลกระทบต่อระบบนิเวศทางนํา้

ท่มี า : http://www.suriyothai.ac.th

2.2.3 มลพษิ ทางอากาศ
ถ้ามีการเผาวัสดุที่ใช้แล้วกลางแจ้งทําให้เกิดควัน มีสารพิษทําให้

คณุ ภาพของอากาศเสีย สว่ นมลพิษทางอากาศจากวัสดุที่ใช้แล้วน้ัน อาจเกิดข้ึนได้ทั้งจากมลสาร
ท่ีมีอยู่ในวัสดุและพวกแก๊สหรือไอระเหย ที่สําคัญก็คือ กลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเน่าเปื่อย และ
สลายตัวของอนิ ทรีย์สารเป็นส่วนใหญ่ ปัญหาส่ิงแวดล้อมเป็นพิษ ซ่ึงเป็นปัญหาใหญ่ของคนไทย
อีกปัญหาหนึ่ง ซ่ึงส่งผลมาจากฝีมือของมนุษย์ ที่เกิดจากการกําจัดวัสดุท่ีใช้แล้วไม่ถูกวิธี เช่น
การฝังกลบมูลฝอยท่ีไม่ถูกวิธี ทําให้เกิดก๊าซมีเทน (CH4) การใช้สารเคมีที่ทําลายชั้นโอโซน
การเผาไหมข้ ยะมูลฝอย การเผาไหม้เชือ้ เพลงิ ถ่านหนิ ก๊าซธรรมชาติ ทาํ ใหเ้ กิด
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซ่ึงเป็นก๊าซท่ีสะสมพลังงานความร้อนในชั้นบรรยากาศโลกไว้
มากท่สี ุด และมผี ลทาํ ให้อุณหภมู ิของโลกสงู ข้นึ เร่ือย ๆ เกิดภาวะโลกรอ้ น ซึ่งปรากฏการณ์ที่โลก
มีอุณหภูมิสูงขึ้น เราเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก นอกจากการเผาไหม้ท่ีไม่สมบูรณ์แล้ว
อีกปัจจัยหน่ึง ท่ีเป็นสาเหตุในการทําลายช้ันบรรยากาศโอโซน ท่ีทําให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
ได้แก่ กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น การทําความเย็นในตู้เย็น
เคร่ืองปรับอากาศ โฟม กระป๋องสเปรย์ สารดับเพลิง สารชะล้างในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ซง่ึ สารเหล่านี้ เรยี กวา่ สารคลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (CFC) และในอนาคต ถา้ เราไมช่ ่วยกัน

38

ลดการใชส้ ารทําลายช้ันโอโซนท่เี กดิ จากสาร CFC โลกของเราก็จะเจอกับปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็น
พิษ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ภาพที่ 3.8 มลพิษทางอากาศ

ท่ีมา : http://www.thaihealth.or.th

2.3 ผลกระทบด้านเศรษฐกจิ และสงั คม
2.3.1 เกิดความเสยี หายต่อทรัพยส์ นิ
สารอันตรายบางชนิดนอกจากทําให้เกิดโรค ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ

รักษาพยาบาลแล้ว อาจทําให้เกิดไฟไหม้ เกิดการกัดกร่อนเสียหายของวัสดุ เกิดความเสื่อม
โทรมของส่ิงแวดล้อม ทําใหต้ อ้ งเสยี ค่าใชจ้ า่ ยในการบํารุงรกั ษาสภาพแวดล้อมและทรพั ย์สนิ

2.3.2 เกิดการสญู เสยี ทางเศรษฐกจิ
วสั ดุทใี่ ชแ้ ล้วหากมปี ริมาณมาก ๆ ย่อมตอ้ งส้ินเปลืองงบประมาณ

ในการจัดการเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ผลกระทบจากวัสดุท่ีใช้แล้วไม่ว่าจะเป็นน้ําเสีย
อากาศเสยี ดินปนเปื้อนสารพิษ เหล่านยี้ อ่ มส่งผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ ของประเทศ

39

2.3.3 ทาํ ใหข้ าดความสงา่ งาม
การเก็บ ขนและกําจัดวัสดุท่ีใช้แล้วที่ดีจะช่วยให้ชุมชนเกิดความ

สวยงาม มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ซึ่งแสดงถึงความเจริญและวัฒนธรรมของชุมชน ฉะน้ัน
หากกระบวนการเก็บ ขนไม่หมดและกําจัดไม่ดี ย่อมก่อให้เกิดความไม่น่าดู ขาดความสวยงาม
บา้ นเมอื งสกปรก และความไม่เป็นระเบยี บ สง่ ผลกระทบตอ่ อตุ สาหกรรมการท่องเทยี่ ว

ภาพที่ 3.9 ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศ

ท่ีมา : https://www.pantip.com

กล่าวโดยสรุป เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อการพัฒนาวัสดุและผลิตภัณฑ์ เพ่ือ
อํานวยความสะดวกสบายในการดํารงชีวิตประจําวนั ของมนุษย์ ทั้งภายในบ้านและภายนอกบ้าน
แต่เทคโนโลยีเหล่าน้ันก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ หากทุกคนยังละเลย
และไมค่ ํานึงถึงการใชว้ สั ดุหรอื ผลิตภณั ฑอ์ ยา่ งร้คู ุณคา่

กจิ กรรมทา้ ยหนว่ ยที่ 3 
หลงั จากทีผ่ เู้ รียนศกึ ษาเอกสารชุดการเรยี นหน่วยท่ี 3 จบแลว้ ใหศ้ กึ ษาคน้ คว้า
เพ่ิมเติมจากแหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ แลว้ ทาํ กิจกรรมการเรียนหนว่ ยท่ี 3 ในสมุดบันทกึ กิจกรรม
การเรยี นรู้ แล้วจัดส่งตามทค่ี รูผูส้ อนกําหนด

40 

หน่วยท่ี 4 การจดั การและกําจัดวัสดทุ ีใ่ ช้แล้ว

สาระสาํ คญั
การจัดการวัสดทุ ี่ใช้แล้วด้วยหลัก 3R เป็นแนวทางปฏบิ ตั ิในการลดปรมิ าณวสั ดุ

ทใ่ี ชแ้ ล้วในครัวเรอื น โรงเรยี น และชุมชน โดยใชห้ ลกั การใช้น้อยหรอื ลดการใช้ (Reduce)
การใช้ซ้าํ (Reuse) และผลิตใช้ใหม่ (Recycle) เพ่ือลดปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้วัสดุในปัจจุบัน
ซ่ึงเป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้มีปริมาณวัสดุท่ีใช้แล้วเพิ่มมากข้ึน ท้ังน้ีเนื่องจากความเจริญเติบโต
ทางด้านเศรษฐกิจ การเพ่ิมข้ึนของจํานวนประชากร ตลอดจนพฤติกรรมการอุปโภค บริโภค
ของคนท่ีเริ่มเปลี่ยนไป ส่งผลให้ต้องศึกษาวิธีการกําจัดวัสดุที่ใช้แล้วให้ถูกต้องตามหลัก
สุขาภิบาล เพื่อลดปญั หาและผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้นต่อชมุ ชนและสังคม

ตัวชวี้ ัด

1. อธบิ ายความหมายและวธิ กี ารจัดการวสั ดทุ ีใ่ ช้แลว้ ดว้ ยหลกั 3R ได้
2. อธิบายวธิ กี ารกาํ จดั และทําลายวัสดุทใ่ี ชแ้ ลว้ ได้
3. บอกระยะเวลาการย่อยสลายของวสั ดทุ ่ใี ชแ้ ล้วได้
4. กําจดั วสั ดทุ ี่ใช้แล้วอย่างถูกต้องตามหลักสขุ าภบิ าลได้

ขอบขา่ ยเนอ้ื หา
1. การจดั การวัสดทุ ใ่ี ช้แล้วดว้ ยหลกั 3R
2. การกําจดั และทําลาย

เวลาท่ีใชใ้ นการศึกษา
ใชเ้ วลาเรยี น โดยศกึ ษาจากเอกสารและสือ่ ต่าง ๆ ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม และรวมกลุม่

เพ่อื แลกเปล่ียนเรยี นรู้ จาํ นวน 20 ชั่วโมง

สอ่ื การเรียนรู้
1. ชุดวชิ าวสั ดุศาสตรร์ ะดับประถมศึกษา
2. ศึกษาค้นควา้ จากอินเตอรเ์ น็ต
3. ศึกษาค้นคว้าจากหนงั สือในห้องสมุดประชาชน


Click to View FlipBook Version