The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบงาน 18 นายเดชา กาฬจันโท กลุ่มที่ 16 เลขที่ 10

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ธนพนธ์ ธิสงค์, 2022-05-05 16:40:26

ใบงาน 18 นายเดชา กาฬจันโท กลุ่มที่ 16 เลขที่ 10

ใบงาน 18 นายเดชา กาฬจันโท กลุ่มที่ 16 เลขที่ 10

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสงขลา

1. ข้อมูลพนื้ ฐานสถานศึกษา
1.1 ชื่อสถานศึกษา วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี งขลา ชอ่ื ภาษาอังกฤษ Songkhla College of

Agriculture and Technology
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาวิทยาลัยเกษตร

และเทคโนโลยสี งขลา เป็นวทิ ยาลยั ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ
ต้ังอยู่เลขที่ 142 หมู่ที่ 3 ถนนยนตรการกาธร ตาบลท่าชะมวง อาเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
รหัสไปรษณีย์ 90180 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-7438-9118 เว็บไซต์ ww.scat.ac.th E-mail :
[email protected] ธงสีประจาสถาบัน เขียว - ขาว - เหลือง ต้นไม้ประจาสถานศึกษา ต้น
ตะเคียนทอง สถานศกึ ษาได้รับการประกาศจดั ต้งั เมือ่ พ.ศ.2468 เนือ้ ทขี่ องสถานศกึ ษา 200 ไร่ - งาน
– ตารางวา ผ้ดู ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา คนปัจจบุ ัน คือ นางสาวชนม์ศิกานต์ แกว้ กระจา่ ง

ปรชั ญา วสิ ยั ทศั น์ อตั ลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์
ปรชั ญา (Philosophy) สรา้ งคนเก่ง ผลิตคนดี มมี าตรฐาน สนองความตอ้ งการของชุมชน
วสิ ัยทัศน์ (Vision) จัดการศึกษาหลากหลายตามความตอ้ งการของชุมชน ม่งุ ความเปน็ เลิศทาง

วิชาการและวิชาชีพ มคี ณุ ภาพ คุณธรรม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และไดม้ าตรฐาน
อตั ลกั ษณ์ (Identity) ทักษะเยีย่ ม กิจกรรมเดน่
เอกลกั ษณ์ (Uniqueness) ภมู ทิ ัศนส์ วยงาน บริการเยีย่ ม

1.2 ชื่อสถานศึกษา วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี งขลา

วทิ ยาลัยเทคนิคสิชล

1. ข้อมูลพืน้ ฐานสถานศกึ ษา
1.1 ชอ่ื สถานศกึ ษา วทิ ยาลัยเทคนคิ สิชล ช่อื ภาษาองั กฤษ Sichontc Technical College
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาวิทยาลยั เทคนคิ สิ

ชล เป็นวทิ ยาลัยในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขท่ี 44
หมู่ท่ี 5 ถนนนครศรีธรรมราช-สุราษฎร์ธานี ตาบลทุ่งปรัง อาเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช
รหัสไปรษณีย์ 80120 โทรศัพท์/ โทรสาร 0-7536-7891 เว็บไซต์ ww.sichontc.ac.th E-mail :
[email protected] สถานศกึ ษาไดร้ ับการประกาศจดั ตง้ั เมอ่ื 21 ตลุ าคม พ.ศ.2536 เน้ือท่ขี อง
สถานศึกษา 154 ไร่ 1 งาน 91.3 ตารางวา ผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา คนปัจจุบัน คือ
นายมนสั ชรู าศรี

ปรัชญา วสิ ัยทศั น์ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์
ปรชั ญา (Philosophy) ฝีมอื เปน็ เยีย่ ม วิชาการเป็นเลศิ คุณธรรมสงู ย่งิ
วิสัยทัศน์ (Vision) “วิทยาลัยเทคนคิ สชิ ลเป็นสถานศึกษาช้ันนาด้านวิชาชีพ ตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มคี ณุ ภาพเป็นท่ยี อมรับในระดบั ชาติ”
อัตลกั ษณ์ (Identity) ทักษะเด่น เนน้ คุณธรรม
เอกลักษณ์ (Uniqueness) นวตั กรรมสง่ิ ประดิษฐ์ ชมุ ชน หุ่นยนตอ์ าชีวศึกษา

ช่ือสถานศึกษา วทิ ยาลัยเทคนคิ สชิ ล

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา

๒. ขอ้ มูลค่านิยม วัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน
อาเภอรัตภูมิเปน็ อาเภอที่ต้ังอยู่บนเน้ือท่ี 655 ตารางกิโลเมตรทิศเหนือติด ติดต่อกับอาเภอป่าบอน

จังหวัดพัทลงุ ทิศตะวนั ออกติดตอ่ อาเภอควนเนียง อาเภอบางกล่า จังหวัดสงขลา ทิศใต้ติดต่ออาเภอหาดใหญ่
อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา ทางด้านตะวันตกติดต่อกับอาเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล เป็นอาเภอที่มี
ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ุดมสมบรู ณ์ ด้านตะวนั ออก เป็นที่ราบ แต่ด้านตะวันตกมเี ทอื กเขานครศรีธรรมราช มปี า่ ไม้
เรือกสวนไรน่ า ซ่ึงเหมาะแก่การทาการเกษตร

ลักษณะอากาศ อยูใ่ นเขตภมู อิ ากาศแบบมรสมุ เขตรอ้ น แบ่งออกเปน็ 2 ฤดูกาล คอื ฤดูร้อนและฤดูฝน
โดยดรู ้อนเรม่ิ เดือนกุมภาพันธ์ ถึง เดือนกันยายน และฤดูฝนเร่ิมเดือนตุลาคม ถึง เดือนกุมภาพันธ์แหล่งน้าท่ี
สาคัญ คือ คลองรัตภูมิ (คลองภูมี) ยาว 60 กิโลเมตร มีต้นน้าจากเทือกเขาบรรทัดไหลผ่าน ตาบลเขาพระ
ตาบลทา่ ชะมวง ตาบลกาแพงเพชร ตาบลคหู าใต้ และตาบลควนรู ไหลออกทะเลสาบสงขลา ทบี่ า้ นปากบาง หมู่
ท่ี 3 ตาบลรัตภูมิ อาเภอควนเนยี ง จงั หวดั สงขลา

คาขวญั ประจาอาเภอ “ถน่ิ ดินแดง แหล่งผลไม้ดก น้าตกเจ้าฟ้า ภูผามีตานาน ประตูผ่านสู่ชายแดน”
อาชีพหลักของประชาชน ได้แก่ ด้านการเกษตร เช่น ทาสวนยาง สวนผลไม้ ทานา อาชีพเสริมได้แก่ด้าน
อตุ สาหกรรม เช่นโรงงานโม่หนิ และโรงงานแปรรปู ตา่ งๆ เปน็ ตน้

สภาพสังคมประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และอิสลาม มีสถานศึกษาในเขตอาเภอทั้งหมด
42 โรง

วิทยาลัยเทคนิคสิชล

๒. ข้อมลู คา่ นยิ ม วฒั นธรรมท้องถ่ิน

สภาพชมุ ชน
วิทยาลัยเทคนิคสิชล ต้ังอยู่ในอาเภอสิชลจังหวัดนครศรีธรรมราช ห่างจากตัวเมืองจังหวัด

นครศรธี รรมราช ประมาณ 65 กโิ ลเมตร นกั ศึกษาสว่ นใหญ่เดินทางไปวิทยาลัย โดยใช้รถประจาทาง และ
รถจักรยานยนต์เปน็ พาหนะ

สภาพเศรษฐกจิ
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก มีการทาสวนโดยท่ัวไป เช่น สวน

มะพร้าว ยางพารา สวนผลไม้และการทานาก็มีอยู่ท่วั ไป พืชเศรษฐกิจที่สาคัญไดแ้ ก่ มะพร้าว ยางพารา ปาล์ม
และผลไม้ มีการเล้ียงสัตว์ท้ังเพื่อการค้าและการบริโภคในครัวเรือน มีการประกอบอุตสาหกรรม เช่น
อตุ สาหกรรมนา้ มนั ปาล์ม อตุ สาหกรรมค้าไม้ การตอ่ เรอื และอตุ สาหกรรมการประมง ส่วนประชากรทอ่ี าศัยอยู่
ในทร่ี าบชายฝงั่ ทะเลอ่าวไทยส่วนมากประกอบอาชพี การประมง

สภาพสงั คม
วิทยาลัยเทคนิคสิชล มีนักเรียนนักศึกษาส่วนใหญ่ที่มาจากสภาพสังคมชาวชนบทท่ีน่ีมีความเป็นอยู่

เรียบงา่ ย เชื่อฟงั และเคารพผนู้ าของหมบู่ า้ น ประชาชนในเขตพ้นื ที่บรกิ ารของวิทยาลยั ฯ ส่วนใหญ่นับถอื ศาสนา
พุทธ และศาสนาอิสลามบางส่วน มีการปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม สืบต่อกันมา อาทิเช่น
ประเพณีบญุ สารทเดือนสิบ ประเพณีชกั พระ เปน็ ตน้

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสงขลา

3. วิเคราะห์บริบทสถานศกึ ษา
จุดเด่น
ดา้ นผเู้ รยี นและผสู้ าเร็จการศกึ ษา
1) ผเู้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
2) ผู้เรยี นมสี มรรถนะในการเปน็ ผปู้ ระกอบการ หรอื การประกอบการอสิ ระ
3) ผเู้ รยี นมคี วามเป็นผู้นา มคี ุณธรรม มจี ิตอาสา
4) ผลการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ
5) การมีงานทาและศกึ ษาตอ่ ของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา
6) การดแู ลแนะแนวผเู้ รียน

ดา้ นหลกั สตู รและการจัดการเรียนการสอน
1) การพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ
2) การจดั การเรียนรู้สู่การปฏบิ ัตทิ ่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั
3) คณุ ภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้การปฏบิ ตั ิ

ดา้ นครูผสู้ อนและผ้บู ริหารสถานศึกษา
1) ครผู สู้ อน
2) การจดั การเรยี นการสอน
3) การบริหารจดั การชั้นเรียน
4) การพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชีพ

ด้านผู้บริหารสถานศกึ ษา
1) การบริหารสถานศกึ ษาแบบมสี ว่ นร่วม
2) การบริหารจัดการระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา

ดา้ นการมีสว่ นรว่ ม
1) การจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี
2) การระดมทรัพยากรเพ่ือการจดั การเรียนการสอน
3) การบรกิ ารชมุ และจติ อาสา

ดา้ นปจั จัยพ้ืนฐาน
1) อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบตั กิ าร โรงฝกึ งาน
2) ระบบสาธารณปู โภคพน้ื ฐาน
3) แหง่ เรียนรู้และศูนย์วิทยบรกิ าร
4) ระบบอนิ เทอรเ์ น็ตความเร็วสูงเพือ่ การใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศกึ ษา

จุดควรพัฒนา

๑) พัฒนาระบบการดาเนนิ งานโดยใชว้ งจรคณุ ภาพ (PDCA) ทงั้ องคก์ ร
๒) การรายงานผลการดาเนินงาน ควรรายงานเมื่อสิ้นสุดโครงการไม่เกิน 30 วันหลังจากเสร็จส้ิน
โครงการ
3) พัฒนาระบบการนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม การปฏบิ ัตงิ านอยา่ งสม่าเสมอ
4) พฒั นาระบบ wifi ให้สามารถใช้ไดค้ รอบคลมุ พนื้ ทีท่ กุ หมด
5) สถานศึกษายังแก้ปัญหาการออกกลางคันของนักเรียนยังไม่ดีเท่าท่ีควรจึงทาให้นักเรียนไม่จบ
การศึกษาตามเปา้ หมายทวี่ างแผนไว้

วิทยาลัยเทคนคิ สชิ ล

2. วเิ คราะหบ์ รบิ ทสถานศกึ ษา
จุดเด่น
1) สถานศกึ ษามหี ลกั สตู รการเรยี นการสอนทหี่ ลากหลาย ใหผ้ ู้ทสี่ นใจไดเ้ ลือกเรยี นตามความตอ้ งการ
2) สถานศึกษาจดั การเรยี นรูอ้ ย่างหลากหลาย โดยเน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญในการฝกึ ทักษะวิชาชีพ มีการ

ฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นได้พัฒนาแบบเต็มศักยภาพ จนเกดิ ทกั ษะ สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิต
หรือไปประกอบอาชพี ได้

3) สถานศึกษาสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหน้ ักเรยี น นักศึกษา มีส่วนร่วมในกิจกรรมโครงการของวิทยาลัยฯ
เพือ่ เปน็ การสร้างแรงจูงใจ พฒั นาวิชาชพี ภายในชุมชน หรอื ทอ้ งถ่นิ ของตนเองเพอ่ื ให้เกดิ ความภาคภูมิใจ

4) สถานศึกษามีการพัฒนาระบบสารสนเทศ และการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มี
ประสทิ ธิภาพ

5) สถานศึกษามีระบบในการบรหิ ารงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยไดร้ ับความร่วมมือจากผู้บริหาร ครู
อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

6) สถานศึกษามีการรายงานผลการประกนั คณุ ภาพภายใน ต่อกรรมการสถานศึกษา สาธารณชน และ
มีการนาผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาการบรหิ ารใหเ้ ปน็ มาตรฐาน

7) สถานศึกษาจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคใี นระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้นั สูง (ปวส.) 100 %
เม่อื จบการศกึ ษาแลว้ นักศึกษาเกดิ ทกั ษะ สามารถนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ หรือไปประกอบอาชพี ได้

8) ผู้บริหารมีความมุ่งม่ันในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาทุกด้าน เป็นท่ียอมรับจากชุมชน และ
องค์กรภายนอกทกุ ภาคสว่ น

จุดควรพัฒนา
1) การดูแล และแนะแนวผู้เรยี นให้มีสัดสว่ นผู้สาเร็จการศึกษา ท่มี ีจานวนมากขึน้ เมอื่ เทยี บกับแรกเขา้
2) การแก้ปัญหาผเู้ รยี นทอ่ี อกกลางคัน
3) จานวนผู้เรยี นท่ีประสบความสาเร็จสกู่ ารเป็นผปู้ ระกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ
4) จานวนผเู้ รยี นท่ีไดร้ บั รางวลั จากการประกวด แขง่ ขนั ทกั ษะวิชาชพี ในระดับนานาชาติ
5) จานวนผลงานด้านนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์ หรืองานวิจัยที่ได้รับรางวัลในระดับชาติ

นานาชาติ
6) จานวนผลงานดา้ นนวตั กรรมสิ่งประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรืองานวจิ ัยทม่ี ีการใช้

ประโยชน์ ในระดับชุมชน จงั หวดั ภาค ชาติ

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสงขลา

(1) กลยุทธใ์ นการขับเคลื่อน Future Skill ของสถานศกึ ษา

ในการพัฒนาและกลยุทธ์ในการขับเคล่ือน Future Skills ของสถานศึกษาวิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีสงขลา ไดม้ กี ารพฒั นาทกั ษะในรปู แบบของการประยุกต์ใช้โดยนาทักษะของ Future Skills ทั้ง 3
รปู แบบไม่วา่ จะเปน็ ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ ทักษะด้านเทคโนโลยี และทักษะด้านการสร้างธุรกิจซ่ึงสามารถ
สรุปผลการดาเนินกิจกรรมได้ดงั นี้

สถานศกึ ษาเปน็ ศนู ยบ์ รหิ ารเครอื ขา่ ยการผลติ และพฒั นากาลังคนอาชวี ศกึ ษา Center of Vocational
Manpower Networking Management : CVM หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้ันสูง พุทธศักราช 2563
(ปรับปรงุ พ.ศ.2565) สาขาวชิ าสัตวศาสตร์ เป็น Excellent Center พฒั นารายวิชาใหม่ จานวน 1 รายวชิ า
สาขางาน การผลติ สัตว์ รหสั วชิ า 30501-XXXX ช่ือวิชา นวัตกรรมการผลิตสัตว์ 2-3-3 (อ้างอิงมาตรฐาน
อาชพี อาชพี นักเทคโนโลยผี ลติ สตั ว์ ระดับ 5 สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ) เช่น การเล้ียงแพะในพื้นท่ีจากัด (หมาย
เหตุ รหัสวชิ า XXXX หมายถึง อยู่ระหว่างการรอ สอศ. อนุมตั ิ)

โครงการชีววิถเี พือ่ การพฒั นาอย่างยงั่ ยืนระหว่างวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี งขลา และเทคโนโลยี
สงขลา กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้ดาเนินโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ.2562 ตามแนวพระราชดาริ
ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั เรอ่ื งเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏบิ ตั ิ ซ่งึ ประกอบดว้ ย 4 เรื่อง ไดแ้ ก่ การปลกู พืช
(กสิกรรม) การเล้ียงปลาในบ่อขนาดเล็ก (การประมง) การเลี้ยงไก่ไว้กินไข่ (ปศุสัตว์) และการบาบัดน้าเสีย
(ส่ิงแวดล้อม) โดยใชจ้ ุลินทรีย์ที่มปี ระสทิ ธิภาพ เป็นเคร่ืองมือช่วยให้เกิดความสาเร็จอย่างต่อเน่ือง ขยายผลสู่
ครวั เรือน สู่ชมุ ชน สงั คมเมือง องคก์ รภาครฐั และภาคเอกชน สง่ ผลให้การผลิตของชาติ ปลอดภัยจากสารพิษ
ลดต้นทนุ การผลิต และเพิม่ ผลผลติ

สถานศกึ ษาได้สนับสนนุ ให้ผเู้ รียนได้มีสมรรถนะการประกอบวิชาชีพอิสระและเป็นผู้ที่มีความสาเร็จ
จากการประกอบอาชพี อิสระตามเปา้ หมายซึ่งพบว่าการประกอบอาชพี อิสระเพม่ิ ขน้ึ จากปกี ารศกึ ษาทผ่ี ่านมา
และมกี ารประเมินผลสมั ฤทธ์ิ ชนะเลิศหน่วย อกท. ระดับชาติ องค์การเกษตรในอนาคตแห่งประเทศไทย ใน
พระราชูปถมั ภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประจาปกี ารศึกษา 2564, 2564 และ
โล่เกยี รติยศ เป็นหน่วย อกท. ผ่านเกียรติบัตรทอง ติดต่อกัน 3 ปีการศึกษา การประชุมทางวิชาการ อกท.
ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 42 องค์การเกษตรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภส์ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดา
ฯ สยามบรมราชกุมารี ประจาปกี ารศึกษา 2564

(2) การสรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบความร่วมมอื กับสถานประกอบการ

การสรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบความรว่ มมือกับสถานประกอบการ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
สงขลาได้มีการประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ ร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ
บริหารสถานศึกษาอยสู่ มา่ เสมอ โดยได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนในระบบทวิภาคี
และทวิภาค โดยมกี ารเชิญภูมปิ ญั ญาทมี่ ีความรคู้ วามสามารถทเี่ กีย่ วกบั แผนกวิชา และสาขาวชิ าท่ี สถานศึกษา
ได้เปิดการเรียนการสอน รวมถึงการจัดทา MOU ร่วมกับหน่วยงานสถานประกอบการบริษัทต่างๆ เพ่ือส่ง
นกั ศึกษาเข้ารบั การฝึกประสบการณ์ ซ่ึงในการนี้ทางสถานศกึ ษาไดม้ กี ารเชิญสถานประกอบการเข้าร่วมในการ
จัดการหลักสูตรการเรยี นรขู้ องระบบทวภิ าคี และมีการประสานงานความร่วมมือกับสถานประกอบการ การ
จัดส่งครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษาให้ได้ไปศึกษาแลกเปล่ียนความรู้ ในการจัดทาหลักสูตร
ประดษิ ฐ์นวัตกรรมสือ่ การเรยี นรู้ ตลอดจนการวัดและประเมินผล ในรูปแบบใหม่ๆ และยังทา MOU ร่วมกับ
โรงเรียนมธั ยมศึกษาในเขตพ้ืนทร่ี ับผดิ ชอบ หรือส่งครูผสู้ อนไปชว่ ยในการใหค้ วามรู้แก่ครู และนักเรียนเพ่อื สรา้ ง
สัมพันธ์ทดี่ ีกับการศึกษา รวมถงึ เปน็ การประชาสมั พันธแ์ นะแนวไปพร้อมกัน ในการส่งเสรมิ สนับสนุนให้ผู้เรียน
ไดม้ กี ารพัฒนานวตั กรรมสงิ่ ประดษิ ฐ์งานสร้างสรรค์ โดยมีการวางแผนการดาเนินงานให้นักเรียนนักศึกษาได้
จดั ทาผลงานในรายวิชาโครงการ ผลงานนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ระดับสถานศึกษาเข้าร่วมการประกวดใน

ระดับจงั หวดั และระดับท่ีสูงข้ึน ส่งผลให้ได้รับรางวัลเช่นชนะเลิศหน่วย อกท. ระดับชาติ องค์การเกษตรใน
อนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ประจาปี
การศกึ ษา 2564, 2564 และโล่เกียรติยศ เป็นหน่วย อกท. ผ่านเกียรติบัตรทอง ติดต่อกัน 3 ปีการศึกษา
การประชุมทางวิชาการ อกท. ระดับชาติ ครั้งท่ี 42 องค์การเกษตรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระ
ราชปู ถัมภ์สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ประจาปกี ารศึกษา 2564

(3) ระบบการบรหิ ารจดั การ สูค่ ณุ ภาพ
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา ครูผู้สอนมีการดาเนินการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การ

ปฏิบัติ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญทุกรายวิชามีการบูรณาการคุณธรรมและปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงใน
แผนการจดั การเรยี นรู้ พร้อมทง้ั มกี ารรายงานการจัดการ เรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ โดยการรายงานผ่าน
เอกสาร รวมไปถงึ การรายงานการจัดการเรียนการสอนผา่ นชอ่ ง ทางออนไลนอ์ ย่างมรี ะบบ นาไปสู่การติดตาม
และประเมินผลผเู้ รยี นรายบคุ คล ซงึ่ จะรายงานผลความกา้ วหน้าของการจัดการเรียนการสอนเป็นระยะ และ
สรุปผลการเรียนผ่านทางระบบออนไลน์ ระบบบริหารสถานศกึ ษา ศธ ๐๒ ออนไลน์

สถานศึกษามกี ารพัฒนาครูผสู้ อนใหม้ ีความรู้และทกั ษะเกี่ยวกับการจัดทานวัตกรรม สื่อการเรียนการ
สอน เทคโนโลยีทางการศกึ ษา การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ เพ่ือประสิทธิภาพต่อการจัดการ
เรียนการสอน และสง่ ผลสัมฤทธ์ติ ่อผู้เรยี นอย่างสมา่ เสมอ ครูผ้สู อนไดร้ บั การพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพ
มกี ารนาผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพมาใช้ใน การจัดการเรียนการสอน มีผลงานจากการ
พัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ และมีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพท่ีได้รับการ
ยอมรบั หรือเผยแพร่ มอี ินเตอร์เนต็ ทเ่ี รว็ และพร้อมใช้งาน มีระบบสารสนเทศทีส่ นับสนุนการทางานทุกฝ่าย ซึ่ง
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา มีระบบอนิ เตอร์เนต็ ความเรว็ สงู

ในการบริหารจัดการ สู่คุณภาพ พบว่า ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีสมรรถนะในการเป็น
ผู้ประกอบการ หรือการประกอบอาชพี อสิ ระการมงี านทา และศึกษาตอ่ ของผ้สู าเร็จการศึกษา สอดคล้องกับที่
สถานศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนในระบบปกติ ระบบทวิภาคี และระบบทวิศึกษา โดยมีการพัฒนา
หลักสตู รรว่ มกบั สถานประกอบการ

(4) การขบั เคลื่อนระบบงานวิชาการ
สถานศึกษาใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะ เพ่ือการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้

สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผู้เรยี น ชมุ ชนสถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรงุ รายวชิ าเดิมหรือ
กาหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มรายวิชาเพ่ิมให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี และ นวัตกรรมาท่ี
เกิดข้ึน ให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานท่ี
เก่ยี วข้อง

ซึ่งสถานศกึ ษามคี รู และบุคลากรทางการศึกษาที่มคี ณุ วุฒกิ ารศึกษา และมีจานวนตามเกณฑ์ท่ีกาหนด
ไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งเปน็ ระบบ และต่อเน่ือง เพื่อเป็นผู้พร้อมท้ังด้านคุณธรรม จริยธรรม และความเข้มแข็ง
ทางวชิ าการและวชิ าชีพตามหลกั สูตรมาตรฐานคณุ วฒุ ิ อาชวี ศกึ ษา

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี งขลา มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม และ
คา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์ การรว่ มมอื ของสถานศึกษา หน่วยงานภายนอก และชมุ ชน

สถานศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา มรี ะบบการตดิ ตามนักเรยี น นกั ศึกษา ท่ีกาลงั ศึกษา
และสาเรจ็ การศึกษา ท่ีหลากหลายรูปแบบ เชน่ การติดตามทางไปรษณียบตั ร, Facebook, Line, โทรศัพท์

ผู้เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจในส่วนเกี่ยวกับขอ้ เทจ็ จริงตามหลกั การ ทฤษฎแี ละแนวปฏิบัติต่างๆ ท่ีเป็น
สาระบบในการจัดการเรยี นการสอน และหรอื ขอ้ เท็จจรงิ เปน็ ไปตามมาตรฐานคุณวุฒิทางการศึกษาแตล่ ะระดับ
การศึกษา

การการขับเคล่อื นระบบงานวชิ าการ พบวา่ ผเู้ รียนมีคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ มสี มรรถนะในการเป็น
ผปู้ ระกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระ การมีงานทา และศึกษาต่อของผู้สาเร็จการศึกษา ซ่ึงส่งผลให้
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลาได้รับการประกันคุณภาพภายนอกปี พ.ศ. 2564 ถึง 2568 จาก
สานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ในด้านการศึกษา โดยถือว่าเป็น
ความภาคภูมิใจของ สถานศึกษาอย่างยิ่ง และต่อจากนี้สถานศึกษายังนาผลการประเมินและติดตามคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษามาวิเคราะห์เพื่อกาหนดแผนพัฒนายกระดับคุณภาพการศึ กษาของสถานศึกษาให้
เพิ่มขนึ้ โดยมเี ปา้ หมายในการพฒั นาการศึกษาใหอ้ ยู่ในระดับคณุ ภาพยอดเยี่ยมตอ่ ไป

วทิ ยาลยั เทคนิคสิชล

(1) กลยุทธ์ในการขบั เคลื่อน Future Skill ของสถานศึกษา
การพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) โดยใช้ภาคีเครือข่าย

จากภาคส่วนต่างๆ ทงั้ ทีเ่ ป็นภาคสว่ นดา้ นประชาชน องค์กรภายในชุมชน และสถานประกอบการ ให้เข้ามามี
ส่วนร่วมในการบริการด้านวิชาการอันจะส่งผลให้วิทยาลัย จัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผล โดยอาศัยหลกั การดงั นี้ การประสานงาน ความรว่ มมือ การทางานรว่ มกนั และการมีส่วนร่วม

การประสานงาน (Coordination) หมายถึง การมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบปฏิบัติด้วยความสามัคคี
สมานฉันท์ และมีประสทิ ธภิ าพทส่ี ุด เพ่ือใหเ้ จ้าหนา้ ที่ฝ่ายตา่ งๆ ร่วมมือปฏิบัติงานเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน ตรง
กบั วตั ถุประสงค์ และนโยบายขององคก์ ร

ความร่วมมอื (Cooperation) หมายถงึ ความเต็มใจของแต่ละคนในการช่วยเหลือซ่ึงกันและกันเพ่ือไปสู่
เป้าหมายใบเปา้ หมายหนงึ่ ตามเปา้ หมายขององค์กรหรือหนว่ ยงาน ความร่วมมือเปน็ การช่วยเหลือด้วยความ
สมัครใจ แมจ้ ะไม่มหี นา้ ที่โดยตรง อาจจะทาเร่อื งเดียวกันในเวลาเดียวกันหรือต่างเวลาก็ได้ แม้กระทั่งอาจให้
ความรว่ มมือทาบางเร่อื งบางเวลา

การทางานร่วมกัน (Collaboration) หมายถึง การท่ีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หรือองค์กรต้ังแต่ 2
องค์กรขนึ้ ไป มาทางานร่วมกนั มกี ารชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั ในกลุ่ม และรับรู้ว่าตนเป็นส่วนหน่ึงของกลุ่มตาม
โครงสรา้ งทมี่ ีอยใู่ นองค์กร รวมทง้ั เขา้ ใจวัตถปุ ระสงคข์ องการทางานรว่ มกนั เพื่อใหบ้ รรลุจุดหมายเดียวกนั อย่าง
มีประสทิ ธภิ าพ และผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ตา่ งก็เกิดความพอใจในการทางานนัน้

การมีส่วนร่วม (Particiption) หมายถึง การท่ีสมาชิกทุกคนของหน่วยงาน หรือองค์กร ร่วมกัน
ดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึง โดยมีลักษณะของกระบวนการ (Process) มีข้ันตอนท่ีมุ่งหมายจะให้เกิดการ
เรยี นรู้ (Learning) อย่างตอ่ เนอื่ ง

โดยมกี ระบวนการดาเนินงานดังต่อไปนี้
1. จัดใหม้ ีการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาเครือข่ายผู้ปกครอง องค์กรต่างๆ และบุคลากรภายใน
วิทยาลัย เพ่ือชี้แจงรายละเอียดและวัตถุประสงค์ของการจัดทานวัตกรรมรูปแบบการจัดการบริหารจัด
การศกึ ษาโดยใชภ้ าคีเครือข่าย การจดั กจิ กรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของนวัตกรรม โดยเน้นการมีส่วน
ร่วมของภาคเี ครือขา่ ย
2. แตง่ ตัง้ คณะทางาน และจัดใหม้ ีการประชุมคณะทางาน เพ่ือวางแผนการดาเนินงาน และเตรียมการ
จดั กิจกรรมตา่ งๆ

3. ดาเนนิ งานทากิจกรรมดงั นี้
1) กจิ กรรมการให้บริการวชิ าการ เช่น การให้หน่วยงาน/องคก์ รต่างๆ ใหค้ วามรู้แก่นักเรียน บุคลากร

และชุมชน โครงการอาชีวะอาสา โครงการการสร้างผู้ประกอบการใหม่ โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน
เป็นตน้

2) กิจกรรมสมั พันธช์ มุ ชน เช่น โครงการเย่ียมบ้าน โครงการการระดมทรัพยากร การให้บริการด้าน
สถานที่ การร่วมมือกันพัฒนาชมุ ชนและวทิ ยาลัย เป็นต้น

3) กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้โดยภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน วิทยาลัยฯ ได้เชิญภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามามีส่วน
ร่วมในการถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรยี น นกั ศกึ ษา

4) กิจกรรมการจัดการเรยี นรูโ้ ดยวิทยากรร่วมกับสถานประกอบการ การจัดศึกษาระบบทวิภาคี ใน
ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) สาขาวิชาช่างยนต์ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพฉันสูง (ปวส.) ทุก
สาขาเปน็ ทวิภาคี 100 %

ผลการดาเนนิ งาน
1. นกั เรียน นกั ศึกษา ใฝ่รใู้ ฝเ่ รียน มีความกระตือรอื รน้ และมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสงู ขึ้น
2. ผปู้ กครอง ชมุ ชน สถานประกอบการใหค้ วามรว่ มมอื เข้ามามสี ่วนรว่ ม และสนบั สนนุ การจัดการศึกษา

มากย่งิ ข้นึ
3. ผปู้ กครองให้ความร่วมมอื เข้ามามีส่วนร่วม และสนบั สนุนการจัดการศกึ ษามากยง่ิ ข้นึ
4. ชมุ ชนมีความพงึ พอใจต่อการจดั การศกึ ษาและใหก้ ารสนบั สนนุ ทรัพยากร
5. วิทยาลัยไดร้ บั รางวลั ระดบั ตา่ งๆ ทัง้ ดา้ นผู้บรหิ าร ครแู ละนกั เรียน นกั ศกึ ษา
6. นกั เรยี น นักศึกษาไดร้ บั รางวัลการแขง่ ขนั ทักษะฝีมือแรงงานระดับต่างๆ เช่น ระดับภาค ระดับชาติ

และระดบั นานาชาติ

ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั
1. วทิ ยาลยั ฯ ได้รูปแบบการบริหารจัดการที่สง่ ผลตอ่ การพัฒนาการจัดการศึกษา
2. ครูไดร้ ับการพัฒนาการจดั การเรยี นรทู้ ีส่ ่งผลต่อการพฒั นาผเู้ รียน
3. นักเรียน ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากการฝึกงานและฝึกอาชีพเพื่อนามาใช้ในการประกอบ

อาชพี ตามศกั ยภาพของตนเอง
4. วิทยาลัยสามารถจัดการเรยี นรู้โดยใช้ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นทีม่ ีอยใู่ นชมุ ชนมาบรู ณาการจัดการเรียนรู้

(2) การสรา้ งความเขม้ แขง็ ของระบบความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการ
วิทยาลัยเทคนิคสิชล ได้มีการประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ ร่วมกับคณะกรรมการ

สถานศึกษา คณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษาอย่สู มา่ เสมอ โดยได้มีการส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจัดการเรียน
การสอนในระบบทวิภาคี ระดับ ปวส. 100 เปอร์เซ็นต์ โดยจัดทา MOU ร่วมกับหน่วยงานสถาน
ประกอบการ เพ่ือส่งนักศึกษาเข้ารับการฝึกประสบการณ์ ซ่ึงในการน้ีทางสถานศึกษาได้มีการเชิญสถาน
ประกอบการเข้ารว่ มในการจดั การหลกั สตู รการเรยี นรขู้ องระบบทวภิ าคี และมกี ารประสานงานความรว่ มมอื กับ
สถานประกอบการ การจดั ส่งครบู ุคลากรทางการศกึ ษา นักเรยี น นักศกึ ษาใหไ้ ดไ้ ปศึกษา แลกเปลีย่ นความรู้ ใน
การจัดทาหลกั สูตรประดิษฐ์นวัตกรรมสือ่ การเรียนรู้ ตลอดจนการวดั และประเมนิ ผล ในรปู แบบใหม่ๆ

(3) ระบบการบริหารจดั การ สคู่ ณุ ภาพ
วิทยาลยั เทคนิคสิชล ครูผู้สอนมีการดาเนินการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ เน้นผู้เรียน

เปน็ สาคัญทกุ รายวิชามีการบูรณาการคุณธรรมและปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในแผนการจัดการเรียนรู้
พรอ้ มท้ังมีการรายงานการจัดการ เรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ โดยการรายงานผ่านเอกสาร รวมไปถึงการ
รายงานการจัดการเรียนการสอนผ่านชอ่ ง ทางออนไลน์อย่างมรี ะบบ นาไปสกู่ ารตดิ ตามและประเมินผลผู้เรียน
รายบุคคล ซึง่ จะรายงานผลความก้าวหนา้ ของการจัดการเรยี นการสอนเปน็ ระยะ

ในการบริหารจัดการ สู่คุณภาพ พบว่า ผู้เรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีสมรรถนะในการเป็น
ผปู้ ระกอบการ หรอื การประกอบอาชพี อสิ ระการมีงานทา และศกึ ษาต่อของผสู้ าเรจ็ การศึกษา สอดคล้องกับที่
สถานศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนในระบบปกติ ระบบทวิภาคี โดยมีการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถาน
ประกอบการ

(4) การขับเคลอ่ื นระบบงานวชิ าการ
สถานศกึ ษาใชห้ ลกั สตู รฐานสมรรถนะ เพ่ือการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้

สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผู้เรยี น ชุมชนสถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มกี ารปรับปรุงรายวชิ าเดมิ หรือ
กาหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มรายวิชาเพ่ิมให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี และ นวัตกรรมาท่ี
เกดิ ขนึ้ ใหต้ รงตามความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่
เก่ยี วข้อง

การการขับเคลื่อนระบบงานวิชาการ พบวา่ ผเู้ รียนมีคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ มสี มรรถนะในการเป็น
ผ้ปู ระกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระ การมีงานทา และศึกษาต่อของผู้สาเร็จการศึกษา ซึ่งส่งผลให้
วิทยาลัยเทคนิคสิชล ได้รับการประกันคุณภาพภายนอกปี พ.ศ. 2564 ถึง 2568 จากสานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ในด้านการศึกษา โดยถือว่าเป็นความภาคภูมิใจ
ของ สถานศึกษาอย่างย่ิง และต่อจากน้ีสถานศึกษายังนาผลการประเมินและติดตามคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษามาวิเคราะห์เพ่ือกาหนดแผนพัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เพิ่มขึ้นโดยมี
เป้าหมายในการพัฒนาการศึกษาใหอ้ ยู่ในระดบั คณุ ภาพยอดเยย่ี มต่อไป

การบรหิ ารการเปลย่ี นแปลงเชิงกลยุทธ์และนวตั กรรม

นวตั กรรมการดาเนนิ งาน ดาเนนิ งานโดยใชว้ งจรคณุ ภาพ PDCA ม่งุ สู่ SMART MTK

S : Strategy กลยทุ ธ์
M : Management มกี ารบรหิ ารจดั การท่มี ีประสทิ ธภิ าพ
A : Achievement มุ่งมั่นผลสัมฤทธิ์
R : Research การวิจยั
T : Teamwork มุง่ ม่ันทางานเป็นทีมโดยใช้เทคโนโลยีทหี่ ลากหลาย+PLCชมุ ชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพ
M : Moral มศี ลี ธรรม
T : Technology เทคโนโลยี
K : Knowledge ก้าวไกลด้วยความรู้

Smart directer Smart Teacher Smart Student

S: Supervision มีการนิเทศภายใน S: Skills มที ักษะและเทคนคิ S: Skills
อย่างเป็นระบบและมคี ุณภาพ ในการจดั การเรียนรู้ มที กั ษะในการแสวงหาความรู้
M: Management M: Mind มจี ติ วญิ ญาณความ M: moral
มรี ะบบบรหิ ารจัดการภายในวิทยาลยั เปน็ ครู มีคุณธรรม จริญธรรม
A: Academic A: Assessment A: Achievement
เป็นผู้นาทางวิชาการ มีการวัดและประเมินผล มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสงู ขน้ึ
R: Research อย่างเหมาะสมและหลากหลาย R: Reading Writing & Thinking
ใช้วิจยั เป็นฐานในการบริหารวทิ ยาลยั R: Research มที กั ษะการอา่ น การเขียนและคิด
T: Teamwork มีการวิจัยในช้นั เรยี น วเิ คราะห์
การทางานเป็นทมี T: Technology T: Technology
ใชส้ ื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยี ใชเ้ ทคโนโลยใี นการแสวงหาความรู้
ในการจดั การเรียนรู้

ภาคผนวก

รายงานการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษาและศึกษาดงู าน
ของผเู้ ขา้ รับการพัฒนาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหนง่
รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา

วนั ท่ี 25-29 เมษายน ๒๕65

ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อาเภอรตั ภมู ิ จงั หวัดสงขลา

สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษาและศกึ ษาดงู านของ๑ผ้เู ข้ารับการพฒั นากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งรองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกิจกรรม ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี งขลา อาเภอรตั ภมู ิ จังหวัดสงขลา

ปฐมนเิ ทศ โดย ผอ. ชนม์ศิกานต์ แก้วกระจา่ ง

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

การฝึกประสบการณใ์ นสถานศกึ ษาและศกึ ษาดูงานของ๑ผ้เู ขา้ รับการพัฒนาก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งรองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกจิ กรรม ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี งขลา อาเภอรัตภมู ิ จังหวัดสงขลา

รองฯ ทรรศินา ศรีธรรมรตั น์ แนะนาการทางานในฝ่ายท่รี บั ผดิ ชอบ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษาและศกึ ษาดูงานของ๑ผู้เข้ารบั การพฒั นาก่อนแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา
ภาพกิจกรรม ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อาเภอรตั ภูมิ จังหวดั สงขลา

งานส่งเสรมิ ผลิตผลการคา้ และประกอบธรุ กจิ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษาและศกึ ษาดูงานของ๑ผู้เข้ารบั การพฒั นาก่อนแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา
ภาพกิจกรรม ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อาเภอรตั ภูมิ จังหวัดสงขลา

งานส่งเสรมิ ผลิตผลการคา้ และประกอบธรุ กจิ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

การฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษาและศึกษาดูงานของ๑ผเู้ ขา้ รับการพฒั นาก่อนแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกิจกรรม ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อาเภอรัตภูมิ จังหวดั สงขลา

งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา

งานพฒั นาหลกั สตู รการเรียนการสอน

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

การฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษาและศกึ ษาดงู านของ๑ผเู้ ข้ารับการพัฒนากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกจิ กรรม ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อาเภอรัตภูมิ จังหวดั สงขลา

ศูนย์ปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

การฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษาและศึกษาดูงานของ๑ผู้เข้ารบั การพฒั นากอ่ นแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกิจกรรม ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อาเภอรตั ภูมิ จงั หวัดสงขลา

สัตวศาสตร์

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

การฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษาและศึกษาดูงานของ๑ผู้เข้ารับการพัฒนากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกิจกรรม ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อาเภอรัตภูมิ จังหวดั สงขลา

CVM สตั วศาสตร์

การเลีย้ งแพะในพ้นื ทข่ี นาดเลก็

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

การฝึกประสบการณใ์ นสถานศกึ ษาและศึกษาดูงานของ๑ผู้เข้ารบั การพัฒนากอ่ นแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหน่งรองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกจิ กรรม ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา อาเภอรตั ภมู ิ จงั หวดั สงขลา

พชื ศาสตร์

รายงานการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษาและศกึ ษาดงู าน
ของผู้เข้ารบั การพัฒนาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่ง
รองผู้อานวยการสถานศึกษา

วนั ที่ 2-6 พฤษภาคม ๒๕65

ณ วิทยาลัยเทคนคิ สิชล อาเภอสิชล จังหวดั นครศรธี รรมราช

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษาและศกึ ษาดงู านของ๑ผ้เู ขา้ รับการพฒั นาก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งรองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา

ภาพกจิ กรรม ณ วทิ ยาลัยเทคนิคสิชล อาเภอสชิ ล จงั หวดั นครศรธี รรมราช

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

การฝึกประสบการณใ์ นสถานศกึ ษาและศกึ ษาดงู านของ๑ผ้เู ข้ารบั การพัฒนากอ่ นแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกจิ กรรม ณ วทิ ยาลัยเทคนิคสชิ ล อาเภอสิชล จงั หวดั นครศรีธรรมราช

ปฐมนิเทศโดยประธานอาชีวศกึ ษาจงั หวดั นครศรธี รรมราช ผอ. ประชา ฤทธิผล

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

การฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษาและศึกษาดูงานของ๑ผู้เขา้ รบั การพัฒนากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกิจกรรม ณ วทิ ยาลัยเทคนิคสชิ ล อาเภอสชิ ล จังหวดั นครศรธี รรมราช

ฝา่ ยพัฒนากิจการนกั เรยี น นกั ศึกษา งานกจิ กรรมนักเรียนนกั ศกึ ษา

ฝ่ายบริหารทรพั ยากร งานพสั ดุ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

การฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษาและศึกษาดูงานของ๑ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนากอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหน่งรองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกจิ กรรม ณ วิทยาลยั เทคนิคสชิ ล อาเภอสชิ ล จังหวดั นครศรีธรรมราช

งานบรหิ ารงานท่ัวไป

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาและศึกษาดงู านของ๑ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนากอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหน่งรองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา
ภาพกิจกรรม ณ วทิ ยาลยั เทคนิคสิชล อาเภอสชิ ล จังหวดั นครศรีธรรมราช

งานการเงนิ

งานการบญั ชี

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษาและศกึ ษาดงู านของ๑ผ้เู ขา้ รับการพฒั นาก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งรองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา

ภาพกจิ กรรม ณ วทิ ยาลัยเทคนิคสิชล อาเภอสชิ ล จงั หวดั นครศรธี รรมราช


Click to View FlipBook Version