1
ใบงาน
1. งานเดยี่ ว ใหน้ ำผลการวเิ คราะห์บริบทของสถานศึกษา (SWOT Analysis) ดังนี้
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ รี มั ย์
1.) ขอ้ มลู พนื้ ฐานสถานศกึ ษา
1.1 ชอื่ สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั เกษตรและทตี่ ้ังสถานศึกษา เลขที่ ๖๗ หมู่ท่ี 1 ถนน บรุ ีรัมย์ – ประโคนชยั ตำบล อสิ าณ
อำเภอ เมือง จงั หวัด บุรรี มั ย์ รหสั ไปรษณยี ์ 3๑๐๐0 โทรศัพท์ 0-44 ๖๑๑๑๕๙ โทรสาร ๐๔๔ ๖๑๑-๘๙๙ เวบ็ ไซต์
ww.bcat.ac.
ประวตั ิความเปน็ มาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ รี มั ย์
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี ุรรี ัมย์ ตั้งขน้ึ เม่ือวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 ตงั้ อยทู่ างทิศใต้หา่ งจากศาลา
กลางจังหวัดบรุ ีรมั ยห์ ลงั เก่าประมาณ 1 กโิ ลเมตร ตดิ กบั วงเวียนอนสุ าวรยี เ์ จา้ พระยากษัตรยิ ์ศกึ (รัชกาลท่ี 1) ท่ีตัง้ เลขท่ี 67
หมู่ 1 ถนนสายบรุ ีรมั ย์–ประโคนชัย ตำบลอิสาณ อำเภอเมือง จงั หวัดบรุ ีรมั ย์ มีพ้นื ทท่ี ั้งหมดประมาณ 350 ไร่ มไี รฝ่ ึกนักศกึ ษา
871 ไรเ่ ศษ ตง้ั อยู่ทบี่ า้ นสามศลิ า ตำบลหินเหลก็ ไฟ อำเภอคเู มือง ซ่งึ อยหู่ า่ งจากวทิ ยาลัยประมาณ 40 กโิ ลเมตร
๒) ขอ้ มลู ค่านิยม วฒั นธรรมท้องถิ่น
สถานศึกษาเป็นท่ียอมรับของชุมชน โดยได้นำบุตรหลานหรือสมาชิกในครอบครัวเข้ามาศึกษา ในสาขาวิชาชีพที่ได้
มาตรฐาน ไม่ต้องเดินทางไปศึกษาไกลบ้าน จัดให้มีการบริการชุมชุนอย่างต่อเน่ืองทั้งเกษตรกรและลูกหลานเกษตรกรในจังหวัด
และประชาชนตามหมู่บ้านตามแนวชายแดน โครงการฝึกอาชีพตามแผนพัฒนาเยาวชนในถ่ินทุรกันดารตามพระราชดำริ (ตชด.)
และโครงฝึกอาชีพระยะ
วทิ ยาลยั การอาชพี บรุ รี มั ย์
1.) ขอ้ มูลพื้นฐานสถานศึกษา
ชอ่ื สถานศกึ ษา วทิ ยาลัยการอาชพี บุรีรัมย์ ขนาดและทตี่ งั้ มพี ้ืนที่ 16 ไร่ 15 ตารางวา ตง้ั อยู่ที่ เลขท่ี 138 ถนนจิระ
ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ รหสั ไปรษณยี ์ 31000 หมายเลขโทรศพั ท์ 0-446-12260 หมายเลขโทรสาร
0-446-1335-4
ประวตั ิความเปน็ มาของวทิ ยาลยั การอาชพี บรุ รี มั ย์
วทิ ยาลยั การอาชีพบุรรี มั ย์ ชื่อเดิม วทิ ยาลยั สารพัดช่างบุรรี ัมย์ เดมิ เปน็ โรงเรยี นการช่างสตรี ต่อมาได้ยุบไปรวมกบั
วิทยาลยั เทคนิคบรุ ีรัมย์และย้ายไปทำการสอนท่ีวิทยาลยั เทคนิคบรุ ีรัมย์ เมื่อวนั ที่ 2 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2527 กรม
อาชีวศึกษาในขณะน้ันไดป้ ระกาศจดั ตง้ั สถานศึกษาในสงั กัดอกี 1 แห่ ง และใช้ชื่อวา่ โรงเรยี นสารพัดช่างบุรรี ัมย์โดยมี ว่าท่ี ร.ต.
บุญลือ งามสง่า ตำแหน่งอาจารย์ใหญ่เป็นผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาในขณะนน้ั จนกระท่ังในวนั ที่ 4 เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2534
ได้รับการสถาปนา “วิทยาลัย” ภายใตช้ ือ่ “วิทยาลยั สารพัดชา่ งบรุ ีรัมย์” บนพ้นื ท่ี 6 ไร่ 15 ตารางวา และปี พ.ศ. 2538 ได้รบั
บรจิ าคที่ดนิ จาก นายเสกสรร ธรี ะวานิช ประธานสภาวฒั นธรรม จังหวัดบุรรี มั ย์ อีก 10 ไร่ ในบริเวณ ตำบลอสิ าน อำเภอเมอื ง
จงั หวดั บุรีรมั ย์ รวมพ้ืนทวี่ ทิ ยาลัยสารพัดช่างบรุ รี ัมย์ ท้งั 2 แห่ง 16 ไร่ 15 ตารางวา วทิ ยาลัยฯ ได้เปิดสอนหลกั สูตรระดับ
ปวช. ปวส. และวิชาชพี ระยะสัน้
๒) ข้อมลู ค่านยิ ม วัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน
ลกั ษณะชุมชนโดยรอบเป็นชมุ ชนเมืองประกอบดว้ ยชุมชนตา่ งๆ ด้านทิศเหนือตดิ กบั วดั กลาง(พระอารามหลวง)
ชมุ ชนตลาดสดและสำนักงานการศกึ ษาพน้ื ฐานเขต 1 ด้านทิศใต้ตดิ กับชมุ ชนสะพานยาว ดา้ นทศิ ตะวันออกติดกับชมุ ชนหลัก
เมือง และสำนักงานอยั การสงู สุดบุรรี มั ย์ ด้านทิศตะวันตกติดกบั ชมุ ชนเทศบาล สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดบรุ รี มั ยแ์ ละสถานี
ตำรวจภธู รจงั หวัดบรุ รี ัมย์ ประชากรสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพคา้ ขาย รบั ราชการ และนับถือศาสนาพทุ ธ นอกจากนยี้ ังมี
สถานศกึ ษาในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง เชน่ มหาวิทยาลัยราชภฏั บรุ ีรมั ย์ วทิ ยาลัยเทคนิคบรุ ีรมั ย์ โรงเรียนบรุ ีรัมย์พทิ ยาคม ศูนยบ์ ริการ
การศึกษานอกโรงเรียน โรงเรียนเทศบาล 1 เป็นตน้
2
3) วเิ คราะหบ์ ริบทสถานศกึ ษา
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ รี มั ย์
จดุ เดน่
๑) สถานศึกษามีการสรา้ งความรว่ มมอื กบั ชมุ ชน โดยเฉพาะการให้บรกิ ารจิตอาสาของบุคลากรและผูเ้ รยี นกับชมุ ชนและ
ประชาชนอย่างต่อเน่อื ง
๒) ครผู ้สู อนมคี วามเข้าใจและประสบการณ์ในการจดั การเรียนการสอน พัฒนาตนเองตลอดเวลา
๓) ผูเ้ รียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและเจตคติทีด่ ี มีความรคู้ วามสามารถที่ใชใ้ นการประกอบอาชีพ
จดุ ดอ้ ย
๑) ระบบดูแลช่วยเหลอื ผู้เรยี น เนื่องจากมีผูส้ ำเรจ็ การศึกษาเม่อื เทยี บกบั จำนวนแรกเข้า จึงควรมรการ
พฒั นาระบบติดตามช่วยเหลอื ผูเ้ รยี นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากข้ึน
๒) การใช้ภาษาอังกฤษในการส่อื สารอยใู่ นเกณฑ์ต่ำ
๓) ส่งเสริมใหม้ กี ารจัดหลักสตู รทวิภาคีใหค้ รบทุกสาขาวิชา
ขอ้ เสนอแนะ
๑) ใช้เทคโนโลยีท่ีทนั สมยั เขา้ มามีบทบาทมากข้ึนรวมท้ังเครือข่ายและชมุ ชน ช่วยกำกับดูแลผูเ้ รียนอยา่ ง
ใกลช้ ดิ ส่งเสรมิ ให้ครูท่ปี รึกษาดูแลผูเ้ รียนมากข้ึน
๒) ใชเ้ ทคโนโลยี ส่อื การสอนทที่ นั สมนั ในด้านภาษาเพื่อให้ผเู้ รยี นมกี ารเรียนรู้มากขึ้น
วสิ ยั ทศั น์ เป็นสถานทีม่ ุ่งมัน่ ผลติ กำลงั คน ดา้ นวชิ าชพี ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกบั ความต้องการของสถาน
ประกอบการ ชมุ ชน และสังคม
พนั ธกจิ
1. พฒั นาผู้เรียนด้านอาชีพอย่างมีคุณภาพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. พัฒนาครแู ละบุคลากรในสถานศกึ ษาให้มีมาตรฐานการอาชวี ศึกษา
3. มวี ธิ ีการบรหิ ารจัดการทดี่ ี
4. ส่งเสรมิ ตอ่ ยอดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
5. พฒั นาคณุ ภาพเครอื ข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศใหม้ ีประสิทธภิ าพ
ปรชั ญา เรียนดี มีฝมี อื ยดึ ถอื วนิ ัย รับใช้สังคม
เอกลกั ษณ์ “บริการวิชาชีพเกษตรสู่ชมุ ชน”
อตั ลักษณ์ “มีจติ สาธารณะ”
วทิ ยาลยั การอาชพี บรุ รี มั ย์
จดุ เดน่
1. เป็นสถานศกึ ษาทผ่ี ลิตกำลังคนระดบั กลางด้าน วิชาชพี ได้อย่างหลากหลาย ในสาขาอาชีพตา่ งๆ และ สามารถนำ
ความรู้ไปประกอบอาชพี อิสระได้
2. หลกั สตู รมีความหลากหลายและจำนวนมาก ทั้งใน ระบบ นอกระบบ
3. ครมู ีความรทู้ างวิชาชพี และมีประสบการณ์สอน
4. ได้รับการสนับสนนุ จากสถานประกอบการ ชมุ ชน สงั คม ในดา้ นความรู้ ทรัพยากร และรว่ มกันกำหนด หลกั สตู รให้
สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของ ตลาดแรงงาน
5. มกี ารพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานผู้เรียนอย่าง ตอ่ เน่ือง
6. มกี ารบรกิ ารวิชาชพี สู่ชมุ ชน ทำใหม้ กี ารสรา้ งอาชีพ สรา้ งรายได้ให้กบั ชุมชน
7. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในระดับ แผนกวชิ าที่เขม้ แขง็
8. มีความร่วมมอื ในการจดั การศกึ ษารว่ มกับ สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
3
จดุ ดอ้ ย
1. ผ้เู ข้าเรียนอาชวี ศึกษามีจำนวนลดนอ้ ยลง สว่ นใหญ่ สนใจเรยี นในสายสามญั เนอื่ งจากทัศนคติและคา่ นยิ ม ในการ
เรยี นอุดมศึกษา
2. ขาดแคลนครใู นบางสาขาและขาดการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง
3. ขาดแคลนงบประมาณ ดา้ นงบลงทุน
4. ขาดการวิจัยและพัฒนาองคค์ วามรู้ทางวิชาการ นวตั กรรม สิ่งประดิษฐต์ ลอดจนการนำไปใช้ในการ พฒั นาชุมชน
และการนำไปใช้ประโยชนเ์ ชิงพาณิชย์
ปรชั ญา “ฝมี อื ดี มีคุณธรรม ทำงานเป็น เนน้ คุณภาพ”
วสิ ยั ทศั น์ วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งบรุ ีรัมย์ เป็นสถานทม่ี ่งุ มนั่ ผลิตกำลงั คน ด้านวิชาชีพให้มคี ุณภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกับความ
ต้องการของสถานประกอบการ ชุมชน และสังคม
พันธกจิ 1. พฒั นาผเู้ รยี นดา้ นอาชพี อยา่ งมีคุณภาพ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. พัฒนาครแู ละบุคลากรใน
สถานศึกษาใหม้ ีมาตรฐานการอาชีวศึกษา 3. มวี ิธกี ารบริหารจัดการทด่ี ี 4. สง่ เสริมตอ่ ยอดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 5. พัฒนา
คณุ ภาพเครือข่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศให้มีประสทิ ธิภาพ
อตั ลกั ษณ์ “จติ อาสา”
เอกลกั ษณ์ “บริการชมุ ชน”
(1) กลยทุ ธใ์ นการขบั เคลอ่ื น Future Skill ของสถานศึกษา
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ รี มั ย์
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีบรุ ีรัมย์ ภายไต้การบริหารงานของทา่ นผ้อู ำนวยการวิทยา พลศรี คณะผูบ้ รหิ าร ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ได้ขบั เคลื่อน Future Skill ของสถานศกึ ษาในทุกสาขาวิชาทีเ่ ปิดการเรยี นการสอนในระบบปกติ และ
ระบบทวิภาคี ทง้ั ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สูง (ปวส.) และหลกั สตู รระยะสน้ั
สถานศกึ ษาได้สนับสนนุ ให้ผเู้ รยี นไดม้ ีสมรรถนะการประกอบวชิ าชพี อสิ ระและเปน็ ผูท้ มี่ ีความสำเรจ็ จากการประกอบ
อาชีพอิสระตามเปา้ หมายซึ่งพบว่าการประกอบอาชพี อิสระเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาท่ีผา่ นมาและมีการประเมินผลสมั ฤทธ์ิศูนยบ์ ่ม
เพาะผปู้ ระกอบการอาชีวศึกษากบั ภาคซึ่งสง่ ผลให้ไดร้ ะดับ 3 ดาว มีคุณภาพขนึ้ จากปที ่ผี ่านมาในระดับจังหวดั และมีการพฒั นา
ทกั ษะดา้ นความสรา้ งสรรคแ์ ละเทคโนโลยีโดยการสง่ เสริมใหม้ กี ารแข่งขนั ทักษะทางวิชาชีพโดยพบว่าในการแข่งขนั ทักษะวิชาชพี
ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศระดับชาติปลี ่าสดุ จำนวน ๒๓ รายการ ดังน้ี ๑) ทกั ษะพชื ผัก ๒) ทักษะไม้ผล ๓) ทักษะไมด้ อกไมป้ ระดบั
๔) ทักษะเพาะเห็ด ๕) ทักษะการขยายพนั ธ์ุพืช ๖) ทกั ษะสุกร ๗) ทักษะโคนม ๘) ทักษะช่างเชื่อม ๑๐) ทักษะชา่ งยนต์ ๑๑
ทกั ษะชา่ งไฟฟา้ ๑๑) ทักษะการเพราะและขยายพนั ธุป์ ลา ๑๒) ทักษะการผลิตนำ้ ผักผลไม้ ๑๓) ทกั ษะการผลิตลูกช้ินจาก
เนื้อสตั ว์ ๑๔) ทกั ษะการเขยี นแผนนำเสนอแผนธุรกิจ ๑๕) ทักษะการสาธติ ทางวชิ าชพี ๑๖) ทักษะการพูดภาษาอังกฤษใน
โอกาสตา่ งๆ ๑๗) ทักษะ PBL สตั วศาสตร์ ๑๘) PBL ประมง ๑๙) PBL สาขาอน่ื ๒๐) ทักษะสัตวศาสตร์และประมง ๒๐) การ
ประกวดกจิ กรรมเด่นของ อกท. ๒๑) ผลติ อาหาร ๒๒) การขดั นิทรรศการทางการเกษตร ๒๓) การจัดนทิ รรศการทางการเกษตร
รวมจำนวน ๒๓ รายการ ส่งผลให้วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีบรุ ีรัมยไ์ ด้รับรางวลั คะแนนรวมชนะเลิศอันดับ ๑ ของชาติ ใน
การแขง่ ขนั ทักษะระดบั ชาติปีลา่ สุด
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรรี มั ย์เป็นสถานศึกษาช้นั นำด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี ด้านวิจัยและพฒั นานวัตกรรม
นำวชิ าชีพและเทคโนโลยีสูช่ มุ ชน สงั คมในระดับชาติ ซ่ึงเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาการศกึ ษาของวิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีบรุ ีรัมย์ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน ๙ ประเดน็ การประเมิน จากการจัดการศึกษาดงั กลา่ ว เป็นไปตามมาตรฐาน
การศกึ ษาและเป็นไปตามมาตรฐานอาชีวศกึ ษามาแล้วนั้นสง่ ผลใหว้ ทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ ีรัมย์ ได้รับการยอมรับจาก
4
ชมุ ชนและสังคมรวมถึงผู้ปกครองได้มีการนำบุตรหลานเขา้ รบั การศกึ ษาต่อในระดับอาชวี ศึกษาอย่างต่อเนื่องรวมถึงเป็นทย่ี อมรบั
ของสถานประกอบการในการฝกึ นักศึกษาในการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ตอ่ ไป
วทิ ยาลยั การอาชพี บุรรี มั ย์
(๑) กลยทุ ธใ์ นการขบั เคลอื่ น Future Skill ของสถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา มีนโยบายขับเคลือ่ นวิทยาลัยการอาชีพบรุ ีรัมย์ ให้ดำเนนิ การจดั การศึกษา
เพ่อื พัฒนากำลงั คนสสู่ ตวรรษท่ี 21 เพ่อื ผลติ และพฒั นากำลงั คนอาชีวศกึ ษาให้ทันต่อสถานการณค์ วามตอ้ งการของตลาด
แรงงานหรอื การประกอบอาชีพอิสระที่มีส่วนในการขับเคล่ือนวิทยาลยั การอาชพี ดำเนินการพฒั นาหลักสูตรวิชาชีพระยะส้นั
เฉพาะกลมุ่ อาชพี เดิมหรือผวู้ า่ งงานทต่ี ้องการ Re-Skills , Up-Skillsและ New-Skills เพอ่ื นำความรแู้ ละทักษะไปประกอบอาชพี
ตอ่ ไป แผนกวิชาชา่ งยนต์ วทิ ยาลยั การอาชพี บรุ รี ัมย์ ร่วมกบั สถานประกอบการ ไดจ้ ัดทำโครงการฝึกอบรม หลกั สตู รวิชาชพี
เฉพาะทาง “ช่างบริการรถจักรยานยนต์ขนาดใหญ่ Big Bike” เพือ่ ให้สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ EEC First S-Cure ดา้ นยานยนต์
สมยั ใหมแ่ ละตอบสนองดา้ นการทอ่ งเท่ียวเมอื งกีฬา
ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ
1. แผนกวิชาชา่ งยนต์ วเิ คราะหค์ วามรู้ ความสามารถ ของบุคลากรท่จี ะทำหนา้ ทต่ี า่ ง ๆ ในการดำเนินกจิ กรรม
2. แผนกวิชาชา่ งยนต์ ดำเนินการพัฒนาหลกั สตู รระยะสน้ั เพ่อื ใหเ้ ข้ากบั บริบทในการฝึกอบรม
3. แต่งต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู ร และคณะกรรมการดำเนินกิจกรรมการฝึกอบรม
4. ประชาสมั พนั ธ์การดำเนนิ กิจกรรม
5. แผนกวชิ าชา่ งยนต์ รว่ มกบั บรษิ ทั บุรรี ัมยย์ นตรการ จำกัด ร่วมเป็นวิทยากรใหค้ วามรแู้ ก่ผู้เขา้ ร่วมอบรมการบรกิ าร
จกั รยานยนต์ขนาดใหญ่ Big Bike
6. แผนกวิชาช่างยนต์ร่วมกับบริษัทบุรีรัมย์ยนตรการ จำกัด ร่วมดำเนินโครงการอบรมหลักสูตรวิชาชีพเฉพาะทาง
เพอื่ ผลติ และพฒั นากำลังคนอาชีวศกึ ษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลรองรบั ความต้องการกำลังคนในอุตสาหกรรม 4.0
7. ด ำเนิ น ก ารอ บ รม ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษ าเข้ าร่ว ม โค รงก ารอ บ รม จ ำน ว น 48 ค น แ ล ะ ค รูแ ผ น ก วิช า
ชา่ งยนต์เขา้ รว่ มโครงการอบรมจำนวน 9 คนณ แผนกวิชาชา่ งยนต์ วทิ ยาลยั สารพดั ช่างบรุ ีรมั ย์
ขัน้ ตอนการตรวจสอบ
1. ฝา่ ยบรหิ ารรว่ มกำกับ ติดตามใหก้ ำลงั ใจในการฝกึ อบรมตามโครงการ
2. ผลการอบรมนักศกึ ษาที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการบรกิ ารจกั รยานยนต์
ขน าดให ญ่ Big Bike และมีคุณ ภ าพ ตามม าตรฐาน สากลรองรับ ควา มต้องการกำลังคน ใน อุตสาห กรรม 4.0
โดยสามารถนำความรูไ้ ปปฏบิ ัติงานจรงิ ในสถานประกอบการได้
3. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนนิ งานใหเ้ หมาะสม
แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพเฉพาะทาง“ช่างบริการรถจักรยานยนต์ขนาด
ใหญ่ Big Bike”ร่วมกบั สถานประกอบการ บริษัท ยนตรการ จำกดั ร่วมกับแผนกวิชาช่างยนต์
(2) การสรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการ
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ รี มั ย์
การสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีบรุ ีรัมย์ การจัดการ
เรียนการสอนด้านอาชีวศึกษาเป็นการจัดการศึกษาด้านอาชีพที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทำงานเพื่อประกอบอาชีพ
อิสระ ได้รูปแบบและวธิ ีการจัดการจัดการศึกษา จงึ กำหนดให้จดั การเรียนการสอนในสถานศึกษาและในสถานประกอบการ ท้งั น้ี
เพ่ือให้มีการผสมผสานบุคลากร สถานท่ี เครื่องมืออุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนแก่ผู้เรียน จึงทำให้ผู้เรียนมีสมรรถนะ
5
อาชีพตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบรุ ีรัมย์ ได้รับความร่วมมือจากสถานประกอบการ
ทั้งในและต่างประเทศ ในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี โดยทำการลงนามความร่วมมือ (MOU) กับหน่วยงานท้ังภาครัฐและ
เอกชน ในจังหวัด ต่างจังหวัด และต่างประเทศ ในการร่วมพัฒนาหลักสตู รให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ
และตลาดแรงงาน รวมท้ังสนับสนุนให้บุคคลากรในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์และหน่วยงานอื่นๆ ได้แลกเปล่ียน
ความรู้ แนวคิด แนวทางในการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพส่งต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนออดังนั้นเห็นได้จากผู้เรียนท่ีสำเร็จ
การศึกษา จากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์ สามารถเข้าทำงานทั้งภาครัฐและเอกชน และประกอบอาชีพอิสระเป็น
เฒา่ แก่น้อย มคี วามกา้ วหนา้ และเป็นผูน้ ำท่ดี ีขององค์กร ต่อไป
มีการประชุมชี้แจง นักเรียน นักศึกษา ก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพและฝึกอาชีพเพื่อให้ทราบแนวทาง แนว
ปฏิบัตแิ ละการเตรียมความพร้อมในการอยู่ในสถานประกอบการ
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์
จดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาผู้เรียนให้มคี วามรู้ มที กั ษะและประสบการณ์ มกี ารประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานอาชวี ศึกษา ด้งนี้
๑) สง่ เสรมิ สนับสนนุ การสร้างภาพลกั ษณข์ องสถานศกึ ษาจนเปน็ ทยี่ อมรับของชุมชน
๒) การสร้างภาคเี ครอื ข่าย การมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาอย่างระบบ
๓) การดำเนนิ การของสถานศึกษาเปน็ ไปตามนโยบายสำคัญของหนว่ ยงานต้นสังกดั
๔) การดำเนินการของสถานศึกษาเป็นไปตามแนวทางหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
๕) การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาเปน็ แบบอย่างทด่ี ี (Best Practice)
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์ ได้มีการสร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการเรียนการสอนใน
ระบบทวิภาคี และได้ประสบความสำเร็จอย่างสูงมาก เช่น การจัดการเรียนการสอน ระบบทวิภาคีร่วมกับบริษัทสยามคูโบต้า
ของแผนกวิชาช่างกลเกษตร ผ่านประเมินคุณภาพตามแนวทางการจัดการสถานศกึ ษา ภายใต้ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา
(Excellence Center) โดยมีตวั ชวี้ ัด และวิธกี ารดำเนินงาน ดังนี้
๑. ตวั ช้วี ดั รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน
๒. ตัวชีว้ ัด ครูวชิ าชีพ : มกี ารดำเนินงาน
๓. ตวั ชีว้ ัด โครงสร้างพื้นฐานครภุ ณั ฑ/์ อปุ กรณ์และส่ือการ
๔. ตวั ชี้วดั การผลติ และพฒั นา
๕. ตวั ชว้ี ัด การรับรองคณุ ภาพ
๖. ตวั ชวี้ ัด ความรว่ มมือกบั อุดมศกึ ษาในประเทศหรือต่างประเทศ
๗. ตวั ช้วี ดั พัฒนาหลักสตู รร่วมกับสถานประกอบการ
๘. ตวั ช้วี ดั บริบทเชงิ พน้ื ท่ที เี่ อือ้ ตอ่ การจัดการอาชีวศกึ ษา
๙. ตวั ชวี้ ัด เสริมสรา้ งสมรรถนะผ้เู รยี นและผู้สำเร็จ
๑๐.ตัวชว้ี ัด ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนา
๑๑. ตวั ช้ีวัด ศูนย์ประเมินสมรรถนะ
๑๒. ตวั ชี้วัด ศนู ยฝ์ กึ อบรมวชิ าชีพระยะ
๑๓. ตวั ชี้วดั จัดการศกึ ษาแบบประจำ (Boarding School)
๑๔. ตวั ชว้ี ดั วสิ าหกิจเพื่อการเรยี นรู้
วทิ ยาลยั การอาชพี บรุ รี มั ย์
การสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกบั สถานประกอบการ ได้กำหนดเปา้ หมายตวั ช้วี ัดของผเู้ รียนและความ
รว่ มมอื ของสถานประกอบการ วิทยาลยั การอาชพี บรุ รี ัมย์ เปน็ สถานทีม่ งุ่ ม่ันผลติ กำลงั คน ด้านวิชาชพี ให้มีคณุ ภาพและมาตรฐาน
สอดคล้องกับความตอ้ งการของสถานประกอบการ ชมุ ชนและสังคมซง่ึ รูปแบบและวิธกี ารจัดการจดั การศึกษา จึงกำหนดให้
6
จดั การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษาและในสถานประกอบการทั้งในระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี
ช้ันสูง ในการเตรียมความพรอ้ มของผู้เรียนเข้าฝึกอาชีพ และไดส้ ง่ บุคลากรของสถานศึกษา ครูฝกึ ของสถานประกอบการ ร่วมกบั
สถานประกอบการ หน่วยงานภาครฐั เอกชน โดยมีโครงการตา่ งๆ ในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีทั้งนเี้ พื่อให้มีการผสมผสาน
บคุ ลากร สถานท่ี เครอื่ งมอื อุปกรณ์ในการจดั การเรียนการสอนแกผ่ เู้ รียน จึงทำให้ผเู้ รียนมสี มรรถนะอาชีพตรงตามความ
ต้องการของตลาดแรงงาน วิทยาลยั การอาชีพบุรรี มั ย์ ได้รบั ความรว่ มมือจากสถานประกอบการทง้ั ในและต่างประเทศ ในการจดั
การศกึ ษาระบบทวิภาคี โดยทำการลงนามความรว่ มมือ (MOU) กับหนว่ ยงานทงั้ ภาครัฐและเอกชน ในจังหวัด ต่างจังหวัด และ
ต่างประเทศ ในการรว่ มพัฒนาหลักสตู รใหส้ อดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการและตลาดแรงงาน ดังน้นั เห็นได้
จากผู้เรยี นท่ีสำเร็จการศึกษา จากวิทยาลัยการอาชพี บุรีรัมย์ สามารถเขา้ ทำงานท้ังภาครัฐและเอกชน และประกอบอาชีพอสิ ระ
มคี วามกา้ วหน้า และเปน็ ผนู้ ำทีด่ ขี ององคก์ ร ต่อไป เช่น การทำ MOU กบั เรือนจำกลางช่ัวคราวบุรรี มั ย์ ในการจดั ฝึกอบรม
ระยะสนั้ วทิ ยาลยั การอาชีพบุรีรัมย์ ได้จัดเตรยี มบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในแต่ละเร่อื ง และแตง่ ตงั้ คณะกรรมการใน
การฝึกอบรม พร้อมทง้ั ให้ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมได้ประเมินผลการฝกึ อบรม
เพื่อนำผลการประเมนิ ไปพฒั นาต่อไปขั้นตอน การสรา้ งความเขม้ แขง็ ของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ มีดังนี้
ขั้นตอนการวางแผน
๑. ประชุมคดั เลอื กหลกั สูตรการฝึกอบรมระยะสั้น
๒. ดำเนินการจดั ทำแผนโครงการฝึกอบรมระยะสั้น
๓. ต้งั คณะกรรมการเพือ่ จัดการฝกึ อบรมระยะสัน้
ขัน้ ตอนการปฏิบัติ
๑. ดำเนินโครงการลงนามความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ (MOU)
๒. จัดทำการฝึกอบรมระยะสั้น ในหลักสูตรตา่ ง ๆ ทีก่ ำหนด
ขั้นตอนการตรวจสอบ
๑. มกี ารประเมินผลเพอื่ ประเมินความพรอ้ มของสถานประกอบการ
๒. ประเมนิ ความพึงพอใจสถานประกอบการจากผู้เข้ารบั การฝึกอบรม
๓. สอบถามความพงึ พอใจของสถานประกอบการ
ขน้ั ตอนการดำเนินงานใหเ้ หมาะสม
ประชมุ คณะกรรมการสรุปผล การดำเนนิ โครงการดังกลา่ ว
(3) ระบบการบรหิ ารจดั การ สคู่ ณุ ภาพ
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ รี มั ย์
ด้านการจดั การเรียนการสอน
สถานศึกษามคี รทู ่ีมีวุฒิการศึกษาและมีจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้รบั การพัฒนาอย่างเป็นระบบอยา่ งต่อเนือ่ ง เพ่ือ
เป็นผู้ที่พร้อมทั้งด้านคุณธรรมจริยธรรม และความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ตอบสนองความตอ้ งการของผู้เรียน ตามหลกั สูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศกึ ษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับ
เกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการประเมินผลของแตล่ ะหลักสูตร ส่งเสริมสนับสนุน กำกับ ดูแลให้ครูจัดการเรียนการสอนแต่ละ
รายวิชาใหถ้ ูกตอ้ ครบถว้ น สมบูรณ์ ดังน้ี
1) ครดู ำเนนิ การวิเคราะหห์ ลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศักราช 25๖๒ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการ
เรียนรู้ และตวั ชวี้ ัดหรือผลการเรียนรู้ เพอื่ จัดทำคำอธิบายรายวิชา ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยครอบคลุมเนื้อหาของหลกั สตู ร
ซ่ึงมีผลโดยตรงตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น การดำเนนิ งานในการจดั การเรยี นการสอนตามแผนปฏบิ ตั ิการของสถานศกึ ษา
เพ่อื ให้สัมฤทธิ์ผลตามความมุ่งหมายและหลกั การของหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พุทธศักราช 25๖๒ ด้านการจดั ทำ
7
พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การพฒั นาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา การนเิ ทศ และการวดั ผล
ประเมนิ ผล
๒) ครอู อกแบบการจัดการเรียนรูโ้ ดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ดำเนนิ การวิเคราะห์ผู้เรียน เป็นรายบุคคล เพื่อจัด
กลุ่มนกั เรียนตามระดับการเรียน และนำข้อมลู มาประกอบการจัดทำแผนการจัดการเรยี นร้ทู ่สี อดคล้องกบั การออกแบบหนว่ ย
การเรียนรู้ ตามธรรมชาติของผู้เรยี น บรบิ ทของสถานศึกษาและท้องถ่นิ ที่มอี งค์ประกอบครบถ้วนตามรูปแบบทส่ี ถานศกึ ษา
กำหนด เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรู้ คณุ ลกั ษณะประจำวชิ า คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร สกู่ ระบวนการ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้
๓) ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรูด้ ้วยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย เน้นผ้เู รยี น เป็นสำคญั
และการจัดการเรยี นรู้แบบเชิงรกุ (Active Learning) ท่ีเนน้ วิธกี ารปฏิบัติ สอดคลอ้ งกับสมรรถนะของผูเ้ รยี น สาระการเรยี นรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ัดและจุดประสงค์การเรยี นรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้
๔) ครพู ฒั นาและออกแบบส่อื การเรียนรู้ สำหรบั ใชป้ ระกอบการจดั การเรยี นการสอน ใน
รายวิชา ท่ีรับผิดชอบ โดยใช้สอื่ การเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย ตลอดจนนำเทคโนโลยีทางการศึกษามาใชใ้ นการจัดการเรียน การสอน
เชน่ เพิ่มขดี ความสามารถการประกนั คุณภาพระดบั ห้องเรียน เปน็ การนำแนวคดิ การปฏริ ปู การเรยี นรู้ ดว้ ยกจิ กรรมชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) มาใชผ้ า่ นกระบวนการพัฒนาบทเรยี นร่วมกัน(LESSON STUDY)และกระบวนการเรียนรู้แบบเชงิ รุก
(Active Learning)
๕) ดำเนินการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ผ้เู รียนเปน็ รายวชิ าตามตัวชวี้ ัดทก่ี ำหนดในหน่วยการเรียนรู้ ด้วย
วธิ ีการทห่ี ลากหลายให้ได้ผลการประเมนิ ตามความสามารถทแ่ี ทจ้ รงิ ของผูเ้ รยี น โดยทำการวดั และประเมินผลการเรียนรูไ้ ปพร้อม
กบั การจัดการเรียนการสอน โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรยี น การรว่ ม
กิจกรรมและการทดสอบ ตามแนวทางการวดั และประเมนิ ผลของพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 (ฉบับท่ี 4)
พ.ศ.2562 ซง่ึ ผู้สอนได้นำนวัตกรรมการวัดและประเมินผลการเรียนรทู้ หี่ ลากหลาย เช่น การประเมนิ สภาพจรงิ (authentic
assessment) การประเมนิ การปฏบิ ตั ิงาน การประเมินจากโครงงานและการประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน ไปใชใ้ นการ
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ควบคไู่ ปกับการใช้แบบทดสอบแบบตา่ ง ๆ นำไปสู่การปรบั ปรุงแก้ไขการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของครู ตาม
แนวคิดการวดั ผลและประเมนิ ผลเพื่อพฒั นา (Formative)
(๖) ครูจดั ทำวิจยั เพื่อพฒั นาคุณภาพการจดั การเรยี นรแู้ ละแกป้ ญั หาการจัดการเรยี นรู้
(๗) ครูมีแผนการจดั การเรยี นรทู้ ุกรายวิชา และจดั การเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรยี นรู้ ด้วยเทคนิค
วิธกี ารสอนที่หลากหลาย
(๘) ครูใชส้ ่ือ นวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศกึ ษาและแหลง่ เรยี นรู้ ทงั้ ภายในและภายนอก ที่เปน็ สถาน
ประกอบการทม่ี ีคุณภาพ ในการจัดการเรียนการสอนได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ด้านการบริหารจัดการชัน้ เรยี น
1) ดำเนินการจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในชั้นเรยี นท่สี ่งเสรมิ และเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้
กระตุ้นความสนใจใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา อบรมบม่ นิสยั ตลอดจนส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด จากการจัดกิจกรรม การเรียนการ
สอน ทักษะชีวิตจากการให้ผู้เรียนได้ลงมือคิด ดำเนินกิจกรรม และแก้ปัญหาที่เกิดข้ึน จนเกิดทักษะจากการทำงานและปฏิบัติ
กิจกรรมที่ได้รบั มอบหมายท้ังลักษณะงานเดี่ยวและกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม ให้นักเรยี น มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ค่านิยมที่ดีงาม ปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยส่งเสริมและเป็น
แบบอย่างให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม เนื่องในวันสำคัญต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับศาสนาท่ีตนนับถือ สถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งท่ี
โรงเรียนและชุมชน จัดขึ้น ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจ และเสริมแรงให้ผู้เรียนมีความม่ันใจในการพัฒนาตนเองเต็มตาม
ศกั ยภาพ เพื่อคน้ หาความถนัดและความสนใจของตนเอง มคี วามปลอดภัยและสามารถอยรู่ ว่ มกับผ้อู ่นื ได้อยา่ งมคี วามสุข
๒) ดำเนินการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเปน็ ระบบ ครบทุกขนั้ ตอน ด้วยการ
8
เก็บรวบรวมขอ้ มลู จากผู้เรยี นรายบุคคล วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ขอ้ มลู พ้ืนฐานของนักเรียนเบอื้ งต้น (ข้อมูลสุขภาพ ครอบครัว
ความสามารถพิเศษ และลักษณะนสิ ยั ของนักเรยี น ออกเย่ียมบา้ น เพอ่ื จัดเก็บขอ้ มูลสภาพจริงทั้งในด้านข้อมลู ครอบครัว
สภาพความเป็นอยูข่ องครอบครัว และสภาพบรบิ ทของชมุ ชน เพื่อแบ่งกลุ่มของผ้เู รียน ประกอบดว้ ยกลมุ่ ปกติ กล่มุ เส่ียง และ
กล่มุ มปี ัญหา ซ่ึงทำให้สามารถจดั กจิ กรรมป้องกนั เสรมิ สร้างภมู ิคมุ้ กัน และแกไ้ ขปญั หาผู้เรยี นไดต้ ามกรณี จากการปฏบิ ัติหน้าที่
ดา้ นการดูแลนักเรยี นอยา่ งสม่ำเสมอ
ซ่งึ ในการบรหิ ารจดั การ สู่คณุ ภาพ พบว่า ผเู้ รยี นมีคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ มสี มรรถนะในการเปน็ ผูป้ ระกอบการ หรือ
การประกอบอาชีพอสิ ระการมงี านทำและศึกษาต่อของผู้สำเรจ็ การศกึ ษา สอดคล้องกับทีส่ ถานศึกษา มีการจัดการเรียนการสอน
ในระบบปกติ ระบบทวิภาคี และระบบทวิศึกษา โดยมกี ารพัฒนาหลักสูตรรว่ มกับสถานประกอบการ ๑๐๐ เปอร์เซน็ ต์
สถานศกึ ษามีการพัฒนาครูผู้สอนให้มีความร้แู ละทกั ษะเก่ียวกบั การจัดทำนวตั กรรม สอื่ การเรียนการ สอน เทคโนโลยี
ทางการศึกษา การจัดการเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์ ทง้ั ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา่ (โควิด ๑๙)
และสถานการณป์ กติ เพื่อประสิทธิภาพต่อการจัดการเรียนการสอน และส่งผลสมั ฤทธติ์ ่อผู้เรยี นอย่างสม่ำเสมอ ครูผสู้ อนไดร้ บั
การพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชพี มกี ารนำผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพมาใช้ใน การจัดการเรียนการสอน มี
ผลงานจากการพัฒนาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ และมนี วตั กรรมจากการพัฒนาตนเองและการพฒั นาวิชาชีพท่ีได้รับการยอมรับ
หรือเผยแพร่ มีอนิ เตอรเ์ น็ตท่เี ร็วและพรอ้ มใชง้ าน มีระบบสารสนเทศท่สี นบั สนุนการทำงานทุกฝ่าย
วทิ ยาลยั การอาชพี บรุ รี มั ย์
(3) ระบบการบรหิ ารจดั การ สคู่ ณุ ภาพ
การบริหารจัดการอาชีวศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐานมีคณะกรรมการสถานศึกษาหรือวิทยาลัยมีการจัดทำแผน
บริหารจัดการสถานศึกษา มีการพัฒนาสถานศึกษาตามอัตลักษณ์ ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศในการ
บริหารจัดการ มีการบริหารความเส่ียง มีระบบดูแลผู้เรียนมีการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์อาคารสถานท่ี มีการ
บริหารจัดการวัสดุครุภัณฑ์มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการบริหารการเงิน และงบประมาณมีการระดม
ทรพั ยากรในการจัดการ อาชวี ศึกษากับเครอื ข่าย
มาตรการที่ 1 จดั ทำแผนพัฒนาสถานศึกษา แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี โดยการมีส่วนร่วมของคณะครูและบุคลากร
ทางการศึกษาและกรรมการวทิ ยาลัยการอาชพี บุรีรมั ย์
มาตรการที่ 2 พฒั นาระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารบุคลากร การเงนิ และงบประมาณ
มาตรการท่ี 3 พฒั นาระบบเพ่ือการบรหิ ารความเส่ียงด้านต่างๆ
มาตรการท่ี 4 ปรบั ปรุงอาคาร ภมู ิทัศนใ์ หม้ คี วามเหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้
มาตรการที่ 5 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี
มาตรการที่ 6 รว่ มมอื กบั เครือข่ายท้ังในประเทศหรือตา่ งประเทศในการระดมทรพั ยากรในการจดั การอาชีวศกึ ษา
มาตรการที่ 7 พัฒนาการจดั ระบบดแู ลผู้เรียน
ขัน้ ตอนการวางแผน
1. ประชุมทำความเข้าใจในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา
2. จัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาสถานศึกษา
3. ตง้ั คณะกรรมการเพื่อพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ข้ันตอนการปฏิบัติ
ในมาตรการต่าง ๆ เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการจดั อาชวี ศกึ ษา โดยการปรับหลกั สตู ร ระยะส้นั เป็นหลกั สตู รเฉพาะทาง
ทีท่ ันตอ่ เทคโนโลยปี ัจจุบัน การใช้เทคโนโลยีมาชว่ ยในการจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาสนับสนนุ ความพรอ้ มในด้าน
เครอ่ื งมืออุปกรณ์ การเรยี นการสอน อกี ทั้งยงั จัดหาส่ือ หนงั สือ วัสดฝุ กึ ทีท่ นั สมัยและเพียงพอ เพือ่ พฒั นาศักยภาพ และ
ยกระดบั ความสามารถของผู้เรยี นเพ่ือให้ผู้สำเร็จการศึกษามีสมรรถนะอาชีพ ในขณะเดียวกนั กย็ งั ปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม
9
วถิ ปี ระชาธปิ ไตย ความมวี นิ ัย เสรมิ สร้างทกั ษะชวี ิต สนบั สนุนด้านนวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ การเป็นผูป้ ระกอบการ พัฒนา
กระบวนการคดิ การทำงานเป็นทมี เพ่ือยกระดับคุณภาพของผ้เู รียน
ข้ันตอนการตรวจสอบ
การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การ สถานศึกษาใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในการบรหิ ารจัดการ ปรบั ปรุง
ระบบสารสนเทศ ให้มคี วามเร็วเพอ่ื ตอบสนองตอ่ การใชง้ าน รวมถงึ การลงทนุ ด้านโครงข่าย เพ่ือใหเ้ ข้าถึงการใช้งานทุกพ้ืนที่
ช่วยลดเวลาในการทำงาน และเพ่ิมประสิทธภิ าพในการบริหารจัดการทำให้ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอยู่
ในระดับ “ยอดเย่ียม” และได้รบั การประกนั คุณภาพภายนอก (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๘) จากสำนกั งานรบั รองมาตรฐานและ
ประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ด้านการอาชีวศกึ ษา เปน็ การสร้างความเชอื่ มัน่ ใหก้ ับนักเรยี นนักศึกษา ผู้ปกครอง
ผู้นำชมุ ชน ที่จะนำบุตรหลานเขา้ มาศึกษา และความเช่ือม่ันให้กบั สถานประกอบการในการรับนักศึกษเขา้ ฝึกงาน และรบั เขา้
ทำงานในอนาคต
ขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสม ประชุมคณะกรรมการสรุปผล นำข้อท่ีจะต้องปรับปรุงพัฒนาในการดำเนินการ
ตอ่ ไป
(4) การขบั เคลอ่ื นระบบงานวชิ าการ
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ รี ัมย์
สถานศึกษาใชห้ ลกั สูตรฐานสมรรถนะ เพื่อการบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสะเต็มศกึ ษาด้วย
กระบวนการชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ทเ่ี พื่อใหส้ อดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รียน ชุมชนสถานประกอบการ
ตลาดแรงงาน มีการปรับปรงุ รายวชิ าเดมิ หรือกำหนดรายวิชาใหม่ หรอื กลุ่มรายวชิ าเพิ่มให้ทันสมัยต่อการเปล่ยี นแปลง ของ
เทคโนโลยี และ นวตั กรรมาที่เกิดขึ้น ใหต้ รงตามความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความรว่ มมอื กับสถานประกอบการหรอื
หน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง
ซงึ่ สถานศึกษามีครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่มีคุณวฒุ ิการศกึ ษาและมจี ำนวนตามเกณฑ์ทกี่ ำหนดไดร้ ับการพฒั นา
อยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนื่อง เพ่ือเป็นผู้พรอ้ มทงั้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแขง็ ทางวิชาการและวิชาชีพตามหลักสตู ร
มาตรฐานคุณวฒุ ิ อาชีวศึกษา
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี ุรรี ัมย์ มกี ารจัดกิจกรรมเพื่อพฒั นาผ้เู รยี นให้มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีพึง
ประสงค์ การร่วมมอื ของสถานศกึ ษา หนว่ ยงานภายนอกและชุมชน
สถานศกึ ษาเกษตรและเทคโนโลยีบรุ ีรมั ย์ มรี ะบบการติดตามนักเรียน นกั ศึกษา ท่ีกำลังศึกษาและสำเร็จการศกึ ษา ที่
หลากหลายรูปแบบ เช่น การตดิ ตามทางไปรษณยี บัตร, Facebook, Line, โทรศัพท์
ผู้เรียนมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในสว่ นเก่ียวกบั ขอ้ เท็จจริงตามหลกั การ ทฤษฎีและแนวปฏบิ ตั ิต่างๆ ทเี่ ป็นสารในการจดั การ
เรยี นการสอน และหรือข้อเท็จจริงเป็นไปตามมาตรฐานคุณวฒุ ิทางการศึกษาแต่ละระดบั การศึกษา
ซึ่งในการการขับเคล่ือนระบบงานวิชาการ พบว่า ผู้เรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีสมรรถนะในการเป็น
ผู้ประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระการมีงานทำและศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา ซ่ึงส่งผลให้วิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีบุรีรัมย์ ได้รับการประกันคุณภาพภายนอกปี พ.ศ. 2564 ถึง 2568 จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) ในด้านการศึกษา โดยถือว่าเป็นความภาคภูมิใจของ สถานศึกษาอย่างยิ่งและต่อจากนี้
สถานศึกษายังนำผลการประเมินและติดตามคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาวิเคราะห์เพื่อกำหนดแผนพัฒนายกระดับ
คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาใหเ้ พิม่ ขึ้นโดยมเี ปา้ หมายในการพัฒนาการศึกษาให้อย่ใู นระดับคุณภาพยอดเยี่ยมต่อไป
วทิ ยาลยั การอาชพี บุรรี มั ย์
(4) การขับเคลอ่ื นระบบงานวชิ าการ
ขั้นตอนการวางแผน
1. ประชมุ ทำความเขา้ ใจในการขับเคลือ่ นระบบงานวิชาการของวทิ ยาลยั การอาชพี บุรรี ัมย์
10
2. จัดทำแผนพฒั นา โครงการตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วกับการจัดการเรียน การสอน
3. ต้งั คณะกรรมการเพ่ือพัฒนาหลกั สูตรการเรียน การสอน
ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิ
1. พัฒนาผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ในเชิงวิชาการทักษะทางวิชาชีพและคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคส์ ามารถเป็นผปู้ ระกอบการ หรอื ทำงานในสถานประกอบการจนเป็นที่ยอมรับหรือศึกษาต่อในระดับที่สูงขน้ึ ดังน้ี
- พัฒนาการจดั การเรียนการสอนโดยเนน้ นักเรียนเปน็ สำคัญ
- พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนโดยรว่ มกบั สถานประกอบการ
- สง่ เสรมิ การวจิ ัย นวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐ/์ โครงงาน
- พฒั นานักเรยี นใหม้ ีความพร้อมสำหรบั การทดสอบ V-NET, การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
- ส่งเสรมิ นกั เรียนให้มีรายไดร้ ะหว่างเรยี น
2. พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ หรอื ประชาคมอาเซียน
โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยเทคนิควิธีการสอนท่ีหลากหลาย มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
คุณลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง ดังน้ี
- พฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะเพื่อตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการ
- พฒั นาครเู พ่ือจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- พัฒนานกั เรียนใหม้ ีความพร้อมสำหรับการแข่งขนั ทกั ษะวิชาชพี และทักษะวิชาพ้ืนฐาน
- พัฒนาระบบการฝกึ งานของนกั เรียนโดยรว่ มกบั สถานประกอบการ
3. จัดฝึกอบรมหลักสูตรวชิ าชีพระยะสน้ั สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน สถานประกอบการ
- พัฒนาการจดั ทำแผนการบริหารจัดการฝกึ อบรมหลักสตู รวิชาชีพระยะสน้ั
- พฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของชมุ ชน สถานประกอบการ
- พฒั นาครูผสู้ อนหลกั สตู รวิชาชีพระยะสั้นในการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรูร้ ายวิชาการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพ
ระยะสนั้
- แสวงหาเครอื ขา่ ยในการระดมทรพั ยากรในการจดั การฝึกอบรมหลักสูตรวชิ าชีพระยะส้ัน
- พัฒนาระบบการติดตามผลผู้สำเรจ็ การศึกษาหลักสตู รวิชาชีพระยะส้ัน
- พัฒนาระบบการบรหิ ารการเงินและงบประมาณ
วทิ ยาลัยการอาชีพบุรีรัมย์ มีการพัฒนาครูผสู้ อนให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการจัดทำนวัตกรรม สื่อการเรียนการ
สอน เทคโนโลยีทางการศึกษา การจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบออนไลน์ ทั้งในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโร
นา่ (โควิด ๑๙) และสถานการณ์ปกติ เพื่อประสิทธิภาพต่อการจัดการเรียนการสอน และส่งผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ
ครูผู้สอนได้รับการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ มีการนำผลจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพมาใช้ใน การจัดการ
เรียนการสอน มีผลงานจากการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ และมีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพท่ี
ไดร้ ับการยอมรบั หรือเผยแพร่ มีอนิ เตอรเ์ นต็ ที่เรว็ และพรอ้ มใช้งาน มีระบบสารสนเทศทีส่ นบั สนนุ การทำงานทกุ ฝา่ ย
ขน้ั ตอนการตรวจสอบ
การประเมินผลการจัดการเรยี น การสอน ตรงตามเกณฑท์ ่ีกำหนด ผ่านเกณฑ์การประเมินผลการวัดผลและการ
ประเมินผล
ข้นั ตอนการดำเนนิ งานใหเ้ หมาะสม ประชุมคณะกรรมการสรุปผลการจัดการเรยี น การสอน นำข้อทจ่ี ะต้องปรับปรุง
พฒั นาในการดำเนนิ การตอ่ ไป
11
ภาคผนวก
12
วันท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๖๕
รายงานตวั และรับการปฐมนเิ ทศ ทวี่ ิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ รี มั ย์
โดยทา่ น ผอ.วิทยา พลศรี และคณะรองผ้อู ำนวยการ
13
14
ศกึ ษาบรบิ ทของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี ุรีรัมย์
15
ศกึ ษาบรบิ ทโรงงานแปรรปู นมพาสเจอรไ์ ร
16
ศกึ ษาบรบิ ทความเปน็ เลิศทางอาชวี ศกึ ษา
17
ศกึ ษาบริบท
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยบี รุ ีรมั ย์รว่ มกบั วิสาหกิจชุมชน
18
ศึกษาบรบิ ทการทำงานของงานอาคารสถานที่
19
ศึกษาดูงานท่ี ณ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดบุรรี ัมย์
20
21
ศกึ ษาดูงาน ณ หจก.ดีพรอ้ มพ์ เอน็ จเี นยี ร่งิ
22
ศึกษาบรบิ ท แผนกพชื ศาสตร์
23
รับการนเิ ทศการฝกึ ประสบการณฯ์ จาก ผอ.สริ ะพงศ์ ชวู งศ์เลศิ
24
รบั การนิเทศจาดท่าน ผอ.สิระพงศ์ ชูวงศเ์ ลศิ
ณ วทิ ยาลยั การอาชีพบรุ ีรมั ย์
25
วนั ท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕
รายงานตวั และรับการปฐมนิเทศ ทวี่ ิทยาลยั การอาชีพบรุ รี มั ย์
โดยท่าน ผอ.อนันต์ สุขดี และคณะรองผูอ้ ำนวยการ
26
ร่วมโครงการ ลูกเสอื จติ อาสาพระราชทานในสถานศกึ ษา
ณ ค่ายลกู เสือจงั หวัดบรุ รี ัมย์
27
28
29
30