ใบงาน
งานกลุ่ม แสดงแผนงานโครงการขบั เคลื่อนสถานศึกษาส่มู ิติชวี ิตอนาคต (Next Normal) ใน รปู แบบ
Graphic Art, Animation, VTR เปน็ ภาษาองั กฤษ นำเสนอในวันท่ี 9 – 10 พฤษภาคม 2565 ใช้เวลา
นำเสนอไม่ตำ่ กวา่ 20 นาที แต่ไม่เกิน 30 นาที
ช่อื -สกุล วิทยากรพี่เลี้ยง ผอ.สุรินทร์ นวลรอดและ ผอ.กชกร บุษราภรณ์ กลมุ่ ท่ี ๑๖
รายชือ่ สมาชกิ กลุ่ม
เลขท่ี ๑ ชื่อ นางพมิ พ์ยุภา ชนะอยั ยรชั ต์ เลขที่ ๖ ชือ่ นางสาวเพชรชรัตน์ โพธศิ์ รี
เลขท่ี ๒ ชอื่ นายธนพนธ์ ธสิ งค์ เลขที่ ๗ ชอ่ื นายอำนาจ พงษษ์ า
เลขที่ ๓ ชอ่ื นายทองเงิน มั่นวงศ์ เลขที่ ๘ ช่อื นางธนั ยพร หนสู วสั ดิ์
เลขที่ ๔ ชอื่ นายกมล เขตคาม เลขที่ ๙ ชื่อ นายวศนิ เรืองจันทร์
เลขท่ี ๕ ชื่อ นายมนตรี ธรรมขนั ธา เลขที่ ๑๐ ชอ่ื นายเดชา กาฬจันโท
การขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาสู่มิตชิ วี ติ อนาคต (Next Normal)
ในการขับเคลื่อนสถานศึกษาสู่มิติชีวิตอนาคต (Next Normal) มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกระบวน
ทัศน์ ในการจัดการศึกษาที่เกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง ในยุค Next Normal ไปสู่การสร้างผู้เรียนที่สามารถมี
ทักษะสอดคล้องกับความต้องการของสังคมใน คริสต์ศตวรรษที่ 21 ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งมีความจำเป็นต้อง
เรียนรู้และพัฒนาการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ ทักษะ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปสู่การ
ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในทกั ษะทางวิชาชีพ ซึ่งในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้มีคุณภาพ และมี
ความหลากหลาย และสอดคล้องกับการพัฒนาไปสู่มิติตา่ ง ๆ ของผเู้ รียน และสามารถตอบวตั ถุประสงค์ในการ
พัฒนาผูเ้ รยี นได้อยา่ งมีประสิทธิผล และสามารถตอบสนองสกู่ าร
๑. กลยุทธใ์ นการขับเคลอ่ื น Future Skill ของสถานศึกษา
ในการพัฒนากลยทุ ธใ์ นการขับเคลือ่ น Future Skill ของสถานศึกษา เพ่ือการขบั เคลื่อนสถานศึกษาสู่
มติ ชิ ีวิตอนาคต (Next Normal) รวมถึงการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในยคุ Next Normal ใหม้ ี
ศกั ยภาพสูงมากยงิ่ ขนึ้ เพื่อก้าวไปสู่เปา้ หมายคือ ผ้เู รยี นที่มีศักยภาพ มีคุณภาพ มีทักษะในยุคโลกศตวรรษที่
21 และควรมแี นวทางการพัฒนาสถานศึกษา ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาอยา่ งไรนั้น ใหม้ ีคณุ ภาพเพื่อ
โอกาสทางวชิ าชพี ในยุค Next Normal สามารถวเิ คราะห์ได้ 3 แนวทางในการพัฒนา ดังนี้
1. ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์
2. ทกั ษะด้านเทคโนโลยี
3. ทักษะด้านการสรา้ งธุรกจิ
ซึง่ สามารถอธิบายไดด้ ังน้ี
1. ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ การคิดสร้างสรรค์ (Think Creativity) ซึง่ ประกอบไปดว้ ยการใชเ้ ทคนิคของ
การสร้างสรรค์ทางความคิดที่เปิดกว้าง การสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่และเสริมสร้างคุณค่าทางความคิดและ
สติปัญญา และ การมีความละเอียดรอบคอบต่อการคิดวิเคราะห์และประเมินแนวความคิด เพื่อนำไปสู่การ
ปรับปรุงและพัฒนางานในเชิงสร้างสรรค์ รวมถึงการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ (Work Creativity
with Others) โดยมุ่งพัฒนา ในการปฏิบัติและสื่อสารแนวคิดใหม่ ๆ ไปสู่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เปิดใจ
กว้างและยอมรับในมุมมองหรือโลกทัศน์ใหม่ๆที่ส่งผลต่อระบบการทำงาน และมีภาวะผู้นำในการสร้างสรรค์
งาน รวมทั้งมีความรู้และเข้าใจในสภาพการณ์ซึ่งอาจเป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นข้อจำกัด โดยพร้อมที่จะยอมรับ
ความคิดหรือสภาพการณ์ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นได้ นอกจากกนี้ยังมีการพัฒนาไปสู่สภาวะต่าง ๆ เมื่อเจอปัญหา
ซึ่งมีความสามารถสร้างวิกฤติให้เป็นโอกาสส่งผลต่อการเรียนรู้ และเข้าใจถึงวิธีการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ตอ้ ง
ใช้เวลาและสามารถนำเอาข้อผิดพลาดมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำเอา
นวัตกรรมมาสู่การปฏิบัติ (Implement Innovations) โดยปฏิบัติเชิงสร้างสรรค์ให้เกิดคุณประโยชน์ต่อการ
ปรบั ใช้และพัฒนาจากผลแห่งนวตั กรรมที่นำมาใช้
ในการพัฒนาและการส่งเสริมให้มีการแข่งขันทักษะทางวิชาชีพได้รับรางวัลระดับอาชีวศึกษาจังหวัด
ชนะเลิศการประเมินองค์การมาตรฐานดีเดน่ และสมาชิกดเี ดน่ โครงการภายใต้การนิเทศองคก์ ารนักวิชาชีพ ท้ัง
กิจกรรมภายใต้ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี (อกท.) และองค์การวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) ส่งผลให้ได้รับรางวัล
ชนะเลศิ ระดบั ชาติ อย่างต่อเนือ่ งในทกุ ๆ ปีการศึกษา
2. ทักษะด้านเทคโนโลยี สถานศึกษาส่งเสรมิ และพัฒนาผเู้ รยี น ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะ
ในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั เพื่อจะได้นำไปสกู่ ารจัดการเรียนรู้ หรือสนบั สนนุ การเรยี นการสอนในระยะออนไลน์
รวมถึงการส่งเสริมกระตุ้นให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจและทำให้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี และรู้เท่าทัน
Social Media การวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้องและนำไปสู่ประโยชน์ในการใช้งานของข้อมูล ส่งเสริมและ
พัฒนาให้มีความรู้ ความเข้าใจในกฎหมายการศึกษาในอนาคต ส่งเสริมและพัฒนาการใช้โปรแกรมการเรียนรู้
ทางสอ่ื ออนไลน์ ซงึ่ การเรียนร้ผู ่านโปรแกรมออนไลนจ์ ะเปน็ การพฒั นา ตนเองด้วยการลดเวลาเพ่อื การเรยี นรู้ได้
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ อีกทง้ั การเรยี นรูแ้ ละพัฒนาผา่ นโปรแกรม ออนไลน์น้นั มีความหลากหลายในองค์ความรู้ท่ี
ต้องการพัฒนา
3. ทกั ษะด้านการสรา้ งธรุ กจิ สามารถพัฒนาทกั ษะต่าง ๆ เพอ่ื ท่ีจะใช้ในการพัฒนาธรุ กจิ และตอ่ ยอดทาง
ธรุ กจิ เพอ่ื การพฒั นาตนเองอยา่ งยง่ั ยืน น้นั ทักษะด้านธุรกิจ หรือ Business Skills ยงั คงเป็นทักษะทจ่ี ำเป็นต่อ
Entrepreneur ทุกคนทีอ่ ยากเป็นผู้ประกอบการหรือนักธรุ กจิ ในยคุ ปัจจบุ ันเราสามารถ Reskill Upskill New
skill โดยทางสถานศึกษาได้สนับสนุนให้ผู้เรียนได้มีสมรรถนะการประกอบวิชาชีพอิสระและเป็นผู้ที่มี
ความสำเร็จจากการประกอบอาชีพอิสระตามเป้าหมาย โดยมุ่งเน้น ตามคุณสมบัติและทักษะที่จำเป็นของ
ผูป้ ระกอบการ 10 ข้อ คอื
1. ความสามารถในการจัดการดา้ นการเงนิ
2. ความสามารถดา้ นการผลิตสนิ ค้าหรอื บริการ
3. ความสามารถในการสรา้ งเพอื่ นผู้ประกอบการ
4. การรูจ้ ุดแขง็ และจุดอ่อนของตนเอง
5. ความสามารถในการสร้างทีมงานทมี่ ปี ระสิทธิภาพ
6. ความสามารถในการทำการตลาดเพือ่ เขา้ ถึงลกู คา้ ของคณุ
7. ความสามารถในการปิดการขาย
8. ความสามารถในการจัดการกบั ความล้มเหลว
9. การปรับทัศนคตขิ องตวั คุณเองให้เปน็ บวกอยูเ่ สมอ
10.การมวี ิสัยทัศน์ทด่ี ี
จากการส่งเสริมและสนับสนุนของสถานศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียนมีสมรรถนะในการประกอบวิชาชีพซึ่ง
สามารถประกอบอาชีพอิสระได้ และเป็นผู้ที่มีความสำเร็จจากการประกอบอาชีพอิสระ ตามเป้าหมาย พบว่า
ในการพฒั นาองคค์ วามรูท้ ้ัง 10 ขอ้ ทำใหผ้ ้ทู ีส่ ำเรจ็ การศกึ ษานำไปประกอบอาชีพอิสระเพิ่มขึน้ จากปีการศึกษา
ทผ่ี า่ นมาและมีการประเมินผลสมั ฤทธศ์ิ ูนย์บม่ เพาะผปู้ ระกอบการอาชีวศึกษาและเป็นที่ยอมรับในระดับ 3 ดาว
2. การสร้างความเข้มแขง็ ของระบบความร่วมมือกบั สถานประกอบการ
การสร้างความเขม้ แขง็ ของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ ซ่งึ ประกอบไปด้วย
1) มกี ารพัฒนาและการสร้างความเขม้ แขง็ ของระบบความร่วมมอื กบั สถานประกอบการกบั
สถานศึกษา (MOU/บันทึกข้อตกลง)
2) มกี ารจดั ใหม้ คี ่าตอบแทนให้ผู้รับการฝกึ ประสบการณ์ ตามข้อกำหนดท่ีตกลงไว้ใน
บนั ทึกข้อตกลง (MOU)
3) มกี ารจัดหลกั สตู รการเรียนการสอนร่วมกนั ระหว่างสถานศกึ ษาและสถานประกอบการ
4) มกี ารจัดหลักสตู รการเรยี น การสอนที่เน้นการบูรณาการระหวา่ งความรู้ในชั้นเรยี นกบั
ประสบการณ์ การทำงานจรงิ
5) มีการประเมินมาตรฐานการฝกึ ปฏิบัติประสบการณ์วิชาชพี ตามข้อตกลงและแผนการฝึก
วชิ าชีพท่ีจัดทำรว่ มกันระหวา่ งสถานศกึ ษาและสถานประกอบการ
6) มีการมอบใบรับรองมาตรฐานผ่านการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี เมอ่ื สิ้นสุดหลักสตู ร
ในการขับเคลื่อนการศึกษาระบบทวิภาคี ยังมีอุปสรรคและปัญหาในการประสานงานด้านการจัดการ
เรียนการสอนร่วมกันระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ ซึ่งเป็นข้อจำกัดสำคัญที่กีดขวางการผลักดัน
ระบบทวิภาคีสู่ความสำเรจ็ ส่งผลกระทบต่อผลิตผลดา้ นกำลังคนที่ด้อยคุณภาพ ไมต่ อบสนองการสร้างงานและ
ไม่ตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงาน แนวปฏิบตั ิทดี่ ีในการแกป้ ัญหาระบบทวภิ าคี มดี ังนี้
1. ปญั หาเชิงระบบในการดำเนินการศกึ ษาระบบทวภิ าคีควรเพิ่มประสิทธภิ าพในการขับเคล่ือนดว้ ย
กลไกทางกฎหมาย เช่นการผลักดันระบบการฝึกหัดงานในประเทศอเมริกา ใช้กฎหมาย School-to-Work A
เป็นการสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้รับความเสมอภาคในการเข้ารับการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ เตรียมความพร้อมสู่โลก
แห่งการทำงาน ซึ่งในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ให้มีคุณภาพควรคำนึงถึงผลลัพธ์ในการยกระดับคุณภาพ
แรงงานแม้ต้องแลกกับการลงทุนที่สูงเป้าหมายของระบบทวิภาคี คือการสร้างมูลค่าเพิ่มให้บุคคลเกิดทักษะใน
การทำงานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
2. การประสานความรว่ มมอื ในการจัดการเรยี นการสอนระหวา่ งสถานศกึ ษาและสถานประกอบการ
ตลอดจนการประสาน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการขับเคลื่อนระบบทวิภาคีจากภาคส่วนต่างๆ ใน
สังคมทีเ่ ก่ียวข้อง เรมิ่ ต้ังแตก่ ระบวนการวางแผนหลักสูตร การจัดการเรยี นการสอนและการเชื่อมโยงทักษะการ
ทำงานซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานจนถึงการยกระดับการผลิตคุณภาพกำลังคนร่วมกัน รวมท้ังสถาบัน
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (Relevant institutions) ในการพัฒนากระบวนการบริหาร การดำเนินการและการพัฒนา
ควรเกิดจากการมีส่วนร่วมของตัวแทนจากสถานประกอบการและผู้มีส่วนได้เสีย ช่วยกำหนดขอบเขตเนื้อหา
แนวทางในการฝึกปฏิบตั สิ ่งผลให้หลักสูตรมีความเช่ือมัน่ ทนั สมยั และสอดคล้องกับการพฒั นาดา้ นเทคโนโลยี
3. การสร้างระบบควบคมุ มาตรฐานในการผลติ กำลงั คนต้งั แตก่ ระบวนการคัดเลือกผู้เรียนตรงตาม
ความสนใจและความถนัดด้านอาชีพ การเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติงานและการประเมินผล โดยใช้หลักการ
สอนที่เน้นตามมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ ซึ่งในการฝึกปฏิบัติวิชาชีพที่ดีนั้น ควรเน้นให้ผู้เรียนเกิด
ทักษะวิชาชีพในมิติที่กว้างขึ้น เป็นการบูรณาการให้เกิดความเชื่อมั่นได้ว่าผู้เรียนเกิดทักษะ ด้านการเรียนรู้
ตลอดจนมีความสามารถในการต่อยอดการพัฒนาอาชีพให้ทันต่อสภาวะความเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
หลังจากเรียนจบหลักสูตรและประกอบอาชีพไปแล้วในอนาคต ดังนั้นการฝึกวิชาชีพจำเป็นต้อง ดำเนินการท้ัง
แบบ On-the-job training และ Off-the-job training ซ่ึงตรงกบั นักการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong leaning)
การผลิตกำลังคนด้วยหลักการดังกล่าวจึงมีความสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานทำให้ เกิดการ
สรา้ งงานและสามารถดงึ ดูดผ้เู รียนให้สนใจเรียนสายอาชพี มากย่งิ ขนึ้
3. ระบบการบรหิ ารจัดการสู่คุณภาพ
ในการจดั การระบบการบริหารจัดการสู่คุณภาพ ในการบรหิ ารสถานศึกษาอาชวี ศึกษา ภายใต้นโยบาย
ของผู้บริหารสถานศกึ ษานาํ หลกั การบริหาร มาใชใ้ นกระบวนการบริหารสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา 7 ประการ คอื
1) หลกั การมอบหมายงาน
2) หลักความรับผดิ ชอบ
3) หลกั การกำกับติดตาม
4) หลักการพฒั นาตนเอง
5) หลกั การทำงานเป็นทีม
6) หลกั การสรา้ งแรงจูงใจ
7) หลักการมีส่วนร่วม
ซึ่งทั้ง 7 ประการจะส่งผลให้การบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ เพราะว่า ผู้บริหารพร้อม
จะเปล่ียนแปลงไปส่นู วตั กรรมที่ดกี วา่ เพอื่ ให้องคก์ รมศี ักยภาพในการแขง่ ขัน ด้วยการนาํ ระบบ ควบคมุ คุณภาพ
(Quality Control System) ทมี่ ีความหลากหลายมาปรบั ใช้จนเปน็ กระบวนการบริหารสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา
ให้มีคุณภาพ โดยแต่ละกระบวนการสะท้อนให้เห็นลักษณะของสถานศึกษาอาชีวศึกษาท่ีมีคุณภาพได้ ในด้าน
การบริหาร จัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษา การจัดการเรียนการสอนผู้เรียน และ ผู้สอนได้ โดยผู้บริหารใช้
หลักการสร้างแรงจูงใจ กระตุ้นบุคลากรให้ทำงาน สร้างองค์กรเป็น สถานท่ีแห่งความสุข (Happy Work
Place) มีแบบแผนการพัฒนา ความรู้ ของบุคลากรให้สอดคล้องเหมาะสมตามตำแหน่งท่ีได้ รับผิดชอบ
คำนึงถึงหลักการใช้บุคลากรได้ตรงกับความรู้ ความสามารถ เพ่ือจูงใจให้บุคลากรมีความพึงพอใจในการ
ปฏบิ ัตงิ าน
โดยมีเง่ือนไขการเกิดกระบวนการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาสู่คุณภาพ คือ 1) คุณลักษณะภาวะ
ผู้นํา ผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา ประกอบด้วย ภาวะผู้นําทาง บุคลิกภาพ และภาวะผู้นําทางการบริหาร
2) ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อ บทบาทภาวะผู้นําผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา ได้แก่ ภูมิหลัง ส่วนบุคคล ในการ
พฒั นาสถานศึกษาให้กระบวนการบรหิ ารสถานศึกษาอาชวี ศึกษาสู่คณุ ภาพได้อย่างมัน่ คงและต่อเนื่อง ผู้บริหาร
ควรมีนโยบายการบริหารสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาทชี่ ดั เจน มคี วามมั่นคง ควบคมุ คุณภาพการบริหารสถานศึกษา
อย่างต่อเน่ือง สม่ำเสมอ สร้างแรงจูงใจให้บุคลากรท่มุ เทให้กับการทำงาน บรรลเุ ปา้ หมาย และบคุ ลากรมีความ
รักความผูกพัน และผู้บริหารจะใช้ภาวะผู้นําของผู้บริหาร รวมถึงความร่วมมือของบุคลากรทั้งภายใน และ
ภายนอกสถานศึกษาในการรักษาสถานศึกษาให้ดำรงการมีคุณภาพในการจัดการศึกษา และสถานศึกษามี
คณุ ภาพมาตรฐาน ตอ้ งไดร้ บั การยอมรบั จากสงั คม บคุ ลากรมวี ฒั นธรรมองค์การในการทำงาน ร่วมกัน ผู้สอนมี
ความเปน็ เลศิ ในวิชาชพี ผเู้ รยี นมีสมรรถนะทางวชิ าชีพ และคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ รวมถงึ การพฒั นาให้ครูจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ และการ
จัดการเรียนรูแ้ บบเชิงรุก (Active Learning) รวมถึงการจดั การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-Based
Learning: PjBL) ท่ีเน้นวิธกี ารปฏิบัติ สอดคล้องกับสมรรถนะของผู้เรียน สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วดั และจุดประสงค์การเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้ จึงมีความจำเป็นในการพฒั นาและออกแบบสือ่ การ
เรยี นรู้ สำหรบั ใช้ประกอบการจดั การเรียนการสอน ในรายวิชา ท่รี ับผดิ ชอบ โดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ตลอดจนนำเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียน การสอน เช่น เพิ่มขีดความสามารถการประกัน
คุณภาพระดับหอ้ งเรยี น เปน็ การนำแนวคิดการปฏริ ปู การเรยี นรู้ ดว้ ยกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ
(PLC) มาใช้ผ่านกระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน(LESSON STUDY)และกระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก
(Active Learning) และการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning: PjBL) รวมถงึ การ
ส่งเสริมการบริการชุมชนและสังคมภายในสถานศึกษา เช่น จัดทำโครงการอาชีวศึกษาร่วมด้วยช่วยประชาชน
โครงการ Fix it Center
ในการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา อย่างต่อเน่อื ง จะสง่ ผลให้สถานศกึ ษามกี ารบรหิ ารจดั การท่สี ามารถ
ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาสูร่ ะดับนานาชาติได้ รวมถึงสถานศึกษาจะมภี าพลักษณ์ท่ีดี ผู้สอนมีความ
เป็นเลิศสามารถผลิตผู้เรียน ที่มีคุณภาพตรงสาขาวิชาชีพ และสามารถเพิ่มจำนวนผู้เรียนมากขึ้น และ
ผู้ปกครองมีความเชื่อมั่นในการจัดการศึกษาท่ีสามารถผลิตผู้เรยี นใหม้ ีความรู้ความสามารถเป็นเลิศได้ ในการ
พัฒนาและการจัดการคุณภาพของการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา ยงั ได้รับการยอมรบั จากชุมชนและสังคม
และสามารถพฒั นาไปเป็นสถานศึกษาตน้ แบบในการพฒั นาสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาอ่นื สสู่ ถานศึกษาที่มีคุณภาพ
ตอ่ ไป
4. การขับเคลือ่ นระบบงานวิชาการ
ในการพัฒนาและการขับเคลื่อนระบบงานวิชาการของสถานศึกษาที่จัดการศึกษาทั้งระบบปกติและ
ระบบทวิภาคี ซ่ึงประกอบไปด้วยการบรหิ ารทางวิชาการคือ
1) ด้านการบรหิ ารการจัดการเรยี นการสอน
2) ดา้ นการบริหารหลักสตู ร
3) ดา้ นการบริหารการวดั และประเมนิ ผล
4) ด้านการบริหารการนิเทศและติดตามผล
5) ดา้ นการบริหารส่อื การเรียนการสอน
๖) ดา้ นการบริหารงานอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี
การพัฒนาจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ และการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) รวมถึงการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น
ฐาน (Project-Based Learning: PjBL) ที่เน้นวิธีการปฏิบัติ สอดคล้องกับสมรรถนะของผู้เรียน สาระการ
เรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ดั และจุดประสงค์การเรียนรู้ในแผนการจดั การเรียนรู้ จงึ มีความจำเป็นในการ
พฒั นาและออกแบบส่ือการเรียนรู้ สำหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน ในรายวชิ า ทร่ี บั ผดิ ชอบ โดยใช้
สื่อการเรียนรทู้ หี่ ลากหลาย ตลอดจนนำเทคโนโลยีทางการศกึ ษามาใช้ในการจดั การเรียน การสอน เช่น เพิ่มขีด
ความสามารถการประกนั คุณภาพระดับห้องเรียน เปน็ การนำแนวคิดการปฏิรูปการเรียนรู้ ดว้ ยกิจกรรมชุมชน
แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) มาใช้ผ่านกระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (LESSON STUDY) และ
กระบวนการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning)และการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-
Based Learning: PjBL)
ซี่งในการพัฒนาทักษะทั้ง 3 ประเด็น คือ New Skills Re skills และUp skills จึงถือเป็นกลไกท่ี
สำคัญสำหรับคนใน ตลาดแรงงานที่ตองพัฒนาทักษะใหม่ ๆ เพื่อให มี “ทักษะใหม่” หรือ “ทักษะท่ี
หลากหลาย” รวมทั้งการ “พัฒนทักษะ” บนความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหนาทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะ
ทักษะด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล ซึ่งแรงงานจะตอง สามารถทำงานร่วมกับหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติได้ ซ่ึง
ประกอบด้วยโดยนำรูปแบบการจัดการศกึ ษาเพื่อทักษะอาชพี และการมงี านทำ
1. Re skills ปรับปรุงทักษะเดิมที่มีอยู่ ใหสามารถปฏิบัติงานหรือเพิ่มผลิตภาพได้ โดยมีการประยุกต
ใช และ เรยี นรูเกีย่ วกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และมคี วามจำเปน็ สำหรับการทำงานในโลกยุคอนาคต เชน Big Data,
Data Science, IoT, Cloud Technology, DevOps, Artificial Intelligence, Digital Marketing
2. Up skills การพัฒนาและยกระดับทักษะการทำงานที่แรงงานมีอยู่เดิม ใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
รวมถึง การสร้างเสริมทักษะเฉพาะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลใหแกแรงงาน ทั้งนี้เพื่อจะเพิ่มผลิตภาพแรงงาน
และ เพม่ิ ผลผลติ ในการทำงาน
3. New skills การสร้างทักษะใหม่ใหเกิดขนึ้ ในตัวผู้เรียนตามสถาณการณ หรือตรงตามความตองการ
ของ ภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นบทบาทและหนาที่โดยตรงของ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการ
รับผิดชอบด้านการจัดการศึกษาวิชาชีพ และพัฒนากําลังคนสมรรถนะของแรงงานตามเทคโนโลยีที่
เปลย่ี นแปลงตลอดเวลา
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID 19 ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไม่
อาจหลกี เลย่ี งได้ ทุกสถานศกึ ษาต่างต้องปรับวิธกี ารจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้สอดรับกับสถานการณ์ดังกล่าว
โดยมกี ารจัดการเรียนการสอน 2 ลักษณะ อันประกอบไปดว้ ย
1. ON – SITE เป็นการจัดเตรียมห้องเรียนให้พร้อมรองรับผู้เรียนที่เข้ามาเรียนในสถานศึกษาโดยมี
การเพิ่มเติมระบบการควบคุมโรคติดต่อเข้าไป เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู้เรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องในการ
จัดการเรียนการสอน รวมถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนที่คำนึงถึงความปลอดภัยจากการระบาดของโรคเป็น
หลกั
2. ON – LINE เป็นการจัดการเรียนการสอนในกรณีที่มีความจำเป็นต้องปิดสถานศึกษา เพื่อควบคุม
โรค โดยเน้นที่เนื้อหาในการเรียนรู้แบบออนไลน์และใช้แอพพลิเคชั่นต่าง ๆ มาช่วยในการติดต่อสื่อสารกับ
ผู้เรยี น มีการมอบหมายงานผา่ นทางระบบออนไลน์เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้เหมือนว่าอยใู่ นห้องเรียนจรงิ
3. ON-DEMAND เป็นการจัดการเรียนการสอนในกรณีที่มีความจำเป็นต้องปิดสถานศึกษา เพ่ือ
ควบคุมโรค โดยเน้นที่เนื้อหาในการเรียนรู้แบบออนไลนแ์ ละใช้แอพพลิเคชั่นต่าง ๆ มาชว่ ยผเู้ รียน สามารถเติม
เต็มความรูน้ อกเหนือจากการเรยี นรู้ ทงั้ ในห้องเรยี นและการเรียนรู้แบบออนไลน์ กบั ครผู ู้สอนในรายวชิ านัน้ ๆ
4. ON-HAND เป็นการเรียนรู้ที่บ้านโดยครูผู้สอน สถานศึกษาได้จัดทำเอกสาร หรือใบงาน เพื่อมอบ
ให้แก่นักเรียน ซึ่งอาจเป็นลักษณะแบบเรียนสำเร็จรูป โดยมีครูออกไปเยีย่ มบ้านนักเรยี นเป็นคร้ังคราว หรือให้
ผ้ปู กครองทำหนา้ ท่เี ป็นครูคอยช่วยเหลือ เพอื่ ใหน้ ักเรียนสามารถเรยี นไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง
5. ON-FIELD เปน็ การจดั การเรยี นการสอนทีส่ ามารถใช้ในกรณีทมี่ ีเหตุจำเป็นต้องปดิ สถานศึกษาหรือ
สถานศึกษาสามารถทำการจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ ซึ่งสามารถใช้กับผู้เรียนที่มีความหลากหลายใน
พนื้ ที่ ทแ่ี ตกต่างกนั โดยการนำวิธีการจดั การเรียนการสอน ซง่ึ นยิ มใช้การจดั การเรียนการสอนในระบบทวิภาคี
ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนรู้ตามรายวิชาที่กำหนดในการจัดการเรียนสอน ในขณะฝึกประสบการณ์ในสถาน
ประกอบการณ์ได้ โดยมีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นที่เนื้อหาในการเรียนรู้แบบออนไลน์และใช้
แอพพลิเคชั่นต่าง ๆ มาช่วยผู้เรียน เช่น Google Classroom, Google meet, Google Form, Application
line, Facebookและ บทเรียนออนไลน์ ที่ครูผู้สอนได้พัฒนาขึ้นเพื่อการจัดการเรียนการสอนที่มปี ระสิทธิภาพ
สามารถเติมเต็มความรู้นอกเหนือจากการเรียนรู้ ทั้งในห้องเรียนและการเรียนรู้แบบออนไลน์ กับครูผู้สอนใน
รายวิชานนั้ ๆ
และนอกจากด้านการจัดการเรียนสอนแล้วนั้น ยังมีระบบติดตามผู้เรียน เป็นกระบวนการดำเนินงาน
เพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน พร้อมทั้งมีวิธีการและเครื่องมือที่มีมาตรฐาน
คุณภาพ และมีหลักฐานการทำงานที่ตรวจสอบได้ โดยมีครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการ
ดำเนินงาน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและนอกสถานศึกษา ได้แก่
คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้บริหาร และครูทุกคน มีวิธีการและเครื่องมือที่ชัดเจน มี
มาตรฐานคุณภาพ และมีหลักฐานการทำงานที่ตรวจสอบได้ โดยมีการพัฒนาระบบที่มีความหลากหลาย
สามารถเขา้ ถงึ กลุม่ เป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็น ผปู้ กครอง ผู้เรียน รวมถึง สถานประกอบการณ์และตอบสนองความ
ต้องการให้ครูผู้สอน ครูที่ปรึกษา ได้สามารถติดต่อผู้เรียนตามช่องทางต่าง ๆ ผ่านทางช่องทางที่หลากหลาย
เชน่ การใชโ้ ทรศัพท์สื่อสาร การใชแ้ อพพลิเคชัน่ ต่าง ๆ เชน่ Facebook Line Messenger เพอื่ ติดตามผู้เรียน
ไม่ว่าขณะท่ีกำลงั ศึกษาอยู่หรือ ฝกึ ประสบการณส์ ถานศึกษา รวมถงึ ระบบการติดตามผู้เรียนท่ีสำเร็จการศึกษา
ถึงการมงี านทำและศึกษาตอ่ ในระดบั ปริญญาตรี
ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สามารถเชื่อมโยงเข้าสู่กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ เพ่ือ
สนองตอบถงึ การเปลี่ยนแปลงบริบททางเศรษฐกิจและสงั คมตาม พลวตั โลกศตวรรษที่ 21 การพฒั นาแบบก้าว
กระโดนของระบบดิจิทัลและการเปลี่ยนแปลงสู่ภาคอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งส่งผลให้เกิดการแข่งขันในภาค
แรงงานที่ต้องอาศัยแรงงานที่มีทักษะสูงควบคูก่ ับการใชเ้ ทคโนโลยีที่ทนั สมัยแล้วพรอ้ มทีจ่ ะก้าวข้ามเทคโนโลยี
ท่มี อี ยู่ในปจั จุบัน รวมทง้ั ปจั จยั ทสี่ นบั สนุนต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ ด้านคุณภาพของผู้เรียน ด้านคุณภาพของผู้สอน
ด้านคุณภาพของหลักสูตรและ ด้านคุณภาพของอุปกรณ์ สื่อ วัสดุการเรียน ท่ีทันสมัยและระบบการจัดการที่
เชื่อมโยงระหว่างสถานศึกษา สถานประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งสร้างและพัฒนาสมรรถนะ
ให้เกิดกับผู้เรียนที่จะเป็นกำลังคนระดับฝีมือของประเทศ ที่เน้นกระบวนการผลิตและพัฒนากำลังคนให้
สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของตลาดงาน โดยต้องมคี วามสามารถในการปฏบิ ัตงิ านหรือสมรรถนะที่เพยี งพอต่อ
การเจริญเติบโตของกลุ่มเกษตรกรรม และภาคอุตสาหกรรม รวมถึงเป็นไปตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์ของ
ประเทศ ภายใต้เป้าหมาย (Aspirations) 5 ประการ ได้แก่ เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานอย่าง
ท่วั ถึง (Access) ได้รับบริการการศึกษาท่ีมคี ุณภาพอยา่ งเทา่ เทยี ม (Equity) จดั ระบบการศึกษาทมี่ ีคุณภาพเพื่อ
พัฒนาผู้เรียน อย่างเต็มศักยภาพ (Quality) และการมีระบบการบริหารจัดการศึกษาที่คุ้มค่าและบรรลุ
เปา้ หมาย (Efficiency) และระบบการศึกษาทสี่ นองตอบและกา้ วทันการเปลย่ี นแปลงของโลกท่ีเปน็ พลวัตและ
บริบทที่ เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ในการพัฒนาระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สามารถ
สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีความสามารถในการพัฒนาทักษะ
คุณลักษณะและสมรรถนะในการทำงานของกำลังคนในประเทศ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน
สังคม และประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และ ยุทธศาสตร์ ประเทศไทย 4.0 ภายใต้วิสัยทัศน์
“ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ภายใต้วสิ ยั ทศั น์ “คนไทยทกุ คนได้รับการศึกษา
และเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และการเปลยี่ นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21”