The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบงาน นายมนตรี ธรรมขันธา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ธนพนธ์ ธิสงค์, 2022-05-05 16:30:58

ใบงาน นายมนตรี ธรรมขันธา

ใบงาน นายมนตรี ธรรมขันธา

ใบงาน สรุปผลการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษาตน้ แบบ

วทิ ยากรพ่ีเลย้ี ง ผอ.สุรนิ ทร์ นวลรอด และ ผอ.กชกร บุษราภรณ

ชือ่ -สกุล นายมนตรี ธรรมขนั ธา กลมุ่ ที่ ๑๖ เลขท่ี ๕

1. ขอ้ มลู พน้ื ฐานสถานศึกษา
วิทยาลยั เทคนคิ หวั ตะพาน เลขท่ี 53 หมทู่ ่ี 3 ถนนหวั ตะพาน – บา้ นขม้ิน บา้ นโคกเลาะ ตำบลหนองแกว้

อำเภอหัวตะพาน จงั หวัดอำนาจเจรญิ 37240 เบอร์โทรศัพท0์ 45-968658 โทรสาร 045-959618

Homepage http://www.h-tech.ac.th

วิทยาลัยเทคนิคหวั ตะพาน ชอื่ เดิมวิทยาลัยการอาชีพหัวตะพาน เป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรม
การการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตั้งเม่ือวันท่ี 18 มิถุนายน พ.ศ. 2540 บนพื้นท่ี 96 ไร่
ถนนหวั ตะพาน-บ้านขมิ้น หมูท่ ี่ 3 บา้ นโคกเลาะ ตำบลหนองแก้ว อำเภอหวั ตะพาน จังหวดั อำ นาจเจริญ และในวนั ที่
21 พฤศจิกายน 2555 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใหเ้ ปล่ียนช่ือสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษาสอดคล้องกับบทบาทของสถานศึกษา และรองรับพระราชบัญญัติอาชีวศึกษา
พ.ศ. 2551 เป็นวิทยาลัยเทคนิคหัวตะพาน ปรัชญา คือ ทักษะดี มีคุณธรรม นวัตกรรมเด่น มุ่งเน้นสู่อาเซียน
วิสัยทัศน์ คือ มุ่งม่ันพัฒนาจัดการเรียนรู้และบริการด้านวิชาชีพอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐานสู่สากล เสริมสร้าง
คุณธรรม จริยธรรม น้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อัตลักษณ์ : “ความรู้ดี ทักษะเย่ียม เปี่ยมคุณธรรม”
เอกลกั ษณ์ : “แหล่งบริการดา้ นความรวู้ ิชาชพี ” ปจั จุบันวทิ ยาลัยเทคนคิ หัวตะพาน มจี ำนวนผบู้ ริหารครูและบคุ ลากร
ทางการศึกษา ทั้งสิ้น ๖๒ คน ปีการศึกษา 2564 มีนักศึกษาระดับ ปวส. จำนวน ๒๓๙ คน และนักเรียนระดับ
ปวช. จำนวน ๖๒๘ คน,

ปีการศึกษา 2565 จัดการศึกษาเป็น ๓ ระดับระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) จำนวน ๗ สาขางาน
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) จำนวน ๕ สาขางาน และหลักสตู รระยะสน้ั

วทิ ยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญ ใช้พ้ืนท่ีสาธารณะประโยชน์ โคกห้วยศาลา บ้านโสกโดน หมู่ที่ ๙ ตำบลนาผือ
โดยขอใช้เน้ือท่ี ๖๕ ไร่ ๑ งาน ๗๙ ตารางวา ซึ่งสภาตำบล มีมติเห็นชอบให้กรมอาชีวศึกษาใช้ที่ดินบริเวณดังกล่าว
(จากการประชุมพิจารณาครั้งที่ ๙/๒๕๓๔ เมื่อวันท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๓๔) และกระทรวงมหาดไทย ได้อนุมัติใน
หลักการให้ใช้ทดี่ นิ ดงั กลา่ วได้ ตามหนังสือท่ี มท ๐๖๑๓/๑๑๐๘๖ ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๓๖

วสิ ัยทัศน์
“จดั การศกึ ษาด้านวชิ าชพี ทมี่ ีคุณภาพ กา้ วทนั เทคโนโลยี
สอดคล้องกบั ตลาดแรงงาน ได้มาตรฐานสู่สากล”

พันธกจิ
1. จัดการศกึ ษาวชิ าชีพอย่างมีคณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน
2. บรกิ ารวชิ าชพี สชู่ มุ ชน
3. ส่งเสรมิ และพัฒนานวตั กรรม การวิจยั สง่ิ ประดิษฐ์

4. พัฒนาการบริหารสถานศกึ ษา สู่มาตรฐานสากล
5. พัฒนาการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา

เป้าประสงค์
1. ดา้ นการเพ่มิ ปรมิ าณผู้เรียนสายอาชีพ
2. ดา้ นการขยายโอกาสในการเรยี นอาชวี ศกึ ษาและการฝึกอบรม
3. ยกระดบั คุณภาพการจัดอาชีวศกึ ษา
4. ดา้ นการเพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การ

2. ขอ้ มลู คา่ นยิ ม วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ
อำเภอหวั ตะพาน หัวตะพาน มาจากคาํ ว่า ขวั พาด ขัว เปน็ คาํ เก่าแกใ่ นตระกลู ไทย-ลาว แปลว่า สะพาน
เน่อื งจากหมู่บ้านนี้มีน้ำลอ้ มรอบ 4 ดา้ น จงึ ตอ้ งใชข้ วั พาดข้าม ต่อมาขวั พาด เพี้ยนเปน็ ขวั ผ่าน, ขัวพาน,ขัว

ตะพาน และหัวตะพาน ในที่สุดอำเภอเมืองอำนาจเจริญ เดิมชื่อ บ้านห้วยปลาแดก ในพ้ืนที่มีบุ่งน้ำใหญ่ ต่อมาจึง
เรียกกันว่า บ้ายบุ่ง ส่วนชื่ออำนาจเจริญ ตั้งขึ้นในรัชกาลท่ี 4 โดยยกบ้านค้อ (อำเภอลืออำนาจในปัจจุบัน)ให้เป็น
เมืองช่ือเมืองอำนาจเจริญ ตามชื่อของพระอมรอำนาจ ผู้เป็นเจ้าเมือง ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ประมาณ 99.5 % ศาสนาอ่ืนๆประมาณ 0.5 % มีสถาบันหรือองค์กรศาสนา คือวัดและท่ีพักสงฆ์ มีขนบธรรม
เนยี มประเพณี วฒั นธรรม และการละเลน่ พื้นเมืองทส่ี ำคัญ ที่นิยมปฏิบัตสิ ืบทอดกันมาแตโ่ บราณ จนถึงปัจจุบัน คือ
วัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวอีสานท่ัวไป ฮีตสิบสอง คือ การทำบุญในรอบปีประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็น
ส่วนใหญ่ คือ ทำนา ทำสวน ทำไร่ ปลูกมันสำปะหลัง ปลูกพืชหมุนเวียน และเล้ียงสัตว์ เช่น โค กระบือ สุกร
เปด็ ไก่ เป็นตน้

สภาพชุมชน วิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญ เป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา
หรอื กรมอาชีวศึกษา (เดมิ ) เพื่อจัดการเรยี นการสอนทางด้านวชิ าชีพให้กับประชาชนมีพน้ื ทกี่ ารดำเนินงานครอบคลุม
๗ อำเภอประกอบดว้ ย อำเภอเมือง อำเภอลืออำนาจ อำเภอชานุมาน อำเภอหัวตะพาน อำเภอเสนางคนิคม อำเภอ
พนา และอำเภอปทุมราชวงศา คำว่าอำนาจเจรญิ เป็นภาษาเขมร มีความหมายตามตวั คอื อำนาจเจริญ เมืองท่ีมสี มญา
นามวา่ เมืองขา้ วหอมโอชา ถน่ิ เสมาพันปี

เศรษฐกิจ โครงสร้างทางเศรษฐกิจขึ้นกับการเกษตรกรรม มีพ้ืนที่ถือครองทางการเกษตรรวมท้ังส้ิน
๑,๐๒๑,๗๙๘ ไร่ หรือประมาณร้อยละ ๕๑.๗๒ ของเน้อื ที่ทัง้ หมด

การทำนา พ้ืนที่นาถือครองมีสัดส่วน ๘๖๙,๕๗๔ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๑๐ ของพ้ืนท่ีถือครองทำการเกษตร
เป็นพืน้ ทเ่ี กบ็ เก่ียว ๕๕๘,๕๓๐ ไร่ ผลผลิตรวมประมาณ ๘๓,๘๒๑ ตนั

การปลูกพืชไร่ มีการปลูกพืชไร่รวมพื้นท่ีประมาณ ๙,๘๒๕ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๗.๖๕ ของพ้ืนท่ีถือครองทำ
การเกษตร พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ข้าวเหนียว ข้าวหอมมะลิ มันสำปะหลัง ปอแก้ว ถ่ัวลสิ ง การอุตสาหกรรมสว่ นใหญ่
เปน็ โรงสีข้าว และอุตสาหกรรมในครัวเรือน

สังคม ประชากรสว่ นใหญ่ของจงั หวดั เป็นคนท้องถน่ิ เชื้อสายไทย - ลาว และมีคนกลุ่มอื่นที่มีหลายเชื้อสาย และ
ภาษาพูดตา่ งออกไปได้แก่ ชาวภูไท พบในเขตอำเภอชานมุ าน และอำเภอเสนางคนคิ ม สว่ ยและขา่ พบในอำเภอชานุมาน
ในชุมชนที่มีการค้าขายหรือในเขตเมือง จะมีคนไทยเชื้อสายจีนและญวนปะปนอยู่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย

ประชากรสว่ นใหญ่ของจังหวดั นับถือพระพุทธศาสนา ร้อยละ ๙๗.๕๐ มีวัดในพระพุทธศาสนาอยู่ ๒๖๖ แห่ง นับถือ

ศาสนาครสิ ต์ ร้อยละ๒.๓๐ และนบั ถือศาสนาอสิ ลามน้อยมาก

2. วิเคราะห์บริบทสถานศกึ ษา
วิทยาลยั เทคนคิ หัวตะพาน
จดุ เด่น
สถานศกึ ษามคี วามสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาตามนโยบายสำคญั ทห่ี น่วยงานต้นสงั กัด

หรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและ
ผู้เรียน รวมท้งั การช่วยเหลอื สง่ เสริม สนบั สนุนจากผปู้ กครอง ชุมชน สถานประกอบการและหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องท้ัง
ภาครัฐและภาคเอกชนวิทยาลัยเทคนิคหัวตะพาน ได้มีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ
สถานศึกษา เพื่อดำเนินการบริหารจัดการศึกษา โดยจัดประชุมเพื่อปรึกษาและพิจารณาการปฏิบัติงานของ
สถานศกึ ษา

จุดดอ้ ย
ดา้ นนวตั กรรมสิ่งประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจยั

วิทยาลยั เทคนคิ อำนาจ
จดุ เดน่
๑. สถานศึกษาจดั การเรยี นการสอนและจดั กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาผู้เรยี นให้มีสมรรถนะในการเป็น

ผู้ประกอบการ

๒. ผู้เรยี นผา่ นเกณฑ์ประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะและการประยกุ ตใ์ ช้ในครั้งแรก
๓. ผสู้ ำเร็จการศึกษามีงานทำในหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน สามารถประกอบอาชีพอิสระหรอื ศกึ ษาตอ่
ตรงตามสาขาวิชา
๔. สถานศึกษาจัดกิจกรรมเสริมหลกั สูตร เพื่อพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ มทพ่ี ึงประสงค์ของ
ผู้เรียน และส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดกิจกรรมเสริมหลกั สูตรตามแนวทางขององค์การนกั วชิ าชีพในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย (อวท.)
๕. สาขาวิชามีการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ หรือปรับปรงุ รายวิชา หรือปรับปรงุ รายวิชาเดมิ หรือ
กำหนดรายวิชาเพิม่ เตมิ
๖. ครูผู้สอนจัดทำแผนการจดั การเรยี นร้สู ู่การปฏิบัติสำหรบั พัฒนาผู้เรียนให้มีความร้แู ละทักษะได้อย่างมี
คณุ ภาพ
๗. ครูผ้สู อนจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้สู่การปฏิบัตทิ ี่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญและนำไปใช้ในการจัดการเรยี น
การสอน
๘. ครูผสู้ อนจัดการเรยี นการสอนและส่งเสริมการเรยี นรู้ของผู้เรยี นไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ
๙. ครผู ู้สอนบริหารจัดการชน้ั เรยี นไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ
๑๐. สถานศึกษามรี ะบบอินเทอร์เน็ตความเรว็ สูงเพื่อใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน
๑๑. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษามีการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใชก้ ารบรหิ ารแบบมสี ว่ นรว่ มและใชน้ วัตกรรม
ในการบรหิ ารสถานศกึ ษาบรรลุเปา้ หมายที่กำหนด
๑๒. สถานศกึ ษามีอาคารสถานที่ ห้องเรยี น หอ้ งปฏิบตั กิ าร โรงฝกึ งาน เพยี งพอและเออื้ ต่อการจดั การ
เรียนรู้

๑๓. สถานศึกษามรี ะบบไฟฟ้า ระบบประปา ระบบคมนาคม สือ่ สาร รวมถงึ ระบบรักษาความปลอดภยั
ภายในสถานศกึ ษาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

๑๔. สถานศึกษามีแหล่งเรยี นรแู้ ละศนู ย์วิทยบรกิ ารหรอื ห้องสมดุ มีความพรอ้ ม เพียงพอตอ่ ผู้ใช้บรกิ าร
๑๕. สถานศกึ ษามรี ะบบอินเทอร์เนต็ ความเร็วสูงเพ่อื ใชใ้ นด้านสารสนเทศภายในวิทยาลยั
๑๖. ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทุกคนมสี ่วนร่วมในการบริหารจดั การสถานศึกษา
โดยใช้การบริหารแบบมีสว่ นร่วม
๑๗. สถานศกึ ษามกี ารบริการชุมชน บรกิ ารวิชาการ วิชาชพี และผเู้ รียนมจี ติ อาสาสรา้ งประโยชน์และ
เผยแพรอ่ งค์ความรสู้ ูช่ มุ ชน

จุดควรพัฒนา
๑. ลดปัญหาการออกกลางคนั ของผเู้ รยี น
๒. พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีทกั ษะวิชาชีพเพ่ือเข้ารว่ มการประกวด แข่งขนั ทางดา้ นทักษะวิชาชีพในระดับทีส่ ูงขน้ึ
3. พัฒนาหรอื ปรบั ปรุงหลกั สูตรให้เปน็ หลกั สูตรฐานสมรรถนะอยา่ งเปน็ ระบบ
4. ควรพัฒนาครูผสู้ อนทุกคนให้ได้รับการพัฒนาตามแผนการพัฒนาตนเองและพัฒนาวชิ าชพี สามารถนำ
ผลการพัฒนาตนเองมาใช้ในการจัดการเรยี นการสอนอย่างมีคุณภาพ
5. จัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการจดั การอาชวี ศึกษาระบบ ทวิภาคี

ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
๑. พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือและแนะแนวผ้เู รยี นใหส้ ำเร็จการศกึ ษาตามระยะเวลาทีห่ ลกั สตู รกำหนด
๒. ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนเข้าร่วมประกวดแข่งขันทักษะวิชาชีพเพื่อพัฒนาทักษาวิชาชีพในระดับ

สถานศึกษา ระดบั จังหวดั ระดับชาติและระดับนานาชาติ
3. ส่งเสริม สนับสนุนในการพฒั นาหรือปรบั ปรุงหลกั สูตรฐานสมรรถนะรว่ มกบั สถานประกอบการอยา่ งเป็น

ระบบ
4. ส่งเสริม สนับสนนุ และกำกบั ติดตามให้ครผู ู้สอนจัดทำแผนพัฒนาตนเอง และเข้าร่วมการพฒั นาวิชาชีพ

พฒั นาตนเองอย่างน้อย ๑๒ ชั่วโมงต่อปี และนำผลการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชพี มาใชใ้ นการจัดการเรียนการ
สอน เกิดนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเอง

5. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหพ้ ัฒนาระบบการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ให้เป็นไปตามมาตรฐานการ
จดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี

ประเดน็ การศกึ ษาสถานศกึ ษาต้นแบบ
1. กลยทุ ธในการขับเคล่อื น Future Skill ของสถานศึกษา

วิทยาลยั เทคนิคหวั ตะพาน ภายไต้การบริหารงานของท่านผอู้ ำนวนการ ผอ.พรหมพิริยะ พรหมสตู รพรอ้ มทั้ง
ความร่วมมือของคณะผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้ขับเคล่ือน Future Skill ของสถานศึกษาในทุก
สาขาวิชาที่เปิดการเรียนการสอนในระบบปกติ และระบบทวิภาคี ทั้งระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับ
ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และหลักสตู รระยะสนั้

สถานศึกษาได้สนับสนุนให้ผู้เรยี นได้มีสมรรถนะการประกอบวชิ าชพี อิสระและเป็นผทู้ ี่มีความสำเร็จจากการ
ประกอบอาชีพอิสระตามเป้าหมายซ่ึงพบว่าการประกอบอาชีพอิสระเพ่ิมข้ึนจากปีการศึกษาท่ีผ่านมาและมีการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษากับภาคซึ่งส่งผลให้ได้ระดับ 3 ดาว มีคุณภาพข้ึนจากปีที่
ผ่านมาในระดับจังหวัด และมีการพัฒนาทักษะด้านความสร้างสรรค์และเทคโนโลยีโดยการส่งเสริมให้มีการแข่งขัน
ทักษะทางวิชาชีพโดยพบว่าในการแข่งขันทักษะวิชาชีพได้รับรางวัล จำนวน ๙ ทักษะซึ่งประกอบด้วยในระดับ
อาชีวศึกษาจังหวัดอำนาจเจริญ จำนวน ๙ รางวัลและระดับอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ ๖ รางวัล และ
ระดับชาติ ๑ รางวัล ทักษะงานติดตั้งไฟฟ้าและควบคุมไฟฟ้า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวิชาช่าง
ไฟฟ้ากำลัง จากรางวัลดังกล่าวนักเรียน นักศึกษา ยังมีทักษะในการประกอบอาชีพระหว่างเรียน เช่น การรับติดต้ัง
ไฟฟ้าภายในอาคาร รับซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าตามบ้านเรือน รับติดตั้งเคร่ืองปรับอากาศ โดยใช้ส่ือเทคโนโลยีบนโลก
ออนไลน์ในการประชาสัมพันธ์ การสั่งซ้ือวัสดุอุปกรณ์ในการรับบริการ การทำบัญชี การคิดคำนวณราคาค่าบริการ
การตรวจสอบและส่งมอบงาน ซึ่งเป็นทักษะจำเป็นในยุคปัจจบุ ัน ส่งผลให้วิทยาลัยเทคนคิ หัวตะพานได้รับการยอมรับ
จากประชาชนในพื้นท่ีและพืน้ ท่ีข้างเคียง สง่ ผลใหผ้ ู้ปกครองส่งบุตรหลานเข้ารบั การศึกษาตอ่ ท่ีวทิ ยาลัยฯอยา่ งต่อเน่อื ง
รวมถึงเปน็ ที่ยอมรับของสถานประกอบการในการรบั นักเรียน นกั ศึกษาเขา้ ฝึกงาน ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เรียนจบ
แลว้ รบั เขา้ ทำงานทนั ที

วทิ ยาลัยเทคนิคหัวตะพาน ได้กำหนด Best Practice ของสถานศึกษา คือนักศึกษาที่จะเข้าสู่ตลาดแรงงาน
หรือออกไปประกอบธุรกิจส่วนตัว จะต้องผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติทุกคน โดยได้จัดต้ังศูนย์
ทดสอบฯ ข้ันภายในสถานศึกษาโดยความร่วมมือกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจงั หวัดอำนาจเจริญ จำนวน ๔ ศูนย์
ดังน้ี

1. สาขาช่างซอ่ มรถยนต์ ระดับ 1

2. สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1

3. สาขาชา่ งซ่อมไมโครคอมพวิ เตอร์ ระดบั 1

4. สาขาพนกั งานการใชค้ อมพวิ เตอร์ ระดบั 1

วิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญ มกี ารดำเนินการจดั ทำโครงการขอทุนการศกึ ษา จากกองทุนลดความเสมอภาค
ทางการศึกษา กสศ. ชื่อโครงการ “พัฒนาศักยภาพนักเรียนท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์ และด้อยโอกาสทางการศึกษา
อำนาจเจริญ รุ่นท่ี ๓” ขึ้น โดยการจัดตั้งเป็นคณะทำงานต่าง ๆ ในงานแต่ละส่วนในลักษณะพหุภาคีเครือข่าย
ประกอบด้วย ๑. บุคลากรที่ปรึกษา ๒. บุคลากรในวิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญ ๓. บุคลากรจากสถานศึกษาสังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษา (สพป.) ๔. บคุ ลากรจากสถานประกอบการ ๕. บุคลากรจากศิษยเ์ ก่า และ

๖. บุคลากรจากศิษย์เก่านักศึกษา กสศ. รุ่นที่ ๑ ร่วมกันออกแบบกิจกรรมตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น
กิจกรรมแนะแนว ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ กิจกรรมคัดกรอง กิจกรรมดูแล สวัสดิการ กิจกรรมการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ กิจกรรมการเขา้ สู่ตลาดแรงงาน เป็นต้น นอกจากน้ันยังมีสง่ เสริมกระบวนการเรียน การสอนท่ี
เป็นกระบวนการนวัตกรรมคุณภาพ เช่น ระบบการเรียน ) ในลักษณะการเรียนเป็นช้ินงาน (PJBL = Project Base
Learning) ทกุ รายวชิ า แล้วนำมาพัฒนาเปน็ นวตั กรรมตามกระบวนแบบ STEM Education (Science Technology
Engineering and Mathematic Education ซ่ึงอยู่ภายใต้การดูแล ควบคุมของครูท่ีปรึกษาซ่ึงต้องทำการดำเนิน
กิจกรรมที่หลากหลายมกี ารสร้างภูมิคุ้มกนั รับทราบปญั หา และแกไ้ ขปัญหา เช่น กิจกรรมเยย่ี มบ้าน การรายงานผล
การประเมินในรอบสัปดาห์ รายเดือน รายเทอม และรายปี ในส่วนการส่งต่อให้ทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาน้ัน
วทิ ยาลัยเทคนิคอำนาจเจรญิ ได้ทำขอ้ ตกลงรว่ ม (MOU = Memorandum Of Understanding) กบั บรษิ ัทหรอื สถาน
ประกอบการ ทั้งในทอ้ งถิ่น ภายในประเทศ และต่างประเทศ โดยจัดในลักษณะตลาดนัดแรงงาน และการศกึ ษาดูงาน

วิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญ ได้กำหนด Best Practice ของสถานศึกษา คอื นักศึกษาท่ีจะเข้าสู่ตลาดแรงงาน
หรือออกไปประกอบธุรกิจส่วนตัว จะต้องผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติทุกคน โดยได้จัดต้ังศูนย์
ทดสอบฯ ข้ันภายในสถานศึกษาโดยความร่วมมือกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดอำนาจเจริญ จำนวน ๒ ศูนย์
ดังนี้

1. สาขางานเขียนแบบเครอ่ื งกล ระดับ 1

2. สาขางานซอ่ มประกอบคอมพวิ เตอร์ ระดบั 1

2. การสร้างความเขม้ แขง็ ของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ
วิทยาลัยเทคนิคหัวตะพาน ได้กำหนดเป้าหมายตัวช้ีวัดของผู้เรียนและความร่วมมือของสถานประกอบการ

เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นท่ี ผลิตและพัฒนา
กำลังคนให้มีคุณภาพ ท้ังด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณธรรม จริยธรรม ยกระดับกำลังคนผู้สำเร็จ
การศึกษาให้มีสมรรถนะสูงข้ึนในระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.) ในการเตรยี มความพร้อมของผู้เรียนเข้า
ฝึกประสบการณ์ โดยมีการสร้างความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ มีการประชุม
ปรึกษาหารือเกี่ยวกบั ข้อมูลตา่ งๆร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาอยสู่ มำ่ เสมอ และสถานศึกษาจดั ทำบันทกึ ข้อตกลง
ความร่วมมอื ร่วมกบั สถานประกอบการ ๑๑ แหง่ เพอ่ื รองรับนักศกึ ษาเขา้ ไปฝกึ ประสบการณ์ และทางสถานศึกษาได้มี
การจัดทำแผนการฝึกร่วมกับสถานประกอบการดังกล่าว เพื่อเป็นแนวทางให้ครูฝกึ ในสถานประกอบการควบคุมดูแล
การฝึกประสบการณ์ของนักศึกษา และสามารถวัดและประเมนิ ผลการฝึกประสบการณใ์ ห้กับนกั ศึกษาได้ สถานศกึ ษา
ดำเนินการสนับสนุนให้ครู บุคลากรทางการศึกษาไปศกึ ษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวิชาชีพของตนเองหรือวิชาชีพท่ีตนเอง
สนใจเพื่อนำความรู้ที่ได้มาบูรณาการจัดการเรียนการสอน และสถานศึกษาทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือร่วมกับ
โรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตพื้นท่ี ที่รับผิดชอบในการจัดหลักสูตรทวิศึกษา จำนวน ๙ แห่ง และให้ครูไปช่วย
ควบคุมดแู ล สังเกตุการสอนเพื่อสรา้ งสัมพนั ธท์ ดี่ ีในการจดั การศกึ ษาร่วมกนั และเปน็ การประชาสัมพันธ์สถานศกึ ษา

วิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญได้ดำเนินการตามโครงการความร่วมมือส่งเสริมคว ามรู้และฝึกประสบการณ์
นักศึกษาอาชีวศึกษา ตามระบบการจัดการอาชีวศึกษาทั้งภาคปกติและระบบทวิภาคี เพ่ือผลิตและพัฒนานักศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ให้สอดคล้องและรองรับความ
ต้องการกลุ่มอุตสาหกรรม โดยทำบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือร่วมกับสถานประกอบท้ังในจังหวัดอำนาจเจริญ และ
ตา่ งจังหวัด อาทิเช่น กรุงเทพมหานคร ชลบุรี นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา จำนวน ๓๔ แห่ง จึงมีสถานประกอบการ
รองรับนักเรียน นักศึกษาออกไปฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพอย่างเพียงพอกับจำนวนผ้เู รยี น และสร้างเครือข่ายกบั สถาน
ประกอบการและหน่วยงานอนื่ ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพครูฝกึ ในสถานประกอบการ นำความรู้ด้านเทคโนโลยี เครือ่ งมือ
เครอ่ื งจักรท่ที ันสมยั มาปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้สอดคลอ้ งกับการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑

3.ระบบการบริหารจัดการสูค่ ุณภาพ
วิทยาลัยเทคนคิ หวั ตะพานมกี ารบรหิ ารงานตามหลกั ธรรมาภิบาล ปฏิบัตติ ามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั

เชน่ ระเบียบการเงิน ระเบยี บพสั ดุ ยดึ ถือและเชื่อม่นั ในความถูกตอ้ งดีงาม โดยการรณรงคเ์ พอ่ื สร้างคา่ นยิ มท่ีดงี ามให้
ผูป้ ฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษา มีการเปดิ เผยขอ้ มูลข่าวสารหรอื เปดิ ให้ประชาชนสามารถเข้าถงึ ขอ้ มูลขา่ วสารได้สะดวก
ตลอดจนมีระบบหรือกระบวนการตรวจสอบและประเมินผลทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ ซงึ่ จะเป็นการสรา้ งความไวว้ างใจซ่งึ กนั
และกัน เปิดโอกาสให้ครู บุคลากรทุกคนมีส่วนรว่ มในการทำงาน และบรหิ ารจัดการตามความจำเป็น ยดึ หลักความ
ประหยดั และความคุม้ ค่า

วทิ ยาลัยเทคนคิ หวั ตะพานมกี ารบริหารงานแบบมสี ่วนร่วม โดยใหค้ รู บคุ ลากรทกุ คนทม่ี ีสว่ นเก่ยี วข้องใน
กระบวนการ การจัดการศกึ ษาเข้ามามีสว่ นรว่ มคิด ตัดสินใจ รว่ มวางแผน ร่วมทำงาน จงึ กอ่ ให้เกิดความรสู้ กึ ผูกพนั
ผกู มดั และตกลงใจรว่ มกันในการบริหารสถานศกึ ษา เพ่อื ใหบ้ รรลุเป้าหมายการบริหารแบบมีสว่ นร่วม จงึ ทำให้เกิด
ประโยชน์ไดแ้ ก่

๑. การมีสว่ นรว่ มก่อให้เกดิ ระดมความความคิดทำใหเ้ กดิ ความคิดเห็นท่ีหลากหลาย ซ่ึงดกี ว่าการคิดและ
ตัดสินใจเพยี งบคุ คลคนเดยี ว

๒. การมีสว่ นร่วมในการบริหารเป็นการลดการต่อตา้ นและกอ่ ให้เกิดการยอมรับมากขึ้น
๓. การมีส่วนรว่ มเปิดโอกาสใหม้ กี ารสอ่ื สารทีด่ ี สามารถแลกเปลยี่ นประสบการณ์ในการทำงานรว่ มกนั
เสริมสรา้ งความสัมพนั ธท์ ีด่ ีตอ่ กัน
๔. การมีส่วนรว่ มทำให้เกิดการตัดสนิ ใจมีคุณภาพและทำให้เกิดความพงึ พอใจในการปฏิบัตงิ านมากขนึ้

วิทยาลยั เทคนคิ หวั ตะพานมกี ารดำเนินโครงการส่งเสรมิ พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
๑. โครงการอบรมการจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรแู้ บบฐานสมรรถนะ
๒. โครงการสร้างความรู้ความเขา้ ใจแนวทางการขบั เคลื่อนกระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ

PLC
๓. โครงการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพทางการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
๔. โครงการวิจัยเพื่อพฒั นาการจดั การเรียนรตู้ ามประเด็นท้าทาย PA

วิทยาลัยเทคนคิ อำนาจเจรญิ
1. จัดการศกึ ษาวิชาชพี อยา่ งมคี ุณภาพ ไดม้ าตรฐาน

1.1 พัฒนาผเู้ รยี นดา้ นวชิ าชีพอยา่ งมีคุณภาพและได้มาตรฐาน
1.2 พัฒนาหลักสตู รและการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศึกษา

1.3 ส่งเสรมิ พฤติกรรมท่ดี ีของนกั เรยี น - นกั ศึกษา

2. การบรกิ ารวิชาชพี สู่สงั คม

2.1 บริการวชิ าการและวชิ าชพี สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของทอ้ งถนิ่ ชุมชน

3. ส่งเสริมและพัฒนา นวตั กรรม การวิจัย และส่งิ ประดษิ ฐ์

3.1 พัฒนา นวตั กรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ การวจิ ัย ในสาขาวชิ าชพี
4. พฒั นาการบรหิ ารสถานศึกษา สู่มาตรฐานสากล

4.1 พัฒนาการบริหาร สถานศึกษา โดยใช้หลักธรรมาภิบาล
5. พัฒนาการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

5.2 พฒั นาการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
5.3 พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา

4. การขบั เคล่ือนระบบงานวิชาการ
วิทยาลัยเทคนิคหัวตะพานใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ เพื่อการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

และสะเตม็ ศกึ ษาดว้ ย กระบวนการชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ท่ีเพ่ือให้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผู้เรียน
ชมุ ชนสถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรงุ รายวิชาเดิมหรอื กำหนดรายวชิ าใหม่ หรือกลุ่มรายวิชาเพ่ิมให้
ทนั สมัยต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และนวตั กรรมาที่เกิดขึ้น ให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน โดย
ความร่วมมือกบั สถานประกอบการหรือหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง

ครูผสู้ อนมีการดำเนินการจัดทำแผนการจัดการเรียนรสู้ ู่การปฏิบัติ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญทุกรายวิชามีการบูร
ณาการคุณธรรมและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแผนการจัดการเรียนรู้ พร้อมท้ังมีการรายงานการจัดการเรียน
การสอนอย่างสม่ำเสมอ โดยการรายงานผ่านเอกสาร รวมไปถึงการรายงานการจัดการเรียนการสอนผ่านช่องทาง
ออนไลน์อย่างมีระบบ นำไปสู่การติดตามและประเมินผลผู้เรียนรายบุคคล ซึ่งจะรายงานผลความก้าวหน้าของการ
จัดการเรียนการสอนเป็นระยะ และสรุปผลการเรียนผ่านทางระบบออนไลน์ ระบบบริหารสถานศึกษา ศธ ๐๒
ออนไลน์

วิทยาลัยเทคนิคหัวตะพานส่งเสริมให้ครูมีการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-Based
Learning: PjBL) เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการ
สร้างสรรค์ช้ินงาน และการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซ่ึงมีขั้นตอนการเรียนรู้ท่ีเก่ียวข้องกับการแสวงหาความรู้ การใช้
กระบวนคิด และทักษะในการแก้ปญั หา ผ้เู รียนจะเรียนร้โู ดยสร้างองค์ความรูด้ ้วยตนเองโดยใช้โครงงานเป็นฐาน ซ่ึง
การจัดการเรียนรู้ลักษณะนี้ ผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้า ทดลอง ปฏิบตั ิและแกป้ ัญหา เพอ่ื สรา้ งผลงานหรือช้ินงาน เป็น
การฝกึ ใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ รียนรู้จากการกระทำเพื่อสรา้ งองค์ความรู้ท่ีถาวรดว้ ยตวั ผูเ้ รียนเอง ท้งั น้ี ผ้เู รียนอาจทำเปน็ กลมุ่ เล็ก
หรอื เป็นกลุ่มใหญ่ก็ได้ ซ่ึงจะเป็นการฝึกให้ผู้เรียนเกิดทักษะการทำงานเป็นทีม ได้รว่ มมือร่วมใจในการทำงานเพ่ือให้
บรรลเุ ป้าหมายของกลุ่มและเกดิ ผลสำเรจ็ ร่วมกัน

ผเู้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจในสว่ นเกย่ี วกับข้อเทจ็ จรงิ ตามหลกั การ ทฤษฎีและแนวปฏิบตั ิต่างๆ ท่ีเป็นสารใน
การจัดการเรียนการสอน และหรือข้อเท็จจริงเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิทางการศึกษาแตล่ ะระดับการศึกษา ซึง่ ใน
การการขับเคล่ือนระบบงานวชิ าการ พบว่า ผู้เรียนมีคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ มีสมรรถนะในการเปน็ ผู้ประกอบการ
หรือการประกอบอาชพี อิสระการมีงานทำและศกึ ษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษา ซง่ึ ส่งผลให้วิทยาลัยเทคนิคหัวตะพาน
ได้รับการประกันคุณภาพภายนอกปีพศ. 2564 ถึง 2568 จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา(องค์การมหาชน) ในด้านการศึกษา โดยถือว่าเป็นความภาคภูมิใจของ สถานศึกษาอย่างยิ่งและต่อจากนี้
สถานศึกษายังนำผลการประเมินและติดตามคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษามาวิเคราะห์เพ่ือกำหนดแผนพัฒนา
ยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เพิ่มขึ้นโดยมีเป้าหมายในการพัฒนาการศึกษาให้อยู่ในระดับคุณภาพ
ยอดเยีย่ มตอ่ ไป

วิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญมีกาจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) และหลักสูตรเทคโนโลยี อุตสาหกรรมบัณฑิต (ทล.บ.) โดยมีสาขาวิชา จำนวน
๑๒ สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชายานยนต์ สาขาวิชาเครื่องมือกล สาขาวชิ าโครงสร้าง สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชา
อิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาก่อสร้าง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวิชาบัญชี สาขาวิชา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ และสาขาวิชาการโรงแรม ด้านหลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์ การเรียน การสอนอ้างอิงจาก
หลักสูตรปี พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยมุ่งเน้นให้ผู้ท่ีจบการศึกษาสามารถประกอบอาชีพได้ตรงตามความต้องการของ
ตลาดแรงงานและการประกอบอาชพี อิสระสอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ (หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพปี
พ.ศ. ๒๕๕๖ หน้า ๗) ซึ่งมีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของวิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญ ที่กล่าวว่า ”มุ่งผลิตและ
พัฒนากลังคน ด้านวิชาชีพให้ได้มาตรฐานการอาชีวศึกษาอย่างมีคุณธรรม น้อมนำหลักเศรษฐกิจ พอเพียง ด้วย
เทคโนโลยีสปู่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ซง่ึ จะเห็นได้ว่าวทิ ยาลัยเทคนคิ อำนาจเจริญ มีความตอ้ งการผลติ ผูเ้ รียนเพ่ือ
มงุ่ สตู่ ลาดแรงงานและพัฒนาทักษะต่างๆ ของผู้เรียนใหม้ ที ักษะท่ีตรงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานในปจั จุบันที่
มงุ่ เน้นไปในด้านการเป็นส่วนหนึ่งของฟันเฟืองที่ขับเคลื่อนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยได้รับการสนับสนุนด้าน
งบประมาณจากทางภาครฐั และเอกชน ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาลยั เทคนิคอำนาจเจริญ เขา้ ร่วมการแขง่ ขันทักษะ
วิชาชีพระดับภาค รางวัลชนะเลิศ ๒ รางวัล คือการแข่งขันทกั ษะการพัฒนามัลติมิเดียแบบหลายมติ ิ ระดับ ปวช. และ
การแข่งขันทักษะการจัดการระบบเครือข่าย ระดับ ปวส. และระดับชาติ รางวัลชนะเลิศ ๒ รางวัล คือการแข่งขัน
ทกั ษะการจัดการระบบเครือข่าย ระดับ ปวส. และการประกวดร้องเพลงไทยสากล และรางวลั ส่ิงประดิษฐข์ องคนรุ่น
ใหม่ รางวลั ชนะเลศิ สง่ิ ประดษิ ฐเ์ คร่ืองผยงุ ผ้ปู ่วย

วิทยาลัยเทคนิคหัวตะพ าน และวิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญ มีครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีคุณ วุฒิ
การศึกษาและมีจำนวนตามเกณฑ์ที่กำหนดได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง เพ่ือเป็นผู้พร้อมทั้งด้าน
คณุ ธรรม จริยธรรมและความเขม้ แขง็ ทางวิชาการและวิชาชพี ตามหลักสตู รมาตรฐานคุณวุฒิ อาชวี ศึกษา

วิทยาลัยเทคนคิ หวั ตะพานและวทิ ยาลัยเทคนิคอำนาจเจรญิ มีการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผเู้ รียนให้มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ การรว่ มมอื ของสถานศกึ ษา หน่วยงานภายนอกและชุมชน

วิทยาลัยเทคนิคหัวตะพานและวิทยาลัยเทคนิคอำนาจเจริญมีระบบการติดตามนักเรียน นักศึกษา ที่กำลัง
ศึกษาและสำเร็จการศึกษา ที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การติดตามทางไปรษณียบัตร, Facebook, Line, โทรศัพท์
,เยี่ยมบา้ น


Click to View FlipBook Version