The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by taweepornkenram, 2022-09-14 05:14:59

5บท ซึมเศร้า

5บท ซึมเศร้า

4

5

บนั ทกึ ขอ้ ความ

สว่ นราชการ กศน.ตาบลหัวถนน

ที่ ศธ 0210.2406.15/ วันท่ี กรกฎาคม 2565

เรอื่ ง รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายุ

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เรียน ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพนัสนคิ ม

ด้วย กศน.ตาบลหัวถนน สงั กดั ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอพนสั นิคม
ไดด้ าเนินโครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผ้สู ูงอายุ ดาเนนิ การในวันที่ 29 มิถนุ ายน 2565 ณ รพสต.หวั ถนน หมู่ 1
ตาบลหัวถนน อาเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ 20 คน นั้น

บดั นีก้ ารดาเนินกจิ กรรมดังกล่าวได้เสร็จสนิ้ แล้ว กศน.ตาบลหวั ถนน จึงได้จัดทาสรปุ ผลการจัด
กิจกรรมการดาเนินงานเพ่ือใหไ้ ดข้ ้อมลู สาหรับเป็นแนวทางในการพฒั นากิจกรรมต่อไป

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

ลงชอ่ื ...............................................
(นางสาวทวีพร เคนรา)
ครู กศน.ตาบลหวั ถนน

ลงชอ่ื ............................................... ลงช่ือ ...............................................

(นายวชั รนิ ทร์ อุดานนท์) (นางสาวณภษร ศรบี ุณยะแก้ว)

ครูอาสาฯ/ งานการศกึ ษาตอ่ เน่ือง หัวหน้ากลมุ่ การจดั การศึกษานอกระบบฯ

ลงช่อื ...............................................

(นางณัชธกญั หมนื่ สา)

ผูอ้ านวยการ กศน. อาเภอพนัสนคิ ม

6

คานา

เอกสารสรุปผลการดาเนินงาน การจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ดาเนินการใน
วันท่ี 29 มิถุนายน 2565 ณ รพสต.หัวถนน หมู่ 1 ตาบลหัวถนน อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ผู้เข้าร่วม
โครงการ 20 คน จดั ทาขนึ้ เพ่อื สรปุ ผลสมั ฤทธแ์ิ ละเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์การจัดกจิ กรรมของ กศน.ตาบลหัวถนน
สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพนัสนิคม กิจกรรมดังกล่าว ดาเนินการเสร็จ
สน้ิ เรียบรอ้ ย ซึ่งรายละเอียด ผลการดาเนินงาน ต่าง ๆ ตลอดจนขอ้ เสนอแนะได้สรปุ ไว้ในเลม่

ขอขอบคุณ นางณัชธกัญ หม่ืนสา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอพนัสนิคม ตลอดจนเจ้าหน้าท่ีงาน
แผนงาน เจ้าหน้าที่งานการศึกษาต่อเน่ือง ที่ให้คาแนะนา คาปรึกษาในการจัดทาเอกสารสรุปและรายงานการ
ประเมินโครงการในคร้ังนี้ กศน.ตาบลหัวถนนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้ คงจะเป็นประโยชน์สาหรับผู้ท่ี
ต้องการศึกษาหาข้อมูล เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม และหากมีส่ิงหน่ึงส่ิงใดขาดตกบกพร่อง
คณะผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ดว้ ย

กศน.ตาบลหัวถนน
สงั กัด กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สารบญั 7

คานา หนา้
บทที่ 1 บทนา
บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและรายงานท่ีเก่ียวขอ้ ง 1
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินงาน 4
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 15
บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล ข้อเสนอแนะ 18
บรรณานกุ รม 24
คณะผ้จู ดั ทา 25
26

1

บทท่ี 1
บทนา

1. หลักการและเหตผุ ล
ตามทส่ี านักงาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี ไดม้ อบหมายให้ กศน.ตาบล ดาเนินการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา

ทักษะชีวิตของผู้สูงอายุใน 4 มิติ (มิติสุขภาพ มิติสังคม มิติเศรษฐกิจ และมิติสภาพแวดล้อม) โดยมีหลักการ
ดาเนนิ งานและบทบาทหน้าทด่ี ังต่อไปน้ี

1. จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุเป็นสาคัญ โดยยึดหลักความสอดคล้อง กับ
บริบท ศักยภาพและความพร้อมของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งความหลากหลายตามความแตกต่าง ของ
กลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งบูรณาการหลักปรัชญาคิดเป็น และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ตามความ
เหมาะสม

2. พัฒนารูปแบบกิจกรรมได้ตามความเหมาะสม โดยยึดหลักความสอดคล้องกับสภาพความต้องการ
และความจาเปน็ ของกลมุ่ เป้าหมาย และใหเ้ ป็นไปตามบรบิ ทของชมุ ชน สงั คม รวมถงึ นโยบายของทางราชการ

3. มุ่งเน้นให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้พ้ืนฐาน ทักษะ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตใน 4 มิติ (มิติสุขภาพ
มิตสิ งั คม มติ ิเศรษฐกจิ และมิตสิ ภาพแวดลอ้ ม) ตามสภาพและความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย

4. ยดึ หลักการมีส่วนรว่ มของภาคีเครอื ข่าย ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ หรือปราชญช์ าวบา้ นในการดาเนนิ งาน
จากเหตุผลดังกล่าว กศน.ตาบลหัวถนน สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ
พนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี จึงได้จดั ทาโครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผูส้ ูงอายุข้นึ

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพื่อให้ผสู้ งู อายสุ ามารถร่วมเป็นจติ อาสารักการแบง่ ปนั และรรู้ กั สามัคคีพฒั นาสงั คมชุมชนได้
2.2 เพื่อให้ผ้สู งู อายุสามารถจัดทาอุปกรณจ์ ากยางยดื สาหรับการออกกาลงั กายได้
2.3 เพอื่ ให้ผู้สูงอายุสามารถใช้อปุ กรณ์ยางยืดสาหรบั ออกกาลงั กายได้อยา่ งเหมาะสม

3. เป้าหมาย
ดา้ นปรมิ าณ
- ผ้สู ูงอายุตาบลหวั ถนน จานวน 20 คน
ดา้ นคุณภาพ
- ผู้สงู อายสุ ามารถร่วมเป็นจติ อาสารกั การแบ่งปนั และรรู้ ักสามัคคีพัฒนาสังคมชมุ ชน
- ผู้สูงอายุสามารถจัดทาอุปกรณ์การออกกาลงั กายจากยางยืดสาหรับการออกกาลงั กายได้
- ผู้สูงอายสุ ามารถใชอ้ ุปกรณ์ยางยืดสาหรับออกกาลงั กายได้อยา่ งเหมาะสม

4. ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ
4.1 ตวั ชวี้ ดั ผลผลติ (Output)
รอ้ ยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเข้ารว่ มโครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผ้สู ูงอายุตาบลหวั ถนน

2

4.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ (Outcome)
รอ้ ยละ 80 ของผู้สูงอายุท่เี ขา้ ร่วมกจิ กรรมสามารถร่วมเปน็ จติ อาสารกั การแบง่ ปนั และรรู้ ัก

สามคั คีพัฒนาสังคมชุมชนสามารถจดั ทาอปุ กรณ์จากยางยืดสาหรบั การออกกาลงั กายและใช้ยางยืดสาหรับการ
ออกกาลงั กายได้อย่างเหมาะสม

5. ข้ันตอนการดาเนนิ งาน การดาเนนิ งาน
รายการ -สารวจความตอ้ งการของประชาชน
-ประสานงานกบั กลุ่มประชาชน
การวางแผน Plan -ขออนุมัตแิ ผนการจัดกจิ กรรมโครงการพฒั นาคุณภาพชีวติ
ผู้สูงอายุ
การปฏิบตั ิ Do -ประชาสมั พนั ธ์โครงการฯ
-ขออนมุ ัติโครงการฯ
การตรวจสอบ/ประเมินผล Check -เตรียมการจัดโครงการฯ
-ดาเนนิ งานจัดโครงการฯ
-วทิ ยากร อบรมเก่ียวกบั เรือ่ งการดูแลสขุ ภาพกบั ผสู้ งู อายุ
การรับประทานอาหารท่ีมปี ระโยชน์,การออกกาลงั กาย
การจัดการกบั อารมณแ์ ละความเครยี ด,หลกั การดแู ลสุขภาพ
“5 อ.”
-สรปุ ผลการจัดดาเนินงานโครงการฯ
-ประเมินความพึงพอใจ
-สังเกตผู้เขา้ ร่วมโครงการฯ

แนวทางการนาผลการประเมินไปปรับปรงุ Act -ผ้เู ขา้ รบั การอบรมมคี วามรคู้ วามเข้าใจในการดแู ลรกั ษา
สุขภาพเบอื้ งตน้ และสง่ เสริมใหผ้ ู้สูงอายมุ ีสัมพันธภาพท่ีดีกับ
ผู้อื่นโดยใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์
พรอ้ มนาความรู้ท่ีไดร้ ับมาปรับใช้ในชีวิตประจาวนั

6. ระยะเวลาดาเนนิ งาน
- วนั ท่ี 29 มถิ นุ ายน 2565

7. สถานทใี่ นการจดั โครงการ
- ณ รพสต.หวั ถนน หมู่ 1 ตาบลหวั ถนน อาเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี

3

วงเงนิ งบประมาณทง้ั โครงการ

โดยใชเ้ งินงบประมาณประจาปี 2565 แผนงานยุทธศาสตรพ์ ัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ โครงการ
พฒั นาคุณภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ งบรายจ่ายอ่นื รายการค่าใช้จ่ายโครงการจดั และสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
เพ่ือคงสมรรถนะการทางกาย จิต และสมองของผสู้ ูงอายุ เปน็ เงนิ ทั้งส้นิ 1,400.-บาท (-หนึง่ พนั สี่รอ้ ยบาทถว้ น-)

กจิ กรรมการศกึ ษา ไตรมาส 2 รายละเอยี ดคา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนนิ งาน

- โครงการพัฒนาคณุ ภาพ 1,400.-บาท 1. หนงั ยาง จานวน 20 ถุง ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท

ชีวติ ผ้สู งู อายุ รวมเปน็ เงนิ ทง้ั สนิ้ 1,400.-บาท (-หน่ึงพนั สร่ี อ้ ยบาทถว้ น-)

แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ เป็นรายไตรมาส

กจิ กรรมหลกั ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4
(ต.ค.–ธ.ค.64) (ม.ค.–ม.ี ค.65) (เม.ย.–ม.ิ ย.65) (ก.ค.– ก.ย.65)
- อบรมให้ความรู้ 1,400.-บาท
- ฝกึ ปฏบิ ตั ิ - - -

ผลลพั ธ์

ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมสามารถรว่ มเปน็ จติ อาสารักการแบ่งปนั และรู้รกั สามัคคีพัฒนาสังคมชุมชนสามารถ
จัดทาอปุ กรณจ์ ากยางยดื สาหรับการออกกาลงั กายและใช้ยางยดื สาหรับการออกกาลังกายไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ

1. นางสาวทวพี ร เคนรา ครู กศน.ตาบลหวั ถนน
2. นายวชั รินทร์ อุดานนท์ ครอู าสาสมัคร ฯ

4

บทท่ี 2
เอกสารการศกึ ษาและรายงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

การจดั ทารายงานผล โครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ผ้สู ูงอายุตาบลหัวถนน ไดท้ าการศึกษาค้นคว้า
เนื้อหาจากเอกสารการศึกษาและเนอื้ หาทเ่ี ก่ียวข้องดังตอ่ ไปนี้

2.1 การเปลี่ยนแปลงทางกายเม่ือเข้าสูว่ ัยผสู้ ูงอายุ
2.2 โรคสมองเสอ่ื ม
2.3 การจัดการ ดูแลตนเอง ลดความเส่ียงโรคไมต่ ดิ ต่อ
2.4 โรคซมึ เศร้าในผสู้ ูงอายแุ ละการเฝา้ ระวัง
2.5 การสง่ เสริมอาชีพการทาพิมเสนน้าสมุนไพร

2.1 การเปลยี่ นแปลงทางกายเมอ่ื เขา้ สวู่ ยั ผสู้ งู อายุ
2.1.1 ความตอ้ งการของผสู้ งู อายุ
บคุ คลเม่ือก้าวสูว่ ยั สงู อายุ ซง่ึ เป็นวยั ท้ายของชีวิต เป็นชว่ งท่ีควรไดร้ ับการช่วยเหลือ ประคับประคอง

จากสังคม ในสงั คมไทยมีวฒั นธรรมในการดแู ลพ่อ-แม่ ญาติ ผู้สงู อายุ แตป่ จั จุบันต้องยอมรับวา่ สภาพเศรษฐกจิ
และสงั คมเปลี่ยนไป ย่อมมผี ลกระทบต่อวัฒนธรรม และวถิ ีชีวิตของคนไทย ซง่ึ ย่อมมีผลกระทบต่อชวี ติ ความ
เป็นอยขู่ องผู้สงู อายุ อยา่ งหลีกเลี่ยงไม่ได้

อย่างไรก็ตาม สงั คมควรตะหนักถงึ ภาระความรับผดิ ชอบ ต่อกล่มุ ผ้สู งู อายเุ พราะเปน็ วัยที่สภาพ
รา่ งกาย จิตใจ และสถานภาพทางสงั คมเปลีย่ นแปลงเสือ่ มถอยลงตามธรรมชาติ

ความต้องการของผูส้ ูงอายุ แบ่งไดด้ งั นี้
1. ความต้องการทางด้านรา่ งกายของผสู้ ูงอายุ
2. ต้องการมสี ุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบรู ณ์
3. ต้องการมผี ูช้ ว่ ยเหลือดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ
4. ตอ้ งการท่ีอยู่อาศัยทีส่ ะอาด อากาศดี สิง่ แวดล้อมดี
5. ต้องการอาหารการกนิ ท่ีถกู สุขลักษณะตามวัย
6. ตอ้ งการมผี ูด้ ูแลช่วยเหลอื ใหก้ ารพยาบาลอย่างใกล้ชิดเมื่อยามเจ็บปว่ ย
7. ตอ้ งการไดร้ บั การตรวจสุขภาพ และการรักษาพยาบาลทีส่ ะดวก รวดเร็ว ทนั ท่วงที
8. ตอ้ งการไดร้ ับบรกิ ารรักษาพยาบาลแบบให้เปลา่ จากรฐั
9. ความตอ้ งการได้พักผ่อน นอนหลับอยา่ งเพียงพอ
10. ความตอ้ งการบารุงรักษารา่ งกาย และการออกกาลงั กายอยา่ งสม่าเสมอ
11. ความตอ้ งการส่ิงอานวยความสะดวกเพื่อป้องกนั อุบตั เิ หตุ
12.การทาอปุ กรณ์ การถักยางยดื เพื่อใช้ออกกาลังกาย และทา่ ทางการออกกาลังกายด้วยยางยดื

5

2.1.2 ความต้องการทางดา้ นจติ ใจของผสู้ ูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นรา่ งกาย และสังคมจะทาใหจ้ ติ ใจของผู้สูงอายุเปลยี่ นไปด้วย ผู้สงู อายจุ ะปรับ
จติ ใจ และอารมณ์ไปตามการเปล่ียนแปลงของร่างกาย และสิง่ แวดลอ้ ม จะเห็นไดว้ า่ ผู้สงู อายุส่วนใหญ่ จะมี
การปรบั ปรุง และพฒั นาจิตใจของตัวเอง ให้เป็นไปในทางที่ดงี ามมากข้ึน สามารถควบคุมจิตใจได้ดีกว่าหนุม่
สาว ดังนั้น เมอ่ื คนเราอายุมากขึน้ ความสขุ ุมเยอื กเยน็ จะมมี ากขึ้นด้วย แต่การแสดงออก จะขน้ึ อยู่กบั ลักษณะ
ของแต่ละบคุ คล การศึกษา ประสบการณ์ และสง่ิ แวดลอ้ มในชีวิตของคนคนนนั้ ความเครยี ดทเี่ กดิ ขึน้ จากการ
เปลยี่ นแปลง ทเี่ กิดขึน้ ในวยั สงู อายุ มีผลต่อจิตใจของผสู้ งู อายมุ าก ลักษณะการเปลย่ี นแปลงของจติ ใจทพี่ บคือ
การรบั รู้ ผสู้ ูงอายจุ ะยึดติดกับความคิด และเหตผุ ลของตวั เอง การรับร้สู ิง่ ใหม่ๆ จึงเป็นไปไดย้ าก ความจาก็
เส่อื มลงการแสดงออกทางอารมณ์ การแสดงออกทางอารมณ์ของผู้สงู อายุ เกี่ยวเนื่องกบั การสนองความ
ต้องการของจิตใจ ต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม ผสู้ ูงอายุจะมีความรู้สึกตอ่ ตนเองในแงต่ ่างๆ สว่ นใหญเ่ ป็น
ความท้อแท้ น้อยใจ โดยรู้สกึ วา่ สังคมไม่ใหค้ วามสาคญั กับตนเอง เหมือนท่เี คยเป็นมาก่อนทาให้ผสู้ ูงอายุ มี
อารมณ์ไม่ม่ันคง การกระทบกระเทือนใจเพียงเลก็ น้อย จะทาให้ผสู้ งู อายเุ สียใจ หงดุ หงิดหรอื โกรธง่าย
ต้องการการยอมรับ และเคารพยกย่องนบั ถือ และการแสดงออกถงึ ความมีคุณค่าของผ้สู งู อายุ โดยสมาชิกใน
ครอบครวั สงั คมของผู้สูงอายุความสนใจสิง่ แวดลอ้ ม ผสู้ ูงอายจุ ะสนใจสิ่งแวดล้อม เฉพาะท่ีทาให้เกิดความพึง
พอใจ และตรงกบั ความสนใจ ของตนเองเทา่ น้ันการสร้างวถิ ีดาเนินชีวิตของตนเอง การมอี ายุมากขนึ้ คอื การ
เขา้ ใกล้กาลเวลาแหง่ การสิน้ สุดของชีวติ การยอมรบั สภาพดังกล่าว ทาใหผ้ สู้ งู อายุบางคน มงุ่ สร้างความดีงาม
ใหแ้ กต่ นเองเพ่ิมมากขนึ้
ความผดิ ปกติทางจิตใจและในวยั สูงอายุ แยกเป็นกลมุ่ อาการทางจิต 2 กลมุ่ ใหญๆ่ คือ
1. กลุ่มอาการทางจิตเน่ืองจากสมองเสื่อม
2. กลุม่ อาการผิดปกตดิ ้านจิตใจและอารมณ์
กลมุ่ อาการทางจติ เนอื่ งจากสมองเส่ือม
อาการเร่ิมแรกผปู้ ่วยจะจาวันเวลาไม่ได้ ความจาเสอื่ ม ความสามารถทางปัญญาลดลง การปรับตวั และการ
ตัดสินใจช้า
กล่มุ อาการทางจติ เนือ่ งจากสมองเสื่อมมี 4 ลกั ษณะ คือ
1.1 สมองเสือ่ ม
1.2 อาการเพ้อคลั่ง
1.3 กลุ่มอาการหลงลืม
1.4 กลมุ่ อาการทางอารมณ์

6

2.1.3. ความตอ้ งการทางดา้ นสงั คม – เศรษฐกจิ ของผสู้ งู อายุ
-ต้องการได้รับความสนใจจากผ้อู ่นื
-ตอ้ งการเป็นส่วนหน่ึงของครอบครัว สงั คมและหมู่คณะ
-ตอ้ งการชว่ ยเหลอื สงั คมและมบี ทบาทในสังคมตามความถนัด
-ต้องการการสนับสนุน ชว่ ยเหลอื จากครอบครัว และสงั คมทั้งทางด้านความเป็นอยู่
รายไดบ้ รกิ ารจากรัฐ
-ตอ้ งการมชี วี ติ รว่ มในชุมชน มีส่วนรว่ มในกจิ กรรมตา่ งๆ ของชมุ ชนและสังคม
-ตอ้ งการลดการพึ่งพาคนอ่ืนใหน้ ้อยลง ไมต่ ้องการความเมตตาสงสาร (ทแ่ี สดงออกโดยตรง)
-ต้องการการประกนั รายได้ และประกันความชราภาพ

2.2 โรคสมองเสอ่ื ม
ภาวะสมองเสือ่ มคืออะไร
เป็นเวลานานนับศตวรรษ ทีม่ นุษยเ์ ราได้มพี ยายามท่ีจะหาวธิ ีทาใหต้ วั เองฉลาดขน้ึ หรอื หายาทาให้

สมองดี แต่ก็ยังไม่ประสบผลสาเร็จ ตรงกนั ขา้ ม คนสว่ นใหญ่เมื่อมีอายุมากขึ้นจะพบวา่ มีความจาเลวลง หลงลืม
หรอื บคุ ลกิ ภาพและอารมณ์ผิดแผกไปจากปกติ บางรายเป็นมากจนจัดว่าเป็นโรคขึ้นมา ซ่ึงเรยี กว่า ภาวะสมอง
เสื่อม

ภาวะสมองเส่ือมพบบอ่ ยแค่ไหน
พบว่าอยู่ในอัตราสูงถงึ 5-8% ของผ้สู ูงอายุเกิน 65 ปี และจะมีอตั ราเป็นโรคสูงถึง 20% และถ้าอายุ
เกิน 90 ปี จะพบในคร่ึงหนึ่งท่ีมีภาวะสมองเส่ือมเกิดข้ึนในประเทศไทยพบว่ามปี ระชากรอายเุ กิน 60 ปี ถงึ 3
ล้าน 1 แสนคน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ได้ร้อยละ 5.7 ของประชากรไทย (พ.ศ. 2532) ดงั นั้นกลุ่มประชากรกลุ่มนี้จึง
มคี วามโนม้ เอียงสงู ทจ่ี ะเกดิ ภาวะสมองเสื่อมได้
พยาธสิ ภาพของภาวะสมองเสอ่ื มเปน็ อยา่ งไร เป็นท่ีทราบกันดวี ่าสมองของคนเราน้นั เป็นอวยั วะทีไ่ ด้
พัฒนามาสงู สุดของร่างกายมนษุ ย์เรา และมีความสลบั ซบั ซ้อนในการทางานมากทีส่ ุด เซลล์สมองเปน็ เซลลท์ มี่ ี
ความจาเพาะมาก และเปราะบางทส่ี ุด ในคนปกตมิ ีเซลลส์ มองมากมายนับเปน็ พนั ๆ ลา้ นตวั เซลล์เหล่าน้ีเมอื่
ตายไปจะไม่มีการงอกมาทดแทนได้เช่นอวัยวะอืน่ ๆ มีภาวะอน่ื ๆ อะไรบ้างที่อาจทาให้ผปู้ ่วยมอี าการคลา้ ยกบั
ภาวะสมองเส่ือม ก่อนทจ่ี ะบ่งช้วี ่าคนใดเป็นภาวะสมองเส่อื ม แพทยห์ รือคนดูแลผ้ปู ่วยจาเป็นตอ้ งแยกภาวะ

7

3 ภาวะต่อไปน้ี ท่ีอาจมอี าการและอาการแสดงคลา้ ยคลงึ กบั ภาวะสมองเสือ่ มอันไดแ้ ก่
 ผ้ปู ่วยท่ีสบั สน เช่น เกดิ ข้นึ ภายหลังชัก หมดสติหรือเปน็ ลม ได้รบั ยานอนหลบั หรือยากล่อมประสาท
หรือยากระตนุ้ ประสาทบางอยา่ ง
 ผปู้ ่วยทเี่ พอ้ คลง่ั เช่น เกิดจากโรคพิษสรุ าเร้ือรัง ติดยาเสพติด ตืดยานอนหลบั โรคตับพิการ โรคไต
พกิ าร โรคสมองอักเสบ หรือแม้แต่ไดร้ ับสารพิษทางเคมเี ข้ารา่ งกาย
 โรคทอ้ แท้หรือซึมเศรา้ ในผู้ป่วยที่หมดหวงั ทอดอาลยั ตายอยากในชีวติ ทอ้ แท้ อยากฆา่ ตัวตายจาก
ความผิดหวัง หรอื ปญั หาชวี ิต ในกลุ่มนสี้ ว่ นใหญ่จะเป็นผูป้ ่วยของโรคทางจิตเวชวิทยา ซ่งึ จาเป็นทีต่ อ้ ง
รบี แกไ้ ขและรักษาโดยด่วน

สาเหตขุ องภาวะสมองเส่ือมเกดิ จากอะไร
ในผู้สงู อายุสาเหตสุ มองเสอื่ มทพี่ บบ่อย ๆ มสี าเหตุ 2 ประการคือ
1. โรคหลอดเลอื ดสมอง หรือโรคอัมพาต ไมว่ า่ จะเกิดจากชนดิ หลอดเลือดตบี หรืออุดตันหรอื แตกก็

ตาม โรคน้พี บราว 20% ของผู้ปว่ ย
2. โรคอลั ไซเมอร์ ( Alzheimer’s disease ) เปน็ โรคสมองเส่ือมท่ีพบบอ่ ยทส่ี ดุ และจะมีอาการเลวลง

เรือ่ ยๆ คือ ราว 70-80% ของผทู้ ม่ี ีสมองเส่ือม โรคนจี้ ะเปน็ สาเหตุที่ทาให้สมองฝ่ออยา่ งรวดเร็ว
ภาวะสมองเส่ือมสามารถรักษาใหห้ ายไดห้ รือไม่

ปัจจุบันพบว่าภาวะสมองเสอ่ื มในผปู้ ่วยทกุ อายุอาจจาแนกไดเ้ ปน็ 3 ประเภทใหญๆ่ คอื
1. ภาวะสมองเสอื่ มทรี่ กั ษาได้ผลดี
2. ภาวะสมองเส่อื มท่ีรกั ษาได้ผลเพยี งบางสว่ น
3. ภาวะสมองเสื่อมที่ยังรักษาไมห่ ายในปัจจบุ ัน
ภาวะสมองเส่อื มทร่ี ักษาได้ผลดี ซึ่งพบได้ราว 5-10% ของผู้ปว่ ยท้ังหมดสามารถจาแนกได้ตามสาเหตุดังนี้
 ภาวะเลอื ดคั่งทผ่ี ิวสมอง การผ่าตัดเอาเลอื ดออกก็จะหายจากโรคสมองเสื่อมได้
 ภาวะโพรงสมองโต การผ่าตดั ใสท่ อ่ ให้โพรงสมองแฟบลงก็จะหายจากภาวะสมองเสื่อมได้
 โรคลมชักที่ไม่ได้รบั การควบคุมรกั ษาท่ดี ีและถกู ต้องเพราะการชกั แต่ละคร้ังทาใหเ้ ซลล์สมองตายไป
เป็นจานวนนบั หมืน่ ๆ ตวั
 โรคขาดวติ ามนิ บี
 โรคของต่อมธยั รอยด์ สรา้ งฮอรโ์ มนน้อย
 โรคเยื่อสมองอักเสบ เชน่ จากวณั โรคสมอง เชือ้ รา พยาธิสมองเปน็ ต้น
 โรคซิฟิลสิ ข้นึ สมอง
 โรคเน้ืองอกสมองบางชนดิ ทฐี่ านสมองโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เน้อื งอกชนดิ ไมร่ า้ ยแรงทเี่ กดิ มาจากเยอื่ หมุ้ สมอง
 โรคพษิ สรุ า หรอื ไดร้ ับสารพิษต่อสมองต่างๆ
 โรควิลสนั ซึง่ เกดิ จากพันธุกรรมเนอื่ งจากมสี ารตะก่วั ค่ังในสมองและตบั
ภาวะสมองเส่ือมกลุ่มนี้ท้งั หมดจาเปน็ จะต้องไดร้ ับการวนิ ิจฉยั โดยเร็วเพอ่ื จะไดใ้ ห้การรักษาโดยตรงท่ถี ูกต้องได้
อยา่ งทนั ท่วงที

8

ภาวะสมองเส่อื มทรี่ กั ษาไดผ้ ลเพยี งบางสว่ น ในกลมุ่ นอ้ี าจมสี าเหตจุ าก
1. โรคเนอ้ื สมองตายหลายตาแหนง่ จากการอุดตนั ของหลอดเลือดแดงในสมอง
2. สมองขาดออกซิเจน หรือกลโู คส
3. โรคเมาหมดั ในนักมวย หรอื ผู้ทีม่ ีอุบัติเหตุทางสมองโดนกระทบกระเทือนหรือกระเทือนสมองบ่อยๆ
4. โรคสมองอักเสบจากไวรัส
5. โรคเนื้องอกสมองท่ีกระจายมาจากมะเร็งที่อน่ื ของรา่ งกาย
6. โรคปลอกห้มุ ใยสมองเส่ือม โรคกล่มุ น้ียังไมท่ ราบสาเหตแุ น่นอนในคนไทยพบนอ้ ยแต่ในประเทศหนาว
พบมากเปน็ สาเหตทุ าให้คนหน่มุ สาวในต่างประเทศพกิ ารมักมาก

การวนิ จิ ฉยั ภาวะสมองเสอื่ มทาได้อยา่ งใด
โดยปกตแิ พทยท์ ่วั ไปหรือประสาทแพทย์ มกั จะเป็นผใู้ ห้การวินิจฉัยภาวะสมองเส่ือม โดยอาศยั ข้อมลู

จากประวัติ ระยะเวลาเปน็ โรค อาการ อาการแสดงประวัตคิ รอบครัว การตรวจรา่ งกายทางระบบประสาทโดย
ละเอียด และการสืบคน้ หาสาเหตุของโรคดังกลา่ วซึง่ อาจประกอบดว้ ยการเจาะเลอื ด การเอกซเรย์ การตรวจ
คลนื่ สมอง การเจาะตรวจนา้ ไขสนั หลงั การตรวจคอมพิวเตอร์สมอง การตรวจการไหลเวียนของเลือดสสู่ มอง
และการตรวจชนิ้ เน้ือสมองโดยการผ่าตดั พิสูจน์
ภาวะสมองเส่ือมรักษาได้อยา่ งไร

โดยปกติหลักการรักษาภาวะสมองเส่ือมประกอบด้วยหลกั ใหญ่ 3 ประการ คือ
1. การรักษาโรคตน้ เหตุของภาวะสมองเสือ่ ม เปน็ หัวใจท่ีสาคัญย่ิงและต้องรีบกระทาโดยเร็วและ

ทนั ทว่ งที แลว้ แต่ชนดิ ของสาเหตุตา่ งๆ กันจึงจะได้ผลดีดงั กลา่ วแลว้
2. การรกั ษาตามอาการแบบประคับประคอง นบั วา่ เปน็ สิ่งสาคัญทจี่ ะทาให้ญาติผูด้ ูแลสามารถช่วยเหลอื

ผปู้ ว่ ยให้มคี วามสขุ ไมว่ ุ่นวายหรอื เกิดอบุ ตั เิ หตุอนั ตรายต่างๆ ได้ในรายที่มีอาการทางอารมณร์ นุ แรง
เอะอะโวยวายหรือวุ่นวายมากๆ ก็จาเป็นต้องใหย้ าช่วยระงับจิตใจผปู้ ่วย โดยมากนยิ มใช้ยากลมุ่ กล่อม
ประสาทหลัก เชน่ ฮาโลเพอริตอลเปน็ ตน้
3. การใหย้ าบาบัดรักษาภาวะสมองเสอ่ื ม ในปัจจบุ นั ได้มกี ารพัฒนาตัวยาตา่ งๆ มากมายในการรักษาโรค
นเี้ ริม่ จากวิตามนิ ตา่ งๆ ตลอดจนฮอร์โมนทเี่ คยใช้กันมากในอดีต ในปัจจุบนั พบว่าไม่ไดผ้ ลดแี ตอ่ ยา่ งใด
ยา 2 กลุ่มทแ่ี พทยน์ ิยมใชใ้ นผู้ป่วยโรคสมองเสอื่ ม ไดแ้ ก่
 ยาขยายหลอดเลอื ดสมอง ยากลมุ่ น้ีให้เพอื่ หวังผลใหเ้ ลือดไปสู่สมองเพิม่ ขึ้นอยา่ งไรกต็ ามผลของยากลมุ่ น้ี
ปรากฏวา่ ใหผ้ ลการรักษาที่ยังไมน่ า่ พอใจนักยกเว้นกลุม่ ผปู้ ่วยที่ทเี ลือดไปเลยี้ งสมองไม่เพยี งพอบางราย
ท่ีอาจได้ผลบ้าง

9

 ยาชว่ ยการทางานของสมอง ยากลุ่มนี้ฤทธ์ทิ าใหเ้ ซลล์สมองทีเ่ หลืออยู่ทางานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
เพิ่มขึน้ แม้จะไมส่ ามารถทาให้เซลลส์ มองเพิ่มขึ้นก็ตาม จากการศึกษาทดลองใหย้ ากลุ่มนใี้ นผู้ปว่ ย
ภาวะสมองเส่อื มชนิดโรคอัลไซเมอร์ พบวา่ หลงั ใหบ้ ุคลิกภาพและการทดสอบต่างๆ ทางจิตเวชศาสตรด์ ี
ข้นึ ทั้งในดา้ นความจา และการเรยี นร้ยู กในกลมุ่ นจ้ี ึงนยิ มใช้กัน ในปจั จบุ ัน ยาทใ่ี ชไ้ ด้แก่
1. Ergoloid mesylate
2. Piracetam
3. Pyritinol
4. Lecithin เปน็ ตน้

2.3 การจัดการ ดแู ลตนเอง ลดความเสย่ี งโรคไม่ตดิ ตอ่
กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรือ ชื่อภาษาไทยเรียกว่า กล่มุ โรคไมต่ ดิ ต่อ

เรอ้ื รัง นัน้ เป็นช่อื เรยี ก กลุม่ โรคทไ่ี ม่ได้มสี าเหตมุ าจากการติดเชอ้ื ไม่ได้เกดิ จากเช้อื โรค ไม่สามารถติดต่อไดผ้ า่ น
การสมั ผัส คลุกคลี หรอื ตดิ ต่อ ผา่ นตัวนาโรค (พาหะ) หรือสารคดั หลัง่ ตา่ งๆ หากแตเ่ กิดจากปจั จัยตา่ งๆ
ภายในร่างกาย ซ่งึ สว่ นใหญเ่ ป็นผลจากไลฟ์สไตล์วธิ ีการใช้ชีวิต ทีม่ พี ฤติกรรมเส่ยี งอย่าง เหล้า บุหรี่ ขาดการ
ออกกาลังกาย อาหารหวานมันเค็มจัด และมีความเครียดโรคไม่ติดตอ่ เร้ือรงั มักจะคอ่ ยๆ มอี าการและรุนแรง
ขนึ้ ทีละน้อยหากไม่ได้มีการรักษาควบคุมองค์การอนามัยโลก(WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรค NCDs นน้ั ถอื เป็น
ปัญหาใหญท่ ี่กาลังทวีความรุนแรงขึ้นเรอื่ ยๆ สังเกตจาก สถิตผิ ูเ้ สยี ชวี ติ จากกลมุ่ โรค NCDs ในปี พ.ศ. 2552
พบวา่ สาเหตกุ ารเสยี ชวี ิตของประชากรโลกทง้ั หมด มถี ึง 63% ที่เกดิ จากกลุ่มโรค NCDs และท่ีสาคญั กว่าน้ัน
คือ กวา่ 80% เป็น ประชากรของประเทศทก่ี าลงั พฒั นา

10

สาหรับประเทศไทยเอง สถติ ลิ า่ สุดพบว่ามีถึง 14 ล้านคนท่ีเป็นโรค ในกลุ่มโรค NCDs และที่สาคัญยัง
ถือเป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิตของ ประชากรทั้งประเทศ โดยจากสถิติปี พ.ศ. 2552 พบว่า มีประชากรเสีย
ชีวิต จากกลุ่มโรค NCDs มากกว่า 300,000 คน หรือ คิดเป็น 73% ของการเสียชีวิต ของประชากรไทย
ทงั้ หมดในปี 2552 คิดเป็นมูลค่า ความเสียหายทางเศรษฐกิจถึง 200,000 ล้านบาทต่อปี ท้ังสถิติการ เสียชีวิต
ดังกล่าวยังแสดงว่าประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตมากกว่าค่าเฉล่ีย ของท้ังโลกและมีแนวโน้มจะสูงขึ้น เรื่อยๆ ใน
อนาคต ซงึ่ โรคในกลุ่ม โรค NCDs ท่มี ีอตั ราผปู้ ว่ ยและผู้เสยี ชวี ิตสงู สดุ 6 โรค ได้แก่

-โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus)
-โรคหลอดเลอื ดสมองและหัวใจ (Cardiovascular & Cerebrovascular Diseases )
-โรคถงุ ลมโปง่ พอง (Emphysema)
-โรคมะเรง็ (Cancer)
-โรคความดนั โลหติ สูง (Hypertension)
-โรคอ้วนลงพุง (Obesity)
2.4 โรคซึมเศร้าในผสู้ งู อายแุ ละการเฝา้ ระวัง
โรคซมึ เศรา้ ในผสู้ งู อายุ
ผ้สู งู อายเุ ปน็ กลุม่ ประชากรท่ีมโี อกาสเกิดโรคซมึ เศรา้ ได้มากกว่าวัยอ่ืน โดยพบว่าร้อยละ 10- 13 ของ
ผูส้ งู อายุมอี าการของโรคนี้
ทาไมผสู้ งู อายจุ งึ มีอาการโรคซึมเศร้ามากกวา่ วัยอื่น ในวัยสูงอายุจะมีการเปลีย่ นแปลงหลายอยา่ งที่ทาใหเ้ กิด
โรคซึมเศรา้ ได้งา่ ย ได้แก่
• การเปลี่ยนแปลงของสารส่อื ประสาทในสมอง ทาให้เกดิ โรคซึมเศรา้ ไดง้ ่าย
• การทม่ี โี รคทางกายบางอย่าง เช่น โรคสมองเสอ่ื ม โรคหลอดเลอื ดสมอง โรคมะเรง็ โรคต่อมธยั รอยดเ์ ป็นตน้
• การเจ็บป่วยทางกายที่ไม่ได้มีผลกระทบต่อสมองโดยตรงแตท่ าใหเ้ กิดความทกุ ขท์ รมาน เจบ็ ปวด หรือเกิด
ความรสู้ กึ วา่ รา่ งกายไม่แข็งแรง อาจทาให้เกิดอารมณ์ซมึ เศร้าได้ เช่น ปว่ ยเป็นโรคหัวใจ โรคไต ปวดข้อ เป็นต้น
• ยาหลายชนิดอาจทาให้มีอารมณ์เศรา้ ได้เชน่ กัน เช่น ยาลดความดันโลหิตสูงบางชนดิ เปน็ ตน้
• การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นจติ ใจ เช่น ตอ้ งสญู เสียค่ชู ีวติ หรอื ตอ้ งออกจากงานเนื่องจากเกษียณอายุการทางาน
ทาใหต้ ้องปรับตัวกับการดาเนินชวี ิตแบบใหม่ ไมม่ ีเพ่ือนรว่ มงาน เป็นตน้
• การเปลีย่ นแปลงทางด้านสงั คม เช่น การตอ้ งเปลย่ี นบทบาทจากหวั หน้าผู้นาครอบครัวเปน็ ผ้ตู าม หรอื การที่
ไมไ่ ด้รบั การยอมรบั นับถือจากลกู หลานเนือ่ งจากเห็นว่าอายุมากแลว้ ไม่ทนั ต่อเหตกุ ารณ์ เปน็ ต้น

11

อาการโรคซมึ เศรา้ เปน็ อยา่ งไร
อาการเร่ิมแอาจมีอาการไม่มากจนถึงบางรายมอี าการชดั เจน อาการประกอบไปดว้ ย
• รสู้ ึกเซ็ง เศร้าหรอื เสียใจอย่างไมม่ ีเหตผุ ล
• ความรู้สึกสนใจส่ิงตา่ งๆ รอบตัวลดลง เบ่ือหนา่ ย ไม่อยากทาอะไรทเ่ี คยชอบ
• นอนไม่หลบั หรือหลับมากเกินไป
• รสู้ ึกตัวเองไรค้ า่ คอยตาหนิกลา่ วโทษตนเอง
• รสู้ ึกอ่อนเพลยี ไม่มีเรยี่ วแรง
• ไม่มีสมาธิ ไม่มคี วามมน่ั ใจในตนเอง ขี้หลงขลี้ มื
• ความอยากอาหารเปล่ียนแปลงไป อาจเบ่ืออาหารหรอื บางรายรับประทานมากขึน้ นา้ หนกั ตัวลดลงหรอื
เพมิ่ ขนึ้
• ความคดิ และการเคลื่อนไหวเชือ่ งช้า กระสับกระส่ายหงุดหงดิ
• มีความคิดอยากตาย หรือพยายามฆา่ ตวั ตาย

ควรปฏบิ ตั ติ วั อยา่ งไรถา้ มโี รคซึมเศรา้
ถ้าดแู ล้วคดิ วา่ เป็นโรคซมึ เศร้า ควรปฏิบัติตัวดงั น้ี
• หลกี เลยี่ งการอย่คู นเดียวเม่ือมีอารมณ์เศร้าเกิดขึ้น คอยพูดคุยกับผ้อู นื่ เพื่อใหเ้ พลดิ เพลิน ไม่เหงา
• พยายามปรบั ตัวให้เข้ากับการเปลยี่ นแปลงต่างๆ ท่ีเกดิ ขึน้ ในวยั นี้ ไม่ว่าจะเปน็ โรคทางกาย ความสามารถและ
บทบาททเี่ ปลยี่ นแปลงไป
• ทากิจกรรมหรืองานอดิเรกท่ีชอบ เช่น ปลกู ตน้ ไม้ เย็บปักถักรอ้ ย เป็นต้น
• ทากิจกรรมร่วมกบั ผู้อ่นื เชน่ เขา้ ชมรมผ้สู งู อายุ ไปออกกาลังกายเป็นประจา
• ไปพบแพทยเ์ พ่ือขอคาแนะนา ควรรีบไปตรวจและแจ้งแพทยโ์ ดยไมต่ ้องอาย เน่ืองจากโรคนี้ถอื เป็นความ
เจบ็ ป่วยอย่างหนึ่งและสามารถรกั ษาใหด้ ขี ้นึ และหายขาดได้

12

การทาอุปกรณ์ การถกั ยางยดื เพอ่ื ใชอ้ อกกาลงั กาย

วิธนี ายางยืดมาใช้เพ่ือสุขภาพก็ไมย่ าก แค่ใช้ยางวงขนาดใหญ่จานวน 5-6 เสน้ มารอ้ ยต่อกันเปน็
ลักษณะเหมือนข้อโซใ่ หไ้ ดป้ ระมาณ 36-40 ข้อ หรือถา้ เปน็ คนรปู รา่ งสงู ก็อาจใช้ถงึ 40-45 ขอ้ หรือมากกว่า
ตามรูปรา่ ง

การออกกาลงั กายโดยใชย้ างยดื

13

14

การออกกาลงั กายโดยใชย้ างยดื กบั ตาราง 9 ชอ่ ง

15

บทท่ี 3
วธิ ีดาเนนิ งาน

การดาเนนิ โครงการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผูส้ งู อายุ ไดด้ าเนนิ การตามขน้ั ตอนต่างๆ ดงั นี้

1. ขน้ั เตรียมการ

 การศึกษาเอกสารทเี่ ก่ียวข้องกบั โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ
ผรู้ บั ผิดชอบโครงการได้ศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารทเ่ี ก่ียวข้องเพื่อเป็นข้อมลู และแนวทางในการดาเนนิ การ
โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผสู้ ูงอายุ ดังน้ี
1. ศึกษาเอกสาร / คู่มือ ข้อมูลจากหนงั สอื เกย่ี วกับความรู้กฎหมายในชวี ิตประจาวนั เพื่อเป็น
แนวทางเกี่ยวกับการจดั โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผูส้ งู อายุ
2. ศึกษาข้ันตอนการดาเนินโครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายุเพื่อเปน็ แนวทางในการจัดเตรียมงาน
วัสดุอปุ กรณ์ และบุคลากรให้เหมาะสม

 การสารวจความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ที่ (ตามนโยบายของรฐั บาล)
กลุ่มภารกจิ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตาบล สารวจความตอ้ งการ

ของกล่มุ เปา้ หมายเพื่อทราบความตอ้ งการที่แท้จริงของประชาชนในตาบล และมขี ้อมูลในการจดั กิจกรรมท่ตี รง
กบั ความต้องการของชุมชน

 การประสานงานผู้นาชมุ ชน / ประชาชน /วทิ ยากร
1. ครู กศน.ตาบล ไดป้ ระสานงานกับหัวหน้า/ผู้นาชุมชนและประชาชนในตาบลเพอ่ื รว่ มกัน

ปรึกษาหารือในกลุ่มเกี่ยวกบั การดาเนนิ การจดั โครงการใหต้ รงกับความต้องการของชมุ ชน
2. ครู กศน.ตาบล ไดป้ ระสานงานกบั หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องเพ่ือจัดหาวทิ ยากร

 การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการฯ
ครู กศน.ตาบล ได้ดาเนนิ การประชาสมั พนั ธ์การจัดโครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตผู้สงู อายุ

เพอื่ ใหป้ ระชาชนทราบข้อมลู การจดั กิจกรรมดงั กลา่ วผ่านผู้นาชุมชน

 ประชุมเตรยี มการ / วางแผน
1) ประชุมปรกึ ษาหารือผู้ทเี่ ก่ียวข้อง
2) เขยี นโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ ่ายต่างๆ เตรียมดาเนนิ การ
3) มอบหมายหนา้ ท่ี แต่งตั้งคณะทางาน

 การรับสมัครผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯ
ครู กศน.ตาบล ได้รบั สมัครผู้เขา้ ร่วมโครงการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผู้สูงอายุ โดยให้ประชาชน

ท่ัวไปที่อาศัยอยใู่ นพืน้ ท่ีตาบลหวั ถนน เขา้ ร่วม เปา้ หมายจานวน 20 คน

16

 การกาหนดสถานทแ่ี ละระยะเวลาดาเนนิ การ
ครู กศน.ตาบล ได้กาหนดสถานทใี่ นการจดั อบรมคือ รพสต.หัวถนน หมู่ 1 ตาบลหวั ถนน

อาเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี ระหวา่ งวนั ท่ี 29 มถิ นุ ายน 2565 จานวน 1 วัน เวลา 0900-12.00 น.

2. ขน้ั ดาเนนิ งาน

 กลมุ่ เปา้ หมาย
กลุม่ เป้าหมายของโครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผ้สู งู อายุ
-ผู้สงู อายุตาบลหัวถนน จานวน 20 คน

 สถานทด่ี าเนนิ งาน
ครู กศน.ตาบลหวั ถนน จัดกิจกรรมโครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผสู้ ูงอายุ

โดยจัดกจิ กรรมอบรมใหค้ วามรู้ ณ รพสต.หัวถนน หมู่ 1 ตาบลหวั ถนน อาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
 การขออนมุ ตั แิ ผนการจดั กิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พฒั นาพนื้ ทภ่ี าคตะวนั ออก
กศน.ตาบลหวั ถนน ได้ดาเนนิ การขออนุมัติแผนการจดั กจิ กรรม โครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ

ผู้สงู อายุต่อสานักงาน กศน.จงั หวัดชลบุรี เพอ่ื ใหต้ ้นสงั กัดอนุมัตแิ ผนการจัดกจิ กรรมโครงการพฒั นาคุณภาพ
ชวี ิตผูส้ งู อายุ

 การจัดทาเคร่อื งมอื การวดั ความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกจิ กรรม
เครือ่ งมือที่ใช้ในการติดตามประเมินผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมินความพงึ พอใจ

 ขน้ั ดาเนนิ การ / ปฏบิ ัติ
1. เสนอโครงการเพ่ือขอความเห็นชอบ/อนุมตั จิ ากตน้ สังกัด
2. วางแผนการจดั กิจกรรมในโครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตผสู้ ูงอายุ

โดยกาหนดตารางกจิ กรรมที่กาหนดการ
3. มอบหมายงานให้แก่ผ้รู ับผิดชอบฝ่ายตา่ งๆ
4. แต่งตง้ั คณะกรมการดาเนินงาน
5. ประชาสัมพันธ์โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผ้สู งู อายุ
6. จดั กิจกรรมโครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผู้สูงอายุตามตารางกิจกรรมท่กี าหนดการ
7. ติดตามและประเมนิ ผลโครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผูส้ งู อายุ

3. การประเมนิ ผล

 วเิ คราะหข์ อ้ มลู
1. บนั ทึกผลการสังเกตจากผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม
2. วเิ คราะห์ผลจากการประเมินในแบบประเมนิ ความพึงพอใจ
3. รายงานผลการปฏิบัติงานรวบรวมสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านของโครงการนาเสนอตอ่ ผบู้ ริหาร

นาปัญหา ขอ้ บกพร่องไปแกไ้ ขครงั้ ต่อไป

17 8

 คา่ สถติ ทิ ี่ใช้

การวเิ คราะห์ข้อมูล ใช้คา่ สถิตริ อ้ ยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวช้ีวัดความสาเร็จ

ของโครงการตามแบบสอบถามคิดเปน็ รายข้อ โดยแปลความหมายค่าสถติ ิรอ้ ยละออกมาไดด้ งั นี้

ค่าสถติ ริ อ้ ยละ 90 ขึ้นไป ดมี าก

คา่ สถิติรอ้ ยละ 75 – 89.99 ดี

ค่าสถติ ริ ้อยละ 60 – 74.99 พอใช้

คา่ สถิติร้อยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรงุ

ค่าสถิติรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรุงเร่งด่วน

ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซึ่งมีลักษณะเป็นค่าน้าหนัก

คะแนน และนามาเปรียบเทียบ ไดร้ ะดับคณุ ภาพตามเกณฑก์ ารประเมนิ ดงั นี้

เกณฑ์การประเมิน (X)

คา่ นา้ หนักคะแนน 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ คอื ดีมาก

คา่ น้าหนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ คือ ดี

ค่านา้ หนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคณุ ภาพ คอื พอใช้

คา่ น้าหนกั คะแนน 2.50 – 2.99 ระดบั คณุ ภาพ คือ ต้องปรบั ปรุง

ค่าน้าหนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คณุ ภาพ คอื ตอ้ งปรับปรุงเรง่ ดว่ น

18

บทท่ี 4
ผลการดาเนนิ งานและการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

ตอนท่ี 1 รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ
การจัดกิจกรรมโครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผูส้ งู อายุ สรปุ รายงานผลการจดั กิจกรรมได้ดังน้ี
ในการจดั กจิ กรรมอบรมให้ความร้ตู ามโครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผูส้ ูงอายุ เปน็ การอบรมใหค้ วามรู้

โดยมี นางสาวพจนีย์ ประทมุ ทอง เป็นวทิ ยากรในการบรรยายให้ความรู้ หลังจากเสรจ็ สิ้นกจิ กรรมดงั กลา่ ว
แล้ว ผ้เู ขา้ อบรมมีความรู้ ความเข้าใจด้านการประกอบอาชีพ สามารถนาความรูท้ ี่ไดร้ บั มาปรบั ใชใ้ น
ชวี ิตประจาวัน

ตอนที่ 2 รายงานผลความพงึ พอใจของโครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ
การจดั กิจกรรมโครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ซง่ึ สรปุ รายงานผลจากแบบสอบถามความ

คดิ เหน็ ข้อมลู ท่ไี ดส้ ามารถวิเคราะห์และแสดงค่าสถิติ ดังนี้

ตารางท่ี 1 ผู้เขา้ รว่ มโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน้ ามาจาแนกตามเพศ

รายละเอยี ด เพศ หญิง
ชาย 20
100
จานวน (คน) 0

รอ้ ยละ 0

จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามท่เี ข้ารว่ มกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาพ้นื ท่ภี าคตะวันออก
โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผูส้ ูงอายุ เปน็ หญงิ จานวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

ตารางที่ 2 ผเู้ ข้าร่วมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามอายุ

รายละเอียด อายุ (ปี)

อายุ 15-29 30 - 39 40 - 49 50-59 60 ข้ึนไป
- 20
จานวน (คน) - - - - 100

รอ้ ยละ - - -

จากตารางที่ 2 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามที่เข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาพื้นที่ภาคตะวนั ออก
โครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขนึ้ ไป จานวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

19 10

ตารางที่ 3 ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามอาชีพ

รายละเอยี ด เกษตรกรรม รับจา้ ง อาชพี ค้าขาย อ่นื ๆ
รับราชการ/รฐั วิสาหกิจ 5 -
25 -
จานวน (คน) - 15 -

รอ้ ยละ - 75 -

จากตารางที่ 3 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามทีเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาพน้ื ทภ่ี าคตะวันออก
โครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตผูส้ งู อายุ อาชพี รับจ้าง จานวน 15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 75 มีอาชพี ค้าขาย
จานวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 25

ตารางท่ี 4 ผู้เขา้ ร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นามาจาแนกตามระดบั การศึกษา

รายละเอยี ด ระดบั การศกึ ษา

การศึกษา ประถม ม.ต้น ม.ปลาย/ปวช. ปวส./ป.ตรีขึ้นไป

จานวน (คน) 15 5

ร้อยละ 75 25

จากตารางท่ี 4 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาพ้ืนทภี่ าคตะวนั ออก
โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผู้สูงอายุ มรี ะดบั ประถมศึกษา จานวน 15 คน คดิ เป็นร้อยละ 75 ระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25

ตารางท่ี 5 แสดงคา่ ร้อยละเฉลย่ี ความสาเรจ็ ของตวั ชวี้ ดั ผลผลติ ประชาชนท่ัวไปเข้ารว่ มโครงการจานวน 20 คน

ผลสาเรจ็ ของโครงการ

เปา้ หมาย(คน) ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ(คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ
20
20 100

จากตารางที่ 5 พบวา่ ผลสาเร็จของตวั ชี้วัดผลผลติ กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาพ้นื ทภ่ี าคตะวันออก
โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผู้สงู อายุ มผี ูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ จานวน 20 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ซึ่งบรรลุ
เปา้ หมายดา้ นตวั ช้วี ัด ผลผลติ

20

ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลเกีย่ วกบั ความคดิ เหน็ ของผู้เข้าร่วม

ตาราง 5 จากแบบสอบถามทัง้ หมด จานวน 20 ชดุ ผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรม มีความคิดเหน็ ดังปรากฏในตาราง

N = 20

ข้อท่ี เน้ือหากจิ กรรม ˉx S.D. อันดบั ท่ี ระดบั ผลการประเมนิ

ดา้ นบริหารจดั การ 4.00 0.73 5 ดี
1 อาคารและสถานท่ี 4.31 0.48 3 ดี
2 สิง่ อานวยความสะดวก 4.25 0.58 3 ดี
3 กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนนิ โครงการ 4.13 0.72 4 ดี
4 เอกสารการอบรม 4.31 0.60 3 ดี
5 วทิ ยากรผ้ใู หก้ ารอบรม
4.38 0.50 2 ดี
ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 3 ดี
6 การจดั กิจกรรม/โครงการ

7 การบรรยายใหค้ วามรู้ทเี่ กี่ยวข้อง 4.31 0.70

8 การตอบขอ้ ซักถามของวิทยากร 4.31 0.60 2 ดี

9 การแลกเปลี่ยนเรยี นรูข้ องผเู้ ข้ารบั การอบรม 4.38 0.50 2 ดี

10 การสรปุ องค์ความรูร้ ่วมกนั 4.31 0.70 1 ดี
11 การวัดผล ประเมนิ ผล การฝึกอบรม 4.38 0.62 1 ดี

ดา้ นประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั 4.44 0.63 1 ดี
12 ได้เรยี นรแู้ ละฝึกตนเอง เกีย่ วกบั การฝกึ 4.25 0.68 2 ดี
4.29 0.09
13 นาความรู้ท่ไี ดร้ บั มาปรบั ใช้ในชีวติ ประจาวัน ดี

รวม

21

จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉล่ียแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี
เมือ่ วิเคราะหเ์ ป็นรายขอ้ พบว่าอาคารและสถานท่ี (ˉx =4.00) ส่งิ อานวยความสะดวก (ˉx=4.25) กาหนดการและ
ระยะเวลาในการดาเนนิ โครงการ (ˉx =4.13) เอกสารการอบรม (ˉx=4.31) วทิ ยากรผใู้ ห้การอบรม (ˉx=4.38)
การจัดกิจกรรม/โครงการ (ˉx=4.31)การบรรยายให้ความรู้ที่เกี่ยวข้อง (ˉx=4.31) การตอบข้อซักถามของ
วิทยากร (ˉx=4.38 ) การแลกเปล่ียนเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม (ˉx=4.31)การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน
(ˉx=4.31) การวัดผล ประเมินผล การฝกึ อบรม (ˉx=4.38) ไดเ้ รยี นรู้และฝึกตนเอง เก่ยี วกบั การฝึก (ˉx=4.44)
นาความรทู้ ่ไี ด้รับมาปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั (ˉx=4.25) เปน็ อนั ดับสดุ ทา้ ย
สรุปค่า ˉx ทัง้ 15 ข้อมคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับดี ˉx = 4.29

สรุปคา่ S.D. ทง้ั 15 ข้อมคี วามพึงพอใจ S.D. = 0.09

ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของระดับความพึงพอใจท่ไี ดร้ ับต่อการเขา้ รว่ มกจิ กรรม

ประเด็นทปี่ ระเมิน ระดบั การประเมนิ
มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่ีสุด
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

1.อาคารและสถานท่ี 7 35.00 8 40.00 5 25.00 0 0.00 0 0.00

2.สง่ิ อานวยความสะดวก 8 42.11 6 31.58 5 26.32 0 0.00 0 0.00

3.กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนินโครงการ 7 35.00 9 45.00 4 20.00 0 0.00 0 0.00

4.เอกสารการอบรม 8 40.00 10 50.00 2 10.00 0 0.00 0 0.00

5.วิทยากรผใู้ ห้การอบรมม 11 55.00 7 35.00 2 10.00 0 0.00 0 0.00

6.การจดั กจิ กรรม/โครงการ 9 45.00 10 50.00 1 5.00 0 0.00 0 0.00

7.การบรรยายให้ความรทู้ ีเ่ ก่ียวข้อง 11 55.00 9 45.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

8.การตอบขอ้ ซักถามของวิทยากร 10 50.00 10 50.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

9.การแลกเปล่ียนเรียนรขู้ องผู้เข้ารับการอบรม 7 35.00 13 65.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

10.การสรปุ องค์ความรรู้ ่วมกนั 8 40.00 12 60.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

11.การวดั ผล ประเมินผล การฝกึ อบรม 10 50.00 10 50.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

12.ไดเ้ รียนรู้และฝึกตนเอง เกย่ี วกบั การฝกึ 8 40.00 12 60.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

13.นาความรู้ทไ่ี ดร้ บั มาปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 11 55.00 9 45.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

(1) รวม 115 125 19 00

(2) = (1) Xคะแนนเตม็ ของแตล่ ะชอ่ ง 575 500 57 00

(3) = ผลรวมของความพงึ พอใจ 1132.00

(4) = (3) / จานวนคน 56.60

(5) = (4) X 100/จานวนคน/จานวนข้อXคะแนนเตม็ สูงสุด 87.08

สรุป บรรลุ

22

จากตารางท่ี 6 แสดงว่าผตู้ อบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีระดับความพึงพอใจกับประเด็นที่ประเมิน

ดงั ตอ่ ไปน้ี

ด้านการบริหาร
ประเด็นที่ 1 อาคารและสถานที่ ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 35.00 มีระดับความพึงพอใจ ในระดับ

“มากท่ีสุด” ร้อยละ 40.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 25.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ
“ปานกลาง”

ประเด็นท่ี 2 สิง่ อานวยความสะดวก ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 42.11 มีระดับความพึงพอใจ ในระดับ
“มากที่สุด” ร้อยละ 31.58 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 26.32 มีระดับความพึงพอใจในระดับ
“ปานกลาง”

ประเด็นท่ี 3 กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนนิ โครงการ ผ้ตู อบแบบสอบถาม รอ้ ยละ 35.00 มีระดับ
ความพึงพอใจ ในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 45.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 20.00 มีระดับ
ความพงึ พอใจในระดับ “ปานกลาง”

ประเด็นที่ 4 เอกสารการอบรม ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 40.00 มีระดับความพึงพอใจ ในระดับ
“มากที่สุด” ร้อยละ 50.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 10.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ
“ปานกลาง”

ประเด็นที่ 5 วิทยากรผู้ให้การอบรม ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 55.00 มีระดับความพึงพอใจ ในระดับ
“มากท่ีสุด” ร้อยละ 35.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 10.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ
“ปานกลาง”
ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ประเด็นท่ี 6 การจัดกิจกรรม/โครงการ ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 45.00 มีระดับความพึงพอใจ ใน
ระดบั “มากทส่ี ดุ ” ร้อยละ 50.00 มีระดับความพึงพอใจในระดบั “มาก” ร้อยละ 5.00 มีระดบั ความพงึ พอใจในระดับ
“ปานกลาง”

ประเดน็ ที่ 7 การบรรยายให้ความรู้ท่ีเกี่ยวข้อง ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 55.00 มีระดับความพึงพอใจ
ในระดบั “มากทส่ี ุด” ร้อยละ 45.00 มรี ะดบั ความพึงพอใจในระดบั “มาก”

ประเด็นที่ 8 การตอบข้อซักถามของวิทยากร ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 50.00 มีระดับความพึงพอใจ
ในระดับ “มากทีส่ ุด” รอ้ ยละ 50.00 มีระดับความพงึ พอใจในระดบั “มาก”

ประเดน็ ที่ 9 การแลกเปลี่ยนเรียนร้ขู องผเู้ ขา้ รบั การอบรม ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 35.00 มี
ระดับความพงึ พอใจ ในระดบั “มากทส่ี ุด” ร้อยละ 65.00 มีระดบั ความพงึ พอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นท่ี 10 การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 40.00 มีระดับความพึงพอใจ ใน
ระดับ “มากทสี่ ุด” ร้อยละ 60.00 มีระดบั ความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเดน็ ท่ี 11 การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 50.00 มีระดับความพึง
พอใจ ในระดับ “มากที่สดุ ” รอ้ ยละ 50.00 มรี ะดับความพงึ พอใจในระดบั “มาก”
ดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั

ประเดน็ ที่ 12 ได้เรียนรแู้ ละฝกึ ตนเอง เก่ยี วกบั การฝึก ผตู้ อบแบบสอบถาม รอ้ ยละ 40.00 มรี ะดบั ความพึง
พอใจ ในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 60.00 มรี ะดับความพงึ พอใจในระดบั “มาก”

ประเด็นที่ 13 นาความรู้ท่ีได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 55.00 มีระดับ
ความพึงพอใจ ในระดบั “มากท่ีสดุ ” รอ้ ยละ 45.00 มีระดับความพงึ พอใจในระดบั “มาก”

23

อภปิ รายผล

1. ผตู้ อบแบบสอบถามทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาพ้ืนท่ีภาคตะวันออก
โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผ้สู ูงอายุ เป็นหญงิ จานวน 20 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100

2. ผตู้ อบแบบสอบถามทเี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาพน้ื ที่ภาคตะวันออก
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ ผสู้ ูงอายุ อายุ 60 ปีขนึ้ ไป จานวน 20 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100

3. ผูต้ อบแบบสอบถามทเี่ ข้าร่วมกจิ กรรมการศึกษาเพอื่ พฒั นาพนื้ ทภี่ าคตะวนั ออก
โครงการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผูส้ ูงอายุ อาชพี รบั จา้ ง จานวน 15 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 75 มอี าชีพคา้ ขาย
จานวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25

4. ผ้ตู อบแบบสอบถามทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาพน้ื ที่ภาคตะวนั ออก
โครงการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผสู้ งู อายุ มรี ะดบั ประถมศึกษา จานวน 15 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 75 ระดบั
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25

5. ผลสาเรจ็ ของตัวชว้ี ดั ผลผลติ กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาพื้นทภี่ าคตะวันออก
โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผูส้ ูงอายุ มีผู้เขา้ รว่ มโครงการ จานวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ซง่ึ บรรลุ
เป้าหมายด้านตัวชว้ี ัด ผลผลติ

4. ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมมีความพงึ พอใจต่อการจัดกิจกรรม อยใู่ นระดบั ดี
เม่ือวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่าอาคารและสถานท่ี (ˉx =4.00) สิ่งอานวยความสะดวก (ˉx=4.25) กาหนดการ
และระยะเวลาในการดาเนินโครงการ (ˉx =4.13) เอกสารการอบรม (ˉx=4.31) วิทยากรผู้ให้การอบรม
(ˉx=4.38) การจัดกิจกรรม/โครงการ (ˉx=4.31)การบรรยายให้ความรู้ที่เก่ียวข้อง (ˉx=4.31) การตอบข้อ
ซักถามของวิทยากร (ˉx=4.38 ) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม (ˉx=4.31)การสรุปองค์ความรู้
ร่วมกัน (ˉx=4.31) การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม (ˉx=4.38) ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เกี่ยวกับการฝึก
(ˉx=4.44)
นาความรู้ที่ไดร้ ับมาปรบั ใช้ในชีวิตประจาวัน (ˉx=4.25) เป็นอนั ดบั สุดท้าย
สรุปคา่ ˉx ท้งั 15 ข้อมีความพึงพอใจอยใู่ นระดับดี ˉx = 4.29

สรปุ คา่ S.D. ท้งั 15 ข้อมคี วามพงึ พอใจ S.D. = 0.09
สรปุ ค่าเปอร์เซน็ ต์ ท้งั 13 ข้อมีความพึงพอใจอยู่ที่ 87.07 %
ความพงึ พอใจโดยรวมของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมอย่ใู น ระดบั ดมี าก

24

บทท่ี 5

สรปุ อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะ

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเม่ือจาแนกตามอายุปรากฏว่าเป็นหญิง จานวน 20 คน
คิดเป็นร้อยละ 100 อายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 100 อาชีพรับจ้าง จานวน 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 75 มีอาชีพค้าขาย จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25 มีระดับประถมศึกษา จานวน 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 75 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 25 มีผู้เข้าร่วมโครงการ
จานวน 20 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 ซงึ่ บรรลุเปา้ หมายด้านตัวช้ีวดั ผลผลติ
ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมมคี วามพึงพอใจต่อการจัดกจิ กรรม อยใู่ นระดับ ดี
เม่ือวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่าอาคารและสถานที่ (ˉx =4.00) ส่ิงอานวยความสะดวก (ˉx=4.25)
กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนินโครงการ (ˉx =4.13) เอกสารการอบรม (ˉx=4.31) วิทยากรผู้ให้การ
อบรม (ˉx=4.38) การจัดกิจกรรม/โครงการ (ˉx=4.31)การบรรยายให้ความรู้ท่ีเกี่ยวข้อง (ˉx=4.31) การตอบ
ข้อซักถามของวิทยากร (ˉx=4.38 ) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม (ˉx=4.31)การสรุปองค์ความรู้
ร่วมกัน (ˉx=4.31) การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม (ˉx=4.38) ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เก่ียวกับการฝึก
(ˉx=4.44) นาความรทู้ ไ่ี ด้รบั มาปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั (ˉx=4.25) เปน็ อันดบั สุดท้าย
สรปุ คา่ ˉx ทง้ั 15 ข้อมคี วามพึงพอใจอย่ใู นระดบั ดี ˉx = 4.29
สรุปคา่ S.D. ท้ัง 15 ขอ้ มคี วามพงึ พอใจ S.D. = 0.09
สรุปค่าเปอรเ์ ซ็นต์ ท้ัง 13 ข้อมคี วามพึงพอใจอยู่ที่ 87.07 %
ความพงึ พอใจโดยรวมของผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมอยู่ใน ระดับดมี าก

ประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการอบรม
ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมสามารถรว่ มเป็นจติ อาสารักการแบ่งปัน และรูร้ กั สามัคคีพัฒนาสังคมชมุ ชน

สามารถจัดทาอุปกรณจ์ ากยางยืดสาหรบั การออกกาลงั กายและใช้ยางยดื สาหรบั การออกกาลังกายได้อย่าง
เหมาะสม

ข้อเสนอแนะ
- ผู้เข้าร่วมอบรมต้องการเรยี นรเู้ กีย่ วกับการออกกาลังกาย การเต้นลีลาศ

25

ภาคผนวก

26

โครงการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ผสู้ งู อายุ
วนั พธุ ที่ 29 มิถนุ ายน 2565

ณ รพสต.หวั ถนน หมู่ที่ 1 ตาบลหวั ถนน อาเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี

27

บรรณานกุ รม

การเปลย่ี นแปลงทางกายเม่ือเขา้ สวู่ ยั ผูส้ งู อายุ. (ออนไลน์).แหล่งทม่ี า :
http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/health/prepared/topic002.php
เขา้ ถึงขอ้ มลู วันที่ 10/07/2565

โรคสมองเสื่อม .(ออนไลน์).แหลง่ ทมี่ า https://www.samitivejchinatown.com/th/health-
article/Alzheimer-Signs

เขา้ ถงึ ขอ้ มลู วนั ที่ 10/07/2565
การจัดการ ดูแลตนเอง ลดความเส่ียงโรคไม่ติดต่อ .(ออนไลน)์ .แหล่งที่มา :

http://ssj.stno.moph.go.th/wordpress/wp-content/uploads/2019/11/eBook
เขา้ ถงึ ข้อมลู วันที่ 10/07/2565
โรคซึมเศรา้ ในผู้สูงอายแุ ละการเฝ้าระวัง.(ออนไลน)์ .
แหลง่ ทีม่ า : https://thaidepression.com/www/54/guidebookdepress.pdf
เข้าถงึ ข้อมลู วันท่ี 10/07/2565
บญุ ชม ศรสี ะอาด และบุญสง่ นิลแกว้ .(2535,หนา้ 22-25)การอ้างอิงประชากรเม่ือใช้เครอ่ื งมอื แบบมาตราสว่ น
ประมาณค่า
กบั กลุม่ ตวั อย่าง.วารสารการวดั ผลการศึกษา มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ มหาสารคาม

28

คณะผจู้ ดั ทา

ท่ปี รึกษา หม่นื สา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอพนัสนคิ ม
การงานดี ครู
1. นางณชั ธกญั ศรีเทพ บรรณารกั ษ์ปฏบิ ัติการ
2. นางสาวมุทิกา ทาทอง ครผู ู้ชว่ ย
3. นางปลื้มจติ ร ศรบี ณุ ยะแก้ว ครผู ชู้ ่วย
4. นางพริ ุฬห์พร อุดานนท์ ครูอาสาสมัครฯ
5. นางสาวณภษร
6.นายวชั รินทร์

คณะทางาน เคนรา ครู กศน.ตาบลหัวถนน
นางสาวทวพี ร เคนรา ครู กศน.ตาบลหัวถนน

บรรณาธิการ
นางสาวทวีพร

29


Click to View FlipBook Version