1
2
คาํ นาํ
เอกสารสรุปผลการดําเนินงาน การจัดกิจกรรมการจัดกิจกรรม โครงการอบรมให้ความ
รู้เรื่องการใช้สมุนไพรในชีวิตประจําวัน วันท่ี 17 มิถุนายน 2564 ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านหนองบก
หมู่ท่ี 2 ตําบลหวั ถนน อาํ เภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี จัดทําขึ้นเพื่อสรุปผลสัมฤทธ์ิและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
การจดั กจิ กรรมของ กศน.ตําบลหัวถนน สงั กดั ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัส
นิคม กิจกรรมดังกล่าว ดําเนินการเสร็จสิ้นเรียบร้อย ซึ่งรายละเอียดผลการดําเนินงานต่าง ๆ ตลอดจน
ขอ้ เสนอแนะไดส้ รุป ไว้ในเลม่
ขอขอบคุณ นางณัชธกัญ หมื่นสา ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอพนัสนิคม ตลอดจนเจ้าหน้าท่ี
งานแผนงาน เจา้ หน้าท่ีงานการศึกษาต่อเนื่อง ที่ให้คําแนะนํา คําปรึกษาในการจัดทําเอกสารสรุปและรายงาน
การประเมินโครงการในครั้งน้ี กศน.ตําบลหัวถนนหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารเล่มนี้ คงจะเป็นประโยชน์
สําหรับผู้ที่ต้องการศึกษาหาข้อมูล เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม และหากมีสิ่งหน่ึงสิ่งใดขาดตก
บกพร่อง คณะผู้จดั ทําต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ดว้ ย
กศน.ตําบลหัวถนน
สงั กดั กศน.อําเภอพนัสนคิ ม
สารบญั 3
คํานํา หนา้
บทที่ 1 บทนาํ
บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานที่เกย่ี วขอ้ ง 1
บทท่ี 3 วธิ ีดาํ เนินงาน 5
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 27
บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ 29
36
สรุปผลการดําเนนิ งาน 36
อภปิ รายผล 36
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม 37
ภาคผนวก 38
คณะผจู้ ดั ทํา 41
1
บทท่ี 1
บทนํา
หลกั การและเหตผุ ล
สมุนไพรไทยและการแพทย์แผนไทยเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนไทย เม่ือเกิดอาการเจ็บปุวยใน
ชุมชนหรือครอบครัว จึงมีการนําสมุนไพรมาใช้ในการรักษาเบื้องต้น เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปุวยโดยอาศัยภูมิ
ปัญญาไทยพื้นบ้านที่สืบทอดกันมา และปัจจุบันมีการรักษาแบบแพทย์ทางเลือกหรือที่เรียกกันว่า แพทย์แผน
ไทย มกี ารนํายาสมุนไพรมารักษาโรคต่างๆควบคู่กับการรักษาแบบแพทย์แผนปัจจุบัน และประชาชนให้ความ
สนใจเรอื่ งการใชย้ าสมนุ ไพร ในการดูแลรักษาสขุ ภาพมากขึ้น มกี ารปลูกพืชสมุนไพรไวใ้ ช้ในครัวเรือน จากช่วง
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) สาธารณสุขได้ออกมาให้ความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรไทย
อยา่ งเชน่ ขงิ และฟูาทะลายโจรจากผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดล พบว่าฟูาทะลายโจรสามารถยับย้ังการ
แบง่ ตวั ของเช้อื ไวรสั ได้
จากเหตุผลดังกล่าว กศน.ตําบลหวั ถนน สงั กัด ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
อําเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี จึงไดจ้ ดั ทําโครงการอบรมให้ความรูเ้ ร่ืองการใช้สมนุ ไพรในชีวติ ประจาํ วนั ขน้ึ
วตั ถปุ ระสงค์
1 เพอ่ื ใหผ้ ู้อบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจเร่ืองการใชส้ มนุ ไพรในชวี ติ ประจําวนั
2 เพ่อื ให้ผอู้ บรมนําความรู้ท่ีได้รบั มาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาํ วันได้
เปาู หมายการดาํ เนนิ งาน
1 เปาู หมายเชงิ ปรมิ าณ
ประชาชนตําบลหัวถนน จํานวน 17 คน
2 เปาู หมายเชงิ คณุ ภาพ
5.2.1 เพ่ือใหผ้ ู้อบรมมีความรู้ ความเข้าใจเร่ืองการใช้สมุนไพรในชวี ิตประจําวนั
5.2.2 เพือ่ ให้ผู้อบรมนําความรทู้ ีไ่ ด้รบั มาปรบั ใช้ในชวี ิตประจําวันได้
2
6. วธิ กี ารดาํ เนนิ การ
กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปาู หมาย เปาู หมาย พน้ื ทด่ี าํ เนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ
ครู กศน.ตําบล 1 คน กศน.ตาํ บล 31 พ.ค.64 -
1.ขน้ั วางแผน (Plan) เพือ่ เตรียมความพรอ้ ม
ประชาชน หัวถนน
1.1 ประชมุ วางแผนชีแ้ จงการ ในการดําเนินโครงการ ตาํ บล
หัวถนน
ปฏิบัติงาน
ครู กศน.ตําบล
1.2 ประสานเครอื ขา่ ย/จัดหา
ครู กศน.ตําบล
สถานที่
1.3 เตรยี มสื่อเอกสารและวสั ดุ
1.4 จัดทําโครงการ/หลกั สูตร
และการอนมุ ตั หิ ลักสตู ร
2.ขั้นดาํ เนนิ การ (Do) 1. เพื่อใหผ้ ู้อบรมมี 17 คน ศาลา 17 ม.ิ ย. 64 งบดาํ เนินงาน
จัดโครงการอบรมให้ความรู้ ความรู้ ความเขา้ ใจเรื่อง อเนกประสงค์ การศึกษาเพอ่ื
เรื่องการใช้สมุนไพรใน การใชส้ มนุ ไพรใน บา้ นหนองบก พฒั นาทกั ษะ
ชีวติ ประจาํ วัน ชีวติ ประจําวนั หมู่ 2 ชีวติ
2.เพอ่ื ใหผ้ อู้ บรมนํา จํานวน
ความรู้ทไ่ี ด้รบั มาปรบั ใช้ 1,840.-บาท
ในชีวติ ประจําวันได้
3. ประเมินโครงการ(Check) 1.เพอื่ ศึกษาความ 1 คน กศน.ตําบล -
หัวถนน 16 ม.ิ ย. 64
3.1 ประเมินกอ่ นดําเนิน เป็นไปได้
โครงการ 2.เพอ่ื ศึกษา
3.2 ประเมนิ ระหวา่ งดําเนิน ความกา้ วหน้าของ 17 มิ.ย. 64
โครงการ โครงการ
3.3ประเมินหลังเสรจ็ สิ้น 3.เพ่ือศกึ ษาความสาํ เร็จ
โครงการ ของโครงการ 18 ม.ิ ย. 64
1.เพ่ือศึกษาความเป็นไปได้
2.เพอ่ื ศึกษาความกา้ วหน้า
ของโครงการ
3.เพื่อศึกษาความสําเรจ็ ของ
โครงการ
4.ขั้นปรบั ปรุงแกไ้ ข (Action) เพือ่ นําผลการประเมนิ 1 คน กศน.ตาํ บล 18 - 20 -
4.1ประชุมคณะกรรมการ มาใชใ้ นการปรับปรงุ หัวถนน มิ.ย. 64
โครงการเพอื่ สรุปผลการ และพัฒนาโครงการ
ดําเนนิ งานโครงการ อบรมใหค้ วามรู้เร่ือง
4.2นําผลการดาํ เนินโครงการ การใชส้ มนุ ไพรใน
ไปปรบั ปรงุ และพฒั นา ชวี ิตประจําวัน
โครงการ
3
7. วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ
โดยใชเ้ งินงบประมาณประจําปี 2564 แผนงานพ้ืนฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ ง
ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ งบดาํ เนนิ งาน กจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ กศน.ตําบลหวั ถนน
จํานวน 1,840.-บาท (-หนึง่ พันแปดร้อยสสี่ ิบบาทถว้ น-)
ท่ี รายการ จาํ นวน ราคา:หนว่ ย จาํ นวนเงนิ หมายเหตุ
คน (บาท)
1 คา่ ตอบแทนวิทยากร 1 คน 400.-บาท 1,200.-บาท 1 คน x 400 บาท x 3 ชม.
2 คา่ วสั ดุ - - 640.-บาท
รวมทง้ั สน้ิ 1,840.-บาท
8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ เปน็ รายไตรมาส
กจิ กรรมหลกั ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4
(เม.ย.-ม.ิ ย. พ.ศ.2564) (ก.ค.-ก.ย. พ.ศ. 2564)
(ต.ค.-ธ.ค. พ.ศ.2563) (ม.ค.-ม.ี ค. พ.ศ. 2564)
1,840.- -
1.การอบรม - -
2.กระบวนการ
แลกเปล่ยี นเรียนรู้
9. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
9.1 นายวัชรินทร์ อุดานนท์ ตาํ แหน่ง ครู อาสาสมัคร กศน.
9.2 นางสาวทวีพร เคนรํา ตําแหนง่ ครู กศน.ตาํ บลหัวถนน
10. เครอื ขา่ ย
10.1 เทศบาลตําบลหัวถนน
10.2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บลหัวถนน ตําบลหวั ถนน อาํ เภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
11. โครงการทเี่ กีย่ วขอ้ ง
11.1 โครงการพัฒนาระบบฐานขอ้ มูลภาคีเครือข่าย
11.2 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยจังหวัดชลบุรี
11.3 โครงการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต
12. ผลลพั ธ์ (Out come)
ผ้เู ขา้ รับการอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจเรื่องการใชส้ มุนไพรในชีวิตประจาํ วัน แยกประเภทของยา
สมนุ ไพรแตล่ ะชนดิ ในการรักษาโรคได้ สามารถนําความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจาํ วันได้
4
13. ดชั นตี วั ชว้ี ดั ผลสาํ เรจ็ ของโครงการ
13.1 ตวั ชวี้ ดั ผลผลติ (Output)
ร้อยละ 80 ของผูเ้ ขา้ รบั การอบรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเรื่องการใช้สมุนไพรในชวี ติ ประจําวนั แยก
ประเภทของยาสมุนไพรแต่ละชนดิ ในการรกั ษาโรค สามารถนาํ ความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ประจําวนั ได้
13.2 ตวั ชว้ี ดั ผลลพั ธ์ (Outcome)
รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ขา้ รับการอบรม นําความรู้ที่ไดร้ บั มาปรับใช้ในชวี ติ ประจาํ วันได้
14. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ
14.1 ประเมินกอ่ นดําเนนิ โครงการเพ่ือศึกษาความเปน็ ไปได้ของโครงการ
14.2 ประเมินระหวา่ งดาํ เนนิ โครงการเพือ่ ศึกษาความกา้ วหน้าของโครงการ
14.3 ประเมินหลังเสร็จส้ินโครงการเพ่ือศึกษาความสาํ เร็จของโครงการ
5
บทท่ี 2
เอกสารการศกึ ษาและรายงานที่เกยี่ วขอ้ ง
โครงการอบรมใหค้ วามรเู้ รื่องการใชส้ มนุ ไพรในชวี ติ ประจาํ วนั
ในการจัดทาํ สรุปผลโครงการอบรมให้ความรเู้ ร่อื งการใชส้ มุนไพรในชีวิตประจําวนั
ครง้ั นคี้ ณะผู้จัดทาํ โครงการได้ทาํ การคน้ ควา้ เน้อื หาเอกสารการศึกษาและงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้อง ดงั น้ี
1. กรอบการจดั กิจกรรมการโครงการ
2. เอกสาร/งานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง
นโยบายเรง่ ดว่ นเพ่ือรว่ มขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
ภารกจิ ตอ่ เนือ่ ง
1.3 การศึกษาตอ่ เนอื่ ง
2) จัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ ใหก้ บั ทกุ กล่มุ เปูาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ี
สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเปูาหมายมีทักษะการดํารงชีวิต
ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้
อยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจํา วันได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และเตรยี มพร้อมสาํ หรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี
สมยั ใหมใ่ นอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่ีมีเน้ือหาสําคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพื่อการปูอง
การการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต
การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การปูองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมที่พึง
ประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ
ชวี ติ การจดั ต้ังชมรม/ชุมนุม การอบรมส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ เปน็ ต้น
ผจู้ ดั ทาํ โครงการได้ทาํ การคน้ ควา้ เน้อื หาเอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ดงั นี้
1. ความหมายของ“สมุนไพรไทย”
2. สรรพคณุ ของสมนุ ไพรไทย
3. วตั ถปุ ระสงค์ของการพฒั นาสมุนไพร
4. การแปรรูปสมนุ ไพรตามมาตรฐาน GMP
5. วธิ ีการจดั จําหนา่ ยและชอ่ งทางการตลาด
6
ความหมายของ“สมนุ ไพรไทย”
เป็นสง่ิ ท่ีทรงคุณคา่ จากรนุ่ สู่รุ่น เปน็ สง่ิ ที่ให้
ประโยชนก์ ับรา่ งกายของเราทั้งในเรอื่ งของการบํารุงรักษา
สขุ ภาพ และการรกั ษาโรค เปน็ ของใกล้ตัวท่เี ราหาได้งา่ ย
การที่เรารับประทานสมุนไพร ในปริมาณท่ีพอเหมาะ และ
รับประทานเป็นประจําจะทาํ ใหร้ ่ายกายของเราดีข้ึน โดยที่
ไมต่ ้องเจ็บปวุ ยจนต้องไปหาหมอบ่อยๆ หรือต้องไป
จ่ายเงนิ เข้าคอร์สโดยไมส่ มควร เพียงแตเ่ ราร้จู กั เห็นคณุ คา่ ของสิ่งใกลต้ ัว รู้จัก
ประโยชนข์ องสมนุ ไพรไทย
ปัจจุบันเรื่องโรคภัยไข้เจ็บและการดูแลสุขภาพนับเป็นเรื่องที่สําคัญ หลายคนให้ความสนใจ
ทั้งเรื่องอาหารการกิน การออกกําลังกาย และการบํารุงร่างกายด้วยการรับประทานอาหารเสริม เพียงเพราะ
หวังว่าจะให้ร่างกายของตนเองไม่ต้องเจ็บปุวยจนถูกหามส่งโรงพยาบาล บางคนต้องเสียเงินเจ็ดแปดหลักกับ
การหาซ้ือผลิตภัณฑ์ต่างๆ มาดูแลสุขภาพของตนเอง จนบางครั้งเราเองก็ลืมมองของใกล้ตัวไปว่ามันสามารถ
ช่วยเหลืออะไรเราได้บ้าง เพราะบางครั้งของใกล้ตัวที่เรามองว่าไม่น่าจะมีประโยชน์ แต่ความจริงแล้วน้ันมัน
อาจสรา้ งประโยชน์ใหก้ ับเราอยา่ งไมค่ าดคดิ ก็เปน็ ได้
สรรพคณุ ของสมนุ ไพรไทย
ของใกล้ตัวอย่าง “สมุนไพรไทย” นับเป็นสิ่งหนึ่งที่ทรงคุณค่า เพราะไม่ว่าจะกี่ยุคก่ีสมัย ชื่อเสียงของ
สมุนไพรไทยก็ยงั คงกระฉ่อนมาโดยตลอด ด้วยเพราะสรรพคุณและประโยชน์ของสมุนไพรไทยท่ีมีค่านับอนันต์
จึงทําให้ไม่ว่าจะคนยุคไหนสมัยไหนก็ยังคงรู้จักสมุนไพรไทย ช่ือเสียงของสมุนไพรไทยน้ันมิได้เพียงจะปรากฏ
กันแต่ในหมู่คนไทยอย่างเราๆ เท่าน้ัน แต่ชาวต่างชาติที่ได้ศึกษาถึงสรรพคุณของสมุนไพรไทยนั้นก็ให้ความ
สนใจไม่แพ้สมุนไพรดีๆ จากของจีนกันเลยทีเดียว ปัจจุบันสมุนไพรถูกนํามาประยุกต์ใช้ในหลายรูปแบบ ย่อม
เป็นส่ิงที่แสดงให้เราเห็นว่าสมุนไพรไทยน้ันมีคุณค่ามาก ซ่ึงประโยชน์ของสมุนไพรที่เราควรจะรู้ เพ่ือสามารถ
นําไปใชป้ ระโยชน์ใหไ้ ด้มากทีส่ ุด ให้สมกบั ทีค่ นในร่นุ ปูรุ ุ่นย่าได้ถา่ ยทอดมาสรู่ ุน่ ลูกหลานอย่างเรา
7
สรรพคณุ -ประโยชนข์ องสมนุ ไพรท่โี ดดเดน่
1. ประโยชนข์ องสมุนไพรไทยนาํ มาสกดั เปน็ นาํ้ มนั หอมระเหย เปน็ ทรี่ ู้กนั ดีอยู่แล้ววา่ สมุนไพรไทยมักมี
กล่ินที่แรง หรือออกจะฉุนสักหน่อยหากเรานําแบบสดๆ มาดม เน่ืองจากสมุนไพรไทยเป็นพืชท่ีมีน้ํามันหอม
ระเหยอยู่ในตัว จึงทําให้เราได้กล่ินท่ีค่อนข้างแรง แต่สมองอันชาญฉลาดของคนไทยก็ สามารถสร้างประโยชน์
จากคณุ สมบตั ิขอ้ นีข้ องสมนุ ไพรไทยได้ โดยการนํามาสกดั เอาน้าํ มนั หอมระเหยจากสมุนไพร ซ่ึงจะมีกล่ินท่ีหอม
แบบไทยแต่ไม่กล่ินแรงเท่าของจริง ปัจจุบันเราจึงพบสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ ท่ีมีส่วนประกอบของน้ํามัน
หอมระเหยของสมนุ ไพรไทย เช่น นา้ํ มันตะไครห้ อม นาํ้ มนั ไพล แชมพูมะกรูด เคร่ืองสําอางประเภทต่างๆ ครีม
บํารุงหรือเจล และสารไล่
แมลง จากท่ีกล่าวมาจะ
เห็นว่าเพียงแค่นํานํ้ามัน
ห อ ม ร ะ เ ห ย ที่ มี อ ยู่ ใ น
สมุนไพรไทยมาสร้างสรรค์
เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ก็มี
มากมายหลายชนิด ซ่ึง
กล่ินก็ถูกกับจริตคนไทย
อย่างเราๆ ดว้ ย
2. ประโยชน์ของสมุนไพรไทยใช้เป็นยารับประทานรักษาโรค ไม่ใช่เพียงแค่กล่ินท่ีหอมจากสมุนไพร
ไทยเท่านั้นท่เี ปน็ ประโยชน์ ตวั สมนุ ไพรไทยเองกม็ ีคุณคา่ มากพอสมควร สิ่งหนึ่งท่ีหลงลืมไปไม่ได้เลยคือ การใช้
เปน็ ยารบั ประทานรักษาโรคต่างๆ นน่ั เอง เพราะเราจะสังเกตได้ว่า คนในสมัยก่อนแทบจะไม่ต้องไปหาหมอกัน
เลยทีเดียว เน่ืองจากในสมัยก่อนน้ันคนก็มักนิยมปลูกพืชผักและสมุนไพรเอาไว้กินใช้กันในครัวเรือนอย่างเป็น
ปกติ จงึ เปน็ ยารักษาโรคชั้นดีที่ไมต่ ้องไปซ้อื หาให้เสียเงินเสียทองและเสียเวลา นอกจากการรับประทานเป็นยา
รักษาโรคแล้วนั้น การรับประทานต้ังแต่ตอนท่ียังไม่ได้เจ็บปุวยก็เป็นการปูองกันโรคไปในตัวอีกด้วย นับว่า
รับประทานเข้าไปอย่างไรก็เกิดผลดี ได้ประโยชน์เป็นสองเท่า นอกจากสามารถใช้เป็นยารักษาโรคแล้วนั้น ยัง
สามารถปูองกันโรคได้อีกด้วย จึงไม่น่าแปลกใจเลยว่าทําไมคนสมัยก่อนถึงมีอายุที่ยืนยาวและไม่เจ็บปุวยเป็น
โรคแปลกๆ แบบในปัจจุบนั
3. ประโยชน์ของสมุนไพรไทยใช้เป็นยาทาภายนอกนอก จากจะใช้รับประทานเป็นยารักษาโรค
ต่างๆ สมุนไพรไทยยังสามารถใช้เป็นยารักษาภายนอกได้อีกด้วย จะเป็นแผลเล็กแผลน้อย คันตาม
ผวิ หนัง สมนุ ไพรไทยกช็ ว่ ยคุณได้ เน่ืองจากสมนุ ไพรไทยบางชนิดมีฤทธิ์เย็น จึงสามารถที่จะช่วยสมานบาดแผล
ได้ดี ลดอาการอักเสบของบาดแผล จึงทําให้แผลเราไม่อักเสบ บวมแดงหรือติดเชื้อนั่นเอง เพียงแค่คุณนํา
สมุนไพรมาบด หั่น หรือฝานบางๆ แล้วนํามาวางหรือทาถูๆ เท่านั้น ก็สามารถช่วยให้แผลสด แผลเป่ือยของ
คุณดขี น้ึ และหายเร็วขน้ึ โดยไม่ตอ้ งไปรักษาทีโ่ รงพยาบาลให้ต้องเปลืองค่าน้ํามันรถ
8
4. ประโยชน์ของสมุนไพรไทยนํามาทําเป็นอาหารและเคร่ืองดื่มเพื่อสุขภาพได้ เรารู้กันดีอยู่แล้วว่า
สมุนไพรมันรับประทานได้ ดังน้ันแน่นอนว่าประโยชน์ข้อหน่ึงของสมุนไพรไทยนั้นคือ การใช้รับประทานเป็น
อาหารหรือเครื่องด่ืม แต่ว่ากลิ่นกับรสชาตินี่สิ อาจจะต้องกลํ้ากลืนฝืนทนสักหน่อย เพราะส่วนใหญ่มักมีรสขม
เฝ่ือน และมีกล่ินที่ฉุน คนท่ีไม่ชอบก็ไม่อยากจะ
รับประทานสักเท่าไร แม้จะรู้ว่ามัน มีประโยชน์ต่ อสุข
ภาพมากก็ตาม แต่การนํามาสกัดหรือนํามาแปรรูป
เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ก็อาจจะช่วยให้เรารับประทาน
สมุนไพรไทยได้ง่ายขึ้น แต่อาจจะได้คุณค่าไม่เท่ากับ
การรับประทานสด แต่ก็ต่างกันไม่มากนัก ดังน้ัน
ปัจจุบันเราจึงพบอาหารและเครื่องดื่มที่สกัดมาจาก
สมุนไพรไทยใหเ้ ราเลือกรับประทานเป็นจาํ นวนมาก
สมุนไพรท่นี าํ มาเปน็ ยาตามภมู ิปญั ญาดง้ั เดมิ มรี ปู แบบ ดงั น้ี
1.ยาตม้ เป็นการสกดั ยาออกมาจากไมย้ าด้วยน้าํ ร้อน เป็นวธิ ที ่ีนยิ มใชม้ ากท่สี ุด ใชก้ ับส่วนของเนื้อไมท้ ่ี
แนน่ และแข็ง เช่น ลําตน้ และราก ซงึ่ จะต้องใช้การต้มจึงจะได้ตวั ยาท่เี ปน็ สารสาํ คัญออกมา
ข้อดขี องการตม้ คอื สะอาด ปลอดจากเชอื้ โรค มี 3 ลกั ษณะ
- การต้มกินตา่ งนา้ํ คอื การตม้ ให้เดือดก่อนแล้วต้มด้วยไฟออ่ นๆอีก 10 นาที หลังจากน้นั นาํ มากนิ แทนนาํ้
- การตม้ เคยี่ ว คือ การตม้ ใหเ้ ดือดอ่อนๆ ใชเ้ วลาตม้ 20-30 นาที
- การตม้ 3 เอา1 คือ การต้มจากนํ้า 3 ส่วน ใหเ้ หลือเพียง 1 ส่วน ใชเ้ วลาต้ม 30-45นาที
2.ยาชง เปน็ การสกดั ตัวยาดว้ ยนาํ้ ร้อน ใช้กบั ส่วนที่บอบบาง เชน่ ใบ ดอก ที่ไม่ต้องการโดนนาํ้ เดือด
นานๆตัวยากอ็ อกมาได้ วธิ ีการชง คือ ใหน้ าํ ยาใส่แกว้ เติมน้ําร้อนจัดลงไป ปิดฝาแกว้ ทงิ้ ไว้จนเย็น ลักษณะนีเ้ ป็น
การปล่อยตัวยาออกมาเต็มท่ี
3. ยานาํ้ มนั ตัวยาบางชนดิ ไม่ยอยละลายนา้ํ แม้ว่าจะตม้ เคี่ยวแล้วก็ตาม สว่ นใหญ่ยาที่ละลายนาํ้ จะ
ไมล่ ะลายในน้ํามันเชน่ กนั จึงใชน้ํามนั สกัดยาแทน แต่เน่อื งจากยานํ้ามันทาแลว้ เหนียว เหนอะหนะ เป้ือน
เส้อื ผา้ จึงไมน่ ิยมปรุงใช้กัน
4.ยาดองเหลา้ เป็นการใชก้ ับตวั ยาท่ีไมล่ ะลายนา้ํ แตล่ ะลายได้ดีในเหล้า ยาดองเหลา้ มักมกี ลน่ิ แรง
กว่ายาตม้ เนอ่ื งจากเหล้ามีกล่ินฉุน และหากกนิ บ่อยๆอาจทําให้ติดได้ จึงไมน่ ยิ มกนิ กัน จะใช้ตอ่ เมื่อกนิ ยาเมด็
หรอื ยาตม้ แลว้ ไม่ได้ผล
5.ยาตม้ คนั้ เอานา้ํ เปน็ การนําเอาส่วนของตน้ ไม้ท่มี ีนา้ํ มากๆอ่อนนุ่ม ตาํ แหลกง่าย เช่น ใบ หวั หรอื
เหงา้ นํามาตําให้ละเอยี ด และคัน้ เอาแตน่ ้าํ ออกมา ยาประเภทน้กี ินมากไม่ได้เชน่ กนั เพราะนํ้ายาทไ่ี ดจ้ ะมีกลิน่
และรสชาติท่รี ุนแรง ตวั ยาเข้มข้นมาก ยากท่ีจะกลนื เข้าไปที่เดียว ฉะน้นั กินครง้ั ละหน่ึงถ้วยชาก็พอแล้ว
9
6.ยาผง เป็นการนาํ ยาไปอบหรือ
ตากแห้งแลว้ บดให้เปน็ ผง ยาทเี่ ป็นผง
ละเอียดมากยง่ิ มีสรรพคุณดี เพราะจะถูกดดู
ซึมสลู่ าํ ไสง้ า่ ย จงึ เข้าสูร้ ่างกายไดร้ วดเร็ว ยา
ผงชนดิ ใดทีก่ ินยากกจ็ ะใช้ปน้ั เปน็ เม็ดท่ี
เรยี กวา่ "ยาลูกกลอน" โดยใชน้ ้ําเชื่อม
,นาํ้ ข้าวหรือนํ้าผง้ึ เพื่อใหต้ ิดกันเปน็ เม็ด สว่ น
ใหญ่นิยมใช้น้าํ ผ้งึ เพราะสามารถเกบ็ ไว้ได้
นานโดยไมข่ ้นึ รา
7.ยาฝน เปน็ วธิ กี ารทหี่ มอพ้ืนบา้ นนยิ มกันมากวิธกี ารฝน คอื หาภาชนะใสน่ ํา้ สะอาดประมาณ
คร่งึ หนึง่ แลว้ นาํ หินลับมีดเล็กๆจมุ่ ลงไปในหินโผลเ่ หนอื น้าํ เลก็ นอ้ ย ฝนจนได้นาํ้ ยาสีขุ่นเลก็ นอ้ ยกิน
ครั้งละ 1 แกว้ สมนุ ไพรถูกนํามาใช้สารพัดประโยชน์ และถูกแปรรูปออกมาในแบบต่างๆ สง่ิ สําคัญทส่ี ดุ ของ
การแปรรปู สมุนไพร คือ การปรุงยา
วตั ถุประสงค์ของการพัฒนาสมุนไพร
1. ความจําเป็นพื้นฐาน“ช่วงสงครามไม่มียาใช้ สมัยรัฐจอมพล ป. พิบูลสงคราม เราจําเป็นต้องผลิต
สมุนไรไทยให้มากขน้ึ เราไมม่ ียาต่างประเทศเพยี งพอ”
2. ลดดุลการค้า“ใช้สมุนไพรไทยทดแทนยาจากต่างประเทศ ช่วงวิกฤตเศรษฐ์กิจต้มยํากุ้ง พญายอ
แทนยาตา่ งประเทศ รกั ษาเรมิ , งสู วัดพญายอต้นทุน 10 บาท ยาต่างประเทศหลอดละ 30 บาท”
3. พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย ตอบสนองต่อความต้องการ“นอกจากยาแล้วยังเป็น
เครอื่ งดืม่ ต้องตกลงกบั หมอในโรงพยาบาล เอาสมุนไพรมาใช้ ทกุ คนตกลงเพราะว่าการเงินของโรงพยาบาลอยู่
ในช่วงวิกฤต แต่บางกลุ่มก็ยังไม่ยอมรับ โดยผลิตเคร่ืองด่ืม มะขามปูอม หว่านหาง สมอไทย อันชัน มะตูม
ลูกยอ เป็นตัวนําร่องมาก่อน เวลาประชุม ไม่ใช่นํ้ากาแฟ เปลี่ยนเป็นนํ้าสมุนไพร พอเขาติดใจรสชาติ เขาก็
อยากเอามาใช้ ท้ังยงั ไปแจกงานต่างๆ งานกาชาด แจกผ้ใู หญเ่ พอ่ื ดงึ คนเขามาให้รจู้ ักอภยั ภูเบศร”
4. สรา้ งความเขม้ แขง็ ให้ชมุ ชน“ชว่ งแรกไม่คอ่ ยมคี นสนใจเทา่ ไหร่ เดิมปลูกตน้ ไม้สวยงาม ถามว่าจะได้
เงนิ เพิ่มข้นึ ไหม เรากบ็ อกเขาว่า เรามาเรียนรู้ด้วยกัน เขาปลูกเรารับซื้อ ใช้นักวิชาการให้ความรู้แก่เขา ใช้เวลา
อย่างน้อย2 ปี ต้องปรับเปล่ียนสภาพพ้ืนที่ มีน้อยคนท่ีจะยอมหันมาทําเกษตรอินทรีย์ แต่หลังจากเห็น
ครอบครัวที่ทําประสบความสําเร็จก็หันมาทํากันมากข้ึน ทําไปทํามาไปตายเพราะเกิดปัญหาปุ๋ยที่ไปซื้อเค้า
ไม่ได้ผลิตเอง เราจะอยู่ได้ครบวงจรต้องผลิตเอง ทั้งปุ๋ย ท้ังยาฆ่าแมลง สร้างโครงการสีเขียว ทุกวันนี้มีท้ัง
ภาคเหนือ กลางใต้ อีสาน 10กว่าจังหวดั ”
5. พฒั นาผลติ ภัณฑ์สู่สากลผลิต“ตัวแรกไปขายต่างประเทศคือ ยอ ท่ีประเทศออสเตรเลีย กระทิงแดง
กไ็ ปเป็นท่ีแรก เพราะเขา้ งา่ ย หากเข้าไดไ้ ปแถบEUไดห้ มด”
10
6. เสริมการแพทย์กระแสหลัก“คนเรา
เจ็บปุวยเพราะอาหารการกิน การอยู่ อาหารให้
ครบ 5 หมู่ ตํารับไทยบอกว่าให้กินข้าวกล้องเป็น
หลัก กินผักผลไม้หลากสี หลากรส กินปลา ไม่ให้
กินซํา้ เปล่ยี นไปตามฤดูกาล ใจสงบไมเ่ ครียด ออก
กําลังกาย เครียดไม่สงบก็เป็นเบาหวานได้ น้ําไม่
พอทําให้เกิดปัญญาระบบทางเดิน สูดอากาศไม่
บริสุทธิ์ ระบบประสาท ระบบหายใจ ไหลเวียน
โลหิต ธาตุไฟคือชีวิต หากไม่สมดุล ระบบตับ ไหลเวียนไม่ดี เราปุวย เพราะธาตุ4 ขาดความสมดุล ขาด
ความสัมพันธ์ คือหลักทั่วๆไป ส่วนวิทยาศาสตร์บอกว่า ปุวยเพราะเนื่องจากภูมิคุ้มกันบกพร่อง อนุมูลอิสระมี
มาก เราไมส่ ามารถทาํ ลายได้ ทางตะวันตกบอกวา่ ทเี่ ราปวุ ยเพราะมีเชื้อเข้าไป แต่จริงๆแล้วเช้ือในร่างกายเรามี
เช้อื อยู่แลว้ ในลําไส้ ในปาก เต็มไปหมด ทําไมเราไม่ปุวย ที่ไม่ปุวยเพราะเรามีภูมิคุ้มกันดี สมุนไพรไปช่วยเพ่ิม
ภูมิค้มุ กนั ได้ และถ้าเราจิตใจสงบด้วย สุขภาพก็จะดี สมุนไพรส่วนใหญ่มีตัวต้านอนุมูลอิสระ ยาแก้ไออภัยภูเบ
ศร มีงานวิจัย ไปเสนอโปรตุเกสได้ผลดี ปีพ.ศ.2526 รามาวิจัยเสนออเมริกา พะยายอแก้เริม,งูสวัด ไปรักษา
โรคมะเรง็ ลําคอ มีตีพมิ พใ์ นวารสาร”
การควบคมุ คณุ ภาพ
“มาตราหลักคือ 2G ได้แก่ GAP(Good Agricultural Practices), GHP Good Hygiene
Practices ส่ิง สําคัญคอื เเหล่งปลกู ดิน กรด ดา่ ง ภูมอิ ากาศ นํ้า ต้องลงไปตรวจตั้งแต่ต้น พันธุ์พืชต้องเป็นพันธ์ุ
ท่ีใหส้ าระสาํ คญั มาก อยา่ งขม้ินทางใต้ เปล้านอ้ ยของหัวหิน หรือประจวบคีรีขันธ์ ปุ๋ยเป็นส่ิงสําคัญมาก ต้องทํา
เองป๋ยุ มลู สตั ว์ หรือชีวภาพก็ได้ เกษตรอินทรีย์ถ้าไม่ทําเองจะหมดเงินสารกําจัดศัตรูพืชต้องเป็นสารอินทรีย์ ใช้
สะเดา หางไหล เก็บเก่ียวให้ได้สาระสําคัญมาก จัดการตั้งแต่ปลูก ปราศจากศัตรูพืชและจุลินทรีย์ รับรองโดย
สมาพนั ธ์เกษตรอนิ ทรีย์นานาชาติ”
11
การแปรรูปสมนุ ไพรตามมาตรฐาน GMP
“เป็นระบบปิด นําสมุนไพรมาตากแดด ก่อนเอามาอบให้แห้งเพื่อความมั่นใจ เอามาเก็บใส่ถุง ติดสลากให้ดีว่า
เก็บเมื่อไหร่ เก็บให้ดีไม่ให้ปนเปื้อนมลภาวะใส่สารกันชื้น ส่งไปอาบรังสี ต้องกักเก็บไว้ตรวจสอบ 7-15 วัน 5-
8%ของสินค้าเก็บไว้ทุกล็อต สุ่มมาเก็บ เพ่ือให้แน่ใจว่า สินค้าอยู่ได้ตามshelf life ในโรงงานต้องแต่งกาย
เหมือนชุดอวกาศ สามารถแวะเยี่ยมชมโรงงานได้ อภัยภูเบศรออกนิทรรศการต่างประเทศทุกๆปี ท้ังทาง
ตะวันตก และตะวันออก เราต้องไปเรียนรปู้ ระเทศอน่ื เขาทาํ อะไรมั่ง ญปี่ ุนไปทุกปี ญี่ปุนเป็นเรื่องของความงาม
มากกว่า สบู่ของอภัยภูเบศรไปดังท่ีญ่ีปุน คนญ่ีปุนมาไทยต้องห้ิวสบู่ไป จนต้องมีมาตรการห้ามห้ิวกลับไปเกิน
คนละ 2 โหล”“มีอีกส่วนท่ี อย.ไม่ยอมผ่าน ที่เอามาต้มแล้ว spray dry เนื่องจากผงที่ออกมายังไม่มี
สาระสําคัญสมํ่าเสมอ ต้องไปทําวิจัยเพ่ิมเติม จริงๆก็ทําได้ใช้กับคน1000 ราย ใช้เวลา 2 ปี ถ้าจะผลิตสินค้า
ขายทางยุโรปจําเป็นต้องผ่าน EU รับรองมาตรฐาน ต้องเป็นคนท่ีจบจาก EU หรือเป็นบริษัทท่ีEUรับรอง ซึ่ง
ค่อนขา้ งโหด ผลติ ภณั ฑ์ต้องเอามาสุ่มตรวจ ถ้าไม่ผ่านต้อง reject หมด เวลาท่ีจะทําลายทิ้งต้องเชิญสรรพากร
มาตรวจสอบกอ่ นว่ามเี ทา่ ไหร่จะได้ไม่ต้อง เสยี ภาษสี ว่ นนนั้ ถ้าสร้างโรงงานใหม่ ควรออกแบบแล้วส่งไปให้ อย.
ตรวจสอบก่อน พื้นท่ีใช้ flow ให้ได้มาตรฐาน ถ้าทําไปแล้วต้องมาแก้ทีหลังจะเสียเงินมาก สมุนไพรหลักๆ ยา
ร้อน ยาเย็น ในบัญชี 71 อย่างที่สามารถผลิตได้ ไม่สามารถบอกว่ารักษาโรคได้ บอกได้แค่บรรเทาโรค ทาง
อนิ เดยี มผี ลงานวจิ ัยมาก ผลงานวจิ ยั มี อย.กไ็ ม่เชื่อ ตอ้ งเอามาทาํ เอง สามารถทํากับมหาวิทยาลัยต่างๆ หากจะ
ทําวจิ ยั จะต้องเขียนสัญญาให้ครบถ้วน ให้รัดกุมว่าผลงานเป็นของใคร บางทีพอวิจัยออกมาแล้วเราไม่สามารถ
นําผลงานมาใช้ได้”
การผลติ ของอภยั ภเู บศร
1. ใช้supplier ที่ผา่ น GMP
2. ผลิตเอง
3.ประเภทของสนิ ค้า
4. เครอื่ งสําอาง
5. อาหารเสริม
6. ยาแผนโบราณ
7. อาหาร
12
ตวั อยา่ งสมนุ ไพรทน่ี าํ มาใชร้ กั ษาโรค
1. ระบบไหลเวียนโลหิต อภัยภูเบศรผลิต 4 ตัว ยาหอมทพิ โอสถ, เทพจติ , นวโกฐ, อนิ ทจกั ร์
2. ธาตเุ หล็กบาํ รงุ โลหติ ได้แก่ ยอ มะขามปูอม รักษากล้ามเน้ือ และกระดูกแก้ ไดแ้ กเ่ ถาวัลยเ์ ปรียง
ครีมพริก นา้ํ มันไพล
3. ระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ ขมิน้ ชนั แก้ท้องอดื ทอ้ งเฟูอ ขิง แก้คลน่ื ไส้อาเจยี น ชุมเห็ดเทศ มะขาม
แขก ฝักคณู เป็นยาระบาย เพกา แกร้ ิดสีดวงทวาร
4. ระบบทางเดินหายใจ ไดแ้ ก่ ยามะขามปูอม ฟูาทะลายโจร แก้เจ็บคอ แกห้ วดั ละลายเสมหะ
5. ระบบผิวหนงั ได้แก่ ครีมบัวบก สมานแผล เปลือกมังคดุ แผลสด
6. ระบบทางเดินปัสสาวะ ได้แก่ กระเจยี๊ บแดง หญา้ หนวดแมว บวั บก ช่วยขับปสั สาวะ บาํ รุงไต
7. แก้ไข แก้ร้อนใน ไดแ้ ก่ ยาหา้ ราก ฟาู ทะลายโจร จันทร์ลลี า
8. แก้พษิ เบ่ือเมา ยารางจดื
หลกั การใชส้ มนุ ไพร
“ใชต้ ามอาการ ไม่ควรเกนิ 3 สัปดาห์ อยา่ งมาก 3 เดือน คนที่กนิ นานควรสังเกตตุ วั เอง หากเกิด
อาการขร้ี อ้ นหรือ ขหี้ นาวเกินไป ร่างกายอณุ ภูมิไปเย็นไป ควรกนิ อาหารประเภทร้อนเข้าไป หากกินนาน
ติดต่อกัน ควรหยดุ กนิ 2-3 เดอื น แลว้ คอ่ ยกลับมากนิ ใหม่ อยา่ งบอระเพ็ดหากกนิ นานไปจะทาํ ให้ตบั อักเสบ
เอนไซมจ์ ะขนึ้ สิ่งสําคญั ควรกินสมุนไพรให้เป็นอาหาร เปลี่ยนไปเร่อื ยๆจะไดร้ บั สารอาหารครบถว้ น กนิ ยา
สมุนไพร 2-3 สัปดาห์ ควบคแู่ ผนปัจจุบัน แลว้ จงึ ดูอาการว่า จะลดยาแผนปัจจุบนั หรือไม่ตามการวินจิ ฉัยของ
แพทย์ แต่จรงิ แลว้ ที่สาํ คญั อยู่ท่ตี น้ เหตขุ องอาการ เบาหวานเกดิ จากตบั อ่อนมันเสีย เพราะว่าอาหารหวานไป
แปงู มากไป ต้องลด ทสี่ าํ คัญจิตใจไม่เครยี ด ออกกําลงั กายช่วยใหร้ ะบบการย่อยดีขน้ึ ”
การตลาด
“อภัยภเู บศรทาํ 30 ปีไดแ้ คน่ ี้ สมัยน้ีเด็กหนุ่มๆทําปเี ดียวเป็นพันลา้ นหมืน่ ลา้ น สมัยก่อนเจริญชา้
ตอนน้เี ราโตปีละ 20%ช่วงแรกโตเรว็ แลว้ คงตวั หลงั จากน้ันก็ขนึ้ สงิ่ ทีข่ าดคือการวิจัยการตลาด ต้องวิจัย เขา
ชอบอะไร สีอะไร ทุกอย่างถา้ เราผลิตสนิ คา้ ท่ีเขาไมช่ อบ แล้วเราจะขายใคร บรรจภุ ณั ฑต์ ้องเตะตา สะดวกใช้
ขายต่างประเทศกต็ ้องรูว้ า่ ต่างชาตอิ ะไร มสี ารต้องห้ามอะไร ขายในประเทศก็ชอบอีกอย่างนงึ ฝรง่ั ไมช่ อบของ
เราเพราะตอ้ งกินเยอะ คนไม่ชอบกนิ ยาเยอะ ชอบกนิ น้อยๆ เม็ดเดียวต่อวัน ยาลดไขมนั กินก่อนนอนเม็ดเดียว
กนิ หลงั อาหารได้กจ็ ะดีเพราะคนชอบลืม สลากต้องเป็นภาษาของประเทศน้นั ๆ ต้องเขียนใหช้ ัดเจนว่า วธิ ใี ช้
รกั ษาอะไร วนั หมดอายุ สงั เกตดุ ูตัวอักษรต้องตวั ใหญ่ กล่มุ เปูาหมายคือคนสงู อายุ เขียนเยอะแยะมากมายเขา
มองไมเ่ ห็น หากเราข้นึ ทะเบยี นในบ้านเราแลว้ เปน็ ยา อย.ไมย่ อมอนญุ าติให้เราไปขายเป็นอาหารเสริมต้องไป
คุยกนั แตช่ ว่ งหลงั ๆมาน้ีก็เริ่มอนุญาติแลว้ ”
13
การประชาสมั พนั ธ์
“เราไม่สามารถเคลมวา่ รกั ษาได้จึงต้องใช้การประชาสัมพันธ์เขา้ ช่วย และใชก้ ารท่องเที่ยวเขา้ มาเสรมิ
ใหเ้ คา้ มาดโู รงพยาบาลดูการผลิตทาํ ให้เขาเชื่อมน่ั ในผลิตภณั ฑ์”
โฆษณา
“ทําอย่างไรโฆษณาแบรนด์ให้ดี ให้เกิดความช่ือม่ัน สร้างแฟนคลับ อย่างดารายังต้องมีแฟนคลับ
ผลิตภณั ฑ์ก็ต้องมี เราจะเห็นว่างานสมนุ ไพรแห่งชาตมิ คี นมาเขามาทกุ ปี ถามว่าทําไม เค้าอยากมาดูว่าอภัยภูเบ
ศร มีสนิ คา้ อะไรใหม่บ้าง มีโปรโมช่นั อะไร โฆษณาทางสอื่ ตา่ งๆเชน่ หนังสอื พมิ พ์ สิ่งพมิ อีเล็คทรอนิกส์”
ราคา
“ต้องตั้งราคาให้สมเหตุสมผล ก่อนที่จะต้ังราคาต้องดูผลิตภัณฑ์ท่ีมีอยู่ จะต้ังให้ถูกกว่าหรือแพงกว่า
ต้องเลือกดู บางครั้งเราเห็นว่าบางอย่างยาสมุนไพรแพงกว่ายาต่างประเทศ เนื่องจากว่าการผลิตยังน้อยไม่ได้
สเกล ตัวท่ีทําให้แพงคือตัวบรรจุภัณฑ์ ตัวแคปซูลต้นทุน 1 แคปซูล 30 สตางค์ ตัวสมุนไพรไม่ได้แพง ดูอย่าง
เครื่องดื่มท่ีขายชาเขียว ค่าขวดท่ีขาย 6-8 บาท ขายมากต้นทุนก็จะตํ่า สั่งมากเขาคิดถูก สั่งน้อยเค้าก็คิดแพง
ตอ้ งใหร้ ัฐบาลมาชว่ ยเร่ืองบรรจภุ ัณฑ์ ทุกอย่างมันแพงหมด ท้ังบรรจุภัณฑ์และสลาก แต่ก่อนเขาบอกว่าเราซ้ือ
ของ เราซ้อื ค่าโฆษณา แต่สมนุ ไพรคา่ โฆษณายงั น้อย บรรจภุ ณั ฑ์แพง”
การลดต้นทุน
“โลจิสติกเนี้ยดูตัวอย่าง Modern trade พวก BigC Tops พวกนี้เวลาเค้าสั่งของเค้าจะมีศูนย์กลาง
คอยสง่ ของไปตามสาขา แต่เดี๋ยวน้เี ขาแยกสาขาให้แต่ละสาขาสัง่ ของเอง ของเราก็มีวิธีเหมือนกันคล้ายๆอย่างงี้
เราจะฝากเขาคอยรบั ทลี ะน้อยๆ สุดท้ายเขามีลูกเล่น เขาคิดค่าระวาง เราจ้างเขาผลิตและเราต้องจ่ายค่าเช่าท่ี
เกบ็ เขา แตเ่ รากม็ วี ิธเี หมอื นกนั จากที่เราจา้ งผลิตเป็นล็อต เราจา้ งเป็นปี จะชว่ ยลดคา่ ใช้จ่ายลงไปได้”
ชอ่ งทางการจําหน่าย
“ยาหนีไม่พ้นต้องเป็นโรงพยาบาล สมุนไพรขายตรงเยอะท่ีสุด จะเป็น Multi-level หรือเชิงเดี่ยว,
ร้านสะดวกซ้ือ, e-commerce ตัวอย่างเช่น ebaye-commerce ทําเงินได้สูง ขายได้ทีละล็อตใหญ่ โตได้เร็ว
งานนิทรรศการต่างๆ งานexpo เช่น งานสมุนไพรแห่งชาติ ครั้งท่ี 10 วันท่ี 4-8 กันยายน เมืองทอง
หอ 7-8 อภัยภูเบศรก็ไปออกงานด้วยเชญิ ไปชมได้”
การขายตา่ งประเทศ
“หากต้องการไปขายต่างประเทศ สามารถติดต่อสภาหอการค้า เขาสามารถช่วยได้ เวลาการขาย
ต่างประเทศ เขาว่าเปน็ การค้าที่เป็นธรรม แต่ส่วนหนึ่งก็เป็นการกีดกันทางการค้า ตั้งแต่เร่ืองของไม่ใช้แรงงาน
เด็ก ต้องระวัง ไม่ค้ามนุษย์ ไม่ทุ่มตลาด ตรวจสอบคุณภาพ อย่าง EU ต้องเป็นคนของเขารับรอง แม้กระ
ท้ัง shipping บางแห่งบางประเทศต้อง shipping ผ่านบริษัท ผ่านเครือของเขา ต้องเราระบุพิกัดของ
วัตถุดิบ FDA มีความสําคัญ หาคู่ค้าในต่างประเทศอันน้ีแล้วแต่โชคเหมือนกัน ของอภัยภูเบศร บางประเทศก็
รงุ่ บางท่ีกล็ ุม่ ๆดอนๆ”
14
การทาํ สบสู่ มนุ ไพรแบบกอ้ น
1.สบกู่ ้อนใส หรอื สบู่กลเี ซอรีน หรือ เกลด็ สบ่แู ขง็ 1/2 กก.
2.เกลอื แกง 1 ช้อนชา
3.นาํ้ สมุนไพรวา่ นสาวหลง 1/4 ถว้ ยตวง
4.นาํ้ ผึ้ง 1/8 - 1/4 ถ้วยตวง
5.นาํ้ มนั มะพรา้ วสกัดเย็น 2 ชอ้ นโต๊ะ
6.นาํ้ หอมกลน่ิ ตามชอบปริมาณเลก็ น้อย
วธิ ที าํ ก็ง่ายมากๆ ได้แก่
1. เตรียมพมิ พ์ โดยการทาพมิ พ์ดว้ ยวาสลินเพือ่ ให้แคะสบู่ออกจากพมิ พ์ไดง้ ่าย
(อาจใช้พมิ พว์ นุ้ พลาสตกิ หรือกล่องพลาสตกิ ก็ได้ เมือ่ สบแู่ ข็งตวั แลว้ จึงนํามาตดั เป็นก้อนตามขนาดท่ีต้องการ)
2. หั่นสบกู่ อ้ นใสใหเ้ ป็นชิน้ เลก็ ใส่ในภาชนะท่ที นความรอ้ น นาํ ไปตนุ๋ ให้ละลายเป็นของเหลว เม่ือสบู่
ละลายแล้ว นาํ ลงจากเตา (การต๋นุ สบู่ คือการทําใหส้ บู่รอ้ นดว้ ยไอจากน้ําเดอื ด โดยใช้หม้อ 2 ใบ ใบลา่ งใสน่ า้ํ
ตัง้ บนเตาไฟใหเ้ ดือด ใบบนใสส่ บแู่ ลว้ วางซอ้ นไว้บนหม้อใบล่าง ทีท่ าํ อยา่ งนเ้ี พื่อไมใ่ หเ้ น้ือสบไู่ หม้)
3. เตรยี มสมนุ ไพรโดยผสมน้ําสมนุ ไพรวา่ นสาวหลง เกลอื แกง น้ําผงึ้ และนํา้ มนั มะพรา้ วสกดั เยน็ คน
ให้ละลายเขา้ กันแยกไว้ในภาชนะตา่ งหาก(ฤดรู ้อน ผวิ ไมแ่ ห้งมาก ควรลดปรมิ าณนํา้ ผึ้ง อาจใสเ่ พยี ง 1/8 ถ้วย
ตวง สาํ หรบั ผู้ท่ผี วิ แห้งหรอื ใชใ้ นฤดูหนาว ใหใ้ ส่น้ําผ้งึ 1/4 ถ้วยตวง )
* หา้ มใสส่ มนุ ไพรทเี่ ปน็ ของเหลวเกนิ กวา่ สว่ นทกี่ ําหนดเพราะสบจู่ ะไมแ่ ขง็ ตวั *
4. เทนา้ํ สมนุ ไพรทีเ่ ตรยี มไวใ้ นข้อ 3 ลงในสบู่ท่ลี ะลายแลว้ คนเบาๆใหส้ ่วนผสมเข้ากนั พอสบู่อนุ่ ลง
สักเลก็ น้อยจงึ ใสน่ ํา้ หอม คนให้ส่วนผสมเข้ากนั แล้วหยอดสบเู่ หลวลงในพิมพ์
5. ปลอ่ ยท้งิ ไว้จนสบู่แข็งตวั ดีจึงแคะออกจากพมิ พ์ เกบ็ สบูไ่ ว้ในภาชนะท่ปี ิดสนิท เก็บภาชนะไว้ในที่ไม่
รอ้ นและแสงแดดส่องไมถ่ ึง
สมุนไพรทน่ี าํ มาผสมกบั สบ่มู ีหลายชนิด กอ่ นใช้ควรศึกษาถึงคุณสมบัติของสมุนไพรแตล่ ะชนดิ และเลือกใช้
ให้เหมาะสมกับตนเอง เชน่ ขมิน้ มะเฟือง นาํ้ ผึ้ง มะขาม เปลือกมงั คดุ วา่ นหางจระเข้ มะละกอ แตงกวา
น้ํานม ผงถ่านกัมมัน ฯลฯ และหาความรู้เพ่มิ เติมเรื่องการทํานาํ้ หมักชีวภาพมะเฟืองได้ท่ี "ผลไมล้ ดโลก
รอ้ น"
15
การทําแชมพสู มุนไพรดอกอญั ชันผสมนาํ้ มันมะพรา้ ว
1. ดอกอัญชนั สด หรือแห้ง (สดสจี ะสวยกว่า) 100 กรมั
2. น้ําสะอาด 1 ลติ ร
3. นา้ํ มะกรูด 1 ถ้วย
4. หวั แชมพู 1 ก.ก
5. ลาโนลนิ 1 ขดี
6. นาํ้ มนั มะพร้าวสกดั เย็น 1 ถว้ ย
7. ผงฟอง 1 ขีด
8. นาํ้ หอม 25 c.c.
วิธีทํา
ตม้ ดอกอัญชนั กรองเอาแต่น้ํา ค่อยๆใส่ส่วนผสมทลี ะอยา่ ง ทีละน้อย ขณะท่ีใส่ผงขน้ หรือ ผงฟองควร
จะใสท่ ีละน้อย และคนให้ผงละลายทง้ั หมด ระหว่างท่ใี สส่ ่วนผสมทง้ั หมดนต้ี ้งั ไฟอ่อนๆเพื่อใหส้ ว่ นผสมท้ังหมด
ละลายเขา้ กันดี
16
การทําสบูเ่ หลวนาํ้ ผง้ึ ผสมน้ํามันมะพรา้ ว
1. หัวชอ้ื สบู่ 1 กิโลกรัม
2. น้ําธรรมดา 6 ขีด
3. นาํ้ หอม 1/2 ออนต์
4. น้ําผงึ้ 4 ช้อนโต๊ะ
5. นา้ํ มนั มะพร้าวสกดั เย็น 4 ชอ้ นโตะ๊
ขั้นตอนการทาํ สบู่เหลวน้าํ ผ้ึง
1. นาํ หัวเชอื้ สบู่เหลวมาเทใส่ภาชนะ
2. ใชไ้ มพ้ ายคนจนเนื้อครีมคลายตวั
3. เติมน้ําผึ้งและนา้ํ มนั มะพรา้ วสกดั เย็นลงไปอยา่ งละ 4 ชอ้ นโตะ๊ .
. คนใหส้ ว่ นผสมเขา้ เป็นเนื้อเดยี วกนั
4. ค่อยๆเติมน้าํ 6 ขีด ลงไป คนใหส้ ว่ นผสมเขา้ เปน็ เนื้อเดียวกัน
5. เตมิ นํ้าหอมลงไป คนใหส้ ่วนผสมทัง้ หมดเข้าเปน็ เนื้อเดียวกัน
6. นา้ํ สว่ นผสมที่ได้บรรจขุ วด เพือ่ นําไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป
ขอ้ เสนอแนะ
สมุนไพรที่นํามาใช้ทําสบูเ่ หลวสามารถนาํ มาใชไ้ ด้หลายอย่างข้นึ อยู่กบั ความต้องการของ
ผู้ใช้ เช่น มะขาม ว่านหางจระเข้ ขม้ิน เป็นตน้
ประโยชน์ของการทําสบ่เู หลวนา้ํ ผึ้งผสมน้ํามนั มะพรา้ วสกดั เย็น
1. ชว่ ยบํารงุ ผวิ พรรณ ทําให้ผิวนมุ่ นวล ไมห่ ยาบกร้าน
2. เป็นการเพมิ่ รายได้หรือทําเป็นอาชีพเสริม
3. ส่งเสริมการนาํ สมนุ ไพรหรอื วัตถุดบิ ท่มี ีในท้องถนิ่ มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์
17
สว่ นผสมของยาหม่องตะไคร้ สตู รโบราณ
· วาสลนิ ขาว 1,000 กรัม · พาราฟนี ขาว 500 กรัม
· พิมเสน 1,000 กรัม · เมนทอล 450 กรัม
· การบรู 1,000 กรมั · นํา้ มันพร้าวสกัดรอ้ น 900 กรัม
· น้ํามันสะระแหน่ 450 กรัม · น้าํ มนั กานพลู 50 กรัม
· นํา้ มนั อบเชย 50 กรัม · นา้ํ ตะไคร์ 500 กรัม
· น้ําใบพลู 500 กรัม
วธิ ที าํ ยาหม่องตะไคร้ สตู รโบราณ
1. นาํ พมิ เสน เมนทอล การบรู นา้ํ มันมะพร้าวสกัดร้อน นาํ้ มนั สะระแหน่ น้ํามนั กานพลู นาํ้ มนั อบเชย
ผสมรวมกนั คนใหละลายเปน็ น้าํ เนอื้ เดยี วกนั พักไว้ก่อน (ส่วนผสมที่ 1)
2. นํา หมอ้ แสตนเลสสตีล ใสว่ าสลินและพาราฟนี ลงไป วางหม้อวาสลนิ ลงในหม้ออีกใบที่ใหญ่กว่า ทาํ
การตุน๋ ด้วยความร้อนจากหม้อใบใหญ่ทใ่ี ส่นาํ้ ใช้ไฟกลาง ๆ กวนให้เขา้ กนั หา้ มใชค้ วามร้อนทส่ี ูงเกินไป จะทํา
ให้กลิน่ ระเหยหมดและอาจทําใหเ้ กิดไฟลุกไหม้ได้ หลงั จากวาสลนิ และพาราฟนี ละลายหมดแลว้ นําส่วนผสม
ท่ี 1 มาผสมรวมกนั คนให้ละลายจนเปน็ เนอ้ื เดียวกนั แล้วจึงเติมนํ้าตะไคร้และนํ้าใบพลูลงไปด้วย เคย่ี วไฟอ่อน
ๆ กวนให้เขา้ กนั หากต้องการให้ยาหม่องมีสี ใหใ้ สส่ ีอ่อน ๆ เชน่ เขียวออ่ น หรอื ชมพอู ่อน
3. นาํ ส่วนผสมท่ีได้บรรจขุ ณะเป็นนํ้า ใสข่ วดทเ่ี ตรียมไว้ ทงิ้ ไวใ้ หเ้ ย็นก่อนปดิ ฝา พร้อมใชห้ รอื จําหนา่ ย
ขอ้ ควรระวงั ในการทํายาหมอ่ งตะไคร้ สตู รโบราณ
ไม่ ควรเคยี่ ววาสลินและพาราฟีน กบั ไฟโดยตรง เพราะอาจจะทําใหต้ ิดไฟไดง้ า่ ย และหากว่า วาสลนิ
และพาราฟีนลกุ ตดิ ไฟ อยา่ ตกใจ ห้ามใชน้ าํ้ ราดเพือ่ ดับไฟ เพราะจะทําใหไ้ ฟย่ิงลกุ ไหม้ ให้ปดิ เตาแกส๊ แล้วใช้
ฝาหมอ้ ปดิ ทับลงไปหรือใช้ผา้ ปดิ ทับลงไป
18
ส่วนประกอบของนํ้ามนั เหลอื ง
1. ไพลแก่ อายุอยา่ งน้อย 1 ปี 200 กรัม
2. นาํ้ มนั มะพรา้ วสกดั ร้อน 10 ซีซี
3. เมนทอลเกรด็ 100 กรัม
4. การบูร 100 กรัม
5. พิมเสน 25 กรัม
ขั้นตอนการทํานํา้ มนั เหลอื ง
1. นาํ ไพลมาล้างใหส้ ะอาดจากนน้ั รอให้แห้งแลว้ นาํ มาหั่นเป็นชน้ิ บางๆ
2. เทนํ้ามันมะพรา้ วสกัดรอ้ นใส่กระทะที่เตรียมไว้โดยใชไ้ ฟเค่ียวแบบอ่อนๆ จากนั้นใส่ไพลทเ่ี ตรยี มไว้ลงไป
เค่ยี วจนเหลอื ง แลว้ กรอกนํ้ามันออกมาโดยกรองแยกเอาไพลออก
3. ใส่เมนทอลและการบรู ลงไปในกระทะ จากน้นั คนใหล้ ะลายจนกลายเป็นเนื้อเดียวกัน
4. ใส่น้าํ มนั มะพร้าวสกดั ร้อนทเ่ี คี่ยวกบั ไพลเรียบร้อยแลว้ ลงไปผสมกนั
5. ใสส่ มุนไพรเพ่ิมกลิน่ ตามใจชอบ เชน่ เปปเปอรม์ ้ิน นํา้ มันขิง จากนน้ั คนให้เปน็ เน้ือเดยี วกัน แลว้ นําไป
บรรจุใสภ่ าชนะหรือขวด
19
วธิ กี ารจดั จาํ หน่ายและชอ่ งทางการตลาด
ปจั จุบนั การหาตลาดเพื่อรองรับสนิ คา้ 1
ตําบล 1 ผลิตภัณฑจ์ ากชมุ ชนสผู่ ู้บรโิ ภคทั่วไป จน
เกดิ เป็นผลติ ภัณฑย์ อดนยิ มระดับประเทศนั้น
สามารถหาชอ่ งทางขายใหม่ได้ 13 ลกั ษณะ โดยแต่
ละลักษณะมีความเหมาะสมแตกตา่ งกนั ไปตาม
ประเภทผลิตภณั ฑ์ ก่อนจะกาํ หนดลกั ษณะการขาย
ตอ้ งทราบสดั ส่วนของตลาดหรือธรรมชาติของ
องคป์ ระกอบภายในตลาดเสียกอ่ น ซงึ่ โดยทวั่ ไป
ระบบการซ้ือขายจะแยกได้เป็น 3 ส่วนดงั น้ี
- ตลาดขายสง่ เนน้ การขายผ่านตัวแทนคา้ ส่ง (บริษัทจัดจําหนา่ ย, ยป่ี ั๊ว ซาปั๊ว, รา้ นค้าสง่ ,
ห้างสรรพสินค้า, เครอื ข่ายร้านสะดวกซอ้ื ) โดยตลาดนีจ้ ะมีมลู ค่าประมาณ 60-80% ของกําลังซือ้ ตลาดทัว่
ประเทศ
- ตลาดขายปลกี เนน้ การขายปลีกหนา้ รา้ นให้ผสู้ นใจท่ัวไปและสมาชกิ ตลาดส่วนน้ีจะมีมลู คา่ ประมาณ
20-40% ของกําลังซ้ือท่วั ประเทศ
- ตลาดขายตรง เปน็ การขายด้วยวิธกี ารสือ่ สารโดยตรงไปยงั ลกู คา้ แต่ละคนหรือแต่ละกลมุ่ เปาู หมาย
เพอ่ื ใหเ้ กดิ การตดั สนิ ใจซื้อโดยตรง ไดแ้ ก่ การขายโดยการตง้ั ทีมขายตรงโทรศัพท์ไปหาลูกค้า, ใช้ Fax,
จดหมายเชญิ ชวน, ใช้ Catalogue รวมท้งั ใชส้ อื่ วิทยุ, หนังสือพิมพ์, ทางอนิ เทอรเ์ น็ต โดยมบี รกิ ารเสริมพิเศษ
คือ การจัดสง่ ถงึ มือผู้ซื้อโดยตรง (Delivery Service) สาํ หรบั ตลาดขายตรง ปัจจุบันมีความสําคัญมากข้ึน
เพราะเปน็ วิธสี รา้ งความใกลช้ ิดกับลูกคา้ โดยตรง ทําให้ไดร้ ับขอ้ มลู ท่ีเป็นประโยชนใ์ นการพัฒนาของสนิ คา้ ใหม่
ให้ตรงความต้องการท่แี ทจ้ ริงของลูกคา้
แนวทางเลอื กพฒั นาตลาด 1 ตําบล 1 ผลติ ภณั ฑ์
เพื่อให้ 1 ตําบล 1 ผลติ ภณั ฑก์ ระจายไปส่กู ลุ่มเปาู หมายไดม้ ากทส่ี ุดต้องพิจารณาความพรอ้ มของธรุ กิจ
ว่ามคี วามถนัดทีจ่ ะขายเองทงั้ หมดได้ ครอบคลมุ ตลาดเพยี งใดและตลาดในสว่ นท่เี ขา้ ไมถ่ ึงจะใชบ้ ุคคลจาก
ภายนอกทชี่ าํ นาญการขายเข้ามาชว่ ยเหลือได้อย่างไรบ้าง สาํ หรบั ลกั ษณะการสร้างเครอื ขา่ ยธุรกจิ ใหม่ทํา 13
รูปแบบการสร้างเครอื ข่ายธรุ กจิ ใหมจ่ ะเริม่ ตั้งแตก่ ารลงทนุ ขายเองทัง้ หมด การเลอื กใชพ้ ันธมิตรคู่ค้าช่วยขาย
และการรว่ มลงทนุ เพ่ือช่วงชงิ โอกาสใหมใ่ นอนาคตใหไ้ ด้มากทส่ี ดุ จะเริ่มต้ังแต่การขายเอง การใชพ้ นั ธมติ รช่วย
กระจายสนิ คา้ และการรว่ มทุนเพอ่ื สรา้ งตลาดใหม่
การขายเอง
สาํ หรบั ผลติ ภณั ฑ์ท่ีมลี ูกคา้ จาํ กดั เฉพาะในพืน้ ท่ีหรือต้องควบคุมคุณภาพอย่างเขม้ งวด เชน่ บริการ
สขุ ภาพ นวดแผนโบราณ รา้ นอาหารพ้ืนเมือง บรกิ ารสมนุ ไพรเพ่ือสขุ ภาพ ฯลฯ การขายปลีกเองท้งั หมด
จะมตี ้นทนุ ต่ํากวา่ การพ่งึ พาคนนอกชว่ ยขาย ทั้งยงั สามารถตงั้ ราคาท่สี งู กวา่ มาตรฐานทัว่ ไปได้ โดยทางเลือก
การสรา้ งตน้ แบบขายเองมี 3 ต้นแบบดงั นี้
20
- ร้านขายปลีกหรือร้านเรือธง (Flagship Store Model) เป็นการทําร้านการขายปลีกให้อยู่รอดใน
ระยะแรก โดยวางแผนความสํารวจจากความต้องการบริโภค ท้ังจากภายในและภายนอกชุมชนก่อนว่าจะมี
ลูกค้าเข้าใช้บริการพอเพียงท่ีจะทําให้มีรายได้คุ้มกับค่าใช้จ่าย ประจําเดือนหรือไม่ หัวใจสําคัญของการ
ประมาณจํานวนผู้ใช้บริการเบื้องต้นก็คือ การหาจุดคุ้มทุนให้มากกว่าค่าใช้จ่ายรายเดือน (ค่าเช่า ค่าไฟ ค่าน้ํา
ค่าพนักงาน) เช่น มีรายจ่ายเฉล่ียเดือนละ 10,000 บาท ควรมีรายได้จากลูกค้าอย่างน้อย 50,000 บาทต่อ
เดือนหรือประมาณ 5 เท่าของค่าใช้จ่ายประจําเดือน ดังน้ันถ้าลูกค้าแต่ละคนซื้อเฉลี่ย 50 บาทต่อคน ต้องมี
ลูกค้าซ้ือไมน่ อ้ ยกว่า 1,000 คนต่อเดือน จึงจะบรหิ ารสภาพคล่องหรือตน้ ทนุ หมุนเวยี นไดอ้ ย่างปลอดภยั
กรณียอดขายไม่ถึงจุดคุ้มทุนในเบ้ืองต้น ต้องวางแผนหาวิธีเพิ่มลูกค้าใหม่จากภายในพื้นที่และพ้ืนที่
ใกล้เคียง โดยการจัดรายการพิเศษ ซ่ึงวิธีที่นิยมใช้กันก็คือ การหาสินค้าล่อใจ เพื่อดึงให้ลูกค้าเข้าร้านมาก ๆ
โดยสินค้าตวั ลอ่ น้ตี ้องยอมขายขาดทนุ และมจี าํ นวนจาํ กดั ปกติลูกค้าท่ีเดินทางผ่านร้านค้าจํานวน 100 คนจะมี
โอกาสเดินเข้าร้านเฉลี่ย 10 คนและใน 10 คนท่ีเข้าร้านจะมีโอกาสซื้อประมาณ 25% ดังนั้นถ้าต้องการลูกค้า
ซื้อจริงจํานวน 1,000 คนต่อเดือน ควรมีลูกค้าเข้าร้านอย่างน้อย 4 เท่าหรือประมาณ 4,000 คนและควรมี
จํานวนผู้ท่ีเดินผ่านร้านค้าอย่างน้อย 40,000 คนต่อเดือนหรือเฉลี่ยวันละ 1,300 คนจึงจะทําให้ร้านถึง
จุดคุ้มทนุ เบื้องต้น
การสร้างร้านเรือธงสําหรับการขายปลีก "1 ตําบล 1 ผลิตภัณฑ์" จึงเป็นการเตรียมความพร้อม สําหรับ
บริหารร้านให้อยู่รอดได้ในระยะแรก ถ้าไม่สามารถทําให้มียอดซื้อถึงจุดคุ้มทุนในเบ้ืองต้นได้ ควรลดค่าใช้จ่าย
หรอื ลดพ้ืนท่ีขายให้เหมาะสมกับกําลังซ้ือท่ีมีอยู่ในพ้ืนท่ี ลําดับต่อไปหลังจากคาดการณ์ยอดซ้ือล่วงหน้าได้แล้ว
ต้องมาพิจารณาการบริหารกําไรของร้าน ด้วยการคัดเลือกสินค้ามาขายเป็นรายตัวและพยายามบริการไม่ให้
เสยี โอกาสขายสนิ ค้าขายดี ส่วนสนิ ค้าทีข่ ายไม่ดีตอ้ งตดั ออกจากร้านให้เร็วทุกสัปดาห์ จากข้อมูลทางสถิติพบว่า
ในสนิ ค้า 100 รายการจะมสี ินค้า ท่ขี ายดแี ละทาํ กาํ ไรไมเ่ กิน 20 รายการ ดังน้ันใน 20 รายการน้ีจะต้องบริหาร
สินค้าเป็นรายตัวอย่างใกล้ชิดและหาทางลดต้นทุนเพื่อเพิ่มกําไรในการขายให้ได้ก่อนเป็นลําดับแรก สามารถ
บริหารสนิ ค้าทีท่ าํ กําไรเล้ียงสินค้าท้ังหมดได้แล้ว ต้องมาบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าประจํา โดยลูกค้ากลุ่มนี้
จะเป็นผูส้ ร้างรายได้หลักให้เขา้ ร้านจงึ ต้องสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดอย่างลึกซ้ึงกว่าลูกค้าทั่วไป เช่น อาจมีการ
บรกิ ารพเิ ศษส่งถึงบา้ น มขี องขวญั ตามยอดส่ังซอ้ื ประจําเดือน มีการใหข้ องขวญั วนั เกิด เป็นต้น
- การขายโดยใช้พนักงานขายส่ง (Key Account Model) เป็นการทําตลาดระดับขายส่งสู่คู่ค้า โดยใช้
พนักงานขาย เน่ืองจากปัจจุบันการขายสมัยใหม่ต้องให้ความสําคัญตามระดับรายได้หรือกําไรท่ีได้รับมากกว่า
การดูแลเท่ากันทุกคู่ค้า ดังน้ันหัวใจการบริหารงานขายอยู่ที่การจัดลําดับความสําคัญของสําคัญของคู่ค้า โดย
พนักงานขายหน่ึงคนควรดูแลลูกค้ารายใหญ่จํานวนไม่เกิน 10 ราย ส่วนลูกค้ารายกลางใช้ยี่ปั๊ว-ซาป๊ัวไปช่วย
ดูแลแทน สําหรับลูกค้ารายย่อยซึ่ง ไม่คุ้มค่าต่อการเยี่ยมแบบตัวต่อตัว ควรใช้ระบบเยี่ยมทางโทรศัพท์
จดหมาย หรือทางแฟกซ์แทนเพราะสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากกว่า 40% เม่ือเปรียบเทียบกับการใช้ทีม
ขายออกไปเยยี่ ม
ผลิตภณั ฑต์ ้นแบบทเ่ี หมาะสําหรับการขายในลักษณะน้ีไดแ้ ก่ สินคา้ สะดวกซ้ือ (สมนุ ไพรไทย ยาหม่อง อาหาร
สําเร็จรปู ) เปน็ ต้น
21
- การขายโดยการสร้างร้านค้าเสมือนจริง (Virtual Mall / Brick & Motar) ปัจจุบันมีเว็บไซต์
Thaitambon.com เป็นศูนย์กลางการซื้อขายของ 1 ตําบล 1 ผลิตภัณฑ์ กว่า 7,000 รายการ รวมท้ังเว็บไซต์
Depthai.com สําหรับผลิตภัณฑใ์ นร้านสะดวกซ้ือ ซึ่งเร่ิมยอดสั่งซือ้ อาหารสาํ เร็จรปู จากลูกค้าต่างประเทศแล้ว
และการสร้างร้านเสมือนจริงเฉพาะผลิตภัณฑ์ประเภท เช่น เรือไทยประดิษฐ์ บ้านทรงไทย ดนตรีไทย
เคร่อื งประดับ อัญมณี เส้ือผ้าแฟชั่น เป็นต้น จะสร้างมูลค่าเพ่ิมสินค้าได้มากกว่าการนําไปฝากขายในเว็บไซน์
รวมมิตร หัวใจของการทําร้านเสมือนจริงก็คือ สร้างชุมชนลูกค้าท่ีมีความสนใจและต้องการผลิตภัณฑ์แต่ละ
ประเภทอย่างชัดเจน เพ่ือหาทางสร้างรายได้จากชุมชนลูกค้าต่อไป โดยในระยะแรกไม่สามารถประมาณ
ยอดขายได้ เนือ่ งจากชมุ ชนลูกคา้ หรือผู้มาเยี่ยมเว็บไซต์เหล่าน้ี ยังไม่มีความสัมพันธ์กับร้านค้าเสมือนจริง หรือ
ยังไม่ไว้วางใจระบบรักษาความปลอดภัยในการชําระเงิน ดังน้ันควรมีการจัดจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ท่ีนําเสนอ
ผา่ นเวบ็ ไซตใ์ นร้านค้าเรอื ธงด้วย เพ่อื ให้เกดิ การซื้อของจริง ณ ร้านค้าเรือธงในลําดับต่อไป
การใชพ้ นั ธมิตรชว่ ยกระจายสนิ คา้
การพงึ่ พาคนกลางมาช่วยขยายชอ่ งทางตลาดในส่วนที่ไม่ชาํ นาญหรือไม่คุ้นเคย สามารถเพม่ิ ยอดการ
ขาย 1 ตําบล 1 ผลติ ภัณฑ์ ให้ครอบคลุมตลาดได้เพิ่มขน้ึ อีก 40-80% เน่ืองจากคนกลางเหล่าน้ีจะ
ความสัมพนั ธ์กับลกู คา้ ในพน้ื ทม่ี ากกว่า รวมทั้งการมีความเชยี่ วชาญด้านการรกุ อีกด้วย ทางเลอื กในการใชค้ น
กลางมาช่วยสร้างตลาดมี 6 ลกั ษณะดังนี้
1. การขายผา่ นตวั แทนจาํ หนา่ ย (Trade Model) ใชร้ ะบบการคา้ สง่ ของย่ีปวั๊ - ซาปั๊วหรือบริษัทรบั จัด
จาํ หน่าย เชน่ ดที แฮลม์ เบอรล์ ี่ยุคเกอร์ ยนู ิลเี วอร์ ฯลฯ มาชว่ ยกระจายสินคา้ ไปยังตลาดท่ัวประเทศ โดยปกติ
เหมาะกับสนิ ค้าเกอื บทกุ ประเภท หัวใจสําคัญของการบรหิ ารพ่อคา้ คนกลางก็คอื ตอ้ งควบคุมราคาสําหรบั ขาย
ส่งเพอ่ื ใหพ้ ่อคา้ คนกลางง่ายต่อการควบคมุ ราคาขายปลีกให้ไดม้ าตรฐาน เช่น การตงั้ เปูาขายรายปี รายเดอื น
และเงินโบนสั ปลายปี เมือ่ ทําไดต้ ามเปูาขายทต่ี กลงกันไวจ้ ะทําใหก้ ารควบคุมราคาขายต่อไปใหพ้ ่อค้ารายย่อย
(ซาปั๊ว) ทาํ ได้ง่ายขึน้ ปกตจิ ะนิยมขายสนิ ค้าเป็นเงินสดใหก้ ับพ่อคา้ คนกลาง กรณมี กี ารใหเ้ ครดิตจะไม่เกิน 30
วัน ตอ้ งมกี ารตั้งเงินคํ้าประกันสินค้าดว้ ย
2. การขายผ่านห้างสรรพสินค้า (Department Store Model) คือการใช้ระบบค้าปลีกสมัยใหม่เป็น
ช่องทางกระจายสินค้าราคาสูงไปสู่ผู้ใช้โดยตรง ปัจจุบันมีห้างค้าปลีกสินค้าทุกประเภทหลายห้างรวมแล้ว
ประมาณ 200 สาขา โดยแต่ละสาขาจะครอบคลุมลูกคา้ ประมาณ 100,000 - 200,000 คน ดังนั้นนี้ถ้าสามารถ
ใช้ช่องทางนี้ช่องทางน้ีได้ครบทั้ง 100% จะครอบคลุมผู้บริโภคทั่วประเทศประมาณ 40 ล้านคน รูปแบบของ
หา้ งค้าปลีกสมัยใหม่ ได้แก่ ห้างสรรพสินค้า (เซ็นทรัล, เดอะมอลล์, โรบินสัน) ห้างแบ่งตามประเภทผลิตภัณฑ์
(B2S, Super Sport, Power Buy, Home Pro, Top's Supermarket, Villa Market, Foodland) การนํา
สนิ ค้าเข้าจัดจาํ หนา่ ยผ่านห้างฯ เหล่านี้จะใช้ระบบฝากขายสินค้า และส่วนใหญ่ต้องจ้างพนักงานขาย PC ด้วย
สําหรับการลงทุนล่วงหนา้ คือ การให้เครดิตห้างสรรพสินค้าประมาณ 60-90 วัน ดังน้ันยิ่งขายมากต้องคํานวณ
สภาพคล่องไวล้ ่วงหนา้ ด้วยเฉพาะการเกบ็ เงนิ จรงิ อาจนานถงึ 120 วัน
22
3. การขายผ่านห้างค้าส่ง (Discount Store Model) เป็นการขายรูปแบบใหม่ล่าสุด เหมาะสําหรับ
สนิ ค้าราคาปานกลางมากท่ีสุด ห้างค้าส่งปัจจุบันมีประมาณ 100 สาขา แต่ละสาขาจะคลุมพ้ืนท่ีประชากรราว
200,000 คน หรอื มีรศั มีรองรบั ประชากรท่ัวประเทศประมาณ 20 ล้านคน ห้างค้าส่งสมัยใหม่น้ีได้แก่ ห้างแมค
โคร คาร์ฟู โลตสั บิ๊กซี ฯลฯ การนาํ สนิ ค้าเขา้ หา้ งฯ จะเป็นรูปแบบซอ้ื ขาด เครดิต 60 วันและไม่จําเป็นต้องจ้าง
พนักงานขายเองเหมือนห้างสรรพสินค้า
4. การขายผา่ นร้านค้าปลอดภาษี (Duty Free Shop Model) เปน็ ประตูสกู่ ารขายระดบั โลก เนือ่ งจาก
สถานท่ีขายสินค้าจะอยู่ในร้านปลอดภาษีหรือในสนามบินท่ัวประเทศ ซ่ึงมีนักท่องเที่ยวผ่านเข้าประมาณ 10
ล้านคนต่อปี โดยเฉล่ียมีกําลังซื้อประมาณคนละ 33,000 บาทต่อการอยู่ในเมืองไทยเฉลี่ย 8 วัน (ปัจจุบัน
ประเทศไทยมีรายจากการท่องเท่ียวประมาณ 330,000 ล้านบาทต่อปี) จึงเป็นช่องทางการขายท่ีมีแต่ได้กับได้
เพราะสร้างโอกาสให้ได้กลุ่มผู้สนใจนําสินค้าของเราไปขายต่อยังต่างประเทศหรือทั่วโลกในอนาคตได้ง่าย การ
นําสินค้าเข้าร้านปลอดภาษีจะอยู่ในรูปการฝากขาย, เครดิต 30 วัน โดยทางร้านค้าปลอดภาษีจะมีพนักงาน
ขายสนิ ค้าให้
5. การขายผ่านเครือข่ายร้านสะดวกซ้ือ (Convenience Store Model) มีท้ังร้านสะดวกซื้อใน
ป๊ัมน้ํามัน (Jet, Q8, Esso, Shell, Caltex, ปตท.) และเครือข่ายร้านต้นแบบลูกโซ่ (7-11, Family Mart,
Lotus Express) ซง่ึ มีเครือขา่ ยรา้ นรวมกันกว่า 4,000 จุดท่ัวประเทศ นอกจากน้ียังมีเครือข่ายเฉพาะสินค้าแต่
ละประเภท เช่น ร้านขายยา (Booth, Apex, Repel Health Care), ร้านเพื่อความงาม (Watson), ร้าน
แวน่ ตา (ทอ็ ปเจรญิ , บวิ ต้ฟี ู, หอแว่น), รา้ นหนังสอื (ซีเอ็ด, ดอกหญา้ , นายอินทร,์ Book & Music) เปน็ ตน้
หัวใจการบริหารการขายในร้านสะดวกซื้อท่ีมีสาขาจํานวนมากกระจายทั่วประเทศ คือ การจัดสินค้า
ขายดีให้เพียงพอต่อความต้องการท่ัวประเทศและการเลือกประเภทร้านสะดวกซ้ือให้เหมาะสมกับ 1 ตําบล 1
ผลิตภัณฑ์ ปัจจุบันร้านค้าสะดวกซ้ือมีแนวโน้มดีมาก เพราะสมาชิกในแต่ละทํางานนอกบ้านมากขึ้น ทําให้
แมบ่ า้ นนยิ มซอ้ื ของกลับบ้านทีละนอ้ ยแต่บ่อยคร้ังขึ้น โดยแวะร้านสะดวกซ้ือระหว่างเดินทางกลับจากที่ทํางาน
เน่อื งจากไมค่ ่อยมีเวลาไปเดนิ เลือกซื้อของในหา้ งสรรพสนิ คา้ หรือห้างขนาดใหญ่
6. การขายผา่ นบริษัทขายตรง (Direct Sale Team Model) คือการเลือกใชก้ องทพั ขายของบริษทั ขาย
ตรงช้ันนํา 5 แห่งในเมืองไทย ได้แก่ Avon, Amway, Mistine, Giffarine และ Suprederm มาช่วยนําเสนอ
สินคา้ ไปสู่สมาชิกหรอื ผ้ใู ช้ทัว่ ประเทศกว่า 500,000 ราย การขายแบบนเ้ี หมาะกับสินค้าทุกประเภท แต่ต้องคัด
สินค้าให้ตรงกับกําลังซ้ือของลูกค้าแต่ละบริษัท เช่น สินค้าราคาแพงจะเหมาะกับลูกค้าของ Amway และ
Avon มากที่สุด สําหรับประวัติสินค้าที่ขายดีในบริษัทขายตรงเหล่าน้ีมีตั้งแต่สินค้าราคาหลายหม่ืนบาทไป
จนถึงข้าวสารบรรจุถุงราคาไม่เกิน 100 บาท ข้อดีของระบบขายตรงคือการสร้างหุ้นส่วนระหว่างสมาชิกกับ
บรษิ ัททีม่ กี ารแบง่ ปนั รายไดจ้ ากการขาย โดยจ่ายคอมมิชชั่นการขายสูงในระดับ 35 - 45% ของราคาขายปลีก
ดังนั้นสินค้าท่ีเลือกเสนอขายในช่องทางนี้จะต้องมีกําไรขั้นต้นสูง 3-5 เท่าของต้นทุนเพ่ือรองรับการให้กําไร
เบอื้ งต้นสงู ระดบั 50 - 65%
23
การรว่ มทนุ เพ่อื สรา้ งตลาดใหม่
นอกจากการขายเองการเลอื กใช้พ่อค้าคนกลาง ขายใหห้ ้างค้าปลีกยุคใหม่และขายผา่ นบริษทั ขายตรง
แลว้ ปัจจบุ นั ยงั มีการพัฒนารา้ นคา้ แบบเดิมใหเ้ ปน็ ร้านคา้ ต้นแบบยุคใหม่ใหส้ ามารถแขง่ ขันกบั ห้างคา้ ปลีกได้
มากข้ึนเช่นการพัฒนารา้ นค้าวัสดกุ ่อสรา้ งของเครือซเี มนต์ไทยให้เป็นร้านซีเมนตไ์ ทยโฮมมารท์ ทท่ี นั สมยั หรือ
การพัฒนาร้านสะดวกซื้อยุคใหมข่ อง7-11ปัจจบุ ันทางเลือกรว่ มทนุ กับคู่ค้าเพ่ือพฒั นาเข้ียวเลบ็ และสร้าง
ความสามารถการขายระบบใหม่มี4ลักษณะดังน้ี
1. Franchise Model เหมาะสาํ หรบั 1 ตําบล 1 ผลติ ภัณฑท์ ่ีผา่ นความสําเรจ็ ในการสรา้ งร้านค้าปลกี
หรือร้านเรอื ธงจนสามารถคาํ นวณ ยอดขายแต่ละรา้ นและรับประกันกําไรข้ันต้นได้แล้ว จงึ จะขยายรา้ นเรือธงน้ี
ให้กับนักลงทนุ , นกั ธรุ กิจผ้สู นใจอยากมีธุรกิจของตวั เอง โดยหัวใจของการทาํ รา้ นแฟรนไชสใ์ ห้มีการเติบโตคือ
ตอ้ งมรี ้านที่บริหารเองครบวงจรให้ได้ 80% ในชว่ งแรก สว่ นอีก 20% จะเป็นการขายสูตรสาํ เร็จใหผ้ สู้ นใจใน
พืน้ ทที่ เ่ี ราไม่มคี วามชํานาญหรอื ค้นุ เคย โดยผลตอบแทนท่ีไดจ้ ากร้านแฟรนไชส์ คอื คา่ ประสบการณ์หรือคา่ ทํา
ต้นแบบธุรกจิ นน่ั เอง นอกจากนี้จะมรี ายได้จากร้านค้าลกู ข่ายประมาณ 3-5% จากยอดขายทงั้ หมด
สาํ หรับ 1 ตาํ บล 1 ผลติ ภณั ฑ์ ทีเ่ หมาะกับการขายเป็นร้านแฟรนไชสไ์ ด้แก่ นวดแผนโบราณ, นวดฝุา
เท้า, สมุนไพรเพ่ือสุขภาพ โดยรวมเปน็ ศนู ยบ์ ําบัดสขุ ภาพครบวงจร ตั้งแตบ่ รกิ ารใหค้ ําปรกึ ษาและการบริหาร
รา่ งการเพ่ือลดนาํ้ หนักด้วยสมุนไพร การบริการนวดตวั , นวดฝาุ เทา้ เพื่อสขุ ภาพสําหรับผู้สงู อายุ ผ้บู รหิ ารและผู้
มปี ญั หาสขุ ภาพ, การออกกาํ ลังกายด้วยการฝึกทา่ ฤาษีดัดตน, การฝึกโยคะ รวมทง้ั หลักสตู รการฝกึ สมาธเิ พอ่ื
สร้างความสงบทางใจซึง่ รูปแบบการให้คาํ ปรึกษาและใหบ้ รกิ ารครบวงจรนยี้ ังขาดบรกิ ารแพทยบ์ ริการทางเลือก
ถ้าสามารถทาํ ได้ครบทุกอยา่ งนกี้ ลา่ วมารา้ นบรกิ ารสขุ ภาพ ดงั นน้ั ทางเลือกการทําต้นแบบแพทยท์ างเลือก
(Alternative Medicine) อยา่ งเตม็ ในราคาท่ที ุกคนเลือกใช้บริการได้ เหมือนการเขา้ พักในโรงแรมท่ีมีบริการ
ครบวงจรในราคาเหมาจา่ ยวนั ละ 500 - 1,500 บาท ก็จะดีเพราะเป็นการใหท้ างเลือกใหม่สําหรับลกู คา้ ที่ใช้
บรกิ าร
24
2. Concessionaire Model
เปน็ วธิ สี ร้างธุรกิจเพื่อให้ผลติ ภัณฑ์
ครอบคลุมทกุ พนื้ ท่ี จะเปน็ การใหส้ ทิ ธิ
ทางการคา้ เพ่ือผูกขาดหรือให้สมั ปทานใน
การดูแลพน้ื ท่ีเฉพาะ อาจจะเปน็ ทงั้
จงั หวดั หรือกลุ่มพื้นท่ี 3-8 จังหวดั หรอื
เปน็ ภมู ภิ าค (ภาคเหนอื , ภาคกลาง,
ภาคใต้, ภาคอีสาน) เช่น ศูนย์กระจาย
สนิ ค้าไอศกรีมวอลลป์ ระจําภาคใต้
ตอนบน จะไดส้ ัมปทานดูแลการปรมิ าณ
ไอศกรีมใหเ้ พียงพอความต้องการสนิ คา้ ใน 8 จังหวดั ภาคใต้ตอนบน หรือศนู ยบ์ รหิ ารงานโทรศพั ท์ของ TT&T
ประจําภาคเหนอื ตอนบนจะดูแลการหาลกู ค้าใหม่และรกั ษาลกู คา้ เกา่ ทีผ่ ูใ้ ช้โทรศัพท์ของ TT&T ในทุกจงั หวดั
ของภาคเหนือตอนบน หรอื โคก้ หาดทิพยด์ แู ลสัมปทานการขายและตลาดประจาํ ภาคใตท้ ั้งหมดใหก้ ับเครือ่ งดม่ื
โคก้ เปน็ ต้น
สาํ หรับ 1 ตําบล 1 ผลติ ภณั ฑท์ ีม่ ีแนวโน้มจะไดร้ บั ความนิยมทัง้ ประเทศไดแ้ ก่ ผลไม้แปรรูป เชน่
มะขามแกว้ , มะขามอบแห้ง, ทุเรียนกวน, ลําไยตากแห้ง เปน็ ต้น อาจต้งั ตัวแทนขายเปน็ ระบบสมั ปทานเพ่ือให้
ดูแลในแต่ละพื้นท่ีได้อยา่ งท่วั ถึงและเป็นระบบ เชน่ การตั้งสัมปทานนําทุเรยี นทอดขายในร้านคา้ ปลอดภาษี
การต้งั สัมปทานขายลาํ ไยตากแห้งประจาํ ภาคใต้ เป็นต้น
3. Horizontal Integration Model เป็นวิธีทาํ ตลาดโดยสร้างตัวแทนคู่ค้าพันธมติ ร เพอ่ื สร้างกระ
ขบวนการตอบสนองความต้องการของลูกค้าในลกั ษณะการมองจากต้นนํา้ ส่ปู ลายน้าํ (Supply Chain) ต้งั แต่
การจดั หาวตั ถุดิบหรือแหลง่ ผลติ , การทาํ ตลาด, การจัดจําหน่าย, การขนสง่ , การจดั เกบ็ สินคา้ , การบริการ
ลูกค้า, การสรา้ งชุมชนลูกคา้ หวั ใจของการสรา้ งนี้ คือการบริหารตน้ ทนุ การผลติ และการควบคมุ คุณภาพแบบ
ครบวงจร ต้ังแต่ตน้ น้าํ สูป่ ลายนา้ํ เชน่ การบรหิ ารตน้ ทนุ การเลย้ี งไก่อยา่ งครบวงจรของบริษทั ซพี ีท่ี ทาํ ให้มี
ตน้ ทนุ ต่าํ ขายไกส่ ดไดร้ าคา เน่อื งจากริษทั สามารถควบคุมกลไกการปอู นปรมิ าณไกส่ ดใหเ้ พยี งพอความ
ต้องการ ภายในประเทศได้อย่างเหมาะสมทกุ ช่องทาง (ประมาณ 52 ล้านตวั ตอ่ สัปดาห์) โดยการวางแผนตง้ั แต่
การให้ความร้วู ิธีเล้ียงไกอ่ ยา่ งถูกต้องแกผ่ ้สู นใจ จากนนั้ จะคอยเปน็ พี่เลีย้ งใหผ้ ูเ้ ล้ียงไกร่ ายใหม่ ต้ังแต่การ
คดั เลือกพันธุล์ ูกไก่, การดแู ลเรือ่ งจดั หาอาหารไก่, ยารักษาโรคและยาเสริมความเจรญิ เติบโตภายใต้การ
ควบคมุ ของสัตวแพทยป์ ระจาํ บริษัทฯ เมอ่ื ไก่โตเต็มท่ีทางบรษิ ทั จะประกนั ราคาและรับซื้อ นอกจากนีท้ าง
บริษัทยงั ลงทนุ ต้ังโรงเชือดไก่ครบวงจร โรงงานแปรรูปไกส่ ด ไกแ่ ช่แขง็ และไก่ย่าง ไก่ทอด สําหรบั ขายผู้บรโิ ภค
โดยตรงผา่ นห้างสรรพสนิ ค้า ตลาดสด รา้ นไกย่ า่ ง 5 ดาว และรา้ น KFC เป็นตน้
ตวั อยา่ งการตอบสนองความต้องการลูกค้าของการเลยี้ งไก่ครบวงจรของเครือซีพจี ะมีการ วางแผนครบวงจร
ต้งั แตร่ ะดับรากหญ้าจนถงึ ผบู้ รโิ ภคคนสุดท้าย
25
กระขบวนการตอบสนองความตอ้ งการของลกู ค้า (Supply Chain Management) :
สําหรบั 1 ตําบล 1 ผลติ ภณั ฑ์ทีเ่ ราจะทาํ ตลาดแบบครบวงจรน ได้แก่ เฟอรน์ ิเจอร์ (หวาย ไม้ไผ่
พลาสตกิ ) ของตกแต่งบา้ น (กรอบรูปประดิษฐ์ ดอกไมป้ ระดิษฐ์ เครอ่ื งปน้ั ดินเผา) ของเด็กเล่น (ตุ๊กตาผ้า เกมส์
เสรมิ ทกั ษะเด็ก) เคร่ืองประดับและอัญมณี (เคร่ืองเงนิ ทองคํา พลอย เพชร) เครื่องหนงั เสอื้ ผ้าแฟชน่ั เป็นต้น
การรวมกระขบวนการผลติ จากรากหญ้าสูต่ น้ นํ้า กลางนํ้า ปลายนํา้ ของแต่ละผลติ ภณั ฑ์ จะตอ้ งศึกษาความ
ตอ้ งการที่แทจ้ รงิ ของผู้บริโภคก่อนจะวางแผนการผลิตและกระจายงานให้ผทู้ ่ชี ํานาญแต่ละสว่ น โดยตอ้ งสรา้ ง
มลู ค่าเพ่ิมท่ี ปลายนํา้ สาํ หรับลกู คา้ แต่ละกลุ่มใหพ้ อดกี บั ความต้องการ เชน่ การผลติ เส้อื ผ้าแฟชั่นสาํ หรับเดก็
อายุต่ํากว่า 12 ปี ต้องมที ัง้ แบบใส่สบายๆ (Basic) แบบกําลังเป็นทนี่ ิยมและตัดเย็บแบบท่ีนําสมยั สาํ หรบั ลูกคา้
ท่ีตอ้ งการไม่เหมือนใคร เป็นต้น สินคา้ เสือ้ ผ้าเดก็ ทไี่ ม่ซบั ซ้อนมากอาจฝึกอาชพี ให้ชาวบ้านรับไปผลิตได้ แต่
บรษิ ทั ต้องควบคุมอย่างใกลช้ ิด เน้นคุณภาพเพ่ือปูอนตลาดขนาดใหญท่ ่ัวโลก
4. Divertical Integration Model การสรา้ งจุดแขง็ และความได้เปรยี บทางการตลาดโดยอาศัยความ
เช่ยี วชาญเฉพาะตัวของพนั ธมิตรชว่ ย สรา้ งกระขบวนการตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้เร็วข้นึ ดขี นึ้ และ
แตกตา่ งจากตลาดท่ีมอี ยูเ่ ดิม รปู แบบความรว่ มมือจะมีตัง้ แต่การเปน็ พนั ธมิตรต้นนาํ้ พนั ธมติ รกลางน้ํา
พนั ธมติ รปลายนา้ํ ดงั นี้
พันธมติ รตน้ นาํ้ หรือรากหญา้ จะเป็นร่วมมือเพ่ือทาํ วจิ ยั พัฒนาวตั ถดุ บิ ,การผลิตและเทคโนโลยใี หม่ ๆ
เช่น การออกวจิ ยั พนั ธุข์ ้าวหอมมะลิ ท่ีปลูกได้ท่ัวประเทศ และใหผ้ ลผลิตต่อไรส่ งู เปน็ ตน้
พนั ธมติ รกลางนา้ํ การร่วมมอื กับพนั ธมติ รทีม่ ีความเชย่ี วชาญในการกระจายสินคา้ และบรกิ าร ไปสู่
ลูกค้าใหเ้ รว็ ท่สี ุด ต้องการต้ังทีมขายส่ง , การใช้ตวั แทนการค้าและการใหส้ ัมปทาน , การขายสูล่ กู ค้าโดยตรง
เชน่ การขายขา้ วหอมมะลิของไทยไปทัว่ โลก โดยใช้ผแู้ ทนการคา้ ของทุกสถานทูตไทยทกุ แหง่ พ่อค้าขา้ วคน
กลางท่วั โลก รวมทง้ั การทํา Road Show โดยกระทรวงพาณิชย์ เป็นตน้
พันธมติ รปลายนา้ํ คอื การรว่ มมือเพ่อื สร้างจดุ แขง็ ในการให้บริการลูกคา้ ปลายทาง เชน่ การสรา้ งระบบ
Quick Response ระบบ Efficient Consumer Response ( ECR ) เพื่อให้รคู้ วามต้องการของลกู ค้า ณ จุด
ขายทันทีทําให้สามารถบรหิ ารสินค้าที่มจี าํ นวนมากได้เป็นรายตัวหรือรายประเภท โดยจดั ใหม้ ีสินคา้ ขายดี
ตลอดเวลา ชว่ ยลดตน้ ทนุ การจดั เก็บสินค้าและการเสยี โอกาสขาย อาจใช้บรกิ ารของบริษัทวนิ สโตร์ ในการ
ให้บริการการจัดส่งและบรหิ ารสต็อกสนิ คา้ สาํ หรับสง่ ผา่ นร้านสะดวกซ้ือท่วั ประเทศ โดยคิดคา่ ใชจ้ า่ ย 2% ของ
ยอดขายสนิ ค้า ซ่งึ บรกิ ารนีช้ ่วยให้บรษิ ัทขนาดเล็กประหยดั คา่ ขนส่งสนิ ค้าและต้นทนุ การจดั เก็บสินค้าได้
มากกวา่ 10% เป็นตน้
การสร้างจดุ แข็งเพื่อสรา้ งความเชือ่ มโยงของ 1 ตําบล 1 ผลติ ภณั ฑ์ โดยเฉพาะด้านการใหบ้ ริการ การ
ท่องเทยี่ วศิลปหัตถกรรม รา้ นอาหาร นวดตัว นวดฝาุ เทา้ สมุนไพร เพ่อื สุขภาพ นัน้ ตอ้ งมองทุกองค์ประกอบ
ต้ังแตต่ ้นน้ําสูป่ ลายน้ําเพอ่ื แบ่งงานกนั ทําดังนี้
- พนั ธมติ รตน้ นา้ํ การปลูกพชื สมุนไพรเพอื่ สุขภาพ , การคัดเลือกและพฒั นาแหล่งทอ่ งเท่ียวเชงิ อนุรกั ษ์
ทอ้ งถ่ินการพัฒนาศูนยห์ ัตถกรรมภูมิปญั ญาท้องถิ่น , ผา้ ทอท้อง ถ่ิน , การพัฒนาอาหารแปรรูปพื้นบา้ น
26
- พันธมติ รกลางนา้ํ การจัดตัง้ บริษทั นําเทยี่ ว ,การอบรมมัคคเุ ทศน์ท้องถนิ่ , การตัง้ ตัวแทนบริษัทนาํ
เที่ยวขนาดใหญ่ท้ังในและตา่ งประเทศ เพือ่ ปอู นลกู ค้าประจําท้ังปี
- พันธมติ รปลายนาํ้ การทาํ โครงการแนะนําสถานที่ท่องเทย่ี วแห่งใหมร่ ว่ มกบั การท่องเทยี่ วแหง่ ประเทศ
ไทย, สมาคมโรงแรมท่ัวประเทศ, การจดั เทศกาลอาหารอร่อยจากร้านอาหารชนั้ นําในชุมชน (ระดับตาํ บล ,
อําเภอ , จังหวัด ) การจัดประกวดการถา่ ยภาพสําหรบั นกั ท่องเทย่ี วโดย บริษัทฟลิ ม์ (โกดัก,ฟูจ)ิ การขายต๋ัว
เหมาจา่ ยราคาพิเศษ การตั๋วเครือ่ งบิน , ต๋ัวรถไฟและตวั๋ รถ เปน็ ตน้
บทสรุปกลยุทธก์ ารพฒั นาชอ่ งทางขาย
กลยทุ ธ์การตลาดสําหรบั 1 ตําบล 1 ผลติ ภัณฑใ์ นช่วงเริ่มตน้ ทาํ ธุรกิจใหม่ นอกจากจะตอ้ งกล้าคดิ ใหม่
เพ่ือทา้ ทายการสรา้ งผลติ ภณั ฑ์ใหม่และบรกิ ารใหม่ที่ยังไมเ่ คยมีมากอ่ นในตลาด หรือตอ่ ยอดใหม่ใหก้ ับ
ผลิตภณั ฑใ์ นตลาดเดมิ ใหด้ ยี ่งิ ข้ึน ตรงใจลูกค้าย่ิงข้นึ และมรี าคาทสี่ มเหตุสมผลย่ิงขนึ้ แล้ว ยังต้องการหาช่องวา่ ง
ใหม่หรอื ท้องถิ่นขายใหม่ใหต้ ลาดใหมด่ ว้ ยทงั้ หมดน้ีตอ้ งอาศยั การนําเอกลักษณ์ของภมู ิปัญญาท้องถิ่นมาต่อ
ยอดใหม่ใหต้ รงใจลกู ค้านนั่ เอง สาํ หรบั การทําใหธ้ รุ กิจมีความรุดหน้าอยา่ งรวดเรว็ โดยประยุกต์ทั้ง 13 ต้นแบบ
การสรา้ งเครือขา่ ยธรุ กิจไปใช้ให้ได้ผลนน้ั เราต้องประเมนิ ทั้งข้อดีขอ้ เสยี ของแต่ละตน้ แบบ ธุรกจิ น้กี อ่ นเปน็
อันดับแรก จากนั้นต้องคดั เลือกตน้ แบบธรุ กจิ ท่สี ามารถสร้างเป็นองค์ประกอบของความสัมพันธ์ทใ่ี กล้ชิดกบั
ลูกค้า คคู่ ้า พนั ธมิตรธรุ กจิ และชุมชนลูกค้าให้ไดใ้ นเวลาจํากดั และมีต้นทุนตํ่าสุดต่อการทําใหเ้ กิดการซอ้ื ของ
ลูกคา้ แตล่ ะราย โดยทัว่ ไปสามารถแยกระดับความสัมพันธก์ ารสรา้ งต้นแบบเครือขา่ ยธรุ กจิ ของ 1 ตาํ บล 1
ผลิตภณั ฑ์ ไดเ้ ปน็ 3 ระดับดังน้ี
ระดบั ความสมั พนั ธ์ใกลช้ ดิ พเิ ศษ (Direct For Key Account Relation) โดยใชท้ มี ขายส่งพิเศษ (Key
Account Service Team) เขา้ เยี่ยมลูกค้ารายใหญ่ (Key Account) อย่างใกล้ชดิ และลึกซงึ้ แบบตัวต่อตัว
(Face to Face) โดยลูกค้าเหลา่ นี้ ผบู้ ริหารจะต้องให้ความสําคญั มากเป็นพิเศษ เพราะถือเปน็ หวั ใจของแหล่ง
รายได้ธรุ กิจ ไมค่ วรปลอ่ ยใหท้ ีมขายส่งดูแลเพียงฝุายเดยี ว
ระดบั ความสมั พนั ธท์ างออ้ ม (Indirect For Business Partnership Relation) เปน็ การคดั เลือก
ตัวแทนขาย, พ่อคา้ คนกลาง, ค่คู ้า, หนุ้ สว่ นธุรกจิ และพนั ธมิตรทม่ี ีความถนัดทางการขายและความเชยี่ วชาญ
พิเศษในการจัดจาํ หน่ายในแต่ละพน้ื ท่ี เพอื่ ให้ผลติ ภณั ฑ์เข้าถึงทุกกลมุ่ ของลกู คา้ อยา่ งรวดเรว็ แทนการลงทนุ เอง
ท้งั หมดต้งั แต่การต้ังทมี ขายส่ง, หนา้ ร้านหรือการลงเครื่องมืออปุ กรณ์ผู้เช่ยี วชาญพิเศษ เป็นตน้ ถา้ สามารถ
เลือกใชค้ นกลางที่เหมาะสมในแตล่ ะประเภทผลติ ภัณฑจ์ ะลดค่าใชจ้ ่ายการขายได้ มากกวา่ การใชพ้ นักงานขาย
สง่ ของเราไดต้ ั้งแต่ 20 - 40% เน่ืองจากการรุกเข้าถึงทกุ พ้ืนที่ขายโดยตรงของพ่อค้าคนกลางเหลา่ น้ีมี
ประสทิ ธภิ าพและสามารถดําเนินการได้ทนั ที
ระดบั ความสมั พนั ธ์ใกลช้ ดิ กบั ลูกคา้ ผู้บรโิ ภคคนสุดทา้ ย (Direct For End User Relation) โดยการ
สร้างชมุ ชนลกู ค้าใหไ้ ด้เรว็ ทีส่ ุดและคดั เลือกความสัมพันธข์ องลูกค้าแตล่ ะกลุ่มให้ชดั เจน เพ่ือหาทางสรา้ งรายได้
โดยตรง ไม่ผา่ นคนกลางจะทาํ ใหบ้ ริษัทคัดเลือกผลติ ภณั ฑท์ ่ีมีคุณภาพสูงหรือมีเอกลกั ษณ์พเิ ศษ ซึ่งแม้จะมี
จํานวนจํากดั และขายไดน้ ้อยแต่กส็ ามารถทํากําไรมากเนื่องจากลูกค้าเหลา่ นีม้ ีความเชื่อใจและ มีความภกั ดี
มากกวา่ ลูกคา้ ท่ัวไปทต่ี ้องการสนิ คา้ ดีราคาถูกเท่าน้ัน
27
บทท่ี 3
วิธดี าํ เนนิ งาน
การจัดกจิ กรรม โครงการอบรมใหค้ วามรเู้ รื่องการใช้สมุนไพรในชวี ิตประจาํ วนั
วนั ที่ 17 มถิ นุ ายน 2564 ณ ศาลาอเนกประสงคบ์ า้ นหนองบก หมูท่ ่ี 2 ตําบลหัวถนน อาํ เภอพนสั นคิ ม
จงั หวัดชลบรุ ี มขี ้นั ตอนดังนี้
1. ประสานงานกับภาคีเครือข่าย/สํารวจความต้องการ
2. เสนอโครงการ
3. ดําเนินการจดั กิจกรรม
4. การวเิ คราะหข์ ้อมูล/สรุปผลการดําเนินงาน
1.ประสานงานกบั ภาคเี ครือขา่ ย/สาํ รวจความต้องการ
กศน.ตําบลหัวถนน ได้ดําเนินการประสานวิทยากร เครือข่ายผู้นําชุมชน โรงพยาบาทส่งเสริมสุขภาพ
ตาํ บลหวั ถนนเพื่อเขา้ ร่วมโครงการ
2. เสนอโครงการ
โดยดําเนนิ การขออนุมตั ิการจัด โครงการอบรมใหค้ วามรู้เรื่องการใชส้ มุนไพรในชวี ิตประจาํ วัน
3. ดาํ เนินการจัดกจิ กรรม
โครงการอบรมใหค้ วามร้เู รื่องการใชส้ มุนไพรในชวี ิตประจําวนั วนั ที่ 17 มถิ นุ ายน 2564
ณ ศาลาอเนกประสงค์บา้ นหนองบก หมู่ท่ี 2 ตาํ บลหัวถนน อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จํานวน 17 คน
4. การวเิ คราะหข์ ้อมลู /สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน
การวิเคราะห์ขอ้ มูล ใชค้ ่าสถิติร้อยละ ในการประมวลผลขอ้ มูลสว่ นตวั และตวั ชีว้ ัดความสําเรจ็ ของ
โครงการตามแบบสอบถามความคิดเหน็ รายข้อ แลว้ นําไปแปรความหมายตามค่าระดับเกณฑ์
เกณฑก์ ารประเมนิ
คา่ สถิตนิ ้อยกว่ารอ้ ยละ 50 ปรบั ปรุง
ค่าสถิตริ ้อยละ 50-74 พอใช้
ค่าสถติ ริ ้อยละ 75-84 ดี
ค่าสถิติรอ้ ยละ 85 ขึ้นไป ดมี าก
28
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ใชค้ า่ สถิติรอ้ ยละ ในการประมวลผลขอ้ มลู สว่ นตวั และตัวช้ีวดั ความสําเร็จของ
โครงการตามแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อ แลว้ นําไปแปรความหมายตามค่าระดับเกณฑ์กําหนดค่าลาํ ดบั
ความสําคญั ของการประเมินผลออกเป็น 5 ระดับ ดงั นี้
มากท่ีสดุ ให้คะแนน 5
มาก ใหค้ ะแนน 4
ปานกลาง ให้คะแนน 3
น้อย ใหค้ ะแนน 2
นอ้ ยที่สดุ ใหค้ ะแนน 1
ในการแปลผล ผู้จดั ทาํ ได้ใช้เกณฑก์ ารพจิ ารณาจากคะแนนเฉลยี่ ตามแนวคดิ ของ บญุ ชม ศรสี ะอาด
และบญุ สง่ นิลแก้ว (2535, หนา้ 22-25)
4.51-5.00 หมายความว่า ดีมาก
3.51-4.50 หมายความว่า ดี
2.50-3.50 หมายความว่า ปานกลาง
1.50-2.50 หมายความว่า น้อย
1.00-1.50 หมายความวา่ ตอ้ งปรับปรงุ
ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการจะตอ้ งกรอกขอ้ มลู ตามแบบสอบถาม เพื่อนาํ ไปใชใ้ นการประเมินผลของการจดั
กจิ กรรมดังกลา่ ว และจะไดน้ ําไปเป็นข้อมูล ปรบั ปรุง และพฒั นา ตลอดจนใชใ้ นการจดั ทาํ แผนการดําเนินการ
ในปตี ่อไป
29
บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
โครงการอบรมให้ความรูเ้ รื่องการใชส้ มนุ ไพรในชีวติ ประจาํ วัน วนั ที่ 17 มิถนุ ายน 2564
ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านหนองบก หมู่ที่ 2 ตําบลหวั ถนน อําเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี
ซึง่ ไดส้ รุปรายงานจากแบบสอบถามความคิดเหน็ ข้อมูลท่ไี ด้สามารถวเิ คราะห์และแสดงคา่ สถติ ิ ดังนี้
ตอนท่ี 1 ข้อมลู สว่ นตัวผู้ตอบแบบถามของผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมท่ตี อบแบบสอบถามไดน้ าํ มาจาํ แนกตามเพศ
อายุ การศึกษา และอาชพี ผู้จัดทาํ ไดน้ ําเสนอจาํ แนกตามข้อมลู ดังกลา่ วดงั ปรากฏตามตารางดังตอ่ ไปน้ี
เพศ ความคิดเห็น
จานวนคน ร้อยละ
ชาย 0 0.00
หญิง 17 100.00
รวม 17 100.00
จากตารางท่ี 1 แสดงวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม เปน็ เพศหญิง จาํ นวน 17 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 100.00
ตารางที่ 2 แสดงค่ารอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอายุ
ช่วงอายุ ชาย ความคิดเห็น ร้อยละ
0 หญิง รวม 23.53
16 - 39 ปี 0 58.82
40 - 59 ปี 0 44 17.65
60 ปีขน้ึ ไป 0 10 10 100.00
33
รวม
17 17
จากตารางที่ 2 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม เม่ือจาํ แนกตามอายุปรากฏวา่
ชว่ งอายุ 40 -59 ปี จาํ นวน 12 คน คดิ เป็นร้อยละ 70.59 ช่วงอายุ 16-39 ปี จํานวน 5 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.41 ชว่ งอายุ 60 ปขี ึ้นไป จํานวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 17.65 ตามลําดบั
30
ตารางท่ี 3 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามการศึกษา
การศึกษา คว า ม คิดเ ห็ น
ชาย หญิง รวม ร้อยละ
0.00
ต่ากว่า ป.4 0 0 0 0.00
18.75
ป.4 0 0 0 41.18
41.18
ประถม 0 0 3 0.00
100.00
ม.ตน้ 0 7 7
ม.ปลาย 0 7 7
ปริญญาตรี 0 0 0
รวม 0 14 17
จากตารางท่ี 3 แสดงว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม เม่ือจาํ แนกตาม
การศกึ ษา ปรากฏวา่ จบการศึกษาระดบั ม.ปลาย จาํ นวน 9 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 52.94 ระดับ ม.ต้น
จาํ นวน 8 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 47.06 ระดับ ประถมศึกษา จาํ นวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 18.75 ตามลําดบั
ตารางที่ 4 แสดงค่ารอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาชพี
อาชีพ คว า ม คิดเ ห็ น ร้อยละ
ชาย หญิง รวม 41.18
รบั จา้ ง 29.41
เกษตรกร 0 77 23.53
คา้ ขาย 0 55 5.88
0 44 100.00
อนื่ ๆ 0 11
รวม 0 17 17
จากตารางท่ี 4 แสดงว่า ผูต้ อบแบบสอบถามของผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม เมื่อจาํ แนกตามอาชีพปรากฏ
ว่าอาชีพรบั จ้าง จาํ นวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 41.18 อาชพี เกษตรกร จาํ นวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 29.41
อาชพี ค้าขาย จาํ นวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 23.53 และอาชีพอืน่ ๆ จาํ นวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 5.88
31
ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู เก่ยี วกบั ความคิดเหน็ ของผเู้ ขา้ รว่ ม
จากแบบสอบถามทง้ั หมด จํานวน 17 ชุด ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม มคี วามคดิ เหน็ ดงั ปรากฏในตาราง
เนือ้ หากจิ กรรม N = 17
ระดบั ผล
ˉx S.D. อันดบั ที่ การ
ประเมนิ
1.เนอื้ หาวชิ าทจ่ี ัดการเรียนร้ตู รงตามความต้องการของ 3.88 0.81 5 ดี
ท่านเพยี งใด 4.25 0.58 3 ดี
2.วิทยากรมาใหค้ วามรูต้ รงตามเวลา
3.วิทยากรมาให้ความรคู้ รบตามหลักสตู รกําหนด 4.25 0.58 3 ดี
4.ความสามารถในการถ่ายทอดความรขู้ องวิทยากร 4.06 0.77 4 ดี
5.จาํ นวนสอ่ื /อุปกรณก์ ารฝึกประกอบการเรียนเพียงพอ 4.25 0.68 3 ดี
เพยี งใด
6.ท่านได้รับความรูแ้ ละสามารถฝกึ ทกั ษะได้ตามทีค่ าดหวงั 4.31 0.60 2 ดี
มากน้อยเพยี งใด
7.ความร้ทู ักษะที่ไดส้ ามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพได้ 4.25 0.77 3 ดี
เพียงใด
8.สถานทเี่ รียนเหมาะสมเพยี งใด 4.31 0.60 2 ดี
9.ทา่ นได้รบั โอกาสในการเรียนรเู้ ท่าเทยี มกนั เพยี งใด 4.31 0.60 2 ดี
10.ระยะเวลาในการเรยี น/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด 4.38 0.62 1 ดี
11.ความรู้ท่ีไดร้ ับค้มุ ค่ากับเวลาและความตงั้ ใจเพียงใด 4.38 0.62 1 ดี
12.ท่านพงึ พอใจต่อหลกั สูตรนเ้ี พยี งใด 4.38 0.62 1 ดี
รวม 4.25 0.08 ดี
จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉล่ียแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี
เม่ือวิเคราะห์เป็นรายขอ้ พบวา่ ทา่ นพงึ พอใจต่อหลักสูตรนีเ้ พียงใด,ความร้ทู ีไ่ ด้รับคุ้มคา่ กับเวลาและความตั้งใจเพียงใด,
ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด (ˉx=4.38) เป็นอันดับ 1 ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้
ตามที่คาดหวังมากน้อยเพียงใด,สถานที่เรียนเหมาะสมเพียงใด ,ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด
(ˉx=4.31) เป็นอนั ดบั 2 วิทยากรมาให้ความรตู้ รงตามเวลา,วทิ ยากรมาใหค้ วามรู้ครบตามหลักสตู รกาํ หนด,จํานวนสื่อ/
อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด,ความรู้ทักษะที่ได้สามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพได้เพีย งใด
(xˉ=4.25) เปน็ อันดบั 3 ความสามารถในการถา่ ยทอดความร้ขู องวทิ ยากร (ˉx=4.06) เปน็ อันดับ 4 เน้ือหาวชิ าท่ีจดั การ
เรยี นรู้ตรงตาม ความต้องการของท่านเพยี งใด (ˉx=3.88) เปน็ อันดบั สดุ ท้าย
32
ตารางท่ี 6 แสดงคา่ รอ้ ยละของระดับความพงึ พอใจทไ่ี ดร้ บั ตอ่ การเข้ารว่ มกิจกรรม
ประเด็นท่ีประเมิน ระดบั การประเมนิ
มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่ีสุด
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
1.เนอ้ื หาวิชาที่จดั การเรยี นรู้ตรงตามความต้องการ 5 29.41 6 35.29 6 35.29 0 0.00 0 0.00
ของท่าน
2.วิทยากรมีความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ 6 35.29 10 58.82 1 5.88 0 0.00 0 0.00
3.วทิ ยากรมีความสามารถในการอธิบายเน้อื หา 6 35.29 10 58.82 1 5.88 0 0.00 0 0.00
4.เอกสารทใี่ ชป้ ระกอบการฝึกอบรม 6 35.29 7 41.18 4 23.53 0 0.00 0 0.00
5.ความเหมาะสมของส่ือ/อุปกรณท์ ีใ่ ช้ในการฝึกอบรม 6 35.29 10 58.82 1 5.88 0 0.00 0 0.00
6.ท่านได้รบั ความรู้และสามารถฝกึ ทักษะได้ตามท่ี 7 41.18 9 52.94 1 5.88 0 0.00 0 0.00
คาดหวงั
7.ความรู้และทักษะทีไ่ ด้รับสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ 6 35.29 10 58.82 1 5.88 0 0.00 0 0.00
ในชีวติ ประจาวนั ได้
8.ความเหมาะสมของสถานที่ 7 41.18 9 52.94 1 5.88 0 0.00 0 0.00
9.ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพยี งใด 7 41.18 9 52.94 1 5.88 0 0.00 0 0.00
10.ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใชใ้ นการฝกึ อบรม 8 47.06 8 47.06 1 5.88 0 0.00 0 0.00
11.โดยภาพรวมท่านมีความพงึ พอใจในกระบวนการ/ 8 47.06 8 47.06 1 5.88 0 0.00 0 0.00
ข้นั ตอนของการฝึกอบรมในคร้ังนี้ 0.00
12.ทา่ นพงึ พอใจตอ่ หลักสตู รน้เี พยี งใด 8 47.06 8 47.06 1 5.88 0 0.00 0
(1) รวม 80 104 20 0 0
(2) = (1) Xคะแนนเตม็ ของแตล่ ะชอ่ ง 400 416 60 00
(3) = ผลรวมของความพงึ พอใจ 876
(4) = (3) / จานวนคน 51.53
(5) = (4) X 100 ¸ 85.88
จานวนข้อXคะแนนเตม็ สูงสุด
สรุป บรรลุ
จากตารางท่ี 6 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามของผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมมีระดับความพึงพอใจกับประเดน็ ทปี่ ระเมนิ
ดงั ต่อไปนี้
ประเด็นท่ี 1 “เน้ือหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่าน”ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 29.41
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 35.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ร้อยละ 35.29 มีระดบั ความพึงพอใจในระดบั “ปานกลาง”
33
ประเด็นท่ี 2 วิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 35.29
มีระดับความพึงพอใจในระดับ“มากท่ีสุด” ร้อยละ 58.82 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ร้อยละ 5.88 มีระดบั ความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง”
ประเด็นท่ี 3 “วิทยากรมีความสามารถในการอธิบายเน้ือหา” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 35.29
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 58.82 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
รอ้ ยละ 5.88 มีระดบั ความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง”
ประเด็นที่ 4 “เอกสารท่ีใช้ในการฝึกอบรม” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 35.29 มีระดับความพึง
พอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 41.18 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 23.53
มรี ะดับความพงึ พอใจในระดับ “ปานกลาง
ประเด็นท่ี 5 “ความเหมาะสมของส่ือ/อุปกรณ์ท่ีใช้ในการฝึกอบรม” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 35.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 58.82 มีระดับความพึงพอใจในระดับ
“มาก”ร้อยละ 5.88มีระดับความพึงพอใจในระดบั “ปานกลาง”
ประเด็นท่ี 6 “ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามท่ีคาดหวัง” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 41.18 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 52.94 มีระดับความพึงพอใจใน
มีระดับ “มาก” ร้อยละ 5.88 มีระดับความพงึ พอใจในระดบั “ปานกลาง”
ประเด็นที่ 7 “ความรู้และทักษะที่ได้รับสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ผู้ตอบ
แบบสอบถาม ร้อยละ 35.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 58.82 มีระดับความ
พึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 5.88 มรี ะดับความพงึ พอใจในระดับ “ปานกลาง”
ประเด็นท่ี 8 “ความเหมาะสมของสถานที่” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 41.18 มีระดับความ
พึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 52.94 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 5.88
มีระดับความ พงึ พอใจในระดับ “ปานกลาง”
ประเด็นที่ 9 “ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 41.18 มรี ะดับความพึงพอใจในระดับ “มากทสี่ ดุ ” รอ้ ยละ 52.94 มีระดับความพึงพอใจใน
ระดบั “มาก” รอ้ ยละ 5.88 มีระดบั ความพึงพอใจในระดบั “ปานกลาง”
ประเด็นที่ 10 “ความเหมาะสมของระยะเวลาท่ีใช้ในการฝึกอบรม” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 47.06 มรี ะดบั ความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 47.06 มีระดับความพึงพอใจในระดับ
“มาก” รอ้ ยละ 5.88 มีระดบั ความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง”
ประเด็นที่ 11 โดยภาพรวมท่านมีความพึงพอใจในกระบวนการ/ขั้นตอนของการฝึกอบรมในคร้ังน้ี
ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 47.06 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 47.06
มรี ะดับความพงึ พอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 5.88 มีระดบั ความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง”
ประเด็นที่ 12 “ท่านพึงพอใจกับหลักสูตรนี้เพียงใด”ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 47.06
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 47.06 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ร้อยละ 5.88 มีระดับ ความพงึ พอใจในระดบั “ปานกลาง”
34
อภปิ รายผล
จากการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรูเ้ รอื่ งการใชส้ มุนไพรในชีวติ ประจําวนั
สรุปไดด้ งั น้ี
1. ผู้ตอบแบบสอบถามของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม เปน็ เพศหญิง จํานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00
2. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจําแนกตามอายุปรากฏว่า ช่วงอายุ 40 -59 ปี
จํานวน 12 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 70.59 ชว่ งอายุ 16-39 ปี จํานวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 29.41 ช่วงอายุ 60 ปี
ขึ้นไป จํานวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.65 ตามลาํ ดบั
3. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจําแนกตามการศึกษา ปรากฏว่าจบการศึกษา
ระดับ ม.ปลาย จํานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 52.94 ระดับ ม.ต้น จํานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 47.06
ระดบั ประถมศกึ ษา จาํ นวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ตามลําดบั
4. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เม่ือจําแนกตามอาชีพปรากฏว่าอาชีพรับจ้าง
จํานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 41.18 อาชีพเกษตรกร จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 29.41 อาชีพค้าขาย
จํานวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.53 และอาชีพอน่ื ๆ จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 5.88 ตามลาํ ดบั
5. ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมมคี วามพึงพอใจตอ่ การจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึง
พอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี เม่ือวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรน้ีเพียงใด,
ความรู้ที่ได้รับคุ้มค่ากับเวลาและความตั้งใจเพียงใด,ระยะเวลาในการเรียน /กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด
(ˉx=4.38) เป็นอันดบั 1 ท่านไดร้ บั ความรแู้ ละสามารถฝึกทักษะได้ตามท่ีคาดหวังมากน้อยเพียงใด,สถานท่ีเรียน
เหมาะสมเพียงใด,ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด (ˉx=4.31) เป็นอันดับ 2 วิทยากรมาให้
ความรู้ตรงตามเวลา,วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกําหนด,จํานวนสื่อ /อุปกรณ์การฝึกประกอบการ
เรียนเพียงพอเพียงใด,ความรู้ทักษะที่ได้สามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพได้เพียงใด (ˉx=4.25) เป็นอันดับ 3
ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร (ˉx=4.06) เป็นอันดับ 4 เนื้อหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตาม
ความตอ้ งการของทา่ นเพียงใด (ˉx=3.88) เป็นอนั ดบั สดุ ท้าย
สรุปคา่ ˉx ทง้ั 12 ข้อมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั ดี ˉx=4.25
สรุปคา่ S.D. ท้งั 12 ขอ้ มีความพงึ พอใจ S.D.=0.08
สรุปคา่ เปอรเ์ ซ็นต์ ทง้ั 12 ขอ้ มีความพึงพอใจอยู่ที่ 85.00%
ความพงึ พอใจโดยรวมของผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมอยใู่ น ระดับดีมาก
ข้อเสนอแนะจากแบบประเมินโครงการ
-
35
บทที่ 5
สรปุ อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ
การจดั การการจัดโครงการอบรมให้ความรเู้ ร่ืองการใช้สมนุ ไพรในชีวติ ประจําวัน วันท่ี 17 มถิ ุนายน 2564
ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านหนองบก หมู่ท่ี 2 ตําบลหัวถนน อาํ เภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี มีผู้ร่วมกิจกรรม
จํานวน 17 คน
วตั ถปุ ระสงค์
1 เพอ่ื ใหผ้ ู้อบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจเร่ืองการใช้สมนุ ไพรในชีวติ ประจาํ วัน
2 เพือ่ ให้ผู้อบรมนาํ ความรทู้ ่ีไดร้ ับมาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจําวันได้
วธิ ดี าํ เนนิ การ
กลมุ่ งานการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ข้ันวางแผน (plan) การวางแผน และประสานวิทยากร แต่งตัง้ คณะทํางาน
และจดั โครงการอบรมให้ความรเู้ รอื่ งการใชส้ มุนไพรในชวี ิตประจาํ วัน วันท่ี 17 มิถนุ ายน 2564
ณ ศาลาอเนกประสงคบ์ ้านหนองบก หมู่ท่ี 2 ตาํ บลหัวถนน อาํ เภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี มีผูร้ ่วมกิจกรรม
จาํ นวน 17 คน
สรปุ ผลการดําเนนิ งาน
สรุปได้ว่าผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการอบรมให้ความรู้เร่ืองการใช้สมุนไพรในชีวิตประจําวัน
ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม เป็นเพศหญิง จํานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 เมื่อจําแนก
ตามอายุปรากฏว่า ช่วงอายุ 40 -59 ปี จํานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 70.59 ช่วงอายุ 16-39 ปี
จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 29.41 ช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จํานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 17.65 ตามลําดับ
เม่ือจําแนกตามการศึกษา ปรากฏว่าจบการศึกษาระดับ ม.ปลาย จํานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 52.94
ระดับ ม.ต้น จํานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 47.06 ระดับ ประถมศึกษา จํานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75
ตามลําดบั เมื่อจาํ แนกตามอาชีพปรากฏว่าอาชีพรับจ้าง จํานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 41.18 อาชีพเกษตรกร
จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 29.41 อาชีพค้าขาย จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 23.53 และอาชีพอื่นๆ
จาํ นวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 5.88 ตามลําดับ
36
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึง
พอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี เม่ือวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด
,ความรู้ ท่ีได้รับคุ้มค่ากับเวลาและความต้ังใจเพียงใด,ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด
(ˉx=4.38) เปน็ อันดบั 1 ท่านไดร้ ับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามที่คาดหวังมากน้อยเพียงใด,สถานที่เรียน
เหมาะสมเพียงใด,ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด (ˉx=4.31) เป็นอันดับ 2 วิทยากรมาให้
ความรู้ตรงตามเวลา,วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกําหนด,จํานวนส่ือ /อุปกรณ์การฝึกประกอบการ
เรียนเพียงพอเพียงใด,ความรู้ทักษะท่ีได้สามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพได้เพียงใด (ˉx=4.25) เป็นอันดับ 3
ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร (ˉx=4.06) เป็นอันดับ 4 เน้ือหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตาม
ความตอ้ งการของทา่ นเพียงใด (ˉx=3.88) เป็นอนั ดับสุดทา้ ย
สรปุ คา่ ˉx ทัง้ 12 ข้อมีความพึงพอใจอยใู่ นระดับดี ˉx=4.25
อภปิ รายผล
ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเร่ืองการใช้สมุนไพรในชวี ิตประจําวนั แยกประเภทของยา
สมุนไพรแต่ละชนิดในการรักษาโรคได้ สามารถนําความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจําวนั ได้
ขอ้ เสนอแนะ
-
37
บรรณานกุ รม
ความหมายของ“สมนุ ไพรไทย” https://www.google.com/search/ เขา้ ถึงข้อมูลวันท่ี 3/07/2564
สรรพคณุ ของสมนุ ไพรไทย https://sites.google.com/ /เขา้ ถึงข้อมูลวันที่ 3/07/2564
วตั ถปุ ระสงค์ของการพฒั นาสมนุ ไพร https://www2.rsu.ac.th/sarnrangsit-online-detail/herb01/
เข้าถงึ ขอ้ มลู วันที่ 3/07/2564
การแปรรูปสมนุ ไพรตามมาตรฐาน GMP http://www.foodnetworksolution.com/news/
เขา้ ถึงขอ้ มลู วนั ที่ 3/07/2564
วธิ ีการจดั จาหนา่ ยและชอ่ งทางการตลาด https://www.nanosoft.co.th/tips-business/94.php
เขา้ ถงึ ข้อมลู วันที่ 3/07/2564
บุญชม ศรสี ะอาด และบญุ สง่ นิลแกว้ .(2535,หนา้ 22-25)การอ้างอิงประชากรเม่ือใช้เคร่อื งมอื แบบมาตราส่วน
ประมาณคา่ กับกลุม่ ตวั อยา่ ง.วารสารการวดั ผลการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ มหาสารคาม
38
ภาคผนวก
39
รายงานภาพกจิ กรรม
โครงการอบรมใหค้ วามรเู้ รอ่ื งการใชส้ มนุ ไพรในชวี ติ ประจาํ วนั
วนั ที่ 17 มิถนุ ายน 2564
ณ ศาลาอเนกประสงคบ์ ้านหนองบก หมูท่ ี่ 2 ตําบลหวั ถนน อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี
40
แบบสอบถามความพงึ พอใจ
โครงการอบรมใหค้ วามรเู้ ร่อื งการใชส้ มนุ ไพรในชวี ติ ประจาํ วนั
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กศน.อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี
คาํ ชแี้ จง
1. แบบสอบถามฉบบั นี้มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื ใช้ในการสอบถามความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ การลดใช้
สารเคมใี นครวั เรือน
2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดังน้ี
ตอนที่ 1 ถามขอ้ มลู เกี่ยวกบั ผูต้ อบแบบสอบถามจํานวน 4 ข้อ ใหท้ าํ เคร่อื งหมาย ลงในชอ่ งให้ตรงกบั สภาพจรงิ
ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การลดใช้สารเคมีในครัวเรือน จํานวน 12 ข้อ
ซ่งึ มีระดบั ความพึงพอใจ 5 ระดบั ดงั นี้
5 มากท่สี ุด หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมากที่สดุ
4 มาก หมายถึง มีความพงึ พอใจมาก
3 ปานกลางหมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง
2 นอ้ ย หมายถึง มคี วามพึงพอใจนอ้ ย
1 น้อยทสี่ ุด หมายถึง มคี วามพึงพอใจนอ้ ยทส่ี ดุ
ตอนที่ 3 ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะตอ่ โครงการอบรมให้ความรเู้ รื่องการใชส้ มุนไพรในชีวติ ประจาํ วัน
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม หญิง 40 ปี – 49 ปี
เพศ 30 ปี – 39 ปี
ชาย 60 ปีขึน้ ไป
อายุ
15 ปี – 29 ปี
50 ปี – 59 ปี
การศกึ ษา ตํา่ กว่า ป.4 ป.4 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย
ประกอบอาชพี อนปุ ริญญา ปริญญาตรี สงู กวา่ ปริญญาตรี
รบั จ้าง
ค้าขาย
เกษตรกร
ลูกจ้าง/ข้าราชการหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน
อนื่ ๆ ………………………………….
41
ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจเกย่ี วกับโครงการอบรมใหค้ วามรเู้ รอ่ื งการใชส้ มนุ ไพรในชวี ติ ประจาํ วนั
ข้อที่ รายการ ระดบั ความคดิ เหน็
5 432 1
ดา้ นบรหิ ารจัดการ
1. อาคารและสถานท่ี
2. สิง่ อาํ นวยความสะดวก
3. กาํ หนดการและระยะเวลาในการดําเนนิ โครงการ
4. เอกสารการอบรม
5. วทิ ยากรผใู้ ห้การอบรม
ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
6. การจัดกจิ กรรมโครงการอบรมฯ
7. การใหค้ วามรู้เร่ืองปฏิบัตกิ ารเรยี นรู้ม่งุ สคู่ วามพอเพยี ง
8. การตอบขอ้ ซักถามของวิทยากร
9. การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ของผูเ้ ข้ารบั การอบรม
10. การสรุปองค์ความรรู้ ว่ มกัน
11. การวดั ผล ประเมนิ ผล การฝึกอบรม
ดา้ นประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั
12 ไดเ้ รยี นรูแ้ ละฝึกตนเอง เก่ียวกับปฏิบตั ิการเรยี นรมู้ ุ่งสู่ความ
พอเพียง
13 นําความร้ทู ี่ได้รับมาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วัน
ตอนท่ี 3 ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ
ขอ้ คดิ เหน็ ..............................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................................................................................
ขอบขอบคณุ ทีใ่ ห้ความรว่ มมือ
กศน. อําเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี
42
คณะผจู้ ดั ทาํ
ที่ปรกึ ษา ผอู้ ํานวยการ กศน.อาํ เภอพนัสนิคม
1. นางณชั ธกัญ หมืน่ สา ครู
2. นางสาวมทุ ิกา การงานดี ครูผชู้ ว่ ย
3. นางพิรุฬพรห์พร ทาํ ทอง ครูผู้ช่วย
4. นางสาวณภษร ศรบี ุณยะแกว้ ครูอาสาสมัครฯ
5.นายวัชรนิ ทร์ อุดานนท์
หวั หน้า กศน.ตาํ บลหวั ถนน
ผจู้ ดั ทาํ รปู เล่ม
1. นางสาวทวพี ร เคนราํ
43