1
2
บนั ทกึ ขอ้ ความ
สว่ นราชการ กศน.ตาํ บลหัวถนน
ท่ี ศธ 0210.2406.15/ วนั ท่ี กรกฎาคม 2565
เรอ่ื ง รายงานสรปุ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน วชิ าการทาํ อาหารและขนม
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เรยี น ผอู้ ํานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอพนัสนิคม
ด้วย กศน.ตาํ บลหัวถนน สังกดั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอพนสั นคิ ม
ไดด้ ําเนินโครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน วชิ าการทาํ อาหารและขนม ระหว่างวนั ท่ี 22-29 สิงหาคม 2565
ณ บา้ นแหลมเขา บา้ นเลขท่ี 55 ม.3 ต.หัวถนน อ.พนสั นิคม จ.ชลบุรี ผู้เขา้ ร่วมโครงการ 11 คน นน้ั
บดั นกี้ ารดาํ เนินกจิ กรรมดังกล่าวได้เสรจ็ สิ้นแลว้ กศน.ตําบลหวั ถนน จึงไดจ้ ดั ทําสรปุ ผลการจดั กิจกรรม
การดําเนินงานเพ่ือใหไ้ ด้ข้อมูลสําหรบั เปน็ แนวทางในการพัฒนากิจกรรมต่อไป
จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ
ลงชื่อ ...............................................
(นางสาวทวพี ร เคนรํา)
ครู กศน.ตาํ บลหวั ถนน
ลงชือ่ ............................................... ลงช่ือ ...............................................
(นายวชั รินทร์ อดุ านนท์) (นางสาวณภษร ศรบี ุณยะแก้ว)
ครอู าสาฯ/ งานการศึกษาต่อเน่ือง หัวหน้ากลุ่มการจดั การศกึ ษานอกระบบฯ
ลงช่ือ ...............................................
(นางณัชธกัญ หมื่นสา)
ผู้อาํ นวยการ กศน. อําเภอพนัสนิคม
3
คาํ นาํ
เอกสารรายงานผลโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ) โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
วิชาการทําอาหารและขนม ระหว่างวันที่ 22-29 สิงหาคม 2565 ณ บ้านแหลมเขา บ้านเลขที่ 55 ม.3 ต.หัวถนน
อ.พนัสนคิ ม จ.ชลบุรี ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ 11 คน ฉบับนี้ จัดทําข้ึนเพ่ือสรุปผลสัมฤทธ์ิและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การ
จัดกิจกรรมของ กศน.ตําบลหัวถนน สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนิคม
กิจกรรมดังกล่าว ดําเนินการเสร็จส้ินเรียบร้อย ซ่ึงรายละเอียดผลการดําเนินงานต่าง ๆ ตลอดจนข้อเสนอแนะได้
สรปุ ไว้ในเล่ม
ขอขอบคุณ นางณัชธกัญ หม่ืนสา ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอพนัสนิคม ตลอดจนเจ้าหน้าที่งาน
แผนงาน เจ้าหน้าที่งานการศึกษาต่อเน่ือง ท่ีให้คําแนะนํา คําปรึกษาในการจัดทําเอกสารสรุปและรายงานการ
ประเมินโครงการในครั้งนี้ กศน.ตําบลหัวถนนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้ คงจะเป็นประโยชน์สําหรับผู้ท่ี
ต้องการศึกษาหาข้อมูล เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการจัดกิจกรรม และหากมีส่ิงหนึ่งสิ่งใดขาดตกบกพร่อง คณะผู้จัดทํา
ต้องขออภยั มา ณ โอกาสนีด้ ้วย
กศน.ตาํ บลหัวถนน
สังกัด กศน.อาํ เภอพนัสนิคม
สารบญั 4
คํานํา หน้า
บทที่ 1 บทนาํ
บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 1
บทท่ี 3 วิธีดําเนนิ งาน 3
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 7
บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ 9
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก
คณะผจู้ ัดทาํ
1
บทท่ี 1
บทนาํ
หลักสตู รการทาํ อาหารและขนม หลกั สตู ร 32 ชั่วโมง
หลกั การและเหตผุ ล
การประกอบอาชพี ในปัจจุบนั ทีห่ ลากหลาย มอี าชีพหลกั ซึ่งแตกต่างกันออกไป เชน่ อาชีพคา้ ขาย เกษตรกร
รับจ้าง และอืน่ ๆ อีกมากมาย ซง่ึ เปน็ รายไดห้ ลกั ของครอบครัว การจดั กจิ กรรมอบรมอาชีพ ให้ประชาชนทั่วไปโดย
เนน้ เนอ้ื หา ความรแู้ ละทักษะอาชพี เพ่อื ใหส้ อดคล้องกับสภาพของแตล่ ะบคุ คล แตล่ ะพ้ืนทใ่ี หผ้ ู้เรียนมที กั ษะในการ
จดั การบริหาร สามารถประกอบอาชีพสมัยใหม่ และเป็นอาชพี ทก่ี ้าวหนา้ ในอนาคตอีกท้ังยังเปน็ การส่งเสริมการ
เรยี นรสู้ าํ หรับประชาชน ใหส้ ามารถนําความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสรมิ ในชวี ิตประจําวนั ไดจ้ รงิ
อกี ทั้งยงั เป็นการส่งเสริม สบื ทอดภมู ิปญั ญาท้องถิ่น และสรา้ งความเจรญิ รุ่งเรืองชมุ ชนและทอ้ งถิ่นในการสาํ รวจ
ความต้องการของประชาชนในตําบลหวั ถนน พบว่าประชาชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ธรุ กิจสว่ นตวั
คา้ ขาย แม่บา้ น รับจ้าง และอ่ืนๆ ซ่งึ มคี วามต้องการใชเ้ วลาวา่ งจากการประกอบอาชพี หลักมาเรยี นรู้อาชีพต่างๆ
เป็นอาชพี เสรมิ ใหก้ ับครอบครัวแตย่ งั ขาดทักษะการเรยี นรู้และฝกึ ปฏิบตั ิ
กศน.ตาํ บลหัวถนน ไดเ้ ล็งเหน็ ความสาํ คัญของกระบวนการเรยี นรใู้ นชุมชนด้านการพัฒนาอาชพี จึงไดจ้ ดั ทาํ
หลักสตู รวิชาชพี หลกั สตู รระยะส้ันเพื่อสนองตอบความตอ้ งการของประชาชน เพื่อใหป้ ระชาชนมที ักษะความรดู้ ้าน
อาชพี สามารถนําความรู้ที่ไดร้ ับไปปรับใช้ในชวี ติ ประจาํ วันได้ กศน.ตาํ บลหวั ถนนจึงไดจ้ ดั ทาํ กิจกรรมสอนอาชพี และ
ส่งเสริมการเรียนรู้ หลกั สตู รวิชาการทาํ อาหารวา่ ง ให้กับประชาชนตาํ บลหวั ถนน
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพือ่ ให้ผ้รู บั บริการมีความร้เู ก่ียวกับการเรียนรู้วชิ าชีพระยะส้ัน
2. เพ่ือให้ผู้รับบริการสามารถนําความร้ทู ีไ่ ด้รบั ไปใชใ้ นการประกอบอาชีพสร้างรายได้ให้ครอบครัวได้
เป้าหมาย
เชงิ ปรมิ าณ
ประชาชนตาํ บลหัวถนน จาํ นวน 11 คน
เชงิ คณุ ภาพ
ผู้รับบริการมีความรู้ความเข้าใจกระบวนการเรยี นรวู้ ิชาชพี ระยะสัน้ เพ่ือนาํ ไปเปน็ แนวทางการ
ประกอบอาชีพในการดํารงชวี ติ ประจาํ วัน
2
วิธดี าํ เนนิ การ
การดาํ เนนิ งาน ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
1. สาํ รวจความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย 10-14 กรกฎาคม 2565
2. กาํ หนดแผนและปฏทิ ินการดาํ เนินงาน 2 สงิ หาคม 2565 3,000 บาท น.ส. ทวพี ร เคนรํา
3. เขียนโครงการเสนอเพ่ือของบประมาณ 5 สิงหาคม 2565
4. ดําเนนิ งานและติดต่อประสานงาน 7 สิงหาคม 2565
5. ประชุมเตรียมการผเู้ กี่ยวข้อง 9 สงิ หาคม 2565
6. ดําเนนิ กิจกรรมหลักสตู รวิชาการ 22-29 สงิ หาคม 2564
ทาํ อาหารวา่ ง
ระยะเวลาการดาํ เนนิ โครงการ
วันที่ 22-29 สิงหาคม 2565 ณ บ้านแหลมเขา เลขท่5ี 5 หมู่ 3 ต.หัวถนน อ.พนัสนคิ ม จ.ชลบรุ ี
งบประมาณ
งบประมาณศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน (ชน้ั เรยี นวิชาชีพ) จํานวน 9,000 บาท
ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
นางสาวทวีพร เคนรํา
ผลผลติ /ผลลพั ธ์
ผลผลติ ประชาชนตําบลหวั ถนน จํานวน 11 คน
ผลลพั ธ์ ผู้รับบริการได้เรียนรู้เกี่ยวกับวชิ าชพี ระยะสน้ั ที่มีความหลากหลายและตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนตาํ บลหวั ถนน เปน็ แนวทางในการประกอบอาชพี ในครอบครัว และชุมชน
ตวั ชวี้ ดั
ตวั ชวี้ ดั ผลผลติ ประชาชนตาํ บลหวั ถนน เขา้ ร่วมโครงการอย่างน้อย ร้อยละ 80
ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ ผู้รบั บรกิ ารมีความรู้ความเข้าใจกระบวนการเรยี นรู้วิชาชีพระยะสนั้ สามารถนําไปประกอบ
อาชีพสรา้ งรายได้ใหค้ รอบครัวและชมุ ชนได้
ผลประเมนิ
1. จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
2. จากแบบสอบถาม
3. จากการฝึกปฏิบตั ิ
ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั
1. ผูร้ บั บรกิ ารมคี วามรเู้ ก่ียวกบั การเรยี นรู้วิชาชพี ระยะสน้ั
2. ผูร้ บั บริการสามารถนาํ ความรู้ท่ีไดร้ ับไปใช้ในการประกอบอาชีพ สรา้ งรายไดใ้ ห้ครอบครัวและชมุ ชนได้
3
บทท่ี 2
เอกสารการศกึ ษาและรายงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
ในการจัดทาํ รายงานคร้งั น้ี ไดท้ าํ การศึกษาค้นควา้ เน้ือหาจากเอกสารการศกึ ษาและเนื้อหาท่เี กย่ี วข้อง
ดังตอ่ ไปนี้
1. ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกับการทาํ อาหารว่าง 2. วธิ ีการทํากล้วยขา้ วเมา่ ทอด
3. วธิ กี ารทําขนมฟักทอง 4. วิธีการทาํ ขนมถ้วย
5. วธิ กี ารทําขนมตาควาย 6. วธิ ีการทาํ ปลากรมิ เผือก
7. วธิ กี ารทําขา้ วเหนียวหน้าปลา 8. วิธีการทําน้ํายาขนมจนี
9. วธิ กี ารทําปลาดกุ ฟู
1. ความรูเ้ บอื้ งตน้ เก่ยี วกบั การทาํ อาหารวา่ ง
อาหารว่าง หมายถึง อาหารระหว่างมื้อ เป็นอาหารประเภทเบาๆ มีปริมาณอาหารน้อยกว่า อาหารประจํา
ม้ืออาจจะเป็นอาหารน้ําหรืออาหารแห้ง มีท้ังคาวและหวาน หรือเป็นอาหารช้ินเล็กๆขนาดพอคํา หยิบรับประทาน
ได้ง่าย จัดให้สวยงามนา่ รับประทานเป็นทั้งอาหารไทยและอาหารนานาชาติ หรือรับประทานควบคู่กับเครื่องด่ืมร้อน
หรอื น้าํ ผลไม้อย่างใดอยา่ งหนง่ึ
อาหารวา่ งไทยสมัยโบราณ
อาหารว่างไทยมีมานานต้ังแต่สมัยโบราณ แม่บ้านสมัยก่อนใช้เวลาว่างในการทําอาหารว่างเก็บไว้ โดยใช้
วสั ดทุ ่ีเหลือจากอาหารมือ้ หลกั ให้เป็นประโยชน์ และใชว้ ัสดุทีม่ ีมากในฤดูกาลมาประกอบเป็นอาหารว่าง เช่น ข้าวตัง
หน้าตั้ง เมี่ยงลาว เมี่ยงส้ม ข้าวตู ข้าวตอกตั้ง ข้าวเม่าหมี่ ขนมจีบ ปั้นสิบทอด ฯลฯ เมื่อมีการต้อนรับแขกก็จะนํา
อาหารออกมาเลี้ยงแขก พร้อมกับเสิร์ฟน้ําผลไม้หรือน้ําเย็นลอยดอกมะลิต่อมามีการพบปะติดต่อกับคนต่างชาติ
รบั เอาวัฒนธรรมของชาตติ ่างๆ เขา้ มา จนี เป็นชนชาติที่ใกล้ชดิ กบั ไทยมาก วัฒนธรรมของจีนนิยมด่ืมชา ชงดื่มร้อนๆ
ตลอดวัน ใช้ด่ืมเองและเล้ียงแขกด้วย เสิร์ฟพร้อมขนมหวาน อาหารว่างที่เป็นของขนมจีนได้แก่ ขนมงาตัด ถ่ัวตัด
ขนมเปี๊ยะ ขนมโกอ๋ อ่ น ฟักเชือ่ ม อาหารวา่ งท่ีเปน็ ของคาว ไดแ้ ก่ ซาลาเปา ขนมกุยช่าย ขนมจบี ฯลฯ
อาหารวา่ งไทยสมัยปจั จบุ นั
ในปัจจบุ นั อาหารวา่ ง มคี วามจําเปน็ โดยเฉพาะคนที่ตอ้ งเดินทางไกลระหวา่ งบา้ นกับท่ีทํางาน รวมทั้งเด็กๆท่ี
ตอ้ งไปโรงเรียน จึงควรต้องรับประทานอาหารระหว่างม้ือ อาหารว่างควรเป็นอาหารท่ีย่อยง่าย ทําง่าย รับประทาน
แล้วไม่อ่ิมจนเกินไป และสะดวกที่จะรับประทาน ไม่ยุ่งยากในเร่ืองของภาชนะและการจัดเสิร์ฟ ควรเป็นอาหารท่ี
เป็นช้ินเป็นคํา หรือถ้วยเล็กๆ ซึ่งรับประทานได้สะดวก แต่ต้องคํานึงด้วยว่าอาหารว่าง ควรจะประกอบด้วยอาหาร
หลายอย่าง เช่น แป้ง ไข่ น้ําตาล นม ผัก ผลไม้ เพื่อให้ได้คุณค่าอาหารครบ เคร่ืองด่ืมจะเป็นร้อนหรือเย็นก็ได้
แล้วแตโ่ อกาสและสถานที่
4
ประเภทของอาหารวา่ ง
อาหารว่างแบบไทยและนานาชาติ ดังน้ี
1. อาหารว่างไทย (คาวหวาน) อาหารว่างท่ีคนไทยรับประทานมีมากมายหลายชนิด ท้ังชนิดนํ้าและชนิด
แห้ง ของว่างชนิดนํ้าไม่นิยมเลี้ยงในตอนบ่าย นิยมอาหารว่างชนิดแห้งเป็นส่วนใหญ่ เช่น ป้ันสิบนึ่งไส้ต่างๆ
กระทงทอง ขนมเบือ้ งกรอบ สาคูไสห้ มู เมย่ี งลาว ของหวาน เช่น ขนมสอดไส้ ขนมลมื กลนื ตะโก้ เปน็ ต้น
2. อาหารว่างจนี (คาวหวาน) กม็ ีมากเช่นเดียวกนั มที ั้งของว่างชนดิ นํา้ เช่น โจก๊ ก๋วยเตี๋ยว เก๊ียวน้ํา เป็นต้น
สว่ นอาหารว่างชนดิ แหง้ มักจะเป็นของทอดหรอื น่งึ เช่น ขนมจบี ปัน้ สบิ นึ่ง ขนมเปย๊ี ะ เปาะเป๊ียะสด ซาลาเปา เป็นตน้
3. อาหารว่างสากล นิยมกันมากในการจัดเล้ียงงานใหญ่ๆ เพื่อรับรองแขก เพราะจัดได้สวยและน่า
รับประทาน อาหารทร่ี ับประทานอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความตอ้ งการ ซึ่งแลว้ แตจ่ ะจดั ขน้ึ อาหารว่างสากลที่นิยม
จดั รับประทานมดี งั นี้ ชา กาแฟ แซนด์วชิ เคก้ ตา่ งๆ เยลลี ผลไม้ ไอศกรมี
4. อาหารว่างแบบประยุกต์ ในการประกอบอาหารว่างน้ันเราไม่จําเป็นจะต้องทําอยู่แต่อย่างเดียวเสมอไป
ผู้ประกอบการอาหารจาํ เปน็ ต้องดัดแปลง ให้เหมาะสมกับสมัยและความนิยมการนําอาหารแบบต่างๆมาประยุกต์ก็
คือ การนําอาหารว่างไทย จีน ฝร่ัง มาจัดผสมรวมกันในการเล้ียงรับรองแขก เพ่ือให้อาหารมีรสแตกต่างกันออกไป
และมีความสวยงามอีกดว้ ย
ชนดิ ของอาหารวา่ ง
อาหารวา่ งแบ่งตามรสชาติได้ 2 ชนิด คอื
1. อาหารว่างคาว ไดแ้ ก่ ขนมจบี แซนดว์ ชิ ป้ันสบิ ทอด สาคไู ส้หมู ซาลาเปา ฯลฯ
2. อาหารวา่ งหวาน ได้แก่ คกุ กต้ี ่างๆ เค้กตา่ งๆ ขนมปยุ ฝา้ ย ขนมดอกลําดวน ขนมสอดไส้ พายไส้ตา่ งๆ
ลักษณะของอาหารวา่ ง
อาหารวา่ งแบ่งตามลกั ษณะได้ 4 ประเภท คอื
1. อาหารว่างทเี่ ปน็ อาหารแบบแหง้ ไดแ้ ก่
ข้าวตงั หนา้ ตง้ั ,ขนมจบี ซาลาเปา,สาคไู ส้หมู,ปนั้ สบิ นึ่งหรอื ทอด,คุกกี้ บิสกิต,เคก้ ตา่ งๆ
2. อาหารว่างชนดิ นํ้า ไดแ้ ก่
กว๋ ยเตย๋ี วนํ้า หมู เปด็ ไก่, มะกะโรนนี ้าํ , โจ๊กหมู กุ้ง ไก่, เคร่อื งดม่ื ร้อน เยน็
3. อาหารว่างประเภทกบั แกลม้ อาหารประเภทนใี้ ชร้ ับประทานกบั เครื่องด่ืมประเภทแอลกอฮอล์ สว่ นใหญจ่ ะเปน็
อาหารประเภทยํา ลาบ พลา่ ตา่ งๆ ของทอด อาหารขบเคยี้ ว เชน่
ยําไส้กรอก,ยาํ องั วะ,ยําเล็บมือนาง,ยาํ ปลากรอบ,ลาบอ่นื ๆ,ปลาทอดตา่ งๆ
4. อาหารวา่ งแบบคอ็ กเทล
อาหารวา่ งแบบคอ็ กเทล ได้แก่ พวกแซนด์วิชต่างๆ ตดั เปน็ ชิน้ เล็กๆ หรือออร์เดิรฟ์ ชนิดตา่ งๆ ข้าว
เกรยี บทอด มันทอด ถ่ัวทอดกับแกล้มทเ่ี ปน็ ชิ้นเลก็ ๆ หยิบงา่ ยสะดวกแก่การรับประทาน
5
วธิ กี ารทาํ กลว้ ยข้าวเมา่ ทอด
สว่ นผสมและวธิ ที าํ ขา้ วเมา่ ทอด
1. กล้วยไข่สกุ 1 หวี
2. มะพรา้ วขดู 400 กรมั
3. นํา้ ตาลปบี๊ 400 กรัม
4. น้าํ ตาลทราย 200 กรัม
5. ขา้ วเมา่ 4 ถว้ ยตวง
6. นา้ํ สะอาด ½ ถว้ ยตวง
วธิ ที าํ ขา้ วเมา่ ทอด
1. นาํ น้าํ ตาลทราย น้าํ ตาลปี๊บใสใ่ นกระทะทองเตมิ นาํ้ เปลา่ นาํ ไปตั้งไฟรอจนน้ําตาลละลายหรไ่ี ฟลงแล้วเค่ียวต่อจน
น้าํ ตาลเริ่มขน้ เป็นยางใสม่ ะพรา้ วลงไปเค่ียวต่อ
2. เมอ่ื เริ่มแห้งใส่ข้าวเม่าลงไปกวนจนเหนยี วเปน็ ยางมะตูมแลว้ ยกลงพัก
3. ขา้ วเม่าเริ่มเย็นใช้มือแตะนํ้าเปล่าแล้วหยิบขา้ วเม่าท่ีกวนไวม้ าแผ่เปน็ แผน่ บางๆให้กวา้ งพอท่จี ะห่อ กลว้ ยไขไ่ ด้
4.นาํ กล้วยไข่ท่ีปอกเปลือกแลว้ วางลงตรงกลางแผ่นขา้ วเม่าแล้วห่อใหม้ ดิ บบี เบาๆใหต้ ดิ แนน่ ทาํ จน หมดแลว้ พักไว้
สว่ นผสมแปง้ ทอดขา้ วเมา่
1. หวั กะทิ 1 ½ ถ้วยตวง
2. หางกะทิ 1 ½ ถ้วยตวง
3. แป้งสาลี 250 กรัม
4. แป้งขา้ วเจา้ 250 กรมั
5. ไข่ไก่ 5 ฟอง
6. เกลอื ปน่ 1 ชอ้ นชา
วธิ ที าํ
1.ผสมแปง้ ทง้ั สองชนิดเขา้ ดว้ ยกนั จากน้นั เทหัวกะทิลงไปเติมเกลือป่นแลว้ นวดใหเ้ ขา้ กนั
2.จากนน้ั ตอกไข่ใส่ลงไปรินหางกะทิลงไปผสมนวดจนสว่ นผสมเขา้ กันและเนื้อแป้งไม่ตดิ มือ
3.นํากระทะต้ังไฟใช้ไฟแรงปานกลาง ใส่น้าํ มันลงในกระทะให้ทว่ มขา้ วเมา่ ทจ่ี ะทอด
4.รอจนน้ํามนั รอ้ นได้ที่นํากลว้ ยที่ห่อด้วยขา้ วเม่าไวล้ งชุบในแปง้ ท่ผี สมไว้ลงทอดในน้ํามนั ใหต้ ิดกันเปน็ ค่ๆู ทอดจนได้
จาํ นวนที่ตอ้ งการแลว้ พกั ไว้
5.ใช้นิ้วมือจ่มุ ลงในแป้งที่ผสมไว้แล้วนําไปโรยลงในกระทะน้ํามัน ใช้ไม้เขยี่ แปง้ ท่ีทอดให้มารวมกนั เป็นแพ จากนนั้ ตัก
ข้นึ วางบนขา้ วเม่าที่ทอดคู่กนั สาํ หรับสตู รและวธิ ีทาํ ข้าวเม่าทอดท่ีdatacatalog.orgนาํ มาแนะนาํ ให้ทําขายเปน็ อาชีพ
อิสระทําเงินเป็นสูตรโบราณแปง้ ที่โรยเปน็ แพแลว้ นํามาวางบนกลว้ ยทห่ี อ่ ด้วยขา้ วเมา่ ทอดจะกรอบอร่อย และมี
ความสวยงามน่าทานซง่ึ ปจั จุบันหาทานยากเพราะมกี ารประยกุ ตป์ รบั ปรงุ สตู รโดยนาํ มาทอดเป็นลูกๆ แทนการทาํ
เปน็ แพ
6
วิธกี ารทาํ ขนมฟกั ทองนงึ่
สว่ นผสม
เนอื้ ฟักทองนงึ่ 700 กรมั
หัวกะทิ 1 กิโลกรัม
ผงฟู 1 ช้อนโต๊ะ
เกลอื 1/2 ชอ้ นโตะ๊
แปง้ บัวแดง 1 กิโลกรมั
น้าํ ตาลทราย 700 กรัม
ยีสต์ 1ชอ้ นชา
วธิ ที าํ
1. รอ่ นแปง้ ผงฟู ลงในชามผสม ใส่ยีสต์ ผสมใหเ้ ข้ากัน
2. นาํ ฟกั ทอง กะทิ นํ้าตาลทราย เกลอื ปน่ั ใหล้ ะเอียด
3. นําฟักทองทีป่ น่ั เทผสมลงในแปง้ ผสมใหเ้ ขา้ กัน แลว้ พักไว้ 45 นาที จนขึ้นฟู
4. ใช้พายคนไลอ่ ากาศ ตักใสพ่ ิมพ์กระดาษประมาณ 3/4 ของพิมพ์ เผือ่ ขนมข้ึนฟู
5. ใสน่ ํ้า3/4 ของหม้อนงึ่ น่ึงด้วยไฟแรง 15 นาที
หา้ มเปดิ ฝาจนกว่าจะครบเวลาทกี่ ําหนด ก่อนน่งึ ต้องเช็ดฝาหมอ้ ให้แหง้ ก่อนปดิ
7
สว่ นผสมตวั ขนมถว้ ย วิธกี ารทาํ ขนมถว้ ย
แป้งขา้ วเจา้
แปง้ มันหรือแป้งท้าวยายม่อม 65 กรัม
นาํ้ ตาลโตนด 15 กรัม
กะทสิ ด 120 กรมั
น้ําใบเตย 200 กรมั
200 กรมั
สว่ นผสมหนา้ ขนมถว้ ย
กะทสิ ด 400 กรัม
แปง้ ข้าวเจ้า 20 กรมั
น้ําตาลทราย 30 กรัม
เกลอื 3 กรัม (1 ชอ้ นชา)
วธิ ที าํ ไสแ้ ปง้
1. นาํ ใบเตยมาหนั่ หยาบ ๆ ใสเ่ ครอ่ื งปน่ั ตามด้วยนํ้าเปลา่ เล็กน้อย จากนัน้ ปัน่ ให้ละเอยี ด แล้วนําไปกรองผ่าน
ถุงชา ก็จะไดน้ ํ้าใบเตยเขม้ ขน้ ออกมา
2. เตรยี มชามผสม ใส่แป้งข้าวเจ้า แป้งมัน นาํ้ ตาลโตนด กะทิ และน้ําใบเตย จากนน้ั คนสว่ นผสมทง้ั หมดให้
ละลายเข้ากัน
3. เตรยี มซง้ึ น่ึง ต้มน้ําใหเ้ ดือด แลว้ วางถ้วยตะไลลงไป นงึ่ ถ้วยให้ร้อน ใช้เวลาประมาณ 5 นาที
4. พอครบเวลา ให้ตกั แป้งหยอดลงไปครึง่ ถว้ ย จากน้ัน ปดิ ฝา ใช้ไฟกลาง นึ่งตอ่ อีก 5-8 นาที
วธิ ที าํ หนา้ กะทิ
1. เตรยี มชามผสม ใสแ่ ปง้ ข้าวเจา้ นา้ํ ตาลทราย เกลอื ป่น คนให้เขา้ กัน
2. จากน้ัน เทหัวกะทลิ งไป คนใหน้ ํา้ ตาลและแปง้ ละลายเข้ากัน
3. ตักกะทหิ ยอดใสถ่ ้วยตะไลให้พอดี อย่าลน้ เกนิ ขอบถ้วย จากนน้ั ปดิ ฝาซงึ้ ใชไ้ ฟแรง น่ึงต่ออีก 7 นาที
4. พอหนา้ กะทิแตกมนั ดแี ล้ว ให้ยกมาพักไว้ให้เย็น เป็นอนั เสร็จ
8
สว่ นผสมตวั แปง้ วิธกี ารทาํ ขนมตาควาย
1.แป้งข้าวเหนยี ว
2.นาํ้ อนุ่ 150 กรัม
1 ถว้ ยตวง
สว่ นผสมไสข้ นม
1.มะพรา้ วทึนทกึ ขูด 150 กรมั
2.น้าํ ตาลปีบ๊ 100 กรมั
3.นาํ้ เปลา่ 4-5 ชอ้ นโต๊ะ
5.มะพร้าวทึนทกึ ขูด 100 กรัม
6.เกลอื เลก็ น้อย
วธิ ที าํ
1.ทําไสข้ นมโดยตั้งกระทะ ละลายนาํ้ ตาลปบี๊ กอ่ น จากน้ันใสม่ ะพร้าวลงไปกวนจนแหง้ ปั้นเป็นกอ้ นกลมๆไว้
2.นวดแป้งกับนาํ้ อุ่นจนเข้ากนั ดี เน้ือแป้งจะมีลกั ษณะนมิ่ ๆนะครับ ปัน้ เป็นก้อนๆไวเ้ ชน่ กัน
3.นาํ แปง้ ทีป่ ั้นไวแ้ ลว้ มากดให้แบน ใสไ่ ส้มะพร้าวลงไปตรงกลางแล้วห่อ
4.ตม้ น้าํ ในหม้อรอจนเดือด ใส่แป้งทหี่ อ่ ไส้ไวแ้ ลว้ ลงไปต้มจนสุก
5.นาํ แป้งท่ีตม้ จนสุกไปคลกุ กับมะพรา้ วคลุกที่เราผสมกบั เกลือไว้
เพื่อนๆลองเอาไปทําดูครับ ขนมไทยไมย่ ากอย่างทคี่ ิดนะ
9
สว่ นผสม วธิ กี ารทาํ ขนมปลากรมิ เผือก
เผอื กหอม
แป้งมัน 1 กโิ ลกรัม
เกลอื 1 กโิ ลกรัม
น้ําตาลทราย 1 ชอ้ นชา
แป้งทา้ วยายม่อม 1 กิโลกรมั
กะทิ 3 ขดี
2 กโิ ลกรัม
วธิ ที าํ
1. ปอกเผือกล้างน้ําใหส้ ะอาด หัน่ เป็นชิ้นน้าํ ไปน่งึ ใหส้ กุ
2. นวดเผอื กกบั แป้งมัน แป้งท้าวยายม่อมโดยใช้นาํ้ รอ้ น นวดใหเ้ หนยี ว
3. ทําแป้งให้เปน็ แผน่ บางๆ แลว้ หน่ั เปน็ ชนิ้ เลก็ ๆ ตามแนวยาวไม่ตอ้ งยาวมาก
4. นําแป้งท่ีห่นั แล้วไปลวกน้าํ รอ้ นให้สุกแลว้ ตกั ใส่ในนํ้าเยน็ ตกั ออกพักไว้ให้สะเด็ดนํา้
5. นาํ น้ําตาลทราย กะทิ เกลือ ตม้ พอเดือดชมิ รส หวาน มนั เคม็ นดิ หนอ่ ย
6. นําแป้งที่ตม้ สุกท่สี ะเด็ดนํ้าแล้วใส่ลงคนให้ เขา้ กนั
10
สว่ นผสมขา้ วเหนยี วมนู วธิ กี ารทาํ ขา้ วเหนยี วหนา้ ปลา
ขา้ วเหนียว 1 กโิ ลกรมั
หัวกะทิ 1 กิโลกรัม
หางกะทิ ½ ถ้วย
นา้ํ ตาลทราย 3 ขีด
เกลือสมุทร 1 ช้อนชา
สว่ นผสมหนา้ ปลาแหง้ 1 ตวั
30 กรัม
ปลาชอ่ นแดดเดียว 1 ช้อนชา
หอมแดงเจยี ว 2 ช้อนโตะ๊
นาํ้ มนั พืช
นา้ํ ตาลทราย
วธิ กี ารทาํ ขา้ วเหนยี วมนู
นําข้าวเหนียวทสี่ ุกแล้วใส่ในภาชนะ เท หวั กะทิทผ่ี สมนํ้าตาลลงไป ให้พอทว่ มข้าวเหนียวคนเบาๆ ใหท้ ่วั
ปิดฝาใหร้ ะอุและดูดนํ้ากะทิ ประมาณ 1 ชั่วโมง *อยา่ คนแรง เมด็ ข้าวเหนยี วจะหกั
วธิ กี ารทาํ หน้าปลา
แกะเอาแตเ่ นื้อปลา (ไม่เอาหาง กา้ งหรือครีบ) โขลก ยี เนือ้ ปลาสลับกันจนฟู ต้งั กระทะใชน้ ้ํามันที่เหลือจาก
ทาํ หอมเจียวเล็กน้อย ใช้ไฟกลาง กระทะร้อนนําปลาที่โขลกไว้ลงไปค่ัว จนแหง้ กรอบเป็นสเี หลืองทอง
พกั ปลาให้คลายรอ้ น ใสน่ าํ้ ตาลทราย หอมเจยี ว คลุกใหเ้ ขา้ กัน ถา้ เค็มไม่พอเตมิ เกลือไดเ้ ลก็ นอ้ ย หรอื ถา้ ยงั เค็ม
อยู่เติมนํา้ ตาลทรายได้
11
วธิ กี ารทาํ น้าํ ยาขนมจนี
สว่ นผสม 200 กรมั
ตะไคร้ 30 กรัม
กระเทียม 50 กรัม
หอมแดง 60 กรัม
ข่า 400 กรมั
กระชาย 20 เม็ด
พรกิ แหง้ 500 กรัม
เนอ้ื ปลานิล 250 มลิ ลลิ ติ ร
กะทิ
น้ําเปล่า 4 ถว้ ย
นา้ํ ปลา 3 ช้อนโต๊ะ
เกลือ 2 ช้อนชา
ลูกชิน้ ปลา 150 กรัม
ผกั กนิ แกล้ม (ถ่วั งอก, โหระพา, ถั่วฝกั ยาว, ผักกาดดอง)
วธิ กี ารทาํ
ตม้ นํา้ ใหเ้ ดือด ใส่ตะไคร้ กระเทยี ม หอมแดง ข่า กระชาย และ พริกแห้งลงไป ตามดว้ ยเน้ือปลา
ต้มจนสุกกรองทุกอยา่ งออก และเกบ็ นํา้ ต้มไวด้ ว้ ย นําพริก ข่า กระชาย หอมแดง และเน้อื ปลาที่ต้ม มาโขลกให้
ละเอยี ดจนกลายเป็นเครื่องแกง
ตั้งกระทะเทนา้ํ กะทลิ งไปคร่ึงหนึง่ รอจนร้อนได้ที่ ให้นาํ เครื่องแกงลงไปผดั กับกะทจิ นเขา้ กันแลว้ ใหเ้ ตมิ
กะทิส่วนที่เหลือลงไป ตามด้วยน้ําเปลา่ เค่ยี วจนกะทิแตกมัน ปรุงรสด้วยน้ําปลา เกลือ และตามดว้ ยใส่ลกู ชนิ้ ปลา
12
วธิ กี ารทาํ ปลาดกุ ฟู
สว่ นผสม
ปลาดกุ ยา่ ง 1 ตวั
นํา้ มันพืช (สําหรบั ทอด) 500 กรมั
พรกิ ขีห้ นู 10 เมล็ด
นา้ํ ปลา 2 ช้อนโต๊ะ
น้ํามะนาว 1 ช้อนโตะ๊
น้ําตาลป๊ีบ 2 ขดี
มะมว่ งเปรีย้ วขดู หรือสบั 1 ลกู
หอมแดงซอย
ถ่ัวลสิ งคว่ั (โรยหนา้ )
พริกซอย (โรยหน้า)
ใบสะระแหน่ (โรยหน้า)
วธิ กี ารทาํ
1. แกะเนื้อปลาดุกยา่ ง เอากา้ งและหนงั ออก นาํ ไปโขลกจนละเอียด เติมนา้ํ มนั พชื ลงไปเล็กน้อย
(เพ่ือชว่ ยใหเ้ น้ือปลาฟู) โขลกใหล้ ะเอียดเขา้ กนั จากนนั้ ผง่ึ เนื้อปลาท่ีโขลกแล้วใหแ้ ห้งก่อนนําไปทอด
2. ใสน่ ้ํามันพชื ลงในกระทะ นาํ ข้ึนต้งั ไฟแรง ค่อย ๆ โรยเน้ือปลาลงทอดจนจบั ตวั เป็นแพ ทอดจนเหลอื ง
กรอบ ตักข้ึนสะเด็ดนา้ํ มนั เตรียมไว้
3. ทาํ น้าํ ยํา โดยโขลกพรกิ และกระเทยี มเขา้ ด้วยกนั ปรงุ รสด้วยน้าํ ปลา นํ้ามะนาว และนํา้ ตาลปี๊บ ชมิ รส
4. จัดเนอ้ื ปลาดุกฟูใส่จาน ตามดว้ ยมะม่วงเปรยี้ วขูดและหอมแดง โรยถวั่ ลิสง พริกซอย และใบสะระแหน่
เสริ ฟ์ พร้อมน้าํ ยาํ ท่เี ตรยี มไว้
13
บทท่ี 3
วธิ ดี าํ เนนิ งาน
โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพจติ ผสู้ งู วยั มขี นั้ ตอนดงั นี้
1.ประสานงานกบั ภาคีเครือข่าย/สาํ รวจความตอ้ งการ
2.เสนอโครงการ
3.ดาํ เนินงาน
4.การวเิ คราะห์ข้อมลู /สรปุ ผลการดําเนินงาน
1.ประสานงานกบั ภาคเี ครือขา่ ย/สาํ รวจความตอ้ งการ
กศน.ตําบลหวั ถนน ได้ดาํ เนินการประสานงานภาคีเครือข่ายประกอบดว้ ย โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ
ตําบลหัวถนน และชมรมผสู้ ูงอายุ ตําบลหัวถนน เพอื่ สํารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและนาํ มาวางแผนจัดทาํ
โครงการ
2. เสนอโครงการ
โดยดาํ เนินการขออนมุ ัติโครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน (ชน้ั เรียนวชิ าชพี ) วชิ าการทาํ อาหารและขนม
3. ดาํ เนนิ การจัดกิจกรรม
โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน (ชั้นเรยี นวชิ าชพี ) วชิ าการทําอาหารและขนมดําเนินการใน
วนั ท่ี 22-29 สงิ หาคม 2565 ณ บา้ นแหลมเขา เลขท่ี 55 หมู3่ ตําบลหัวถนน อําเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี
ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ 11 คน
4. การวิเคราะหข์ อ้ มลู /สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน
การวเิ คราะห์ข้อมูล ใช้คา่ สถิติรอ้ ยละ ในการประมวลผลข้อมลู สว่ นตวั และตวั ชี้วดั ความสาํ เรจ็ ของโครงการ
ตามแบบสอบถามความคดิ เหน็ รายข้อ แล้วนําไปแปรความหมายตามค่าระดับเกณฑ์
เกณฑ์การประเมนิ
ค่าสถิตินอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ปรับปรงุ
คา่ สถติ ิร้อยละ 50-74 พอใช้
คา่ สถิตริ อ้ ยละ 75-84 ดี
ค่าสถิตริ อ้ ยละ 85 ข้นึ ไป ดมี าก
14
การวิเคราะห์ข้อมูล ใชค้ า่ สถิติร้อยละ ในการประมวลผลข้อมูลส่วนตวั และตัวชี้วดั ความสาํ เร็จของโครงการ
ตามแบบสอบถามความคดิ เห็นรายข้อ แลว้ นําไปแปรความหมายตามค่าระดับเกณฑ์กาํ หนดคา่ ลาํ ดบั ความสาํ คัญ
ของการประเมินผลออกเป็น 5 ระดับ ดังน้ี
มากทีส่ ุด ใหค้ ะแนน 5
มาก ให้คะแนน 4
ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3
น้อย ให้คะแนน 2
น้อยท่สี ดุ ใหค้ ะแนน 1
ในการแปลผล ผจู้ ดั ทําได้ใชเ้ กณฑก์ ารพิจารณาจากคะแนนเฉล่ยี ตามแนวคิดของ บญุ ชม ศรสี ะอาด และบญุ
สง่ นวิ แกว้ (2535, หน้า 22-25)
4.51-5.00 หมายความวา่ ดีมาก
3.51-4.50 หมายความว่า ดี
2.50-3.50 หมายความวา่ ปานกลาง
1.50-2.50 หมายความวา่ นอ้ ย
1.00-1.50 หมายความวา่ ตอ้ งปรับปรุง
ผ้เู ข้ารว่ มโครงการจะต้องกรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม เพ่ือนาํ ไปใชใ้ นการประเมนิ ผลของการจัดกจิ กรรมดงั กล่าว
และจะไดน้ าํ ไปเป็นข้อมูล ปรับปรุง และพัฒนา ตลอดจนใชใ้ นการจดั ทาํ แผนการดาํ เนนิ การในปตี ่อไป
15
บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน (ช้นั เรยี นวชิ าชีพ) วิชาการทาํ อาหารและขนมดาํ เนนิ การใน
วนั ที่ 22-29 สงิ หาคม 2565 ณ บา้ นแหลมเขา เลขท่ี 55 หมู่3 ตาํ บลหัวถนน อําเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี
ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ 11 คน ซ่งึ ได้สรปุ รายงานจากแบบสอบถามความคดิ เหน็ ข้อมูลท่ีได้สามารถวเิ คราะห์และ
แสดงค่าสถิติ ดังน้ี
ตอนที่ 1 ข้อมลู สว่ นตวั ผตู้ อบแบบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ท่ตี อบแบบสอบถามไดน้ าํ มาจําแนกตามเพศ อายุ
การศกึ ษา และอาชพี ผู้จัดทําไดน้ าํ เสนอจาํ แนกตามข้อมูลดังกลา่ วดังปรากฏตามตารางดังตอ่ ไปนี้
ตารางที่ 1 แสดงคา่ รอ้ ยละของผูต้ อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามเพศ
อาชีพ คว า ม คิดเ ห็ น
รับจ้าง จานวนคน ร้อยละ
คา้ ขาย
เกษตรกรรม 2 18.18
แม่บา้ น
อนื่ ๆ 2 18.18
รวม
7 63.64
0 0.00
0 0.00
11 100.00
จากตารางท่ี 1 แสดงว่าผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม เป็นเพศหญิง จํานวน 11 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00
ตารางท่ี 2 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอายุ
ช่ วง อา ยุ คว า ม คิดเ ห็ น
ตา่ กวา่ 15 จานวนคน ร้อยละ
15 - 39 ปี
40 - 60 ปี 0 0.00
60 ปขี น้ึ ไป
0 0.00
รวม
5 45.45
6 54.55
11 100.00
จากตารางท่ี 2 แสดงวา่ ผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรม เมือ่ จําแนกตามอายปุ รากฏวา่ ช่วงอายุ 40-60 ปี
จาํ นวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 45.45 อายุ 60 ปขี นึ้ ไป จาํ นวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 54.55 ตามลาํ ดับ
16
ตารางที่ 3 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามการศึกษา
การศึกษา คว า ม คิดเ ห็ น
ตา่ กวา่ ประถม จานวนคน ร้อยละ
ประถม
ม.ตน้ 0 0.00
ม.ปลาย
ปริญญาตรี 4 36.36
รวม
4 36.36
3 27.27
0 0.00
11 100.00
จากตารางที่ 3 แสดงว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรม เม่ือจําแนกตามการศึกษาปรากฏว่าจบ ระดับประถมศึกษา
จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 36.36 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 36.36 และ
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายจํานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 27.27 ตามลําดับ
ตารางท่ี 4 แสดงค่ารอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาชพี
อาชีพ คว า ม คิดเ ห็ น
จานวนคน ร้อยละ
รบั จ้าง 2 18.18
คา้ ขาย 2 18.18
เกษตรกรรม 7 63.64
แม่บา้ น 0 0.00
อน่ื ๆ 0 0.00
. รวม 11 100.00
จากตารางท่ี 4 แสดงว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจําแนกตามอาชพี ปรากฏว่า อาชีพเกษตรกรรม จาํ นวน 7คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 63.64 อาชีพคา้ ขาย จํานวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 18.18 และอาชพี รับจา้ ง จาํ นวน 2 คน คดิ เป็น
ร้อยละ 18.18 ตามลําดับ
17
ตอนที่ 2 ขอ้ มลู เก่ยี วกบั ความคิดเหน็ ของผเู้ ขา้ รว่ ม
จากแบบสอบถามทัง้ หมด จํานวน 11 ชุด ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมมีความคิดเหน็ ดังปรากฏในตาราง
N = 11
ข้อที่ เน้อื หากจิ กรรม ˉx S.D. อันดบั ท่ี ระดบั ผลการประเมนิ
ด้านบรหิ ารจดั การ 4.73 0.75 1 ดมี าก
1 อาคารและสถานท่ี
2 สงิ่ อํานวยความสะดวก 4.27 0.47 6 ดี
3 กาํ หนดการและระยะเวลาในการดําเนนิ โครงการ 4.27 0.47 6 ดี
4 เอกสารการอบรม 4.00 0.77 7 ดี
5 วิทยากรผู้ใหก้ ารอบรม 4.45 0.52 4 ดี
ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 4.55 0.52 3 ดมี าก
6 การจดั กิจกรรม/โครงการ
7 การบรรยายให้ความรูท้ ี่เกี่ยวข้อง 4.55 0.69 3 ดมี าก
8 การตอบขอ้ ซักถามของวทิ ยากร 4.55 0.52 3 ดมี าก
9 การแลกเปลย่ี นเรียนรขู้ องผู้เข้ารบั การอบรม 4.55 0.52 3 ดมี าก
10 การสรุปองค์ความรรู้ ่วมกนั 4.64 0.50 2 ดมี าก
11 การวดั ผล ประเมนิ ผล การฝึกอบรม 4.64 0.50 2 ดมี าก
ดา้ นประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั 4.64 0.50 2 ดมี าก
12 ไดเ้ รยี นรู้และฝึกตนเอง เก่ียวกับการฝกึ 4.36 0.67 5 ดี
13 นาํ ความรทู้ ีไ่ ด้รบั มาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาํ วัน
รวม 4.48 0.10 ดี
18
จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉล่ียแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี
เม่ือวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่าอาคารและสถานท่ี (ˉx =4.73) ส่ิงอํานวยความสะดวก (ˉx=4.27) กําหนดการและ
ระยะเวลาในการดําเนนิ โครงการ (ˉx =4.27) เอกสารการอบรม (ˉx=4.00) วทิ ยากรผใู้ ห้การอบรม (ˉx=4.45)
การจัดกิจกรรม/โครงการ (ˉx=4.55) การบรรยายให้ความรู้ที่เกี่ยวข้อง (ˉx=4.55) การตอบข้อซักถามของวิทยากร
(ˉx=4.55 ) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม (ˉx=4.55)การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน (ˉx=4.64) การวัดผล
ประเมินผล การฝกึ อบรม (ˉx=4.64) ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เกี่ยวกับการฝึก (ˉx=4.64) นําความรู้ท่ีได้รับมาปรับใช้
ในชีวติ ประจาํ วนั (ˉx=4.36) เปน็ อนั ดับสุดทา้ ย
19
ตารางท่ี 6 แสดงคา่ ร้อยละของระดับความพึงพอใจท่ีไดร้ ับตอ่ การเข้ารว่ มกิจกรรม
ประเดน็ ทีป่ ระเมนิ ระดบั การประเมนิ
มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทส่ี ุด
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
1.เนอ้ื หาวิชาทจ่ี ัดการเรียนร/ู้ ฝึกอบรมตรง 5 45.45 4 36.36 2 18.18 0 0.00 0 0.00
ตามความตอ้ งการของทา่ นเพยี งใด
2.วทิ ยากรมาใหค้ วามรู้ตรงตามเวลา 4 36.36 5 45.45 2 18.18 0 0.00 0 0.00
3.วทิ ยากรมาใหค้ วามรคู้ รบตามหลกั สตู ร 5 45.45 4 36.36 2 18.18 0 0.00 0 0.00
กาหนด
4.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของ 7 63.64 4 36.36 0 0.00 0 0.00 0 0.00
วทิ ยากร
5.จานวนส่อื /อปุ กรณ์การฝึกประกอบการ 7 63.64 2 18.18 2 18.18 0 0.00 0 0.00
เรียนเพยี งพอเพยี งใด
6.ทา่ นไดร้ ับความรู้และสามารถฝึกทกั ษะได้ 7 63.64 3 27.27 1 9.09 0 0.00 0 0.00
ตามท่คี าดหวังมากนอ้ ยเพยี งใด
7.ความรู้ทกั ษะทไ่ี ด้ สามารถนาไปใชป้ ระกอบ 7 63.64 3 27.27 1 9.09 0 0.00 0 0.00
อาชีพไดเ้ พยี งใด
8.สถานทเ่ี รียนเหมาะสมเพยี งใด 7 63.64 4 36.36 0 0.00 0 0.00 0 0.00
9.ทา่ นไดร้ ับโอกาสในการเรียนรู้เทา่ เทยี มกนั 8 72.73 3 27.27 0 0.00 0 0.00 0 0.00
เพยี งใด
10.ระยะเวลาในการเรียน/กจิ กรรมเหมาะสม 6 54.55 5 45.45 0 0.00 0 0.00 0 0.00
เพยี งใด
11.ความรู้ที่ไดร้ ับคุม้ คา่ กบั เวลา และความ 7 63.64 3 27.27 1 9.09 0 0.00 0 0.00
ตั้งใจเพยี งใด
12.ทา่ นพงึ พอใจตอ่ หลักสูตรนเ้ี พยี งใด 8 72.73 2 18.18 1 9.09 0 0.00 0 0.00
13.นาความรู้ทไี่ ด้รับมาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน 7 70.00 3 30.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
(1) รวม 78 42 12 0 0
(2) = (1) Xคะแนนเตม็ ของแตล่ ะชอ่ ง 390 168 36 00
(3) = ผลรวมของความพงึ พอใจ 594
(4) = (3) / จานวนคน 54.00
(5) = (4) X 100 ¸ 83.08
จานวนข้อXคะแนนเตม็ สูงสดุ
สรุป บรรลุ
20
จากตารางที่ 6 แสดงวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมรี ะดบั ความพึงพอใจกบั ประเดน็ ทปี่ ระเมิน
ดงั ต่อไปนี้
ประเด็นที่ 1 “เนื้อหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้/ฝึกอบรมตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด” ผู้ตอบ
แบบสอบถาม ร้อยละ 45.45 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 36.36 มีระดับความพึงพอใจใน
ระดบั “มาก” ร้อยละ 18.18 มรี ะดับความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง”
ประเด็นที่ 2 “วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 36.36 มีระดับความ
พึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 45.45 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 18.18 มีระดับความ
พึงพอใจในระดบั “ปานกลาง”
ประเด็นท่ี 3 “วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกําหนด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 45.45
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 36.36 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 18.18
มรี ะดับความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง”
ประเด็นท่ี 4 “ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 63.64
มีระดับความพึงพอใจในระดบั “มากที่สดุ ” รอ้ ยละ 36.36 มรี ะดับความพึงพอใจในระดบั “มาก”
ประเด็นท่ี 5 “จํานวนสื่อ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 63.64 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 18.18 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
รอ้ ยละ 18.18 มรี ะดบั ความพึงพอใจในระดบั “ปานกลาง”
ประเด็นท่ี 6 “ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามท่ีคาดหวังมากน้อยเพียงใด” ผู้ตอบ
แบบสอบถาม ร้อยละ 63.64 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 27.27 มีระดับความพึงพอใจใน
ระดับ “มาก” ร้อยละ 9.09 มีระดบั ความพึงพอใจในระดบั “ปานกลาง”
ประเด็นท่ี 7 “ความรู้ทักษะท่ีได้ สามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพได้เพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 63.64 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 27.27 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
รอ้ ยละ 9.09 มรี ะดับความพึงพอใจในระดบั “ปานกลาง”
ประเด็นที่ 8 “สถานท่ีเรียนเหมาะสมเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 63.64 มีระดับความพึงพอใจ
ในระดบั “มากทสี่ ุด” รอ้ ยละ 36.36 มรี ะดบั ความพงึ พอใจในระดับ “มาก”
ประเด็นที่ 9 “ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 72.73
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากทีส่ ุด” รอ้ ยละ 27.27 มีระดบั ความพงึ พอใจในระดบั “มาก”
ประเด็นท่ี 10 “ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 54.55
มรี ะดบั ความพึงพอใจในระดบั “มากทส่ี ดุ ” ร้อยละ 45.45 มีระดบั ความพงึ พอใจในระดบั “มาก”
ประเด็นท่ี 11 “ความรู้ที่ได้รับคุ้มค่ากับเวลา และความต้ังใจเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 63.64
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 27.27 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 9.09
มรี ะดับความพึงพอใจในระดบั “ปานกลาง”
ประเด็นที่ 12 “ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ ร้อยละ 72.73 มีระดับ
ความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 18.18 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 9.09 มีระดับ
ความพงึ พอใจในระดบั “ปานกลาง”
21
ประเด็นท่ี 13 “ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ ร้อยละ 70.00 มีระดับ
ความพงึ พอใจในระดบั “มากที่สุด” ร้อยละ 30.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
อภปิ รายผล
จากการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการทําอาหารและขนม
สรปุ ได้ดังนี้
จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉล่ียแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี
เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่าอาคารและสถานท่ี (ˉx =4.73) สิ่งอํานวยความสะดวก (ˉx=4.27) กําหนดการและ
ระยะเวลาในการดําเนินโครงการ (ˉx =4.27) เอกสารการอบรม (ˉx=4.00) วิทยากรผ้ใู ห้การอบรม (ˉx=4.45)
การจัดกิจกรรม/โครงการ (ˉx=4.55) การบรรยายให้ความรู้ท่ีเกี่ยวข้อง (ˉx=4.55) การตอบข้อซักถามของวิทยากร
(ˉx=4.55 ) การแลกเปล่ียนเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม (ˉx=4.55)การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน (ˉx=4.64) การวัดผล
ประเมินผล การฝึกอบรม (ˉx=4.64) ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เก่ียวกับการฝึก (ˉx=4.64) นําความรู้ท่ีได้รับมาปรับใช้
ในชีวติ ประจาํ วัน (ˉx=4.36) เป็นอนั ดบั สดุ ท้าย
สรุปค่า x ทง้ั 13 ข้อมีความพงึ พอใจอย่ใู น ระดบั ดีมาก x =4.48
สรุปคา่ S.D. ทัง้ 13 ขอ้ มคี วามพึงพอใจ S.D.= 0.10
สรปุ คา่ เปอร์เซน็ ต์ ท้งั 12 ข้อมคี วามพึงพอใจอยทู่ ี่ 83.08 %
ความพงึ พอใจโดยรวมของผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมอยู่ใน ระดบั ดี
ข้อเสนอแนะจากแบบประเมนิ โครงการ
ควรจัดให้มกี ารอบรมเกี่ยวกับการทาํ ขนมไทย และอาหารไทย
22
บทท่ี 5
สรปุ อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะ
การจดั กจิ กรรม
โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (ช้ันเรียนวิชาชพี ) วิชาการทาํ อาหารและขนมดาํ เนินการในวนั ท่ี 22-29 สงิ หาคม 2565
ณ บา้ นแหลมเขา เลขท่ี 55 หมู3่ ตาํ บลหวั ถนน อาํ เภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ีผู้เข้าร่วมโครงการ 11 คน
ซึ่งผจู้ ดั ทาํ ได้ดําเนินการตามลาํ ดบั ข้นั ดังนี้
1. สาํ รวจความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย
2. กาํ หนดแผนและปฏิทินการดําเนินงาน
3. ดาํ เนนิ งานและติดต่อประสานงาน
4. ดําเนนิ การจัดกิจกรรมวชิ าการทําอาหารว่าง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผูเ้ รยี นมีความรู้เกี่ยวกับวิชาการทาํ อาหารและขนม
2. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์ และวิชาการทําอาหารและขนม
3. เพื่อให้ผูเ้ รยี นมีความรูค้ วามเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจดั การในอาชีพไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
วิธดี ําเนนิ การ
1.ประสานงานกบั ภาคเี ครือขา่ ย/สาํ รวจความตอ้ งการ
ครู กศน.ตาํ บลหวั ถนน ไดด้ ําเนนิ การประสานงานภาคีเครือขา่ ยประกอบด้วย กํานนั ผู้ใหญบ่ า้ น
กลุม่ พัฒนาสตรี และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาํ หมบู่ ้าน เพอ่ื สาํ รวจความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายและนํามา
วางแผนจดั กิจกรรม
2. เสนอโครงการ
โดยดาํ เนินการขออนุมัติโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน (กลุ่มสนใจ) วชิ าการทําอาหารว่าง
3. ดาํ เนินการจัดกิจกรรม
โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ชั้นเรยี นวชิ าชพี ) วิชาการทําอาหารและขนมดําเนนิ การในวนั ท่ี 22-29 สงิ หาคม 2565
ณ บ้านแหลมเขา เลขที่ 55 หมู3่ ตาํ บลหวั ถนน อาํ เภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ีผู้เขา้ ร่วมโครงการ 11 คน
23
สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เป็นเป็นเพศหญิง จาํ นวน 11 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 อายปุ รากฏว่า ชว่ งอายุ
40-60 ปีจาํ นวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 45.45 อายุ 60 ปีข้นึ ไป จาํ นวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 54.55 ตามลาํ ดับ
ระดับประถมศกึ ษา จํานวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 36.36 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จาํ นวน 4 คน คิดเป็นร้อย
ละ 36.36 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจํานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 27.27 ตามลําดับ อาชีพปรากฏว่า
อาชีพเกษตรกรรม จํานวน 7คน คิดเป็นร้อยละ 63.64 อาชีพค้าขาย จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 18.18 และ
อาชพี รบั จ้าง จํานวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 18.18 ตามลาํ ดบั
โดยเฉล่ียแล้วผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดีมาก เมื่อวิเคราะห์เป็น
รายข้อพบว่า วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา , วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกําหนด ,ความรู้ท่ีได้รับ
คุ้มค่ากับเวลา และความต้ังใจเพียงใด ( x =4.73 ) เป็นอันดับหน่ึง เนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้/ ฝึกอบรมตรงตาม
ความต้องการของท่านเพียงใด ( x =4.68) เป็นอันดับสอง ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ,
ท่านไดร้ ับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพยี งใด , ท่านพงึ พอใจต่อหลักสูตรน้ีเพียงใด ( x =4.62) เป็นอันดับสาม
ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามท่ีคาดหวังมากน้อยเพียงใด , ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรม
เหมาะสมเพยี งใด ( x =4.55) เป็นอันดับสี่ สถานที่เรียนเหมาะสมเพียงใด ( x =4.47) เป็นอันดับห้า จํานวนส่ือ/
อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด , ความรู้ทักษะท่ีได้ สามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพได้เพียงใด
( x =4.33) เป็นอันดบั สดุ ทา้ ย
สรุปค่า x ทัง้ 12 ขอ้ มีความพึงพอใจอยู่ใน ระดบั ดีมาก x =4.58
สรุปคา่ S.D. ทัง้ 12 ข้อมีความพึงพอใจ S.D.= 0.54
สรปุ คา่ เปอร์เซ็นต์ ทง้ั 12 ข้อมคี วามพึงพอใจอยทู่ ี่ 86.67 %
ความพึงพอใจโดยรวมของผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่ใู น ระดบั ดีมาก
อภปิ รายผล
จากการประเมินความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมซ่ึงเป็นการวัดเจตคติการเห็นคุณค่าของกิจกรรม
อยู่ในระดับดีมาก สรุปได้วา่ กจิ กรรมนีบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ ผู้ร่วมกิจกรรมมีความรู้และสามารถทําอาหารว่างได้และ
ถนําความรู้ที่ได้รับไปศึกษาต่อเพื่อเพ่ิมทักษะความชํานาญ เพื่อเพ่ิมรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว สอดคล้องกับ
ความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย
ข้อเสนอแนะ
จากแบบสอบถามความคิดเห็นของผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม จาํ นวน 11 คน มคี วามต้องการท่ีจะฝกึ อบรมอาชีพ
เกย่ี วกบั การทําขนมไทย และอาหารไทย
24
บรรณานกุ รม
บุญชม ศรีสะอาด และ บุญส่ง นิวแก้ว. (2535 หน้า 22 – 25).อ้างอิงประชากรเมื่อใช้เคร่ืองมือแบบมาตราส่วน
ป ร ะ ม า ณ ค่ า กั บ ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง . ว า ร ส า ร ก า ร วั ด ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ท ร วิ โ ร ฒ .
ขอ้ มลู วนั ท่ี 2 กนั ยายน 2565
ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกับประวตั ิความเปน็ มาของอาหารว่างของไทยhttp://kanomwanthai.wordpress.com
เข้าถึงข้อมูลวันที่ ขอ้ มูลวันท่ี 2 กันยายน 2565
สูตร-ขนมไทย/ขนมมงคล www.kangtung.com ข้อมูลวนั ที่ 2 กันยายน 2565
http://kanomwanthai.wordpress.com/ความร้ทู ่ัวไปเกี่ยวกับ/ เขา้ ถึงขอ้ มูลวันที่ 2 กันยายน 2565
http://9leang.com/?p=286 ข้อมลู วันท่ี 2 กนั ยายน 2565
http://www.kroobannok.com/blog/ขอ้ มลู วนั ที่ 25 กุมภาพนั ธ์ 2564
สตู รอาหาร/การทํากลว้ ยข้าวเมา่ ทอด http://5nok.com/8425/3 variety// ข้อมลู วันที่ 2 กันยายน 2565
สูตรอาหาร/การทําขนมฟกั ทองน่งึ
https://www.wongnai.com/recipes/ugc/67fbf7e84d314b23ac92255c0d2555b2?ref=c
เขา้ ถงึ ข้อมลู วนั ท่ี 2 กันยายน 2565
https://www.wongnai.com/recipes/thai-rice-noodles-in-fish-curry-sauce?ref=ct
เขา้ ถึงขอ้ มลู วันท่ี 2 กนั ยายน 2565
บญุ ชม ศรีสะอาด และบุญส่ง นิลแก้ว.(2535,หนา้ 22-25)การอ้างอิงประชากรเม่ือใช้เครอื่ งมอื แบบมาตราสว่ น
ประมาณคา่ กับกลุม่ ตัวอยา่ ง.วารสารการวัดผลการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ มหาสารคาม
25
ภาพผนวก
26
ภาพกจิ กรรม
หลกั สตู ร วชิ าการทาํ อาหารและขนม จาํ นวน 32 ชั่วโมง
วันที่ 22 – 29 สิงหาคม 2565
ณ บ้านแหลมเขา เลขท่5ี 5 หมูท่ ่ี 3 ตาํ บลหัวถนน อําเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี
27
คณะผจู้ ดั ทาํ
ทป่ี รกึ ษา ผ้อู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอพนัสนิคม
1. นางณชั ธกัญ หมืน่ สา ครู
2. นางสาวมุทิกา การงานดี ครูผู้ช่วย
3. นางพิรฬุ พรหพ์ ร ทาํ ทอง ครูผ้ชู ว่ ย
4. นางสาวณภษร ศรบี ุณยะแก้ว ครูอาสาสมัครฯ
5.นายวชั รนิ ทร์ อดุ านนท์
หัวหน้า กศน.ตําบลหวั ถนน
ผจู้ ดั ทาํ รปู เล่ม
1. นางสาวทวพี ร เคนราํ
28