The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทัวร์ห้อง sensory room

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-18 10:56:35

ทัวร์ห้อง sensory room

ทัวร์ห้อง sensory room

ความเป็น
ไทย

ความ
เป็นไทย

& หมายถึง




ความเป็นไทย ซึ่งหมายความรวมเรียกว่า ขนบ
ธรรมเนียม ประเพณี วิถีความเป็นอยู่ และความเป็นไป

ในสังคมดั้งเดิมเป็นส่วนใหญ่ เพราะวิถีความเป็นอยู่
ดั้งเดิมนั้น แม้ส่วนหนึ่งที่เป็นไปในลักษณะล้า

หลัง(หากเทียบกับสังคมโลก) แต่เป็นความสงบ งาม
เงียบ-เรียบร้อย ที่สำคัญ ไม่รีบเร่ง เป็นสังคมที่มีความ

สุข เพราะมีความรักใคร่ เอื้ออาทรต่อกันและกัน
มากกว่าวิถีสังคมยุคใหม่หรือปัจจุบัน

ขนบธรรมเนียม
ประเพณีไทย

ขนบธรรมเนียม เป็นธรรมเนียมการปฏิบัติ
ที่ดีงามของคนไทย เช่น ผู้น้ อยต้องมีความ

เคารพผู้ใหญ่
มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา

และพระมหากษัตริย์
ประเพณีไทย เป็นกิจกรรมทางสังคมของคน

ไทยที่
ถือปฏิบัติสืบต่อกันมา เป็นมรดกตกทอดจาก

บรรพบุรุษ
เป็ นระเบียบแบบแผนที่กำหนดขึ้น
และถือปฏิบัติสืบเนื่ องกันมาจนเป็ นลักษณะ

เฉพาะของคนกลุ่มนั้น
มักเกี่ยวข้องกับคติความเชื่อ ศาสนา ธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม

ภาคเหนือ

ประเพณียี่เป็ ง
ประเพณีทานขันข้าว
ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ
ประเพณีปอยส่างลอง
(งานบวชลูกแก้ว)
ประเพณีฟ้ อนผีปู่ย่า
ประเพณีสลากภัต

ภาคกลาง

ประเพณีตักบาตรดอกไม้
ประเพณีกวนข้าวทิพย์
ประเพณีตักบาตรเทโว
ประเพณีทำขวัญข้าว
ประเพณีกำฟ้ า
ประเพณีโยนบัว
ประเพณีเผาเทียนเล่นไฟ

ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ

ประเพณีแห่ผีตาโขน
ประเพณีแห่นางแมว
ประเพณีบุญเบิกฟ้ า
ประเพณีบุญผะเหวด
งานประเพณีตีช้างน้ำนองประเพณีแซนโฎนตา
ประเพณีทอดกฐิน
ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง
ประเพณีบุญบั้งไฟ
ประเพณีแห่เทียนพรรษา
ประเพณีไหลเรือไฟ
ทอดผ้าป่ ากลางน้ำ
เทศกาลผลไม้
ทำบุญกลางทุ่ง
ทอดผ้าป่ าโจร




ภาคใต้

ประเพณีให้ทานไฟ
ประเพณีสารทเดือนสิบ
ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ
ประเพณีลากพระ
ประเพณีอาบน้ำคนแก่
ประเพณีสวดด้าน
ประเพณีแห่นางดาน
ประเพณีกวนข้าวยาคู
ประเพณียกขันหมากพระปฐม
ประเพณีตักบาตรธูปเทียน

ศิลปวัฒนธรรม

ไทย

ศีลปวัฒธรรมไทยเป็ นวิถีการดำเนินชีวิต
แบบแผน การประพฤติปฏิบัติ การ

แสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิด ในสถานการ
ต่างๆ ที่สมาชิกในสังคมเดียวกันเข้าใจ ซาบ
ซึ่ง ยอมรับ และประพฤติปฏิบัติร่วมกัน ซึ่ง
ส่วนใหญ่มีรากฐานมาจากพระพุทธศาสนา
จากการประอาชีพเกษตรกรรมโดยเฉพาะ
การปลูกข้าว เช่น พิธีเเรกนาขวัญ พิธีสู่ขวัญ

ข้าว เกิดจากรากฐานความคิด ความเชื่อ
และสั่งสมสืบทอดต่อๆกันมา เช่น ความเชื่อ

เรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ธรรมชาติ ผีบรรพบุรุษ
เป็ นต้น

วัฒนธรรมแบ่งออกเป็น 2
ประเภท

1.วัฒนธรรมทำทาง
วัตถุ(material culture)
ได้แก่ สิ่งประดิษฐ์โดยมี

วัตถุเป็น หลัก เช่น
แบบแผนการประกอบ
อาชีพ แบบแผนการ
ประกอบพิธีกรรม เครื่อง
มือ เครื่องใช้ เป็นต้น

2.วัฒนธรรมทำงจิตใจ
(non-material culture)
หมายถึง แบบอย่างการ ปฏิบัติ
หรือแนวทางแห่งความคิด
ความเชื่อ อุดมการณ์ ศีลธรรม
จรรยา ธรรมเนียม ประเพณี
ปรัชญา กฎหมาย พิธีการต่างๆ

เป็ นต้น

ภูมิปัญญาไทย หมายถึง องค์ความรู้
ความสามารถและทักษะของคนไทยอัน
เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ที่ผ่าน
กระบวนการเรียนรู้ เลือกสรร ปรุงแต่ง
พัฒนา และถ่ายทอดสืบต่อกันมา เพื่อใช้
แก้ปัญญาและพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทย
ให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมและเหมาะสม
กับยุคสมัยภูมิปัญญามีความเด่นชัดใน

หลายด้าน

1.ภูมิปัญญาชาวบ้าน

เป็ นความรู้ที่ชาวบ้านสร้างสรรค์ขึ้น
เอง ซึ่งได้มาจาก ประสบการณ์ การ
ลองผิดลองถูกจนได้วิธีที่ดีที่สุดในการ
จัดการกับ ปัญหา ซึ่งมีประโยชน์
มีคุณค่า สามารถแก้ปัญหาได้ผ่าน
การนำไปปฏิบัติมาแล้วอย่างโชกโชน

ถือเป็ นส่วนหนึ่ งของมรดกทาง
วัฒนธรรม เช่น งานหัตถกรรมต่างๆ
เครื่องจักสาน การทอผ้า งานประดิษฐ์

งานก่อสร้าง เป็นต้น

2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น

คือ ภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีความแตกต่างกันไปใน
แต่ละท้องถิ่น เพราะในแต่ละท้องถิ่นมีสภาพ

แวดล้อม สภาพภูมิอากาศที่แตกต่าง กัน ส่งผลให้
มีปัญหาและวิธีจัดการกับปัญหาที่แตกต่างกัน
ความรู้ของชาวบ้านเฉพาะในท้องถิ่น เรียกว่า
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งมีการเผยแพร่และสืบทอด
เฉพาะในท้องถิ่นเท่านั้น


Click to View FlipBook Version